weekly brief_30 aug - 5 sep 11_issue 31

19
WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2 issue 31 30 Aug - 5 Sep 2011 www.thaifood.org Thai Food Processors’ Association Pineapple Sweet Corn Tuna Seafood Fruits&Vegetables Food Ingredient&Ready-to-Eat กิตติรัตน์ แนะเอกชนตั้งโรงงานต่าง แดน ลดแรงกดดันเงินบาทแข็งค่า กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ แก้ไขคู่มือ มาตรฐานค�าแนะน�ากระบวนการตรวจ รับรองระบบงานด้านเกษตรอินทรีย์ อินเดียส่งอาหารทะเลไปอาเซียน ทะลุพันล้านรูปี เกษตรฯลุยส่งเสริม ยกระดับ สหกรณ์ ขายปัจจัยคุณภาพ ซีพีเอฟหนุนนโยบายรัฐฯขึ้นค่าแรง 300 บาททันที หลังรบ.ประกาศใช้ ลุย จัดคาราวานสินค้าลดค่าครองชีพ

Upload: thai-food-processors-association

Post on 08-Mar-2016

215 views

Category:

Documents


2 download

DESCRIPTION

Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

TRANSCRIPT

Page 1: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEF TFPA Trade & Technical Vol. 2

issue 31

30 Aug - 5 Sep 2011

www. tha i food.org

Thai Food Processors’ Association

Pineapple

Sweet Corn

Tuna

Seafood

Fruits&Vegetables

Food Ingredient&Ready-to-Eat

กิตติรัตน์ แนะเอกชนตั้งโรงงานต่างแดน ลดแรงกดดันเงินบาทแข็งค่า

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ แก้ไขคู่มือมาตรฐานค�าแนะน�ากระบวนการตรวจรับรองระบบงานด้านเกษตรอินทรีย์

อิน เ ดียส ่ งอาหารทะเลไปอาเซียนทะลุพันล ้ านรูป ี

เกษตรฯลุยส่งเสริม ยกระดับสหกรณ์ ขายปัจจัยคุณภาพ

ซีพี เอฟหนุนนโยบายรัฐฯขึ้นค ่าแรง 300 บาททันที หลังรบ.ประกาศใช ้ ลุย

จัดคาราวานสินค ้าลดค่าครองชีพ

Page 2: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

2 3

ContentsContents333

4 5 5 6 8 9 10 10

12 13

14 15 16 17 1819

04

08

14

12

21

03 ขา่วประชาสัมพนัธ์• เชิญร่วมโครงการส่งเสริมการด�าเนินธุรกิจในภูมิภาคแอฟริกา “Eyes on Africa” (เอกสารแนบ 1)• ขอเชิญร่วมงานกิจกรรม Export Clinic ครั้งที่2 และ Hot Issues เศรษฐกิจการค้าโลก (เอกสารแนบ 2)• งานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมการเกษตรครั้งที่ 3 (เอกสารแนบ3)

สถานการณด์้านมาตรฐานและความปลอดภยั อาหาร • กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ แก้ไขคู่มือมาตรฐานค�าแนะน�ากระบวนการตรวจรับรองระบบงานด้านเกษตรอินทรีย ์

สถานการณด์้านประมง • ออสซ่ีจัดโซนท�าประมงใหม่ • อินเดียส่งอาหารทะเลไปอาเซียนทะลุพันล้านรูปี • ‘ทียูเอฟ’รุกสเต็ปสองยึดตลาดยุโรป

สถานการณด์้านเกษตร• ชาวไร่ยื่นพรรคเพื่อไทยต้านลดราคาน�้าตาล • คาด EU จะยกเลิกระงับน�าเข้าเมล็ดพืชจากอียิปต์ เร็วๆนี้ • เกษตรฯลุยส่งเสริม ยกระดับสหกรณ์ ขายปัจจัยคุณภาพ • เปิด”เกษตรแฟร์”ภาคอีสาน โปรโมทสินค้าคุณภาพ20จังหวัด/ตั้งโต๊ะเจรจาธุรกิจชาติเพื่อนบ้าน สถานการณน์โยบายครม.ชุดใหม ่และ ประเด็นแรงงาน • กรมประมงหนุนใช้เทคโนโลยี ลดขาดแคลนแรงงาน-ค้ามนุษย์ • ซีพีเอฟหนุนนโยบายรัฐฯขึ้นค่าแรง 300 บาททันที หลังรบ.ประกาศใช้ ลุยจัดคาราวานสินค้าลดค่าครองชีพ

สถานการณด์้านการค้า

• นายกฯสั่งพณ.คุมราคาสินค้า โต้งแจงไม่มีพ่อค้าขอปรับขึ้น เหตุน�้ามันถูกช่วยลดต้นทุนได้ • น�้ามันลดฉุดเงินเฟ้อลง 0.5% สศค.เล็งปรับจีดีพีไตรมาส 3 • กิตติรัตน์”แนะเอกชนตั้งโรงงานต่างแดน ลดแรงกดดันเงินบาทแข็งค่า • “การท่าเรือ”เปิดช�าระค่าภาระ ผ่านระบบแบงก์ ฟร ี• พาณิชย์คุมไม่อยู่ เงินเฟ้อพุ่ง4.29% สูงสุดรอบ35เดือน • สอ.โชว์แผนส่งออกรุกเอเชีย

อตัราแลกเปลีย่น

ข่าวประชาสัมพันธ์

เชิญร ่วมโครงการส ่ง เสริมการด�า เนินธุรกิจในภูมิภาคแอฟริกา “Eyes on Africa”(เอกสารแนบ 1)

กรมส่งเสริมการส่งออก จัดสัมมนาเชิงลึก “Eyes on

Africa : จับตาคว้าโอกาสตลาดแอฟริกา” ในวันท่ี 12

กัยยายน 2554 เวลา 9.00 – 16.30 น. ณ ห้องGrand

Ballroom ชั้น 2 โรงแรม Shangri-La ถ.เจริญกรุง

ขอเชิญร่วมงานกิจกรรม Export Clinic ครั้งที่2 และ Hot Issues เศรษฐกิจการค้าโลก(เอกสารแนบ 2)

สถาบันฝึกอบรมการค้าระหว ่างประเทศ ร ่วมกับ

ส�านักพัฒนาการตลาดระหว ่างประเทศ ก�าหนดจัด

กิจกรรม Export Cl in ic คร้ังที่ 2 ในวันอังคาร

ที่ 20 กันยายน 2554 เวลา 8.30 – 17.00 น.

ณ โรงแรมโซฟีเทล เซ็นทารา แกรนด์ ลาดพร้าว

เชิญร่วมงานแสดงสินค ้าอุตสาหกรรมการเกษตรครั้งที่ 3(เอกสารแนบ3)

ด้านกรมวิชาการเกษตรได้รับข่าวจากกระทรวง

การต่างประเทศ สถานกงสุลใหญ่ ณ เมืองกัลกัตตา

หอการค้าอินเดีย ประจ�าเมืองกัตตา(Indian Chamber

of Commerce - ICC) จะจัดงานแสดงสินค้าและ

อุตสาหกรรมเกษตร ครั้งที่3 ระหว่างวันที่ 3-5 พฤศจิกายน

2554 ท่ี Milan Meta Grand & Conference โรงแรม

ITC Sonar เมืองกัลกัตตา ประเทศอินเดีย

05

Page 3: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

4 5

WEEKLY BRIEF

สถานการณ์ด้านมาตรฐานและความปลอดภัยอาหาร

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ แก้ไขคู่มือมาตรฐานค�าแนะน�ากระบวนการตรวจรับรองระบบงานด้านเกษตรอินทรีย์

ส�านักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ ประจ�า

กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ได้รับแจ้งจากหน่วยงาน Nation-

al Organic Program, Agricultura Marketing

Service กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ(NOP/AMS/USDA)

เรื่อง การปรับปรุงเปล่ียนแปลงรูปแบบการจัดท�าคู่มือ

มาตรฐานค�าแนะน�ากระบวนการตรวจ รับรองระบบ

งานด้านเกษตรอินทรีย์ ฉบับปี 2554(NOP Guid-

ance and Instruction For Accredted Certify-

ing Agents&Cerified Operat ons; Winter Edi-

tion 2011) โดยมีการเพิ่มแบบฟอร์มและขั้นตอนการ

จัดตั้งระบบเกษตรอินทรีย์ รวมทั้งค�าแนะน�าในการ

ผลิตและการขนย้ายซากอินทรีย์วัตถุต่างๆ เป็นต้น

ดาวน์โหลดเอกสารคู่มือฉบับบสมบูรณ์

http://www.ams.usda.gov/AMSv1.0/NOPProgramHandbook

ที่มา: มกอช. 31 ส.ค. 54

สถานการณ์ด้านประมง

ออสซี่จัดโซนท�าประมงใหม่

กรมอุตสาหกรรมและทรัพยากร

พื้นฐานแห่งของรัฐ South Australia (PIRSA) ออกร่าง

แผนการณ์การจัดเขตท�าประมงแห่งใหม่ในบริเวณ Tumby

Bay ซึ่งอยู่ท่ีเมือง Port Lincoln ในรัฐ South Aus-

tralia ครอบคลุมพื้นท่ีประมาณ 16,000 เฮกตาร์ โดย

มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ ้นอุตสาหกรรมปลา หอยและ

ปลาหมึกในบริเวณน�้าท่วมถึง และสาหร่ายทะเล

ท้ังนี้ในแผนการณ์ดังกล่าวอนุญาตให้เรือท่องเท่ียวและ

เรือที่ใช้เชิงพาณิชย์สามารถขับผ่านเข้ามาในเขตประมง

นี้ได้

ที่มา : มกอช.(FIS) 31 ส.ค. 54

อินเดียส่งอาหารทะเลไปอาเซียนทะลุพันล้านรูปี

อินเดียส่งออกอาหารทะเล

ไปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คิดเป็นมูลค่าเกือบ 1.4 พัน

