คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · pdf...

18
คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 1 คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน รายงานข้อเสนอโครงงานเป็นรายงานที่เสนอเพื่อพิจารณาว่าโครงงานนั้นสามารถที่จะ ดาเนินการได้หรือไม่ รูปแบบการเขียนรายงานข้อเสนอโครงงานนี้เป็นรูปแบบมาตรฐานที่นักศึกษา สามารถนาไปใช้ได้เมื่อจบออกไปทางานแล้ว เนื่องจากวัตถุประสงค์ของรายงานข้อเสนอโครงงานคือ การโน้มน้าวและชี้แจงให้เห็นถึงความสาคัญและความเป็นไปได้ของโครงการที่กาลังขออนุมัติเพื่อที่จะ ทา ดังนั้นในรายงานข้อเสนอโครงงานจะต้องมีวัตถุประสงค์ประโยชน์ที่จะได้รับแผนการดาเนินงาน และงบประมาณโดยชัดเจนเพื่อที่ผู้พิจารณา (ในกรณีนี้หมายถึงภาควิชา ) จะสามารถพิจารณาได้ โครงสร้างหรือรูปแบบของรายงานข้อเสนอโครงงาน ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี1. ปกนอก ประกอบด้วยชื่อรายงานข้อเสนอโครงงาน ชื่อและนามสกุล รหัสนักศึกษา และข้อความอื่นๆ การพิมพ์ให้ใช้เนื้อที่ทั้งหมด 1 หน้ากระดาษ พิมพ์บนกระดาษขาวขนาด A4 ตัวอักษรให้ใช้ตัวพิมพ์ แบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า โดยให้ข้อความทุกบรรทัดอยู่กึ่งกลาง บรรทัด ให้ตั้งระยะขอบบน และขอบซ้ายเท่ากับ 1.5 นิ้ว ขอบล่างและขอบขวา เท่ากับ 1 นิ้ว หลังจากตั้งระยะขอบเรียบร้อยแล้ว ให้เริ่มพิมพ์ตามลาดับดังตารางที1 และดูตัวอย่างการพิมพ์ในรูป ที1 ตารางที1 รายละเอียดการพิมพ์ปกนอก ข้อความทีรายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ 1. พิมพ์คาว่า “รายงานข้อเสนอโครงงานเว้น 1 บรรทัด 2. พิมพ์ชื่อโครงงานภาษาไทย ขึ้นบรรทัดใหม่ 3. พิมพ์ชื่อโครงงานภาษาอังกฤษ ขึ้นบรรทัดใหม่ 4. พิมพ์ “(โครงงานเลขที**IES**………/………….)เว้น 3 บรรทัด 5. พิมพ์ “โดยเว้น 3 บรรทัด 6. พิมพ์ชื่อนักศึกษา**นามสกุล**รหัสนักศึกษา เว้น 1 บรรทัด 7. พิมพ์คาว่า “นักศึกษานักศึกษาชั้นปีท**4**ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ** มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” เว้น 3 บรรทัด 8. พิมพ์คาว่า “เสนอต่อ” เว้น 3 บรรทัด 9. พิมพ์คาว่า “ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ**คณะวิศวกรรมศาสตร์ ** มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” ขึ้นบรรทัดใหม่ 10. พิมพ์คาว่า “รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา” ขึ้นบรรทัดใหม่ 11. พิมพ์รหัสวิชา 227-461**INDUSTRIAL**ENGINEERING**PROJECT*I (สาหรับสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ) 229-461**MANUFACTURING**ENGINEERING**PROJECT*I (สาหรับสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต) เว้นประมาณ 3-4 บรรทัด การเว้นระยะบรรทัด 3-4 บรรทัดนั้น ขึ้นอยู่กับจานวน อาจารย์ที่ปรึกษา โครงงาน และ

Upload: trinhhanh

Post on 31-Jan-2018

235 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 1

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน

รายงานข้อเสนอโครงงานเป็นรายงานที่เสนอเพ่ือพิจารณาว่าโครงงานนั้นสามารถที่จะด าเนินการได้หรือไม่ รูปแบบการเขียนรายงานข้อเสนอโครงงานนี้เป็นรูปแบบมาตรฐานที่นักศึกษาสามารถน าไปใช้ได้เมื่อจบออกไปท างานแล้ว เนื่องจากวัตถุประสงค์ของรายงานข้อเสนอโครงงานคือการโน้มน้าวและชี้แจงให้เห็นถึงความส าคัญและความเป็นไปได้ของโครงการที่ก าลังขออนุมัติเพ่ือที่จะท า ดังนั้นในรายงานข้อเสนอโครงงานจะต้องมีวัตถุประสงค์ประโยชน์ที่จะได้รับแผนการด าเนินงานและงบประมาณโดยชัดเจนเพ่ือที่ผู้พิจารณา (ในกรณีนี้หมายถึงภาควิชา) จะสามารถพิจารณาได้โครงสร้างหรือรูปแบบของรายงานข้อเสนอโครงงาน ประกอบด้วยรายละเอียดดังนี้ 1. ปกนอก ประกอบด้วยชื่อรายงานข้อเสนอโครงงาน ชื่อและนามสกุล รหัสนักศึกษา และข้อความอ่ืนๆ การพิมพ์ให้ใช้เนื้อที่ทั้งหมด 1 หน้ากระดาษ พิมพ์บนกระดาษขาวขนาด A4 ตัวอักษรให้ใช้ตัวพิมพ์แบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า โดยให้ข้อความทุกบรรทัดอยู่กึ่งกลางบรรทัด ให้ตั้งระยะขอบบน และขอบซ้ายเท่ากับ 1.5 นิ้ว ขอบล่างและขอบขวา เท่ากับ 1 นิ้ว หลังจากตั้งระยะขอบเรียบร้อยแล้ว ให้เริ่มพิมพ์ตามล าดับดังตารางที่ 1 และดูตัวอย่างการพิมพ์ในรูปที่ 1 ตารางท่ี 1 รายละเอียดการพิมพ์ปกนอก

ข้อความที ่ รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ 1. พิมพ์ค าว่า “รายงานข้อเสนอโครงงาน” เว้น 1 บรรทัด 2. พิมพ์ช่ือโครงงานภาษาไทย ขึ้นบรรทัดใหม่ 3. พิมพ์ช่ือโครงงานภาษาอังกฤษ ขึ้นบรรทัดใหม่ 4. พิมพ์ “(โครงงานเลขท่ี**IES**………/………….)” เว้น 3 บรรทัด 5. พิมพ์ “โดย” เว้น 3 บรรทัด 6. พิมพ์ช่ือนักศึกษา**นามสกุล**รหัสนักศึกษา เว้น 1 บรรทัด 7. พิมพ์ค าว่า “นักศึกษานักศึกษาช้ันปีท่ี**4**ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ**

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์” เวน้ 3 บรรทัด

8. พิมพ์ค าว่า “เสนอต่อ” เว้น 3 บรรทัด 9. พิมพ์ค าว่า “ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ**คณะวิศวกรรมศาสตร*์*

มหาวิทยาลยัสงขลานครินทร์” ขึ้นบรรทัดใหม ่

10. พิมพ์ค าว่า “รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา” ขึ้นบรรทัดใหม่ 11. พิมพ์รหัสวิชา