ล้านรูปีโดยภูมิภาคดังกล่าวถือเป็นตลาดน�าเข้าอาหาร

ทะเลอินเดียใหญ่เป็น อันดับ 2 รองจากสหภาพยุโรป

ในปี 2553 จนถึงเดือนมีนาคม2554

อินเดียส่งออกอาหารทะเลอินเดียสร้างสถิติใหม่ คิด

เป็นมูลค่า 8.4 พันล้านรูปี (2.8 พันล้านดอลลาร์

สหรัฐฯ) และมีปริมาณการส่งออกรวม 813,091 ตัน

องค์การพัฒนาการส่งออกผลิตภัณฑ์ประมงของอินเดีย

(MPEDA) เปิดเผยว่าอินเดียส่งออกอาหารทะเลไปยัง

สหภาพยุโรป 26.8% ตามมาด้วยเอเชียตะวันออกเฉียง

ใต้ 16.4% เจ้าหน้าท่ีอาวุโสของ MPEDA กล่าวว่าปกติ

แล้วเอเซียตะวันออกเฉียงใต้เป็นผู ้น�าเข้าอาหารทะเล

อินเดียใหญ่ เป็นอันดับ 4 และตอนนี้เขยิบขึ้นมาเป็น

อันดับ 2 ในระยะหลังมานี้ประเทศต่างๆ มีผลผลิต

อาหารทะเลลดลง เช่นในเวียดนาม ไทย อินโดนีเซีย

อินเดียจึงกลายเป็นตลาดต้นทางของอาหารทะเล

ที่มา : มกอช.(FIS) 1 ก.ย. 54

Page 4: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

6 7

Vol. 2 Issue 2

66 7

‘ทียูเอฟ’รุกสเต็ปสองยึดตลาดยุโรป

“ทียูเอฟ”โชว์สเต็ปสอง รุกหนักตลาดอียู ชูตามรอยบิ

สิเนสโมเดลในสหรัฐฯ ขยายอาณาจักรจากทูน่ากระป๋องสู่

อาหารทะเลแช่แข็ง และอาหารแมวใน 5 ปี ระบุปัญหา

เศรษฐกิจอียู-สหรัฐฯไม่กระเทือน สินค้ายิ่งขายดี ม่ันใจ

ทั้งปี โตไม่ต�่ากว่า 40% สองปีจากนี้หยุดช็อปกิจการใน

ต่างประเทศ เน้นคืนเงินกู้

นายธีรพงศ์ จันศิริ ประธานกรรมการบริหาร

บริษัท ไทยยูเนี่ยน โฟรเซ่น โปรดักส์ จ�ากัด (มหาชน)

หรือทียูเอฟ ผู ้ผลิตและส่งออกอาหารทะเลแช่แข็งและ

บรรจุกระป๋องรายใหญ่ของไทย และของโลก เปิดเผย

กับ “ฐานเศรษฐกิจ”ว่า หลังจากที่บริษัทได้เข้าซื้อกิจการ

MW Brands (MWB) หนึ่งในผู้น�าด้านผลิตภัณฑ์ปลา

ทูน่า และอาหารทะเลในตลาดยุโรปที่เป็นเจ้าของแบรนด์

ชั้นน�าในตลาดฝรั่งเศส อังกฤษ ไอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์

และอิตาลี ในปีท่ีผ่านมา ขณะนี้ผลจากการเข้าซื้อกิจการ

ถือท�าผลงานได้อย่างน่าพอใจ โดยช่วง 6 เดือน หรือ

2 ไตรมาสแรกของปีนี้มีผลให้สัดส่วนรายได้จากตลาด

สหภาพยุโรป(อียู )จากในปีที่ ผ ่านมาคิดเป ็นสัดส ่วน

ประมาณ 11% ของยอดขาย ได้เพิ่มเป็นสัดส่วนถึง 35%

ส�าหรับในสเต็ปที่สองบริษัทตั้งเป้าหมายจะรุกตลาดอี

ยูอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายจะขยายเข้าสู่ธุรกิจอาหาร

ทะเลแช่แข็ง อาหารแมว และอ่ืนๆ ในลักษณะเดียวกับ

โมเดลธุรกิจที่ประสบความส�าเร็จในสหรัฐอเมริกา ที่ใช้

เวลาประมาณ 15 ปี แต่ในตลาดอียูตั้งเป้าหมายจะใช้

เวลาประมาณ 5 ปีนับจากนี้ไป โดยรูปแบบจะเป็นการ

ขยายไลน์ธุรกิจท้ังการตั้งบริษัทใหม่และทีมงานใหม่ขึ้นมา

ดูแล รวมถึงการเข้าซื้อกิจการธุรกิจในต่างประเทศหากมี

โอกาสความเป็นไปได้

“ส�าหรับตลาดอียูถือว่าเราเพิ่งเริ่มต้นรุกธุรกิจอย่าง

จริงจัง หลังจากเข้าซ้ือกิจการ MWB ซ่ึงยุทธศาสตร์

ตลาดอียูใน 2 ปีแรกจากนี้ไปจะเน้นสร้างผลการด�าเนิน

งานให้เติบโตอย่างต่อเนื่อง และสเต็ปถัดไปคือการมอง

หาโอกาสในการขยายธุรกิจในส่วนของอาหารทะเลแช่

แข็ง เช่น กุ ้งแช่แข็ง อาหารแมวเหมือนโมเดลธุรกิจท่ี

เราประสบความส�าเร็จในสหรัฐฯ เพราะตลาดอียูยังมีช่อง

ทางโอกาสอีกมาก อย่างไรก็ดีในช่วง 2 ปีจากนี้เรายัง

ไม่มีเป้าหมายการซื้อกิจการขนาดใหญ่ในต่างประเทศ แต่

จะเน้นเรื่องผลด�าเนินการเพื่อสู ่เป้าหมายยอดขาย 4,000

ล้านดอลลาร์สหรัฐฯภายในปี 2558 รวมถึงเป้าหมาย

การจ่ายคืนเงินกู้จากการซื้อกิจการ MWB ให้แล้วเสร็จ”

นายธีรพงศ์ กล่าวอีกว่า จากปัญหาหนี้สาธารณะ

ในสหรัฐอเมริกา และยุโรปที่หลายฝ่ายจับตามองจะส่งผลก

ระทบต่อเศรษฐกิจโลกที่ถดถอย ในส่วนสินค้าของบริษัท

ไม่ได้รับผลกระทบ เพราะถือเป็นอาหารพื้นฐานจ�าเป็นต่อ

การบริโภค ดังนั้นจึงมียอดขายขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดย

ช่วง 6 เดือนที่ผ่านมามียอดขายในรูปดอลลาร์สหรัฐฯแล้ว

1,564 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มข้ึน 52% เมื่อเทียบกับ

ช่วงเดียวกันของปีก่อนที่มียอดขาย 1,026 ล้านดอลลาร์

สหรัฐฯ ส่วนยอดขายในรูปเงินบาทมีมูลค่า 47,565 ล้าน

บาท จากช่วงเดียวกันของปีก่อนมียอดขาย 33,421 ล้าน

บาท หรือเพิ่มข้ึน 42% ท�าให้มีก�าไรสุทธิรวม 6 เดือน

แรกเท่ากับ 1,990 ล้านบาท เพิ่มข้ึน 17% เป็นผลจาก

การปรับลดต้นทุนและปรับราคาสินค้าตามราคาวัตถุดิบ

ปลาทูน่า และกุ้งที่มีความผันผวนอย่างต่อเนื่อง รวมถึง

การปรับสัญญาการซื้อขายให้สั้นลงเพื่อลดความเสี่ยง

ส�าหรับช่วงเดือนท่ีเหลือของปีน้ีม่ันใจว่ายอดขายจะ

ขยายตัวได้ดี คาดว่าในส้ินปีนี้จะมียอดขายสูงกว่าเป้า

หมายท่ีตั้งไว้ท่ี 3,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ โดยอาจจะ

ขยายตัวสูงกว่า 40% จากปีท่ีแล้ว เนื่องจากปัจจัยท่ีอาจ

ส่งผลกระทบ เช่นปริมาณ และราคาวัตถุดิบถือว่าไม่น่า

ห่วง เรื่องค่าเงินบาทก็ยังค่อนข้างนิ่ง ตลาดยังขยายตัวได้

ดี แต่สิ่งท่ีบริษัทจับตามอง คือ นโยบายของรัฐบาลใหม่ท่ี

จะปรับเพิ่มค่าจ้าง(เปลี่ยนเป็นรายได้) 300 บาทต่อวันท่ี

อาจกระทบต่อต้นทุนการผลิตในประเทศ ในเรื่องนี้บริษัท

ได้รับทราบนโยบาย และได้เตรียมแผนรับมือไว้แล้ว โดย

จะน�าเครื่องจักร และเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เข้ามาใช้ในการ

ด�าเนินงานแทนคนเพิ่มข้ึน โดยในปีน้ีตั้งงบลงทุนในภาพ

รวมไว้ท่ี 3,000 ล้านบาทยังไม่เปลี่ยนแปลง

อนึ่ง ยอดขาย 1,564 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯของทียู

เอฟช่วง 6 เดือนแรกมาจากผลิตภัณฑ์ปลาทูน่า คิดเป็น

สัดส่วน 50% รองลงมาคือ กุ้งแช่แข็ง 18% ผลิตภัณฑ์

ในประเทศ 7% อาหารแมวกระป๋อง 6% อาหารทะเล

กระป๋อง 5% อาหารกุ้ง 5% ปลาซาร์ดีนและแมคเคอเรล

กระป๋อง 4% ปลาแซลมอนแช่แข็ง 4% และปลาหมึกแช่

แข็ง 1% ตลาดส่งออกหลักได้แก่ สหรัฐฯสัดส่วน 35% อี

ยู 35% ญี่ปุ่น 10% ขายในประเทศ 8% ออสเตรเลีย 3%

เอเชีย 3% แอฟริกา 2% ตะวันออกกลาง 2% อเมริกาใต้

1% และแคนาดา 1%

ที่มา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับที่ 2,666 1- 3 ก.ย.54

Page 5: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

8 98

สถานการณ์ด้านเกษตร

ชาวไร่ยื่นพรรคเพ่ือไทยต้านลดราคาน�้าตาล

ชาว ไร่ยื่นหนังสือถึงพรรคเพื่อไทยดักทางลดเก็บเงินเข้า

กองทุนอ้อยและน�้าตาล หวังลดราคาน�้าตาลทรายลงมา ยัน

เพื่อนบ้านราคาแพงกว่าลดลงเอื้ออุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ใช้

น�้าตาลเป็นวัตถุ ดิบการผลิต ขู่ปิดโกดังถ้าท�าจริงให้ลองน�า

เข้าดู

นาย ก�าธร กิตติโชคทรัพย์ ประธานสหพันธ์ชาวไร่อ้อย

แห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตัวแทนชาวไร่อ้อยได้เดินทางไป