227-461**INDUSTRIAL**ENGINEERING**PROJECT*I (ส าหรับสาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ) 229-461**MANUFACTURING**ENGINEERING**PROJECT*I (ส าหรับสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต) เว้นประมาณ 3-4 บรรทัด

การเว้นระยะบรรทดั 3-4 บรรทัดนั้น ขึ้ น อยู่ กั บ จ า น วนอาจารย์ที่ ปรึ กษาโครงงาน และ

Page 2: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 2

ตารางท่ี 1 รายละเอียดการพิมพ์ปกนอก (ต่อ)

2. ค าน า การเขียนค าน า คือ บอกความเป็นมาคร่าว ๆ โดยการเกริ่นน า หรือ น าสู่ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของโครงงาน ไม่ควรกว้าง หรือย้อนไปไกลมากจนเกินไป หรือวกวน จนจับประเด็นไม่ได้ ควรกล่าวถึงปัญหาและเหตุผลที่ท าโครงงานนี้ โดยอาจกล่าวอ้างอิงถึงงานที่มีผู้เคยท าหรือเกี่ยวข้องมาบ้างแล้ว ซึ่งควรชี้ประเด็นให้ชัดเจนว่าในโครงงานนี้ มีประเด็นอะไรที่แตกต่างออกมาจากที่เคยมีมาแล้ว หลังจากที่เกริ่นน า เพ่ือน าผู้อ่านเข้าสู่ประเด็นของโครงงานแล้ว ควรบอกกล่าวถึงสิ่งที่ผู้อ่านจะได้รับทราบ แจ้งวัตถุประสงค์ของการท าโครงงานนี้ บอกจ านวนบทที่มีในโครงงานในแต่ละบทกล่าวถึงเนื้อหาอะไร เพ่ือผู้อ่านติดตามประเด็นของเรื่องได้เข้าใจมากข้ึน ตามตัวอย่างในรูปที่ 2

ข้อความที ่ รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ กรรมการโครงงาน

โ ด ย ใ ห้ บ ร ร ทั ดสุดท้ายของอาจารย์กร รมการอยู่ ห่ า งจากขอบกระดาษ 1 นิ้ว

12. พิมพ์ค าว่า “อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน” เว้นระยะ พิมพ์ต าแหน่งทางวิชาการ ช่ือ**นามสกุล อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน รองศาตราจารย์*…………**………... อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม ผู้ช่วยศาสตราจารย์*ดร. ……**…… อาจารย์กรรมการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์*…..**……… อาจารย์กรรมการ อาจารย์………………..**………

อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน อาจารย์ที่ป รึ ก ษ า ร่ ว ม อาจารย์กรรมการ พิ ม พ์ ขึ้ น ต้ น ใ นต า แ ห น่ ง เ ต็ ม ที่ตรงกัน ช่ืออาจารย์ แต่ ละท่ า น ใ ห้ พิ ม พ์ข้อความในต าแหน่งขึ้ น ต้ น ที่ ต ร ง กั นเช่นกัน

Page 3: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 3

รายงานข้อเสนอโครงงาน

ช่ือโครงงานภาษาไทย ช่ือโครงงานภาษาอังกฤษ

(โครงงานเลขท่ี** IES**………./………….)

โดย

นาย.................................**……………………..**51……………… นางสาว...........................**…………………**51………………

นักศึกษาช้ันปีท่ี**4**ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ**มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เสนอต่อ

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ**คณะวิศวกรรมศาสตร์**มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชา

22x- 461**…………………………**ENGINEERING**PROJECT*I

อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงาน รองศาสตราจารย์*ดร…………**………... อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานร่วม ผู้ช่วยศาสตราจาย์*ดร……………**……….… อาจารย์กรรมการ ผู้ช่วยศาตราจารย์*ดร.……..**…………… อาจารย์กรรมการ อาจารย์………………..**………

รูปที่ 1 ตัวอย่างปกนอกรายงานข้อเสนอโครงงาน

1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

Page 4: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 4

ค าน า

ระบบสนับสนุนการด าเนินงานวิชาโครงงานนักศึกษาของภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ เป็นระบบส าหรับช่วยจัดการการด าเนินงานโครงงานนักศึกษา และช่วยอ านวยความสะดวกให้กับรองหัวหน้าภาควิชาฯ ฝ่ายวิชาการ คณะกรรมการบริหารวิชาโครงงาน คณะกรรมการกลุ่มโครงงาน อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงาน เจ้าหน้าท่ีผู้ประสานงานรายวิชา และนักศึกษา ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลด้วยตนเองได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และตลอดเวลาตามท่ีต้องการ มีเวลาเพิ่มข้ึนในการด าเนินงาน ช่วยแก้ไขการตอบปัญหาซ้ า ๆ ของผู้มาติดต่องาน นอกจากน้ีเพื่อให้การจัดการวิชาโครงงานเป็นไปในมาตรฐานเดียวกันแม้จะมีการเปลี่ยนผู้รับผิดชอบ

นางสาวสรินดา อรุณพันธ์ มิถุนายน 2554

รูปที ่2 ตัวอย่างการพิมพ์ค าน า การพิมพ์เนื้อหาในส่วนค าน า ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ทั้งหน้า ยกเว้น “ค าน า”ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 20 pts. ตัวหนา และหมายเลขหน้าในหน้าค าน านี้ให้ใช้อักษรภาษาไทย คือ “ก” พิมพ์เป็นหมายเลขหน้า (ส่วนหน้าถัดจากค าน า ก็ใช้อักษรภาษาไทยถัดจาก “ก” คือ “ข, ค, ง,…เรียงล าดับไป) โดยพิมพ์หมายเลขหน้าห่างจากขอบกระดาษลงมา 0.5 นิ้ว ในส่วนของเนื้อหารายละเอียดของค าน าให้เริ่มพิมพ์ตามล าดับดังตารางที่ 2 ตารางท่ี 2 รายละเอียดการพิมพ์ค าน า

3. สารบัญ เป็นส่วนที่จะใช้บอกต าแหน่งของหัวข้อรายงานโครงงาน สารบัญจะบอกว่าบทที่ หรือหัวข้อใดอยู่ที่หน้าใด ตามตัวอย่างในรูปที่ 3 การพิมพ์เนื้อหาในส่วนสารบัญ ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ทั้งหน้า ยกเว้น “สารบัญ”ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 20 pts. ตัวหนา และ

ข้อความที ่

รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ

1. พิมพ์ “ค าน า” เว้น 1 บรรทัด TH SarabanPSK 20 pts. ตัวหนา กลางหน้ากระดาษ

2. เริ่มพิมพ์ข้อความของค าน า บรรทัดแรกให้เว้นระยะจากขอบซ้ายมือ 0.5 นิ้ว (1 Tab)

3. พิมพ์เนื้อความของค าน าจนจบ เว้น 3 บรรทัด พิมพ์ชิดขอบซ้าย 4. พิมพ์ค าน าหน้าช่ือ ช่ือ**สกุลผู้จัดท าโครงงาน ขึ้นบรรทัดใหม่ พิมพ์ชิดขอบขวา 5. พิมพ์ เดือน**ปีท่ีจัดท า พิมพ์ชิดขอบขวา