ยื่นหนังสือที่พรรคเพื่อไทยถึงแนวทางการบริหาร อุตสาหกรรม

อ้อยและน�้าตาลทรายของรัฐบาลปัจจุบัน โดยคัดค้านหากมีน

โยบายการปรับลดการเก็บเงินเข้ากองทุนอ้อยและน�้าตาลทราย

ที่ ได้จากการขึ้นราคาหน้าโรงงานน�้าตาล 5บาทต่อกิโลกรัม

(กก.) เพื่อน�าไปช�าระหน้ีธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์

(ธ.ก.ส.) เพ่ือท�าให้ราคาน�้าตาลทรายขายปลีกในประเทศต้อง

ปรับลดลงตาม

“ชาว ไร่ได้ข่าวว่ามีข้อเสนอจากกระทรวงพาณิชย์ที่จะให้

ลดราคาน�้าตาลทรายลงด้วยการ ลดการเก็บเงินเข้ากองทุน

อ้อยและน�้าตาล ทั้งที่ราคาน�้าตาลทรายตลาดโลกขณะนี้เฉลี่ย

850 เหรียญสหรัฐต่อตัน หรือคิดเป็นราคาน�้าตาลทราย 25-26

บาทต่อกก. หากน�าเข้าท่ีต้องรวมค่าบริหารจัดการจะเฉลี่ยที่ 30

บาทต่อกก. ก็ยังสูงกว่าราคาน�้าตาลทรายขาวของไทยที่ราคา

22.50 บาทต่อกก.และหากเทียบกับเพื่อนบ้านราคาน�้าตาลก็

สูงถึง 35-40 บาทต่อกก. จึงมีเหตุผลใดจะมาลดราคาน�้าตาล

หากรัฐท�าจริง เราจะสู้แน่นอน ปิดโกดังโรงงานเลย แล้วลอง

ไปซื้อน�้าตาลนอกมาดู”นายก�าธรกล่าว

นอก จากนี้ การบริโภคน�้าตาลทรายของคนไทยทาง

ตรงคิดเป็นสัดส่วนเพียง 30% ของปริมาณน�้าตาลทราย

ที่จัดสรรเพื่อการบริโภคในประเทศแต่ละปี ส่วนอีก 70%

เป็นการบริโภคทางอ้อมผ่านโรงงานผลิตอาหาร เช ่น

เคร่ืองด่ืม นมข้นหวาน ผลไม้กระป๋อง ขนม เป็นต้น

ท�าให้ไทยเป็นฐานการผลิตอุตสาหกรรมต่อเนื่องท่ีเข้มแข็ง

เพราะมีต้นทุนน�้าตาลที่ถูกกว่าเพื่อนบ้าน การลดราคาก็

เท่ากับเอื้อให้กับผู้ผลิตรายใหญ่ ซึ่งขณะนี้ราคาท่ีต�่ายังไม่

พอใจอีกหรือ

นาย ก�าธรกล่าวว่า กองทุนอ้อยฯ ปีนี้ ยังมีภาระ

ที่จะต้องดูแลราคาอ้อยให้กับเกษตรกรที่ต้นทุนการผลิต

สูงข้ึนจาก ทั้งค่าแรงงาน ค่าปุ๋ยที่เฉลี่ยต้นทุนจะสูงกว่า

850 บาทต่อตัน หากจะท�าให้พอมีก�าไรบ้าง เฉลี่ยชาวไร่

จะต้องได้รับราคาอ้อยฤดูการผลิตปี 2554/55 ท่ีระดับ

1,030-1,050 บาทต่อตัน หมายถึงกองทุนอ้อยฯ จะต้อ

งกู้ธ.ก.ส.มาเพิ่มค่าอ้อยอีกประมาณ 130-150 บาทต่อตัน

ดังนั้น รายได้จากการเก็บเงินเข้ากองทุนฯ 5 บาทต่อกก.

คือ เงินที่จะน�าไปช�าระหนี้ให้กับชาวไร่ตามเจตนารมย์ของ

การข้ึนราคาน�้าตาลทราย ก่อนหน้านี้ หากรัฐบาลลดลงก็

เท่ากับเพิ่มภาระหนี้ให้กับชาวไร่ทันที

ผู้ สื่อข่าวรายงานว่า การประชุมคณะกรรมการอ้อย

และน�้าตาลทราย (กอน.) วานนี้ (30ส.ค.) เห็นชอบ

ตามที่คณะกรรมการน�้าตาลทราย (กน.) เสนอให้คืน

น�้าตาลส�ารอง 1 ล้านกระสอบ เพื่อน�าไปส่งออกหลัง

จากสถานการณ์น�้าตาลในประเทศกลับสู่สภาพปกติโดยไม่

จ�าเป็น ต้องส�ารองไว้

ท่ีมา : หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ฉบับวันท่ี 31 สิงหาคม 2554

คาด EU จะยกเลิกระงับน�าเข้าเมล็ดพืชจากอียิปต์ เร็วๆนี้

สหภาพยุโรป (EU) อาจ

ยกเลิกการระงับน�าเข้าเมล็ดพืชจากอียิปต์ ภายในสอง

สัปดาห์ข้างหน้า หลังจากเกิดเหตุการณ์เชื้อ E.coli แพร่

ระบาดในสหภาพยุโรป ซ่ึงคาดว่าสาเหตุเกิดจากเมล็ด

ฟีนูกรีกจากอียิปต์

หนึ่งสัปดาห์หลังจากทีมงานจากสหภาพยุโรปเดินทาง

ไปยังอียิปต์เพื่อตรวจสอบ สถานการณ์ความปลอดภัย

ของเมล็ดพืช ทีมงานได้ข้อสรุปและเดินทางกลับสหภาพ

ยุโรปเพื่อรายงานผลต่อคณะกรรมาธิการ สหภาพยุโรป

ซึ่งคณะกรรมาธิการจะใช้ข ้อมูลดังกล่าวเพื่อประกอบ

การตัดสินใจว่าจะยกเลิกการ ระงับการน�าเข้าเมล็ดถั่ว

และเมล็ดพืชท้ัง 15 ชนิดจากอียิปต์หรือไม่ นอกจากนี้

เมื่อวันท่ี 29 สิงหาคม 2554 นาย Sherif Al-Beltaguy

ประธานสมาคมการส ่งออกสินค ้าเกษตรของอี ยิปต ์

รายงานว่า ทีมงานจากสหภาพยุโรปไม่พบการปนเปื้อน

ใดๆของเชื้อ E. coli O104:H4 ระหว่างการตรวจสอบ

อย่างไรก็ตาม การขาดหลักฐานอ้างอิงที่แน่ชัดไม่

สามารถยืนยันได้ว่าเมล็ดพืชจากอียิปต์จะ ปราศจากการ

ปนเปื ้อนและการสุ ่มตรวจตัวอย่างไม่สามารถยืนยันการ

ปนเปื้อน แบคทีเรียในเมล็ดพืชได้เสมอไป เนื่องจากการ

สุ่มตรวจตัวอย่างสามารถเลือกตัวอย่างจากถุงที่ไม่ได้บรรจุ

เมล็ด พืชที่ปนเปื้อนเชื้อ หรือในระหว่างการตรวจเมล็ดพืช

มีจ�านวนแบคทีเรียน้อยจนไม่สามารถตรวจพบได้จน กว่า

เมล็ดจะงอก

สหภาพเริ่มระงับการน�าเข้มเมล็ดพืชจากอียิปต์เมื่อวัน

ที 5 กรกฎาคม 2554 แต่เดิมมีผลจนถึงวันที่ 31 ตุลาคม

2554 แต่สหภาพยุโรปก�าลังพิจารณาเลื่อนก�าหนดการ

ยกเลิกให้เร็วขึ้นภายในระยะเวลา มากกว่า 1 เดือน และ

คาดว่าคณะกรรมาธิการสหภาพยุโรปจะทบทวนรายงาน

จากทีมงานภายใน 10 วันข้างหน้า และเมื่อสัปดาห์ที่

ผ่านมา ยูเครนได้ยกเลิกระงับการน�าเข้าผักและเมล็ดพืช

จากอียิปต์

อนึ่ง การแพร่ระบาดของ

เชื้อ E.coli มีศูนย์กลางการระบาดที่เยอรมันและสาเหตุ

การระบาดเกิดจากเมล็ดฟีนูกรีกน�าเข้า จากอียิปต์ การ

ระบาดเริ่มในเดือนพฤษภาคม และสิ้นสุดเมื่อปลายเดือน

กรกฎาคม 2554 ซึ่งท�าให้มีผู ้เสียชีวิตจ�านวน 53 ราย

และป่วยกว่า 4,000 รายทั่วยุโรป

ที่มา : Food Safety News วันที่ 1 ก.ย. 54

Page 6: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

10 1111

เกษตรฯลุยส่งเสริม ยกระดับสหกรณ์ ขายปัจจัยคุณภาพ

นายจิรากร โกศัยเสวี อธิบดีกรมวิชาการเกษตร

กล่าวว ่า ขณะนี้กรมวิชาการเกษตรได ้ร ่วมกับชุมนุม

สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ากัด (ชสท.) และ

กรมส่งเสริมสหกรณ์ ด�าเนินโครงการส่งเสริมการใช้ปัจจัย

การผลิตที่มีคุณภาพ โดยมุ่งสนับสนุนให้เครือข่ายร้านค้า

สหกรณ์การเกษตรทั่วประเทศ ยกระดับเข้าสู่การเป็นร้าน

จ�าหน่ายปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่มีคุณภาพหรือ

Q-Shop ที่ผ่านมาตรฐาน มีเป้าหมาย 2,000 ร้านค้า

ภายในปี 2555

ทั้งนี้เพื่อปกป้องเกษตรกรจากผู ้จ�าหน่ายปัจจัยการ

ผลิตที่ด ้อยคุณภาพ ขณะเดียวกันยังช ่วยให้เกษตรกร

สมาชิกได้รับปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ทั้ง

เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี และสารเคมีการเกษตร ซึ่งนอกจากจะ

ช่วยลดต้นทุนการผลิตแล้ว ยังท�าให้ได้ผลตอบแทนคุ้มค่า

การลงทุน อันจะท�าให้เกษตรกรมีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น

ด้วย โดยประกอบการร้านจ�าหน่ายปัจจัยการผลิตทางการ

เกษตรที่มีคุณภาพ เข้าร่วมโครงการ Q-Shop ของกรม

วิชาการเกษตรแล้ว จ�านวน 268 ราย าดว่าจะมีร้านค้า

สหกรณ์สมัครเข้าร่วมโครงการ Q-Shop ปีละไม่น้อยกว่า

1,000 แห่ง

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 1 ก.ย. 54

เป ิด”เกษตรแฟร์”ภาคอีสาน โปรโมทสินค้าคุณภาพ20จังหวัด/ตั้งโต๊ะเจรจาธุรกิจชาติเพื่อนบ้าน

นายธรรมรัต หวั่งหลี ที่ปรึกษา รมว.เกษตร

และสหกรณ์ เปิดเผยว่า กระทรวงเกษตรฯร่วมกับ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ

จ.สกลนคร ร ่วมกันจัดงานมหกรรมสินค ้าเกษตร

ปลอดภัย และเกษตรแฟร์นนทรีอีสาน ระหว่างวันที่

31 สิงหาคม-4 กันยายน ภายในบริเวณ มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จ.สกลนคร