1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

เว้น 1 บรรทัด 0.5 นิ้ว

เว้น 3 บรรทัด

ก 0.5 นิ้ว

Page 5: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 5

หมายเลขหน้าของหน้าสารบัญนี้ให้ใช้อักษรภาษาไทย ต่อจากหมายเลขหน้าค าน า โดยพิมพ์หมายเลขหน้าห่างจากขอบกระดาษลงมา 0.5 นิ้ว ส่วนการพิมพ์ในส่วนเนื้อหาสารบัญนั้น หมายเลขหน้าของค าน า ,สารบัญ, สารบัญตาราง, สารบัญรูป และบรรณานุกรม ให้ใช้ตัวอักษรเรียงตามล าดับพยัญชนะในภาษาไทย ก ,ข,ค, . . . ตามล าดับ และหมายเลขหน้าส่วนของเนื้อหารายงาน เริ่มจากบทน าให้พิมพ์เลขบทตามด้วยเครื่องหมายลบ และเลขหน้าตามล าดับ เช่น บทที่ 1 หน้า 3 ให้พิมพ์เป็น 1-3 และ บทที่ 2 หน้า 7 ให้พิมพ์เป็น 2-7 เป็นต้น ส่วนหมายเลขหน้าของภาคผนวก ให้พิมพ์ให้เรียงตามหมวดหมู่ของภาคผนวก แล้วต่อด้วยเลขหน้า เช่น ก-1, ก-2, ก-3 หรือ ข-1, ข-2, ข-3 ตามล าดับจนถึงหน้าสุดท้ายของภาคผนวกแต่ละส่วน รายละเอียดการพิมพ์สารบัญแสดงดังตารางที่ 3 ตารางท่ี 3 รายละเอียดการพิมพ์สารบัญ

ข้อความที ่

รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ

1. พิมพ์ค าว่า “สารบัญ” เว้น 1 บรรทัด TH SarabanPSK 20 pts. ตัวหนา กลางหน้ากระดาษ 2. พิมพ์ค าว่า “หน้า” เว้น 1 บรรทัด พิมพ์ชิดขอบขวา TH SarabanPSK 16 pts. 3. เริ่มข้อความของสารบัญ ให้เขียนหัวข้อและช่ือของหัวข้อชิดขอบซ้ายของบรรทัด

และหมายเลขหน้าชิดขอบขวาสุด ถ้ามีหัวข้อย่อยให้พิมพ์ตรงกับตัวอักษรตัวแรกในหัวข้อหลักตามล าดับ โดยหัวข้อย่อยให้ใช้หมายเลขหัวข้อย่อยเพียงแค่ทศนิยม 1 ต าแหน่งเท่านั้น เช่น บทที่ 1 บทน า จะใช้หัวข้อย่อย คือ 1.1**….., 1.2**…… เป็นต้น

4. พิมพ์ค าว่า “สารบัญ (ต่อ)” ถ้าสารบัญไม่สามารถเขียนให้หมดภายใน 1 หน้ากระดาษ จ าเป็นต้องขึ้นหน้าใหม่ ให้ใช้วิธีเดียวกับการพิมพ์สารบัญแต่กึ่งกลางหน้าให้ใช้ค าว่า “สารบัญ (ต่อ)” โดยมีรูปแบบการพิมพ์เช่นเดียวกับการพิมพ์สารบัญในหน้าแรก

Page 6: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 6

สารบัญ หน้า

ค าน า…………………………………………………………………………………………….………………………………………….….. ก สารบัญ…….……………………………………………………………………………….……………………………………….…………. ข สารบัญตาราง ……… …………………………………….…………………………..…………………………………………………… ค สารบัญรูป……………..…………………………………..…………………………….………………………………………………….. ง บทท่ี*1**บทน า…………………………………………………………………………..……………………………….…………..…… 1-1 1.1**ความเป็นมาของปัญหา…………………………………………………………………..…………….…….…… 1-1 1.2**วัตถุประสงค์…………………………………….…………………………………………………………………….. 1-2 1.3**ขอบเขตของโครงงาน……………………..………………………….……………………………………………. 1-3 1.4**ข้ันตอนการท าโครงงาน…………………..……………………………………………..……………………..… 1-4 1.5**ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ……………………………………...……………………………………….……… 1-5 บทท่ี*2**การส ารวจเอกสารและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้อง…………………………………………………....……………..……… 2-1 2.1**การส ารวจเอกสาร……………..……………………………………………………………….………………..… 2-1 2.2**ทฤษฏีท่ีเกี่ยวข้อง…………….………………………………………………………………………….…….….… 2-3 บทท่ี*3**ข้อมูลเบื้องต้นการท าโครงงาน…………………………………………………………….…………………….……… 3-1 บทท่ี*4**ความก้าวหน้าของการท าโครงงาน………………………………………………………………………....………… 4-1 บทท่ี*5**สรุปผลการทดลอง………………………………………………………………………..………….……….….………… 5-1 บรรณานุกรม………………………………………………………………………………………………….……………….…………… จ ภาคผนวก ภาคผนวก**ก …………………………………………………..…………………..………………….…………………………………. ก-1 ภาคผนวก**ข ………………………..………………….…………………………………………………………………………………. ข-1 ภาคผนวก**ค ………………………..………………………………………………………………….…………………………………. ค-1 ภาคผนวก**ง ………………………..………………………………………………………………….…………………………………. ง-1

รูปที่ 3 ตัวอย่างการพิมพ์สารบัญ 4. สารบัญตาราง เป็นส่วนที่จะบอกต าแหน่งของตารางในรายงานว่าอยู่ที่หน้าใด ถ้าในรายงานไม่มีตารางก็ไม่ต้องเขียนสารบัญตาราง โดยการพิมพ์สารบัญตารางดังตัวอย่างในรูปที่ 4 การพิมพ์เนื้อหาในส่วนสารบัญตาราง ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ทั้งหน้า ยกเว้น “สารบัญ”ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 20 pts. ตัวหนา และหมายเลขหน้าของหน้าสารบัญนี้ให้ใช้อักษรภาษาไทย ต่อจากหมายเลขหน้าสารบัญ โดยพิมพ์หมายเลขหน้าห่างจากขอบกระดาษลงมา 0.5 นิ้ว หมายเลขสารบัญตาราง ให้เรียงล าดับหมายเลขตารางตามบทจาก 1 ไปจนจบบทตาราง โดยมีรายละเอียดการพิมพ์สารบัญตารางดังตารางที่ 4 ตารางท่ี 4 รายละเอียดการพิมพ์สารบัญตาราง

ข้อความที ่

รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ

1. พิมพ์ค าว่า “สารบัญตาราง” เว้น 1 บรรทัด

TH SarabanPSK 20 pts. ตัวหนา กลางหน้ากระดาษ

1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิว้

1 นิ้ว

เว้น 1 บรรทัด

0.5 นิ้ว

Page 7: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 7

ตารางท่ี 4 รายละเอียดการพิมพ์สารบัญตาราง (ต่อ)

สารบัญตาราง (เว้น 1 บรรทัด)