โดยจัดให้มีการแสดงสินค้าเกษตรเด่นของ 20 จังหวัด

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและสินค ้าเกษตรจาก

ประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ จีน เวียดนาม และลาว

รวมทั้งจัดการสัมมนาวิชาการ และการเจรจาจับคู่ธุรกิจ

สินค้าเกษตรไทย ลาว เวียดนาม และจีน

ทั้งนี้คาดว่า การจัดงานดังกล่าว จะท�าให้สินค้า

เกษตร 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมท้ัง

สินค้าเกษตรจากแหล่งผลิตอื่นในประเทศไทย เป็นท่ีรู ้จัก

กว้างขวางยิ่งขึ้น เกิดเครือข่ายท้ังในส่วนของผู้ผลิตสินค้า

เกษตรปลอดภัย ผู ้ประกอบการในประเทศและประเทศ

เพื่อนบ้าน รวมถึงมีการต่อยอดแนวคิดในการพัฒนางาน

ด้านการเกษตรสู่เกษตรอุตสาหกรรมให้แก่ เกษตรกร และ

เชื่อมโยงผลผลิตสินค้าเกษตรระหว่างผู้ผลิต คือ เกษตรกร

และผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรงในลักษณะ

ของ Contract Farming

โดยเมื่อผนวกเข้ากับศักยภาพของ จ.สกลนคร ซึ่งมี

ความพร้อม มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน เป็น

ชุมสายเช่ือมโยงระหว่างสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่ง

ท่ี 2 ท่ีมุกดาหาร และแห่งท่ี 3 ท่ีนครพนม ตลอดจนมี

สนามบินพาณิชย์ ที่สามารถรองรับการเดินทางและการ

ขนส่งสินค้า มีผลิตภัณฑ์เกษตรท่ีโดดเด่น อาทิ ข้าวหอม

มะลิ ข้าวฮาง เนื้อโคขุนโพนยางค�า เม่า คราม ยางพารา

อีกท้ังยังมีศูนย์ศึกษาเพื่อการพัฒนาภูพานอันเน่ืองมาจาก

พระราชด�าริ ท่ีได้ด�าเนินการศึกษาวิธีการพัฒนาองค์ความ

รู้ ด้านการเกษตร การชลประทาน สิ่งแวดล้อมและการ

ประกอบอาชีพ ซึ่งประชาชนสามารถน�าไปปรับใช้ในการ

ประกอบอาชีพและการด�ารงชีวิตได้โดยสะดวก

นายธรรมรัต กล่าวต่อว่า การจัดงานดังกล่าวจะแบ่ง

ออกเป็น 3 ส่วน คือ 1.การจัดแสดงผลงานของกระทรวง

เกษตรฯ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2.การแสดงและ

จ�าหน่ายสินค้าเกษตรดีเด่น (Niche) จาก20 จังหวัดใน

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และประกาศเกียรติคุณเกษตร

ท่ีท�าการผลิตตามระบบมาตรฐาน GAP และ Q 3.เวที

พบปะเจรจาธุรกิจการค้าสินค้าเกษตร รวมทั้งการสัมมนา

วิชาการด้าน FTA สินค้าเกษตร การค้าและการส่งออก

การประกวดกิจกรรมด้านต่างๆ

ที่มา : แนวหน้า วันที่ 1 ก.ย. 54

Page 7: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

12 1312 13

สถานการณ์นโยบายครม.ใหม่และประเด็นแรงงาน

กรมประมงหนุนใช้เทคโนโลยี ลดขาดแคลนแรงงาน-ค้ามนุษย์

ดร.สมหญิง เปี่ยมสมบูรณ์ อธิบดีกรมประมง กล่าว

ว่า การที่ จะแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานในเรือ

ประมงได้ยั่งยืนและ เป็นการถาวรนั้น กรมประมงมีนโย

บายที่จะผลักดันให้มีการน�า เทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามา

พัฒนา ปรับปรุงรูปแบบการท�าประมง ในประเทศไทย

ให้สามารถที่จะลดแรงงานในเรือประมงได้

โดยในปีงบประมาณ 2553-2554 กรมประมงร่วมกับ

ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ด�าเนิน

การ พัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวิธีการท�า

ประมงอวนล้อมของไทย ซึ่งปกติจะใช้แรงงาน 30-40 คน

ต่อหนึ่งล�าเรือ และเทคโนโลยีดังกล่าวจะสามารถลดการใช้

แรงงานในเรือประมงอวนล้อมได้ โดยงบประมาณ 2555

รูปแบบเทคโนโลยีดังกล่าว จะถูกด�าเนินการทดสอบในการ

ท�าประมงจริงในทะเล กรมประมงคาดหวังว่า ผลจากการ

ผลักดันการน�าเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้ในการท�าประมง

ทะเล จะเป็นการลดปัญหาการขาดแคลนแรงงานในเรือ

ประมง ปัญหาการค้ามนุษย์ในเรือประมง ขณะเดียวกัน

จะส่งผลทางอ้อมต่อค่าตอบแทนหรือ สวัสดิการท่ีแรงงาน

จะได้รับที่เพิ่มมากขึ้น ตลอดจนสุขลักษณะ และความเป็น

อยู่ในเรือประมงจะมีการพัฒนาและดีข้ึนโดยล�าดับ อันจะ

เป็นการชักจูงให้แรงงานสนใจที่จะเข้าใช้แรงงานในภาค

ประมงเพิ่มมากข้ึน ซึ่งจะส่งผลต่อความยั่งยืนของการ

ประมงทะเลของไทยในอนาคต อธิบดีกรมประมง กล่าว

ท่ีมา : แนวหน้า วันที่ 1 ก.ย. 54

ซีพีเอฟหนุนนโยบายรัฐฯขึ้นค่าแรง 300 บาททันที หลังรบ.ประกาศใช ้ ลุยจัดคาราวานสินค้าลดค่าครองชีพ

นายอดิเรก ศรีประทักษ์ กรรมการผู้จัดการใหญ่และ

ประธานคณะผู ้บริหาร บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร

จ�ากัด (มหาชน) หรือซีพีเอฟ เปิดเผยว่า บริษัทพร้อม

ขึ้นค่าแรงขั้นต�่า 300 บาท ทันทีท่ีรัฐบาลมีการประกาศ

ใช้นโยบายเพิ่มรายได้ดังกล่าว ขณะเดียวกัน ซีพีเอฟยัง

สนับสนุนการลดค่าครองชีพเพื่อช่วยคนไทยทั่วประเทศ

ด้วยการจัดคาราวานสินค้า CP ยืนเคียงข้างประชาชนสู้

ภัยเศรษฐกิจ ท่ีจัดขึ้น ตั้งแต่ปีพ.ศ.2552 เป็นต้นมา เพื่อ

บรรเทาความเดือดร้อนด้านค่าครองชีพแก่ประชาชน ด้วย

การน�าหลากหลายผลิตภัณฑ์อาหารซีพีคุณภาพดีราคาต�่า

กว่าปกติเฉลี่ยท่ี 20-30% โดยครั้งต่อไป ซีพีเอฟจะจัด

คาราวานสินค้าดังกล่าวท่ี จ.กาญจนบุรี ในวันท่ี 20-25

กันยายน และท่ี จ.นครราชสีมา ในวันท่ี 27-30 ตุลาคม

ศกนี้ กิจกรรมดีๆ เช่นนี้จะมีขึ้นอย่างต่อเนื่องท่ัวประเทศ

นายอดิเรก กล่าวอีกว่า ส�าหรับราคาสุกรและไก่เนื้อที่

อ่อนตัวลงในช่วงนี้ นับเป็นโอกาสที่ผู ้บริโภคจะได้บริโภค

สินค้าราคาถูกลง ถือเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ช ่วยแบ่งเบา

ภาระผู้บริโภค ซึ่งซีพีเอฟให้ความร่วมมืออย่างดียิ่ง เพ่ือ

สนับสนุนนโยบายการเพิ่มรายได้และลดภาระค่าครองชีพ

ประชาชนอีกทางหนึ่ง

ที่มา : มติชน วันที่ 4 ก.ย. 54

Page 8: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

14 15

สถานการณ์ด้านการค้า

นายกฯสั่งพณ.คุมราคาสินค้า โต้งแจงไม่มีพ่อค้าขอปรับขึ้น เหตุน�้ามันถูกช่วยลดต้นทุนได้

นายกฯ สั่ง “กิตติรัตน์” ติดตามราคาสินค้า หวั่น

กระทบค่าครองชีพประชาชน ด้าน รมว.พาณิชย์ ช้ีหลัง

ราคาน�้ามันลด ต้นทุนให้ผู ้ประกอบการลงไประดับหนึ่ง

แล้ว พร้อมย�้าขณะนี้ยังมีสินค้าขอปรับขึ้นราคา และจะ

ไม่บังคับพ่อค้าเพื่อเอาหน้า ยกเหตุท�าการค้าต้องมีก�าไร

นาง สาวอนุตมา อมรวิวัฒน์ รองโฆษกประจ�า

ส�านักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยภายหลังการประชุมคณะ

รัฐมนตรีว่า น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ได้

แสดงความเป็นห่วงเกี่ยวกับผลกระทบต่อค่าครองชีพ

ประชาชน และได้สั่งการให้ นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง

รองนายกรัฐมนตรี และ รมว.พาณิชย์ ก�ากับดูแลการปรับ

ข้ึนราคาสินค้า โดยให้เร่ิมตั้งแต่ขั้นตอนการผลิต เพื่อให้

เกิดความเป็นธรรมกับ ประชาชน

ด้าน นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี

และรมว.พาณิชย์ กล่าวว่า ที่ประชุมครม.ได้หารือถึง

แนวโน้มราคาสินค้าภายในประเทศ ซึ่งกระทรวงพาณิชย์

ยืนยันว่า จนถึงขณะนี้ไม่มีสินค้ารายการใดขอปรับขึ้น

ราคา เพราะราคาน�้ามันได้ปรับตัวลดลง ท�าให้ต้นทุนของ

ผู้ประกอบการปรับตัวลดลงตามไปด้วย

“กระทรวง พาณิชย์ มีหน้าที่ในการดูแลให้ราคา

สินค้า ให้อยู ่ในระดับที่เหมาะสมกับต้นทุนและก�าไรของ

ผู้ประกอบการ กรมการค้าภายใน มีหน้าที่ในการพูดคุย

กับผู้ประกอบการอยู่ตลอดเวลา และไม่มีนโยบายกดราคา

สินค้าให้ลดต�่าลง กระทั่งผู ้ประกอบการมีปัญหา แต่เมื่อ

ต้นทุนสินค้าโดยเฉพาะน�้ามันดีเซลลดราคาลง ประกอบ

กับค่าครองชีพ ยังอยู่ในภาวะที่สูง ดลับมีผู้ประกอบการ

ที่พร้อมจะให้ความร่วมมือในการลดราคาสินค้าหลายราย

โดยบางรายติดต่อมาเองว่า พร้อมจะลดราคาสินค้าบาง

รายการได้บ้าง แต่อย่าไปคาดหวังว่า จะลดได้มากมาย

อะไร”

ขณะ ที่สินค้าประเภทเนื้อสัตว์ อยู ่ในภาวะที่ผู ้

ประกอบการสามารถปรับตัวลดลงมาได้บ้าง และกรมการ

ค้าภายใน ไม่สามารถประกาศราคาได้เอง เนื่องจากราคา

สินค้าในกลุ่มนี้ มีการปรับข้ึนๆ ลงๆ อยู่แล้ว

ส่วน จะใช้วิธีการขอความร่วมมือจากภาคเอกชน

ในการปรับลดราคาสินค้า หรือจะต้องใช้มาตรการบังคับ

เพื่อให้ราคาสินค้าลดลง นั้น รมว.พาณิชย์ ยอมรับว่า

เป็นเรื่องที่ยาก เพราะการท�าธุรกิจต้องมีก�าไร การจะไป

บังคับให้ผู ้ค้าขาดทุนคงเป็นไปไม่ได้ และที่ส�าคัญคือ จะ

ไปขอร้องผู ้ประกอบการเพื่อเป็นการเอาหน้า แบบระยะ

สั้นๆ เพื่อขอให้ลดราคาสินค้าลงก็ไม่ม่ันใจว่า ในอนาคต

ผู้ประกอบการจะขออะไรคืนบ้าง

ท่ีมา : หนังสือพิมพ์แนวหน้า ฉบับวันที่ 31 ส.ค. 54

น�้ามันลดฉุดเงินเฟ้อลง 0.5% สศค.เล็งปรับจีดีพีไตรมาส 3

นายบุญชัย จรัสแสงสมบูรณ์ ผู ้อ�านวยการส�านัก

นโยบายเศรษฐกิจมหภาค ส�านักงานเศรษฐกิจการคลัง

(สศค.) เปิดเผยว่า นโยบายการชะลอการเก็บเงินเข้า

กองทุนน�้ามันชั่วคราว ส่งผลให้ราคาน�้ามันเกือบทุกชนิด

ลดลงนั้น คาดว่าจะท�าให้เงินเฟ้อในเดือน ก.ย. ลดลง

0.5% แต่ท้ังนี้ยังไม่รวมมาตรการอื่น ๆ และคาดว่า ท้ัง

ปีนี้ เงินเฟ้อพื้นฐานจะอยู่ท่ี 3.8% ซึ่งยังไม่รวมการลด

ราคาน�้ามันดังกล่าว

“ราคา น�้ามันท่ีลดลงนั้น ท�าให้เช่ือว่าปัญหาอัตรา

เงินเฟ้อไม่เป็นแรงกดดันต่อเศรษฐกิจไทยขณะนี้ เพราะ

น่าจะช่วยท�าให้เงินเฟ้อทั่วไปลดลงไปค่อนข้างมากใน

เดือนต่อๆ ไป หรือ 0.5% ในเดือนก.ย.นี้ แต่จะมีผลให้

เงินเฟ้อท้ังปีลดลงได้มากน้อยแค่ไหนนั้น ต้องติดตามดู

เงินเฟ้อเฉลี่ยในเดือนถัดไป โดยขณะนี้เงินเฟ้อพื้นฐานยัง

อยู ่ในกรอบเป้าหมายของคณะกรรมการนโยบายการเงิน

(กนง.) ดังนั้น การดูแลเศรษฐกิจ ต้องพิจารณาในทุกๆ

ด้าน ไม่ใช่เฉพาะเงินเฟ้ออย่างเดียว แต่เศรษฐกิจไทย

ถือว่ายังมีต้นทุนท่ีดี เพราะภาครัฐมีหนี้ไม่มาก จึงท�าให้

กระตุ้นเศรษฐกิจได้อีก”

ท้ัง นี้ เชื่อว่าเศรษฐกิจไทยครึ่งปีหลัง จะขยายตัวได้

มากกว่าครึ่งปีแรกที่ผ่านมา แม้เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณ

ชะลอตัว ซึ่งสศค.จะทบทวนประมาณการเศรษฐกิจไทยปี

54 ใหม่อีกครั้งช่วงสิ้นเดือนก.ย.นี้ จากเดิมที่คาดว่า จีดี

พีปีนี้จะเติบโตได้ 4-5% หรือมีค่ากลางที่ 4.5% ส่วนที่

สภาพัฒน์มองเศรษฐกิจไทยปีนี้ลดลง อาจประเมินที่แตก

ต่างกันจากไส้ใน ซึ่งต้องไปดูรายละเอียด แต่ไตรมาส 3

นี้ ประเมินว่า เศรษฐกิจไทยขยายตัวมากกว่าไตรมาส 1

และ 2 ท่ีผ่านมา โดยไตรมาสแรกโต 3.2% ไตรมาส 2

โต 2.6% จากฐานท่ีต�่าในปีก่อน และการผลิตที่จะเร่งตัว

ขึ้นจากไตรมาสก่อนหน้า โดยเฉพาะอุตสาหกรรมยานยนต์

การท่องเท่ียว และการส่งออกที่ยังขยายตัวได้ดี

นาย นริศ ชัยสูตร ผู ้อ�านวยการสศค. กล่าวว่า

เศรษฐกิจไทยเดือนก.ค.ท่ีผ่านมา ยังขยายตัวได้ต่อเนื่อง

โดยเฉพาะแรงส่งจากภาคการส่งออก ซึ่งขยายตัวได้ดีกว่า

ท่ีคาดไว้ โดยกรมศุลกากรรายงานตัวเลขเข้ามานั้น แสดง

ให้เห็นถึงการขยายตัวท่ีเพิ่มจากช่วงเดียวกันของปีที่แล้วถึง

38.3% และมีมูลค่าส่งออกสูงเป็นประวัติการณ์ ที่ 21,500

ล้านดอลลาร์สหรัฐ

ท้ัง นี้ สศค. ประเมินว่า การชะลอตัวของเศรษฐกิจ

โลก โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมหลัก จะกระทบ

ต่อการส่งออกของไทยมากขึ้น และยังได้รับผลกระทบจาก

เงินบาทท่ีแข็งค่า ตามเงินทุนต่างชาติที่ไหลเข้ามาในเอเชีย

รวมท้ังไทยเพิ่มขึ้น ดังนั้น รัฐบาลต้องกระตุ้นอุปสงค์ใน

ประเทศ ทั้งบริโภค และการลงทุนผ่านการใช้จ่ายของภาค

รัฐ ซึ่งมีท้ังลงทุนภาครัฐ ที่อาจให้ภาคเอกชนร่วมลงทุนพี

พีพี มีมาตรการภาษี ท�าให้คนมีเงินเหลือมาลงทุน.

ที่มา : หนังสือพิมพ์เดลินิวส์ ฉบับวันที่ 31 ส.ค. 54

Page 9: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

16 17

Vol. 2 Issue 31

17

กิตติรัตน์”แนะเอกชนตั้งโรงงานต่างแดน ลดแรงกดดันเงินบาทแข็งค่า

“กิตติ รัตน์” พร้อมหนุนผู้ส่งออกลดผลกระทบวิกฤต

สหรัฐ แนะเอกชนขยายตลาดไปตั้งโรงงานในต่างประเทศ

ด้าน ส.อ.ท. แนะรัฐเตรียมพร้อมรับมือความผันผวนใน

อนาคต ชะลอนโยบายการเงิน การคลัง ที่ไม่เร่งด่วน ...

วัน ที่ 30 ส.ค. นายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รอง

นายกรัฐมนตรี และรมว.พาณิชย์ เปิดเผยภายในงาน

สัมมนา F.T.I.Economic Focus 2011 ครั้งที่ 5/54

เรื่อง “วิกฤตการณ์เศรษฐกิจสหรัฐ ผลกระทบและการ

ปรับตัวของผู้ส่งออกไทย” จัดโดยสภาอุตสาหกรรมแห่ง

ประเทศไทย (ส.อ.ท.) ว่า รัฐบาลพร้อมสนับสนุนการลด

ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจสหรัฐฯ และยุโรปที่ส่งผลต่อ

การส่งออกไทย โดยภาคธุรกิจจ�าเป็นต้องคิดท�าธุรกิจเพิ่ม

ขึ้น ให้ความส�าคัญด้านการตลาด หันไปตั้งโรงงานในต่าง

ประเทศ และน�าเข้าเคร่ืองจักรเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพ

การผลิต ลดแรงกดดันการแข็งค่าของค่าเงินบาท โดย

รัฐบาลพร้อมสนับสนุนภาคเอกชนอย่างเต็มที่

“เศรษฐกิจ โลกปีหน้าอาจเติบโตช้าลง ผู้ซื้อต่าง

ประเทศก็จะมีก�าลังซื้อลดลง โดยรัฐบาลนี้ยังให้ความ

ส�าคัญกับการส่งเสริมการส่งออกอยู ่ โดยจะท�างานร่วม

มือกับภาคเอกชนอย่างใกล้ชิด เพื่อรับมือกับเศรษฐกิจ

โลก เพราะไทยคงหนีไม่พ้นผลกระทบทางอ้อม” นาย

กิตติรัตน์ กล่าว

นายกิตติรัตน์กล่าวต่อว่า ส�าหรับค่าเงินบาทท่ีแข็งค่า

ข้ึน จะกระทบต่อการส่งออกของเอกชน ดังนั้น เอกชน

จึงต ้องเร ่งใช ้ เงินตราต ่างประเทศออกไปซื้อเครื่อมือ

เครื่องจักร เพื่อท�าให้ค่าเงินบาทอ่อนค่า จะหวังพึ่งหน่วย

งานที่ดูแลอัตราแลกเปลี่ยนอย่างเดียวไม่ได้ เพราะหน่วย

งานดังกล่าวต้องท�าหน้าที่วิเคราะห์ วิจัย และควบคุมค่า

เงินบาทได้ในระยะเวลาสั้น นักธุรกิจจึงต้องมาช่วยกันน�า

เข้าสิ่งที่เป็นประโยชน์

ด้าน นายธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรม

แห่งประเทศไทย (ส.อ.ท.) กล่าวว่า วิกฤตสหรัฐ และ

สหภาพยุโรป (อียู) อาจมีผลกระทบกับเศรษฐกิจไทย

ไม่มากนัก แต่วิกฤติที่ เกิดข้ึนจะเช่ือมโยงกับเศรษฐกิจ

ประเทศคู่ค้าหลักของไทย ไทยคงได้รับผลกระทบทางอ้อม

ไม่มากก็น้อย และหากเศรษฐกิจโลกถึงข้ันถดถอย ต้อง

มีการติดตามอย่างใกล้ชิด และภาครัฐจ�าเป็นต้องเตรียม

มาตรการรับมือ นโยบายการเงิน การคลัง ท่ีไม่เร่งด่วน

จึงควรชะลอไว้ เพื่อเตรียมการรับมือต่อภาวะเศรษฐกิจท่ี

ผันผวนในต้นปีหน้า

ท่ีมา : ไทยรัฐ วันที่ 31 ส.ค. 54

“การท่าเรือ”เปิดช�าระค่าภาระ ผ่านระบบแบงก์ ฟรี

กทท.ร่วม กับธนาคารกรุงไทย เปิดให้ผู ้ประกอบ

การขนส่งสินค้าทางเรือช�าระค่าภาระ/บริการผ่านระบบ

อิเล็กทรอนิกส์ของธนาคารในรูปแบบการหักบัญชีเงินฝาก

แบบอัตโนมัติผ่าน Website (www.port.co.th) ของ

กทท.ฟรี

นาย สุรพงษ์ รงศิริกุล รองผู้อ�านวยการ การท่าเรือ

แห่งประเทศไทย (กทท.) สายบริหารทรัพยากรบุคคล

และการเงิน เปิดเผยว่า ตั้งแต่วันท่ี 1 ก.ย.54 เป็นต้น

ไปจนถึงสิ้นปี 2554 นี้ กทท.จะร่วมกับ ธนาคารกรุง

ไทยในการเปิดให้ผู ้ประกอบการขนส่งสินค้าทางเรือ ใช้

บริการรับช�าระค่าภาระ/บริการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์

ของธนาคาร (e-Payment) ในรูปแบบการหักบัญชีเงิน

ฝากแบบอัตโนมัติผ่าน Website (www.port.co.th)

ของ กทท.ฟรี

ท้ังนี้ระบบดังกล่าวของ กทท. ถือเป็นส่วนหนึ่งของ

โครงการ e-Port ในอันท่ีจะช่วยอ�านวยความสะดวกให้

แก่ผู ้ประกอบการขนส่งสินค้า โดยธนาคารกรุงไทยเป็น

ธนาคารแห่งแรกท่ีเปิดให้บริการ ซึ่งบริการดังกล่าวจะ

เป็นประโยชน์แก่ผู ้ใช้บริการในด้านต่างๆ ได้แก่ ผู ้ใช้

บริการสามารถท�ารายการช�าระค่าภาระและค่าบริการผ่าน

Website ของ กทท. ได้ถึงเวลา 22.00 น. ของแต่ละ

วัน โดยไม่ต้องท�าธุรกรรมท่ีธนาคาร

โดย ผู้ใช้บริการสามารถเลือกรับผลการช�าระค่าสินค้า/

บริการ หลังการท�ารายการดังกล่าวได้ทั้งทาง E-mail และ

SMS เพิ่มความสะดวก รวดเร็ว ในการด�าเนินการ ท�าให้

ไม่เสียโอกาสในการประกอบกิจการ/การขนส่ง มีความ

ปลอดภัยในการใช้งานด้วยเทคโนโลยีระดับสากล ประหยัด

ค่าใช้จ่าย/ลดต้นทุนค่าใช้จ่ายของผู้ประกอบการ

นอกจากนี้ กทท. ยังสามารถตรวจสอบรายการดัง

กล่าวผ่านบริการ KTB Corporate Online ได้ตลอด 24

ชั่วโมงด้วย..