ตารางที ่ ชื่อตาราง หน้า 2.1 ล าดับงานการค านวณสูตรในโปรแกรมไมโครซอฟต์เอกเซล 2-10 2.2 ช่ือสูตรส าเร็จหรือฟังก์ชัน 2-10 3.1 กิจกรรมของภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการตามแผนกิจกรรม 3-1 3.2 รายละเอียดกิจกรรมของภาควิชาฯ ตามแผนกิจกรรมภาควิชาฯ จ านวน 20 กิจกรรม 3-2

รูปที ่4 ตัวอย่างการพิมพส์ารบัญตาราง 5. สารบัญรูป เป็นส่วนที่แจ้งหมายเลขหน้าของภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยู่ในรายงาน รวมถึงภาพ (รูปภาพ แผนที่ แผนภูมิ กราฟ ฯลฯ) ทั้งหมดที่มีอยู่ในภาคผนวกด้วย ตัวอย่างการจัดพิมพ์สารบัญรูปดังตัวอย่างในรูปที่ 5 การพิมพ์เนื้อหาในส่วนสารบัญรูป ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ทั้งหน้า ยกเว้น “สารบัญรูป”ให้ใช้ตัวอักษรขนาด 20 pts. ตัวหนา และหมายเลขหน้าของหน้าสารบัญรูปนี้ให้ใช้ อักษรภาษาไทย ต่อจากหมายเลขหน้าสารบัญตาราง โดยพิมพ์หมายเลขหน้าห่างจาก

ข้อความที ่

รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ

2. พิมพ์ค าว่า “ตารางที่” “ชื่อตาราง” “หน้า” ขึ้นบรรทัดใหม่

TH SarabanPSK 16 pts.ตัวหนา กลางหน้ากระดาษ

3. พิมพ์หมายเลขตาราง ช่ือตาราง และหมายเลขหน้า

TH SarabanPSK 16 pts. ตัวธรรมดา โดยพิมพ์หมายเลขตาราง หมายเลขหน้าไว้กึ่งกลาง ส่วนช่ือตารางให้พิมพ์ชิดขอบซ้าย

4. พิมพ์ค าว่า “สารบัญตาราง (ต่อ)” ถ้าสารบัญตารางไม่สามารถเขียนให้หมดได้ภายใน 1 หน้ากระดาษ จ าเป็นต้องขึ้นหน้าใหม่ กึ่งกลางหน้าให้ใช้ค าว่า “สารบัญตาราง (ต่อ)” โดยมีรูปแบบการพิมพ์เช่นเดียวกับการพิมพ์สารบัญตารางในหน้าแรก

1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

0.5 นิ้ว

Page 8: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 8

ขอบกระดาษลงมา 0.5 นิ้ว หมายเลขสารบัญรูป ให้เรียงล าดับหมายเลขรูปตามบทจาก 1 ไปจนจบ โดยมี รายละเอียดการพิมพ์สารบัญรูปดังตารางที่ 5 ตารางท่ี 5 รายละเอียดการพิมพ์สารบัญรูป

รูปที่ 5 ตัวอย่างการพิมพ์สารบัญรูป

ข้อความที ่

รายละเอียดการพิมพ์ หมายเหตุ

1. พิมพ์ค าว่า “สารบัญรูป” เว้น 1 บรรทัด TH SarabanPSK 20 pts. ตัวหนา กลางหน้ากระดาษ

2. พิมพ์ค า“รูปที่” “ชื่อรูปภาพ” “หน้า” ขึ้นบรรทัดใหม่

TH SarabanPSK 16 pts. ตัวหนาไว้ตรงกลางของตาราง

3. พิมพ์หมายเลขรูป ช่ือรูปภาพ และหมายเลขหน้า

TH SarabanPSK 16 pts. ตัวธรรมดา โดยที่ พิมพ์หมายเลขรูป หมายเลขหน้า ไว้กึ่งกลาง ส่วนช่ือรูปภาพให้พิมพ์ชิดขอบซ้าย โดยชื่อรูปไม่ต้องขึ้นด้วย ค าว่า “แสดง”

4. พิมพ์ค าว่า “สารบัญรูป (ต่อ)” ถ้าสารบัญรูปไม่สามารถเขียนให้หมดได้ภายใน 1 หน้ากระดาษ จ าเป็นต้องขึ้นหน้าใหม่ ให้ใช้วิธีเดียวกับการพิมพ์สารบัญรูป แต่ กึ่ งกลางหน้ า ให้ ใ ช้ค าว่ า “สารบัญูรูป (ต่อ)”

สารบัญรูป (เว้น 1 บรรทัด)

รูปที ่ ชื่อรูปภาพ หน้า 1.1 แผนผังการจัดท ากิจกรรมนักศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ 1-2 2.1 การป้องกันแผ่นงานโดยการต้ังรหัสผ่าน 2-7 2.2 แผ่นงานท่ีถูกป้องกันแล้วซึ่งไม่สามารถแก้ไขรูปแบบเซลล์ได้ 2-8 ก.1 การใส่รหัสเพื่อยกเลิกการป้องกันแผ่นงาน ก-1 ข.1 ข้ันตอนการท างานการท ากิจกรรมนักศึกษา ข-4

1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

0.5 นิ้ว

Page 9: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 9

6. ส่วนเนื้อหา ส่วนเนื้อหาเป็นส่วนที่แสดงสาระส าคัญของโครงงาน ในส่วนของเนื้อหานี้ คือสิ่งที่นักศึกษาได้ค้นคว้า ทดลอง เก็บข้อมูล สรุปผล วิเคราะห์และวิจารณ์ผลการศึกษาที่ได้ การเขียนเนื้อหาจะแบ่งออกเป็นบท ไม่มีข้อก าหนดที่แน่นอนว่าจะต้องแบ่งออกเป็นกี่บท โดยทั่วไปมักนิยมแบ่งออกเป็นบทต่าง ๆ คือ บทที่ 1 บทน า บทที่ 2 การส ารวจเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 ขั้นตอนและระยะเวลาการด าเนินงาน บทที่ 4 งบประมาณ บทที่ 5 สรุป 6.1 บทที่ 1 บทน า เป็นบทแรกของโครงงานวิศวกรรมประกอบด้วยหัวข้อส าคัญ ๆ ได้แก่

1. ความเป็นมาของปัญหา

เป็นส่วนที่แสดงค าถาม ความสงสัยความจ าเป็น และความรอบรู้โดยชี้ให้เห็นถึงขอบเขตของปัญหาอย่างกว้าง ๆ ว่าปัญหานั้นคืออะไร มีความเป็นมาอย่างไร มีความส าคัญอย่างไร และถ้าปัญหานั้นได้รับการวิจัยหรือแก้ไขแล้วจะเกิดผลดีอย่างไร

2. วัตถุประสงค์ของโครงงาน การเขียนวัตถุประสงค์ของโครงงานต้องสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการศึกษาควรก าหนดวัตถุประสงค์ของโครงงานให้ชัดเจนและสัมพันธ์กับขอบเขตของปัญหาที่จะศึกษา ถ้าก าหนดวัตถุประสงค์ไม่ชัดเจนอาจท าให้ผลการวิจัยที่ ได้ไม่สอดคล้องกับปัญหาที่จะศึกษา การตั้ งวัตถุประสงค์ของการวิจัยควรจัดเรียงวัตถุประสงค์ของแต่ละข้อตามล าดับความส าคัญของการวิจัยเป็นการระบุถึงความมุ่งหมายของการวิจัยว่าต้องการท าอะไร เช่นต้องการจะพิสูจน์ให้รับรู้ในเรื่องอะไร เพ่ือประโยชน์ในเรื่องอะไร และน าไปใช้ได้อย่างไร

3. ขอบเขตของโครงงาน การเขียนขอบเขตของโครงงานต้องชัดเจนเพ่ือให้โครงงานของตนเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ และลักษณะของปัญหาที่ต้องศึกษาว่า โครงงานที่จะท านั้นศึกษาครอบคลุมถึงเรื่องใด

4. ขั้นตอนและระยะเวลาการด าเนินงาน เป็นการบอกให้รู้ว่าจะต้องท าอะไร โดยใช้เวลาในการด าเนินการเท่าไร 5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

แสดงความคาดหมายของประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงงานนี้ ว่ามีผลต่อการพัฒนา ด้านการศึกษาอย่างไร โดยเรียงล าดับเป็นข้อ

6.2 บทที่ 2 การส ารวจเอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การส ารวจเอกสาร หมายถึงการค้นคว้าเอกสารต่าง ๆ อันได้แก่ โครงงานเอกสาร การทดลองหรือการท าวิจัยของบุคคลอื่นที่เก่ียวข้องกับโครงงานที่นักศึกษาก าลังจะท า โดยมีวัตถุประสงค์หลายประการ คือประการแรกเพ่ือส ารวจว่าใครได้ศึกษาทดลองอะไรไปแล้วบ้าง ผลการท าโครงงานหรือวิจัยเป็นอย่างไร นักศึกษาจะได้ไม่ท าซ้ ากับสิ่งที่มีผู้ท าแล้ว ประการที่สองเพ่ือจะได้มีความรู้ในเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกับโครงงานที่จะท ามากข้ึน ประการที่สามเป็นการค้นหาประเด็นที่น่าสนใจที่ยังไม่มี

Page 10: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 10

ผู้ท ามาก่อนเพื่อจะได้น ามาเป็นหัวข้อโครงงาน ขอให้นักศึกษาเข้าใจด้วยว่าต าราเอกสารค าสอนไม่ได้จัดอยู่ในเอกสารที่จะน ามาอ้างอิง จึงไม่ควรน ามาอ้างถึงในหัวข้อการส ารวจเอกสาร อย่างไรก็ตามเนื้อหาสามารถปรับเปลี่ยนและแก้ไขได้ตามความเหมาะสมจนกว่าจะเป็นรายงานฉบับสมบูรณ์ บทนี้จะกล่าวถึงทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา ช่วยให้เห็นผลที่น าไปสู่จุดมุ่งหมายของการท าโครงงาน ควรกล่าวถึงเฉพาะทฤษฎีและหลักการที่ส าคัญ โดยอาจมีการเพ่ิมเติมหรือปรับปรุงจากข้อคิดเห็นของกรรมการสอบข้อเสนอโครงงาน หรือจากการส ารวจเอกสารเพ่ิมเติม และควรมีการเขียนในลักษณะดังต่อไปนี้ 1. อย่าลอกจากหนังสือเพราะหนังสือบางเล่มพยายามเขียนให้ง่าย โดยใช้ภาษาพูดเพ่ือให้ผู้อ่าน อ่านง่าย แต่ไม่ต้องเขียนแบบนี้ในรายงาน และหากเนื้อหาที่น ามาเขียนมาจากหลายแหล่ง สรรพนามที่ผู้เขียนจากแต่ละแหล่งใช้อาจจะไม่เหมือนกัน ให้อ่านแล้วสรุปมาเป็นภาษาของตัวเอง 2. ควรอ่านแล้วท า Mind Map เรื่องราวที่อ่านมาก่อนแล้วค่อยมาเขียน 3. ก่อนเขียนโครงงาน ควรมีการอ่านเอกสารงานวิจัยของคนอ่ืนมาแล้วไม่ต่ ากว่า 10-20 เรื่อง เพ่ือจะเป็นแนวทางในการท าโครงงาน (ถือเป็นการเรียนลัด) 4. ในการสรุปงานที่อ่าน ให้ลองสรุปเบื้องต้นว่า งานวิจัยนั้นท าอะไร ที่ไหน มีวัตถุประสงค์เพ่ืออะไร ระบุขอบเขตการท าโครงงาน มีกระบวนการท าอย่างไร (กระบวนการเป็นสิ่งส าคัญเพราะเราสามารถใช้เป็นแนวทางในการท างานได้ด้วย) ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร เอาไปใช้ประโยชน์อะไรได้บ้าง 5. อย่าอ่านเฉพาะบทคัดย่อของงานอ่ืนแล้วน ามาเขียนในโครงงาน วิเคราะห์ให้ถ่องแท้ว่างานของเขาเกี่ยวข้องกับงานของเราอย่างไร แล้วค่อยมาสรุปเป็นภาษาของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นงานที่อยู่ในสาขาใกล้เคียงกัน และสามารถใช้ผลการศึกษาของเขามาอ้างอิงในงานวิจัยได้ หรืองานของเขายังมีช่องว่างที่ยังไม่ได้ศึกษาและงานของเราสามารถเข้าไปเติมเต็มช่องว่างนั้นได้ ที่ส าคัญ อย่ามัวแต่ลอกบทคัดย่อมาแปะ จะเสียเวลาเปล่าและไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย 6. ส าหรับการเขียนงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ได้มีการส ารวจและสรุปมาทั้งหมด ให้มีการเขียนเป็นเรื่องเดียวกันทั้งหมด ตัวอย่างเช่น “ในอดีตได้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพโรงงาน โดยเน้นการปรับปรุงกระบวนการผลิต เช่น การปรับปรุงประสิทธิภาพกระบวนการบรรจุปลากระป๋อง โดยมีการออกแบบเครื่องมือช่วยบรรจุเนื้อปลากระป๋องให้มีมาตรฐานมากขึ้น [1] การปรับปรุงประสิทธิภาพขั้นตอนการหยิบผ้าจากรถเข็น ได้การออกแบบรถเข็นใหม่ที่มีสปริ งเป็นตัวช่วยยกผ้า เป็นต้น [2] ในยุคต่อมาก็ได้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพ โดยการเน้นการน าระบบอัตโนมัติมาช่วยใน การกระบวนการมากขึ้น เช่น มีการออกแบบระบบการขนถ่ายร่วมกับการอบยางให้แห้งอย่างอัตโนมัติ เพ่ือให้มีการท างานรวดเร็วและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น …………[1]” เป็นต้น 7. เมื่อจบในส่วนของทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องแล้ว ให้ขมวดปมสรุปความแตกต่างระหว่างงานวิจัยของผู้วิจัยและงานที่ผ่านมา และเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาอย่างย่อ ตามด้วยสรุปประโยชน์ที่ได้รับจากงานวิจัยปัจจุบันอย่างรัดกุมอีกครั้ง