ที่มา : ไทยรัฐ วันที่ 31 ส.ค. 54

Page 10: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

18 19

พาณิชย์คุมไม่อยู่ เงินเฟ้อพุ่ง4.29% สูงสุดรอบ35เดือน

เงิน เฟ้อ ส.ค. พุ่ง 4.29% สูงสุดในรอบ 35 เดือน

หลัง “พาณิชย์” คุมไม่อยู่ สินค้าดาหน้าขึ้นราคาเพียบ

ทั้งอาหารและไม่ใช่อาหาร แต่ยังมั่นใจทั้งปีคุมอยู่ในกรอบ

ไม่เกิน 3.7% หลังรัฐบาลคุมราคาน�้ามัน จี้ลดราคาสินค้า

เมื่อ วันท่ี 1 ก.ย. นายยรรยง พวงราช ปลัดกระทรวง

พาณิชย์ เปิดเผยถึงดัชนีราคาผู้บริโภค (เงินเฟ้อ) เดือน

ส.ค.54 ว่า ดัชนีอยู่ที่ 113.23 เมื่อเทียบกับเดือน ก.ค.

54 สูงขึ้น 0.43% แต่เมื่อเทียบกับเดือนส.ค.53 สูงขึ้นถึง

4.29% สูงสุดในรอบ 35 เดือน นับจากเดือน ก.ย.51 ที่

เคยสูงถึง 6% และยังถือว่า เป็นการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่าง

ต่อเนื่องในระดับที่เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจ และเฉลี่ย

8 เดือนปีนี้ (ม.ค.-ส.ค.) สูงขึ้น 3.72% จากช่วงเดียวกัน

ของปีก่อน ถือว่าอยู่ในระดับสูง แต่ยังอยู่ในกรอบท้ังปีที่

คาดการณ์ไว้ที่ 3.2-3.7%

ส�าหรับ เงินเฟ้อพื้นฐานเดือน ส.ค. ที่หักรายการ

สินค้ากลุ่มอาหารสดและกลุ่มพลังงานออกนั้น ดัชนีอยู่ที่

106.64 เมื่อเทียบเดือน ก.ค.54 สูงขึ้น 0.27% แต่เทียบ

กับเดือน ส.ค.53 สูงขึ้น 2.85% และเฉล่ีย 8 เดือน สูง

ข้ึน 2.12% ทั้งนี้ เงินเฟ้อในเดือน ส.ค.ที่เพิ่มสูงขึ้น เป็น

ผลมาจากดัชนีราคาหมวดอาหารและเครื่องดื่ม เพ่ิมข้ึน

8.43% ขณะที่ดัชนีราคาหมวดอื่นๆ ไม่ใช่อาหารและ

เครื่องดื่ม สูงขึ้น 1.78%

“เงิน เฟ้อเดือน ส.ค.ที่สูงข้ึน เป็นเพราะราคาสินค้า

กลุ่มอาหารและพลังงานสูงขึ้น แต่เชื่อว่าเดือนต่อๆ ไป

หลังจากที่รัฐบาลได้เข้ามาดูแลราคาน�้ามันและราคาสินค้า

อาหาร ทั้งสัตว์และพืช เริ่มลดราคาลง จากอากาศท่ีเย็น

ลง ผลผลิตมีมากขึ้น จะท�าให้เงินเฟ้อลดลงได้แน่ คาดว่า

ไตรมาสสุดท้ายไม่น่าจะขยับเพิ่มข้ึนมาก และท�าให้เงินเฟ้อ

ทั้งปีอยู่ในกรอบที่ตั้งไว้” นายยรรยง กล่าว

ส�าหรับ นโยบายปรับข้ึนค่าจ้างแรงงาน และนโยบาย

รับจ�าน�าข้าวนั้น นายยรรยง กล่าวว่า ไม่ได้มีผลท�าให้

เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น เพราะการขึ้นค่าแรงยังไม่ได้มีผลบังคับ

ใช้ในขณะนี้ หรือแม้จะเพิ่มขึ้นในปีหน้า ก็มีผลกระทบ

ต่อเงินเฟ้อไม่มาก โดยค่าแรงเพิ่มข้ึน 1% จะมีผลท�าให้

เงินเฟ้อเพิ่มข้ึนเพียง 0.08% เท่านั้น ขณะที่การรับจ�าน�า

ข้าว ก็ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อเงินเฟ้อ โดยหากราคาข้าวสาร

เพิ่มข้ึน 1% จะมีผลให้เงินเฟ้อเพิ่ม 0.02%

ท่ีมา : ไทยรัฐ วันที่ 1 ก.ย. 54

สอ.โชว์แผนส่งออกรุกเอเชีย

สอ.-ธสน.รับมือเศรษฐกิจคู่ค้าหลักสหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปุ่น

ชะลอ สอ.โชว์แผนปฏิบัติการผลักดันการส่งออกโฟกัส

ตลาดเอเชีย พร้อมถกทูตพาณิชย์ 14 ก.ย.ศกนี้ ด้าน

ธสน.แนะผู ้ส ่งออกผลิตสินค้าไซซ์เล็กเพื่อตรึงราคาขาย

ท�าประกันลดความเสี่ยง และเกาะติดลูกค้าให้ใกล้ชิด

นางนันทวัลย์ ศกุนตนาค อธิบดีกรมส่งเสริมการส่ง

ออก เปิดเผยว่า ท่ามกลางตลาดหลักแนวโน้มเศรษฐกิจ

ชะลอตัวทั้งสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป ทางกรมจึงได้

วางแผนส่งเสริมการส่งออกปี 2555 โดยจะมุ่งเน้นตลาด

ใหม่และตลาดที่มีศักยภาพ โดยเฉพาะในเอเชีย ได้แก่จีน

ฮ่องกง ไต้หวัน เกาหลีใต้ อาเซียน เนื่องจากตัวเลขการ

ส่งออกในช่วง 7 เดือนแรก(มกราคม-กรกฎาคม 2554)

ท่ีผ่านมา ตลาดเอเชียภาพรวมส่งออกไปได้ดีโดยมีมูลค่า

รวม 88,902 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งแผนการส่งเสริมการ

ส่งออก กรมจะได้น�าหารือร่วมกับทูตพาณิชย์ท่ีประจ�าอยู่

ประเทศต่างๆ ท่ัวโลกท่ีจะเดินทางเข้ามาประชุมในวันท่ี

14 กันยายน ศกนี้

“กรมได้ผ่าโครงสร้างการส่งออกวิเคราะห์ถึงจุดแข็ง

จุดอ่อน โอกาสและวิกฤติ โดยจัดเตรียมยุทธศาสตร์ 3

ด้าน คือ 1. การขยายการค้าการลงทุนระหว่างกัน ผลัก

ดันให้ไทยเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงการส่งออกอาเซียน เพื่อ

รองรับการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน(เออีซี) การ

สร้างแบรนด์ไทยในเวทีอาเซียน เป็นต้น 2.การพัฒนา

สินค้าและบริการไทยเพื่อรองรับไลฟ์สไตล์รูปแบบใหม่และ

ส่งเสริมการ ขยายช่องทางการค้าใหม่ และ 3. การส่ง

เสริมการใช้ประโยชน์จากข้อตกลงเขตการค้าเสรี(เอฟที

เอ)ให้มากขึ้น” นางนันทวัลย์ กล่าว

ทั้งนี้อาเซียน 9 ประเทศเป็นตลาดที่ไทยมีการ

ส่งออกสูงสุดช่วง 7 เดือนแรกของปีนี้ โดยมีมูลค่ารวม

31,381 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขยายตัว 24% จีนและ

ฮ่องกง 25,783 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขยายตัว 38.9%

เกาหลีใต้ 2,804 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขยายตัว 32.7%

ไต้หวัน 2,457 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ขยายตัว42% ตลาด

อื่น อาทิ ตะวันออกกลางส่งออก 6,706 ล้านดอลลาร์

สหรัฐฯ ขยายตัว 22.8% แอฟริกา 4,405 ล้านดอลลาร์

สหรัฐฯ ขยายตัว 21.5%

ส�าหรับการส่งออกของไทยไปยังตลาดอาเซียน ช่วง 7

เดือนแรกของปีนี้เรียงตามมูลค่า ดังนี้ มาเลเซีย สิงคโปร์

อินโดนีเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ พม่า ,กัมพูชา,ลาว

และบรูไน โดยมีมูลค่า 7,305, 6,537, 6,043, 4,122,

2,617, 1,566, 1,563, 1,551 และ 78 ล้านดอลลาร์

สหรัฐฯ ตามล�าดับ และขยายตัว 21, 33, 38, 31, -8.3,

30, 6, 24, และ1.6% ตามล�าดับ

Page 11: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

20 21

อัตราแลกเปลี่ยน “วันที่ 14 กันยายน นี้จะได้ประเมินแนวโน้มการ

ส่งออกในช่วงที่เหลือของปี รวมทั้งแนวโน้มการส่งออกปี

2555 จะยังเติบโตได้เท่าใด โดยจะหารือกับทูตพาณิชย์

เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการส่งออกให้สอดคล้อง อย่างไร

ก็ดีปีนี้คาดว่าจะได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ 15% คิดเป็น

มูลค่า 2.24 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐฯ” นางนันทวัลย์

กล่าว

ขณะเดียวกันกรมจะจัดกิจกรรมเอ็กซ์สปอร์ต คลินิก

เรื่อง การเจาะตลาดต่างประเทศให้ประสบความส�าเร็จ ใน

วันที่ 20 กันยายนนี้ เพื่อให้ผู ้ส่งออก มีโอกาสหารือและ

สอบถามทูตพาณิชย์ในตลาดต่างๆ เพื่อวางแผนการบุก

เจาะตลาด และร่วมจัดท�ากลยุทธ์การบุกเจาะตลาด รวม

ถึงหาทางแก้ไขปัญหาการส่งออกในตลาดต่างๆ ส�าหรับ

ข้อมูลที่จะผู้ส่งออกได้รับ เช่น ช่องทางการค้าและการ

ลงทุนในเชิงลึกของธุรกิจ กฎระเบียบทางการค้า มาตรการ

น�าเข้าใหม่ วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค ผู้น�าเข้า ลูกค้า

คู่แข่ง สถานการณ์ กลยุทธ์ แนวโน้ม รสนิยม รูปแบบ

ของสินค้าที่เหมาะสมกับตลาด รายช่ือผู้น�าเข้าล่าสุด ข้อ

ควรปฏิบัติและไม่ควรปฏิบัติในแต่ละตลาด

นายสมพร จิตเป็นธม รองกรรมการ ผู ้จัดการ

ธนาคารเพื่อการส่งออกและน�าเข้าแห่งประเทศไทย (ธสน.)