Page 11: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 11

6.3 บทที่ 3 ขั้นตอนและระยะเวลาการด าเนินงาน ส่วนนี้เป็นส่วนส าคัญท่ีสุดของรายงานข้อเสนอโครงงานทั้งหมด โดยจะเป็นส่วนที่จะบอกว่าต้องการจะท าอะไรและอย่างไร ในส่วนนี้จะประกอบด้วยข้อมูล

1. แผนงานที่จะน าไปถึงวัตถุประสงค์ เป็นการก าหนดล าดับของการท าโครงงาน 2. แผนการในการวิเคราะห์ผล แสดงวิธีการทดสอบเพ่ือให้ทราบว่าโครงงานนั้นจะ ท างานอย่างถูกต้อง

3. ตารางแสดงการท างานในแต่ละช่วงตลอดเวลาการท างานทั้งหมด สิ่งที่ต้องระลึกไว้เสมอ คือ อย่าเสนองานที่ต้องท ามากเกินไป จะต้องดูจากเวลาและสิ่งที่ผู้เสนอสามารถจะท าได้ด้วย ในขณะเดียวกันจะต้องไม่แสดงให้เห็นว่าเป็นโครงงานที่ไม่มีคุณภาพ วิธีหนึ่งที่จะแสดงให้เห็นว่าแผนงานที่วางไว้เป็นไปได้คือ การเขียนแผนงานอย่างละเอียดที่สุดเท่าที่จะท าได ้จะช่วยให้เห็นความสอดคล้องในส่วนต่างๆ ของแผนงาน

6.4 บทที่ 4 งบประมาณที่คาดว่าจะใช้ในการท าโครงงาน บทนี้จะมีหรือไม่ ขึ้นอยู่กับว่าเป็นโครงงานที่ก าลังศึกษา มีความจ าเป็นต้องใช้งบประมาณในการด าเนินงานหรือไม่ เช่น อุปกรณ์เครื่องมือ ค่าเดินทางในการเก็บข้อมูล หรือการวิเคราะห์ข้อมูลตัวอย่าง เป็นต้น หากโครงงานไม่จ าเป็นต้องใช้งบประมาณในการด าเนินงาน นักศึกษาอาจน าเนื้อหาอื่นที่เก่ียวข้องมาใส่ในบทนี้ และใช้ชื่อบทให้ตรงกับเนื้อหาก็ได้

6.5 บทที่ 5 สรุป เป็นการกล่าวสรุปเนื้อหาของทุกบทที่ผ่านมา รวมทั้งอาจกล่าวสรุปในตอนท้ายสุดอีกครั้งว่าโครงงานนี้น่าสนใจ งบประมาณท่ีคาดว่าจะใช้ในการท าโครงงาน

ข้อก าหนดในการพิมพ์รายงานโครงงานในส่วนเนื้อหา ในส่วนของการแบ่งบทและหัวข้อในแต่ละบท รายงานจะต้องจัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นบท (chapter) ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม แต่ละบทจะประกอบด้วยหัวข้อส าคัญ (main heading) และหัวข้อย่อย (sub heading) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. บท เมื่อเริ่มบทใหม่จะต้องขึ้นหน้าใหม่เสมอ หน้าแรกสุดของแต่ละบทไม่ต้องพิมพ์เลขหน้าก ากับ ส่วนในหน้าเนื้อหาหน้าถัดไปมีเลขประจ าบทโดยให้ใช้เลขอารบิค ตามด้วยเครื่องหมายลบ และล าดับของหน้าในแต่ละบท เช่น 1-2, 1-3, 2-4 เป็นต้น โดยพิมพ์ค าว่า "บทที่" ไว้ตรงกลางตอนบนสุดของหน้ากระดาษ ส่วนชื่อบทให้พิมพ์ไว้ตรงกลางหน้ากระดาษเช่นกัน โดยให้พิมพ์บรรทัดต่อไปไม่ต้องเว้นบรรทัด ชื่อบทที่ยาวเกิน 1 บรรทัดให้แบ่งเป็น 2-3 บรรทัดตามความเหมาะสม การพิมพ์บทที่และชื่อบทให้ใช้ขนาดตัวอักษร TH SarabanPSK 20 pts. เป็นตัวหนา ถัดจากชื่อบทให้เว้น 1 บรรทัดแล้วจึงเริ่มเขียนข้อความ โดยข้อความถัดจากชื่อบทนี้ ให้อธิบายเพ่ือเกริ่นน าเข้าสู่เนื้อหาภายในบทก่อน และเว้น 1 บรรทัดก่อนที่จะข้ึนหัวข้อส าคัญใดภายในบท 2. หัวข้อส าคัญ หมายถึง หัวข้อซึ่งไม่ใช่เป็นชื่อเรื่องประจ าบท ให้พิมพ์ชิดกรอบกระดาษด้านซ้ายมือ ให้ใช้ตัวอักษร TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. เป็นตัวหนา และไม่ต้องขีดเส้นใต้ ให้