เสนอแนะให้ผู้ส่งออกปรับตัวรับการชะลอตัวของเศรษฐกิจ

ประเทศคู่ค้าหลักคือ สหรัฐฯ ยุโรป และญี่ปุ่น โดยปรับรูป

แบบสินค้าให้สอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจอาทิ ขนาดเล็ก

ลงเพื่อลดราคาขายหรือตรึงราคา คัดสรรผู้ซื้อและติดตาม

อย่างใกล้ชิดเพื่อลดความเสี่ยงการช�าระเงิน หาเครื่องมือ

ป้องกันความเสี่ยงเช่นท�าประกันส่งออก เป็นต้น

ท่ีมา : หนังสือพิมพ์ฐานเศรษฐกิจฉบับท่ี 2,667 4- 7 ก.ย. 54

Page 12: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

Vol. 2 Issue 3130 Aug - 5 Sep 2011

22 23

อัตราแลกเปลี่ยน

33.31 34.2931.69

61.60

53.5748.97

48.93 47.7142.04

32.3436.72

36.12

4.80 5.02 4.68

0.00

10.00

20.00

30.00

40.00

50.00

60.00

70.00

2551 2552 2553

THB

Year

YEARLY MID RATES OF EXCHANGE OF COMMERCIAL BANGKOK IN BANGKOK

THB / 1 USD THB /1 GBP THB / 1 EUR THB / 100 JPY THB/CNY

23

อัตราแลกเปลี่ยน

Page 13: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

WEEKLY BRIEFTFPA Trade & Technical

30 Aug - 5 Sep 2011

24

THAIFOODPROCESSORS’ASSOCIATIONTel : (662) 261-2684-6 Fax : (662) 261-2996-7E-mail: [email protected]

สมาคมผู้ผลิตอาหารส�าเร็จรูป

ขอขอบคุณเว็ปไซต์ ดังต่อไปนี้1. http://www.thannews.th.com 2. http://www.thairath.co.th 3. http://www.bangkokbiznews.com 4. http://www.tnsc.com 5. http://www.prachachat.net6. http://www.dailynews.co.th7. http://www.acfs.go.th8. http://www.posttoday.com9. http://www.matichon.co.th10. http://www.naewna.com

เสนอขอ้คดิเห็น/ขอ้เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......................................................

Executive Director

วิกรานต์ โกมลบุตร E-mail: [email protected]

Administrative Manager

ลินดา เปลี่ยนประเสริฐ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Manager

สุพัตรา ริ้วไพโรจน์ E-mail: [email protected]

Division-Fruit and Vegetable Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

วิภาพร สกุลครู E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

อัญชลี พรมมา E-mail: [email protected]

ธณัฐยา จันทรศรี E-mail: [email protected]

Division-Fisheries Products

E-mail : [email protected]

Head of Trade & Technical

ชนิกานต์ ธนูพิทักษ์ E-mail: [email protected]

Trade and Technical Officer

รัตนา ชูศรี E-mail: [email protected]

ธนัญญา ตั้งจินตนา E-mail: [email protected]

IT Support Officer

ปวัณรัตน์ ใจกล้า E-mail: [email protected]

Data Management Office

ญดา ชินารักษ์ E-mail: [email protected]

Commercial Relation Executive

กัญญาภัค ชินขุนทด E-mail: [email protected]

Administrator

วสุ กริ่งรู้ธรรม E-mail: [email protected]

ศิริณีย์ ถิ่นประชา E-mail: [email protected]

Accountant

วิมล ดีแท้ E-mail: [email protected]

TFPA TEAM

Page 14: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

A?-SEP-2611 t1:37 From: @5474?14

'Jn?ufl6[a

. i {fi viru o"rocid/e rnrnlb

$ r"ruurtru

ri{dn 'Eyes on Africa"

dd,lc,oo o, uuxqi oo. risl o. uuuql ooooo

bd(d

r,t0{

r5u! ul

d#durriru 'Eyes on Africa'

nniirndddarf,inrutirf,n"Eyes on Africa : {unr n{rlsnra rarnusr{3nr' 1ufirdob duuruu nal od.oo - ob.oro u. ru fo.rr.l:vql $odoo f! < dru-nlruUfnnrw:?{nltitd

$ ft ur'ourrryi Iqurorurun:-rruoirla;{glunir'r n1:ntsylt?{111fi !rj (urafl nifn{atr rs!a{) irrriF,trur fu

! tunr:in:lrisra?rrnrrdloon ,!tnlHllrrr larroruinrr{o{aldlsnilqlYar Giand

; {rr?uundol!:qyr:rurncfirr:rnr{ri'llduurr :rui.rud.rslrindautlr{rirlnrrduurr nrufu trar uavanrufidlndrr unvhj:nuftrrsis6ududlClisYllul1 lfinrtr yrrru lautr:arr orrddor dao*od nruluiui o riusrou bddd fi?u nrlor,?ilii.!

m . l{Su L.t6', uqc n$!./

rdihro(,yStf,$u'clurrQ',

r''t rdntrr{C-'' rr{:axr?Y'vrcruq}'

16l

' ^ .tr 5tR t \ , v -

drfnr{aurnr:caro::ryitqrl:crynIu:. obdos/cbob, dbo(

Iutir: obdcsldoob-o<

dlt'l iIH fsliEE?aggl"'1 I i t: 1J

'iirfi.?

@- aa o {/nn o

,l.rrl/Y't'df

/,no

touf,nlntr:rriu6o

du--(urcf,qr6 trfluuTil)romiufi rlfidlrrmuunua?uinndirinrmrdreon

uuur,lofu6ldunrrtdrJurf,u:ru'r' Eycs on Africa "dauifir&r.iier.rrud:vrnnf,un'rfioqana (o)

dolnna (ra) ..1rr:frrnifiu-nsru

!0n0

!sfio

druudlo'ruvilrIu:ar:WebsiteE-mail, .

Page 15: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

?E'S€F-&I ! 11:37 Fr om: 072\474? 1 a To:62 2512997 P. al2ih Scptcmbcr 2011, Grand Ballroom,

2nd I'loor, Shrngri-h Hotel, Chrruen Krurgr Brngtok

09.00-09.30

09.30-09,40

09.40-09.50

09.50-r0.r0

10.10.10,20

t0.20-10.45

r0.45-t1_00

l r.00.t 1.30

I 1 .30- 12.00

12.00.12,30

t2-r0-t330

13.30-14.00

t4.0&.r4.30

14.30.16.00

: S*strution

: Welcornc Addrrss by Mrs. Nuntawun Sakuntanaga, Dircctor.General,D€psrtmenl of Export Promotion, Ministry of Coorncrcc of Thailand

: Opcning Remurks by H.E. Mr. Kittirat Na.Ranoog, Dcputy Prirne Minisrcraad Ministcr of Commercc of Thailaad

: Keynote Spcech by H.E. Mrs. Eqrerancc Laurinda Francisco Nwiuanc BiasMinister of Mineral l{esources ofthc Republic o(Mozambiquc;"AJiica as an lcrnerging Market- thc Casc of Mozambique"

: "Afiica. Deslin$ion for 'frqde arrd Investmcnf by Embassy., .in Baogkok(to be confirmed)

: "[ook Afiica" by Dr. Nitipoom Navsrafu (!it0 ]trtirrnrrrhu)

: Coffse/Ter Break

: "Tradc and lnvests&il OpportuDlties in Guuteng Provincc, South Africa byMr. Qedani Dorothy Mahlrugu, Provincial Ministcr of EconomicDcvelopmont, Dcpartmcnt of Economic Development, South Africa

; "South African Economios Ovcwicw, llxport Opportunitics for Thui Tradersand Investors" by Mr. Jrcob Morbhu, Deputy Directon6cncral of.lnvssorcnt Promotion rurd Facilitstion, Depnrtment of Tnde and Industry,Sout$ Aftca

"Retail Landscape and Oppornuities fot lhai Foods Suppliea in SouthAfrica'by Mr. Joron Stroebcl, Commercial DirEctor, Rialto Foods,South Afiica

Lunch, hosted by Dcparfnent ofExport homotion at 2nd Floor,Shangti-la Hotel (Ncxt 2 CP, Thc Struly, Garden Gallery, Thc ValLey"und Salathip)

"Kwaz.ulu-Natal Proviucc -6atoway into Africa Trade snd lnvcstncnt" byMr, Claudc.Ieromc Pretoriur, Destination Marketing Manager, Tnde andInvcstment of Kwazulu-Nutal (1'IKA\0, South Africs

"ann: rurdurhnur{v nrrnrlu :;n'ixlno-uar{inr drot?nl:rJ:ctfuntrdloun sntt.lintJ

rJ::fiinr:ar1 u" Iau{unuorn BXIM Bank (l:zorrurlrrnruth0) (rntil Cotrcc/Tea

lu#orriuur r)

Pancl Disousriion; Direfiors from Thoi Trade Ccnter in ftetoria, Caio'Nairobi, Acca, ad Abuja r1ll*inuscdorrtrorr{rnataucr{inr"

oJ:?r,lui!t'H 1ho)

Qucstioru and AnsworsIlloderrtor: Dn Wif SftivrcldD

16.00-16.30

Office ol Intcrnational Marketing Dcvclop'mcnt

Page 16: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

Lltrg pnN nSIn !gA! 1 62 ZE1.2g9?

e4-AUG-e411 1 l r58 F .om!

d on ocou <r' l gbod

a . ! L

rao{ lr0lifllr{M! il\nll! lxport Ctinic

nuduirn,rd.raon ,iabloer o!t.ilto1i'lun

trq(nt nlltrur ooc{ooh d eor,to, ,oo*," ' '

& -ai{fi b unc Hot tseuee rorr,rliiurrirrtnn

tiinrrfi rao rtuuru! bd,tr

' i J latttlSll l lglu o.nlff l lni

b. rirrllstnrrfi r,n:t! Exoort Ctinic

6Toau'rrjuirru'ururytrti'trvy'jrlrjrvrvril iT ufil'.hfnr{srutnr:nnrnr:u/rjrr :vino d*rrrr6rfiom:l Export ctlnlc nrifi u lu{ldqnrti bo r-ruurr.lu bdd< r1r1 o.rol-