Page 12: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 12

ใส่ตัวเลขก ากับตามบท เช่น กรณีอยู่ในบทที่ 1 และเป็นหัวข้อส าคัญที่ 1 จะได้เลขของหัวข้อส าคัญเป็น 1.1, 1.2,…..เป็นต้น การพิมพ์บรรทัดต่อ ๆ ไปไม่ต้องเว้นบรรทัด และเว้น 1 บรรทัดก่อนที่จะขึ้นหัวข้อส าคัญต่อไป 3. หัวข้อส าคัญย่อย หมายถึง หัวข้อที่ส าคัญและมีเนื้อหาอธิบายมากพอภายในหัวข้อส าคัญ ให้พิมพ์ย่อหน้าห่างจากขอบซ้ายประมาณ 0.5 นิ้ว หน้าหัวข้อย่อยให้ พิมพ์ล าดับของหัวข้อส าคัญนั้น เช่น 2.1.1 หรือ 3.2.5 เป็นต้น โดยหัวข้อย่อยนี้สามารถแบ่งได้จนถึง 4 ระดับ เช่น 2.1.1.1 หรือ 3.2.5.1 เป็นต้น หากหัวข้อส าคัญย่อยมีการอธิบายเป็นข้อ ๆ ให้ก าหนดรูปแบบตามแสดงในรูปที่ 6 อย่างไรก็ตาม หากรายงานฉบับใดมีหัวข้อย่อยไม่ถึง 4 ระดับ แต่ต้องการแบ่งการอธิบายไปเป็นข้อ ๆ ก็ได้ ให้ก าหนดรูปแบบดังรูปที่ 6 ได้เช่นเดียวกัน 4. การพิมพ์ตารางประกอบในส่วนเนื้อหา ให้พิมพ์ค าว่า ตารางที่ และเลขที่ตาราง ดัวยตัวหนา เช่น ตารางที่ 1.1 (อยู่ในบทที่1) ตารางที่ 2.1 (อยู่ในบทที่ 2) ตามด้วยชื่อตารางเป็นข้อความสั้น ๆ 1 ประโยคที่อธิบายสิ่งที่อยู่ในตาราง ด้วยตัวอักษรธรรมดา ตารางให้พิมพ์ชิดขอบซ้าย เมื่อสิ้นสุดตารางให้เว้น 1 บรรทัดก่อนพิมพ์ข้อความต่อไป (ห้ามใช้ค าว่า “แสดง” ขึ้นต้นชื่อตาราง) ตารางที่อ้างอิงจากแหล่งอ่ืนให้แจ้งที่มาไว้ท้ายตารางโดยเขียนบรรณานุกรมแหล่งที่มาไว้ด้วยในตอนท้ายตาราง ขนาดของตารางต้องไม่เกินขอบหน้าพิมพ์ ส าหรับตารางขนาดใหญ่ ควรย่อขนาดลงโดยใช้เครื่องถ่ายย่อส่วนหรือวิธีอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม แต่จะต้องชัดเจนและอ่านได้ง่าย ส าหรับตารางที่มีขนาดใหญ่และไม่สามารถย่อขนาดได้ให้ใช้กระดาษขนาดใหญ่แล้วพับให้เท่ากับเล่มโครงงาน กรณีที่ตารางมีความยาวหรือกว้างมากจนไม่สามารถบรรจุในหน้ากระดาษเดียวกันได้ ให้ย่อส่วนหรือแยกมากกว่า 1 ตาราง ให้พิมพ์ส่วนที่เหลือในหน้าถัดไปโดยจะต้องพิมพ์เลขที่ตาราง ตามด้วยชื่อตารางด้วยตัวอักษรธรรมดา และตามด้วยค าว่าต่อในวงเล็บ เช่น ตารางที่ 1.1 ……. (ต่อ) ตัวอย่างการพิมพ์ในส่วนเนื้อหาแสดงดังรูปที่ 7 5. การใส่รูปภาพประกอบในส่วนของเนื้อหา ต้องมีขนาดเหมาะสมไม่ใหญ่หรือเล็กจนเกินไป ถ้าภาพมีขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะลงบนกระดาษ A4 ให้ท าเป็นแผ่นพับ ก่อนเขียนภาพประกอบให้เว้น 1 บรรทัด ให้ภาพประกอบอยู่ก่ึงกลางหน้ากระดาษ การเขียนชื่อภาพประกอบให้ขึ้นบรรทัดใหม่ เขียนค าว่า “รูปที่” แล้ววรรค ตามด้วยหมายเลขบท ตามด้วยเครื่องหมายมหัพภาค (.) และล าดับที่ของรูปตามล าดับ (เช่น ค าว่า “รูปที่ 3.2” ให้ใช้ตัวหนา) แล้ววรรค พิมพ์ชื่อรูปเป็นค าอธิบายรูปนั้นอย่างกะทัดรัด เพียง 1 ประโยค (ห้ามใช้ค าว่า“แสดง” ขึ้นต้นชื่อรูป) ให้ใช้ตัวพิมพ์ธรรมดา ทั้งหมดอยู่กึ่งกลางบรรทัด ถัดจากบรรทัดดังกล่าวให้เว้น 1 บรรทัด แล้วจึงเริ่มพิมพ์ข้อความต่อไป ตัวอย่างการพิมพ์ภาพประกอบแสดงดังรูปที่ 8

Page 13: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 13

บทท่ี 1 บทน า

(เว้น 1 บรรทัด)

(ข้อความเกริ่นน าก่อนเข้าสู่หัวข้อส าคัญต่าง ๆ).............................................................................................................................

............................................................................................................................. ............................................................................................................

...................................................................................................................................... ....................................................... (เว้น 1 บรรทัด) 1.1**ประเทศไทย (เว้น 1 บรรทัด) (ข้อความเกริ่นน าก่อนเข้าสู่หัวข้อส าคัญต่าง ๆ)……....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................................................

1.1.1**ภาคกลาง .................................................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................................................ 1.1.2**ภาคเหนอื

................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. 1.1.3**ภาคใต ้ .................................................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................. 1.1.3.1**ชุมพร ........................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................. ........................................ 1.1.3.2**ตรัง ............................................................................................................................................................................................. ……………………………………… หากการอธิบายจ าเป็นต้องอธิบายเป็นข้อ ๆ หรือมีการแบ่งข้อความเป็นข้อ ๆ ให้ใช้รูปแบบตัวเลขดังน้ี 1)**.................................................................................................................................................................................... 2)**................................................ หากในระดับน้ียังต้องการแบ่งเป็นข้อ ๆ อีก ก็ให้ใช้รูปแบบดังน้ี ก)**.................................................................................................................. ข)**................................................................................................................. (เว้น 1 บรรทัด) 1.2**ประเทศลาว (เว้น 1 บรรทัด) ..................................................................................................................................................................................................... .............. ................................................................................................................................................................................. ........................................................... (เว้น 1 บรรทัด) 1.3**ประเทศกัมพูชา (เว้น 1 บรรทัด) ............................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................................................................................

รูปที่ 6 ตัวอย่างการพิมพ์ในส่วนเนื้อหา

2 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

0.5 นิ้ว

(หมายเหตุ : ในรูปแบบการเขียนรายงานจะไม่อนุญาตให้มีการแบ่งข้อย่อยท่ีเล็กกว่าระดับน้ี )

(เน้ือหาต้องมีมากพอท่ีจะแบ่งหัวข้อเป็นหัวข้อส าคัญ)

(เน้ือหาต้องมีมากพอท่ีจะแบ่งหัวข้อเป็นหัวข้อส าคัญย่อย)

Page 14: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 14

บทน้ีจะกล่าวถึง กิจกรรมของภาควิชาฯ ท่ีมีการวางแผนการด าเนินกิจกรรมในแต่ละปีงบประมาณ ซึ่งจะอธิบายถึงลักษณะของกิจกรรมท่ีมีความหลากหลายของข้ันตอนการด าเนินงานในแต่ละกิจกรรมตามแผนกิจกรรม ซึ่งมีกิจกรรมท่ีต้องด าเนินการประจ าปี จ านวน 20 กิจกรรม ดังแสดงข้อมูลในตารางที่ 3.1

ตารางที่ 3.1 กิจกรรมของภาควิชา ล าดับ ชื่อกิจกรรม

1 ปฐมนิเทศนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2 อาจารย์ท่ีปรึกษาพบนักศึกษาทุกช้ันปี 3 ปฐมนิเทศนักศึกษาช้ันปีท่ี 2 4 โครงการค่ายจริยธรรม - คุณธรรม 5 โครงการพบผู้ปกครองนักศึกษาช้ันปีท่ี 2

ท่ีมา :**ระบุแหล่งท่ีมาหากน ามาจากที่อื่น [ ]

รูปที่ 7 ตัวอย่างการพิมพ์ตารางประกอบในส่วนเนื้อหา

4.1 ผลลัพธ์การออกแบบ K-Procedure (เว้น 1 บรรทัด) จากการศึกษาและรวบรวมข้อมูลท่ีเกี่ยวกับข้ันตอนการด าเนินกิจกรรมแต่ละกิจกรรมแล้วน ามาออกแบบเป็นระบบ K-Procedure และทดลองใช้กับภาควิชาฯ ส่งผลให้การด าเนินกิจกรรมมีความสะดวก รวดเร็วและมีระเบียบแบบแผนมากข้ึน ซึ่งระบบ K-Procedure ท่ีออกแบบมีลักษณะดังแสดงในรูปท่ี 4.1 โดยในท่ีน้ีได้ยกตัวอย่างข้ันตอนการจัดโครงการค่ายจริยธรรม-คุณธรรม