",r.oo u. *

Irlurr,lrfltraa r,$uur:r un:ld arnn{t rf,oirrnrl!fr01!nilrur nlu!fitnr:6r1ugraraoi1,lr.l!r!xrlddrdrl uavaran:wunrl .1 vrioufiuriolo n rnnrrddnorl,[ o1a #runl1+{'l n1!6ftilv nnrur0uu'i.lrgrrqlar:n nl{oll u':urrr':d'r'rirrnutilrrilnr:dr:rei'1,!!*rxrt (1nnrr0td) rYrhn

do1{uflnaurrr.r fimrrurndlriuir ogrirlJ:uTstiltoonrloionrrdrliuqrirnr:dr*wjtU$te ?awi'lu uat',0unr. riununrrupnvnl11i,r il{ninorlur.1Orgrl'ruarlrrltrdlrf,rinrlri*nr{1Irubidgfitfti:lru[l$n:no lanafi?r!01irnrrcf1!nrrU:urri{!r{udl nrrirrvrtrrr trrsar usrdl,rrisrnr: $rui{dd$rdru

riuu urgnalrnrJ{1fi norr,l'r:d, r{ntrrJ

L?fr'l

intu9

I

/a

6.rr9uulrrCslil:rfiqr:rur urnaulordljr!ion:ru Export Cttnic furnnrenl!nu-nr*ncn.Urdlnrar: u3g drild 6r d arlrarat{adgp{hnltolh, paltarlra9oil:gll|detrtirat,go,th riOllrirunrulrr{uvrqrlolfid

"c duurrrq ucdd vtono!nludoXarfilrirrlfid Cart center oro}b6(

!!tt!nfu!11r'l

r it,u N61r)erl,I' ,,,,,.,,{,,.,J,.,r., -,r..*-,Ao1*,oruto'to.rttto\r\!1'lql

uDlldrltrll'lll'uut]o ( @ <tlo' k/oa\dlrreng rourrq.rnlrl,ufio f/e^o, k/oa,if, 'o1*,

6ri4 rv1t1?lo\r \!1'l ql

,i'*r.J,trln *i.ir" />,-, N .eu't2.,<).u.&,.il1 rrd)u.L{dLi(n$T'11t) ' /

'

,"A)

(ulrarrnrtlour rurrtntj) 'i

//a' J" nlWT

gb 6.a ,tr {rinnonrrlotfuinautun, r+ir::uirflJrcrt{l

//^/

nrinourinrurnlorhuarrrtliodruinouru /f

I}llii|?i o-bdob6o€1o-ob.daorococ dO bdlr,bclm,.tdo

' t'ft/,

! tfl15 [email protected] , lrogl,rdod

6[rr{ : atuatarh$bat"loth, FdlaeaFoeE4deplbaiaolh

u*. r,'4 ;u'f n-f W d r'f; t ;1r1

li ili.i* i::r"-

od.$o.!rci. oo 11,'[rlrwltilma

rduyrr" rnl:d aralrit

Page 17: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

(nLl.nmnL*fiFsfr suragtoiruoe nLrEcF; oultnwtpnllercua2ncpfr ,prqnnLnqu q. pn*q q

#rtanul9utTqun LungrrstLunuupFpnsp Pltc NLnnlp Fnlnl c qqt

, Tr q trmFlL|trrLLtt Lut'8,.r}ftLrrw./,'rfltlttL0Lln1,f't LE nauannLut

'06r Grs z0 'Dt' lls t0 : r,r!3ug|.|r3rl$!frF!mlu

z Futssn I pn$,nlLbl$6.[ ru uuugUor"uu o, npnprru nbunuroyrqqnaurnfrsuhrlnnlutrnoueepBptnuglltlrl : r1u1p yodg -

9UUB'!9E-Of vr}9L$unLPLnftrlil Fsft n$rfl Ln$,

Lnglsl teE-ELnppnnir$oglnruprururg .. ;uft'sur-F1h*uunsugEngu[+lu1lr,ulonu0 ius -uugrool;r,ruuyl*ryr1trrlerL *

nr,tlqcLuopurt uquyrr.uuglcru! : lansel loH ntgngetuunLluptLltu !atrrrlssrFturLuq,gunn[I

nLlBrcrLBu 9r\90I pn4| IgLtugsonqt||fttuLln aBnrrhsE -

o

:[tE-rbBe3t|

srl$uLe lnlun l'3uan!'r 9[16pycnbrl nt.n o o.p{r - o',.po Lcu tlrq 'lnuo , oq $,rtctFn^t

q pltu )Nnt IUod}Bswunnru

orrTr9- oMl{9

e|!qD -0oo|9

.pDpe - oq')oo

P(!'po - oo po

oo Ft, .r(''Po

triiIl

il

'i!

rtloJ3 8srtrtr lrce-9ne-ra i:I..ssi{,.FiG{|5ffiFir

zz tll l7/ffi/e?zaa

tE@eetrao: 01L6&,T92 fu OTS6I UISU NUd

Page 18: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

,,,,. 11''.?.,,,,,, P.,i|.1*.1 fr.!l - @. 26rzss?

1 1 : 5 9 F | . o m : lotge3?it;€:Jf24-AJ.t-?'€rL

&DEPlvs{n*{td2ufionttu

EXPoRT cLNtc a{ld ur"uolnrrd ro fiuu'tuu urcc llft'l o€.oo - .cJ'oo u'

ru &rurutqilMn tduurt unrud oraultr

z. t taic{dthufronnuniosnianoletlu..................iuqrrrotlhumn'ir t r,tiunra llJnrdoldttnr{rdruiilruntiumrrfi rruhl

lfec,lnrotu

niuoernuriroanrirr tr oarnild

t. rnroiu rislnl uarlfiilu

r. rrrruor0uur8rr(ilnlill urlnris f,3tjilgri iuttirio ):. nanr.lr:r'tlr{suri'nr fi r lrr fiuqt t usvrluru'w)q. e arnrfuli tir.liu fianrcrc)

s. rnrrordua:oon ({r]q ,nrrrill) rnraonrrtf,o

a.rft ..............-......-,-....-............,,.,,.,,({ui( . . . . . . . . - . . . . j . . . . . . . . . - . -

itrfi -.-1.. - .. ........{...1rit.

:

?. nrrawiuosninrl ( llrt rmrrn{tulnr es' g. anrran{lnt ( trvBnrl( rarrs'r ltitFu nu'

c. rnrafrlriolur crtS

to. aarrot$nrrrfi ri 1 tniltuinr rtn:rtrunrrr rnriclqcrlrim l drrila rr:rin i{iorr

t.iau?i&wonCOMPTW NA:i'IB

iuh

h : r r r . . . ' ' , . . . . . . . . . . . . . . . , . . . . ' . . ' ! -Mg i l ' . . . . . .

t hhawqlrowuslaaie rCotrlfirrrnioulrrw

rirorl rllt

1

5

rt.

o. rrtrnnrnqbrl{ drnqr Chrrin roortii ,v,ro{,,nrarf imi mrJu toulda aanniu irn'fl mnrul;rlr ltJul

Page 19: Weekly Brief_30 Aug - 5 Sep 11_Issue 31

utezEr,yF..fv sL,>hl

rql+Frit+o Ff,Il4l!4LlnP Rgro^rrfiRlrunmrLn rF+u

ob.,?, I

0unnttL&]]uplroIl(9o t< LJ. tl t t rt g lt({vll.f L^ !F (ogtAU{ t

A rRrl,No ELnl\ | En stfria,s IFlspnLt|ltltun0u*$fg$ngryttFrlFLntstu$f ull [tl6penl0grtnn0glb] 51Uqu1iq'r,

wleFo4eqpwlE"Ju4pr gmsl-rcror-rc"r.lretteqg--'inre=W ptlopr.!o$! bgn Kr|L@n

ficryT "[uwlsrcug

ibquuLuLaEnsu *yu"ungnu$ruun]0lo]Brfi nnrgrnflFulrrp

ngu unugtnngtnlolrlsoeiLIL gFgErlr!,LU*fi suourfigrunuuub runurupngbrgunr0ssuprrLUBylgtrg r.rpuc.enrbftrrLr,lsru npsp guoupnhruulr]cGgsaulsLunlluncEuEnL,unirsusruntrupnLunu#sprpnli rrsFnArNgBgng nptr5rpsuLc*snnrnrg[BnuulEnBruro!'ftrrufr_usi/'lnslslsFl ntnl"s opr! r,LuuLttr6eulsLUcLuntbgusLU[tlugl PrsFltslbeurbnprng '!q.:Pq

BRIaL uL*uusru6rulg oa gsLuut2pucngn6ruRogrp'n r"pr,rluurunuuu puisuen

0gnglsfi U]LpttrLng^rrfl rusuautraLurll gu!sAUth&uoruru E;uuuuuultglpeuuhngoupoguu,;rtsrun!fu;,rlrsruslnE!@gsg uulgniiNBn!wroursft}srprArlsnnr$LUBun gLUtdgc[n]up.t!!.e!tu Lnrmf !LUftLpL!,]rruuu]F!! (l.iluno3 reuye6; 4r,$n[

uurrsprnuEnlnub[rFrgrLru!,10U n[yuLUolururt rEgur.uncnltgrqugtsBLF "BNS

rtsuluaursrlLJlgrl.r g4n1*,tr ehgnnguurnap qglFillnefiflfu gaa,arrurllrgrdr@sr ns ooo'q - ooo, nrLn*oleftrgrn$rur ngngmosulc,Bul!10t(,3!nupn[rqrruungr Ep"fEagFciE !6eu1ELU]rn€u!u!]Bgul:sr B5ln1u61]gnr3gLirLorp1ls6AU1sr.u pruyLlrnru'n lrnr$r,giln^urBprlcunu$ t$'o-glur5rfiEulEru bLcr.srunwfrgplilr!Lu!$nrc nr.ftrprururrulnIrsrnu$sru pru^uUisnrsnrunueptrpnsr,u sufi,ulsLueusug$sgulacrUurulb wrrp 9o.uLp nnlorugrgrl uulgnuulnbupne s6flursLUrroyugrlnlupuftftsrrunbgruLu n!ffi plol$nl r!:1r.[fianpeT$0 nrgnBu&0rrPustnL]nlnru

B$frgurirrsF L6u9rr#!0rn reuos lll RtIltl sluereJuo) ts punorg Plef\ uellw p Pplqnouugrbr p - u

FniLlLthcs 11199 qtlordor5v ,,g a{L) ut 4$,u lssutftgvnuuubnunupng

lugnnllul,rg ofl - a)rauuro) Jo raquJeq) uetPul) LrruyuAr|oFL.u*sn n$n9L6urru0r4 r56pnurogr tn !tn1ui*unrue ldr,rlrs[]rpBru]t sn^guuL0L+nlylcrrsutsLUL[$ruaq,

ptrtrruprunuougrlnuLrtuuarn IRt1

p,e at.|.l) r.c nbiusunuisLunsrulruurbugngruuttnL}cLpb,r&11 sopt

ruflr€tEr.l]rn Elril.F=ff t- '-'ra-rff -fi

(pfr{! r|tFl'|l|

€E

nafl o

rupburot

ftuLnlp CII

PPf{cnr"ou P