(เว้น 1 บรรทัด)

รูปที่ 4.1 ข้ันตอนการจัดโครงการค่ายจริยธรรม-คุณธรรม (เว้น 1 บรรทัด)

ผลลัพธ์จากการศึกษาและออกแบบ ในแต่ละข้ันตอนของการจัดโครงการค่ายจริยธรรม -คุณธรรมดังภาคผนวก ก ซึ่งประกอบไปด้วย 9 ข้ันตอนหลัก ดังต่อไปน้ี

รูปที่ 8 ตัวอย่างการพิมพ์รูปภาพ

1 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิว้

1.5 น้ิว

1 นิว้

1 นิว้

พิมพ์ตัวหนา 3-2

0.5 นิว้

ช่ือตารางพิมพ์ตัวธรรมดา

Page 15: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 15

7. ส่วนอ้างอิงหรือส่วนท้าย การอ้างอิงมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้อ่านได้รับทราบถึงแหล่งที่มาของข้อมูลที่ปรากฏในรายงาน การอ้างอิงที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปในเอกสารวิชาการนั้นมีอยู่หลายรูปแบบด้วยกัน ในที่นี้ขอกล่าวถึงการอ้างอิงในรูปแบบ IEEE ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 7.1 หลักเกณฑ์การอ้างอิงในตัวรายงาน การอ้างอิงในตัวรายงาน (citation) ใช้รูปแบบตัวเลขอยู่ในวงเล็บก้ามปู [ ] (square bracket) โดยตัวเลขนั้นแสดงถึงล าดับทีท่ีเ่อกสารนั้นได้ถูกกล่าวถึงในรายงาน เช่น

“ดังเช่นผลการทดลองของสุรศักดิ์ รอดนาน [5]” “ถึงแม้ว่ามีงานวิจัยหลายเรื่องที่ท าการศึกษาผลกระทบของแรงที่กระท ากับกระบอก

ลูกสูบ [1-6] แต่โดยส่วนใหญ่จะศึกษาเฉพาะ.....”

7.2 การเขียนและการอ้างที่มาของตารางและภาพ รายงานที่จัดท าเป็นภาษาไทยจะต้องเขียนชื่อตารางและภาพเป็นภาษาไทย ส่วนที่มาให้ใช้หลักการเดียวกับการเขียนอ้างแบบตามท้ายข้อความในเอกสาร เช่น ตารางที่ 1 ______________________________________ ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ ที่มา : Bose และคณะ [3] 7.3 การเขียนบรรณานุกรม บรรณานุกรม หมายถึง รายการของทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมดที่ผู้ท ารายงานได้ใช้ประกอบการเขียนรายงาน ทั้งที่ปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนที่ไม่ปรากฏชัดเจน แต่อาจเป็นเพียงการรวบรวมความคิดหลายๆ แนว แล้วนามาเรียบเรียงใหม่ ขั้นตอนการเขียนบรรณานุกรม 1. บรรณานุกรมเป็นรายชื่อสิ่งพิมพ์ หรือโสตทัศนวัสดุที่ผู้วิจัยใช้อ้างอิง ในการท าวิจัยซึ่งได้ปรากฏในรายการอ้างอิงที่แทรกในส่วนเนื้อหาของงานวิจัยนั้น ๆ รายการเอกสารอ้างอิงจะเป็นแหล่งข้อมูลที่ผู้อ่านสามารถตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมได้ ดังนั้นรายการเอกสารอ้างอิงจึงควรมีรายละเอียดมากที่สุดเท่าที่จะท าได ้ 2. การพิมพ์บรรณานุกรมให้อยู่ต่อจากส่วนเนื้อหา และก่อนภาคผนวก ให้พิมพ์ค าว่า “บรรณานุกรม” กลางหน้ากระดาษ ด้วยตัวพิมพ์แบบ TH SarabanPSK ขนาด 20 pts. โดยเว้นขอบกระดาษพิมพ์เช่นเดียวกับการเริ่มบทใหม่ และให้เว้นระยะห่างจากชื่อบรรณานุกรม 1 บรรทัด จึงเริ่มพิมพ์บรรทัดแรกของแต่ละรายการของเอกสารที่ใช้อ้างอิง

3. ให้จัดล าดับการเขียนเอกสารอ้างอิง โดยเรียงตามล าดับตามที่ปรากฏในรายงาน

Page 16: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 16

4. การพิมพ์แต่ละรายการที่อ้างอิงให้พิมพ์ชิดขอบกระดาษด้านซ้ายมือ หากมีข้อความท่ีต้องพิมพ์ต่อจากบรรทัดแรกให้พิมพ์บรรทัดต่อไปโดยย่อหน้าเว้นระยะ 1.5 เซนติเมตร (0.59 นิ้ว) ประมาณ 8 ตัวอักษร ด้วยตัวพิมพ์แบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts.

5. ใช้บรรณานุกรมในรูปแบบ ดังนี้ รูปแบบบรรณานุกรม (หมายเหตุ : เครื่องหมาย *ตัว หมายถึง เว้นวรรค 1 ตัวอักษร) 5.1 หนังสือ

ชื่อ*นามสกุล.**ชื่อหนังสือ.** สถานที่พิมพ์:**ส านักพิมพ์,*ปี,*เลขหน้า.

ตัวอย่าง วริทธิ์ อ๊ึงภากรณ์. การออกแบบเครื่องจักรกล. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2521, หน้า 93-100. W.K. Chen. Linear Networks and Systems. Belmont, CA: Wadsworth, 1993, pp. 123-35. R.E. Walpole and R.H. Myers. Probability and Statistics for Engineers and Scientists. NY: Macmillan Publishing, 1978, pp. 89-95.

5.2 บทความจากวารสาร ชื่อผู้เขียน.**“ชื่อบทความ.”*ชื่อวารสาร,*ปีที่ (ฉบับที่).,*เลขหน้า,*ปี.

ตัวอย่าง นิกร ศิริวงศ์ไพศาล, เสกสรร สุธรรมานนท์ และ อารดา ลีชุติวัฒน์. “การปรับปรุงระบบการจัดการ คลังสินค้าของโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา.” วารสารวิจัย มข., ปีที่ 15 (ฉบับที่ 3).,หน้า 214-226, มีค.2553. G. Pevere. “Infrared Nation.” The International Journal of Infrared Design, vol. 33, pp. 56-99, Jan. 1979.

5.3 บทความจากงานประชุมวิชาการที่มีการจัดพิมพ์รวมเล่ม ชื่อผู้เขียน.**“ชื่อบทความ”*ชื่องานประชุม,*ปี,*เลขหน้า

ตัวอย่าง กุลภัสร์ ทองแก้ว, สุภาพรรณ ไชยประพัทธ์ และเจริญยุทธ เดชวายุกุล, “การประเมินค่าความ คลาดเคลื่อนทางเรขาคณิตของการเจาะบนชิ้นงานที่ถูกจับยึดด้วยฟิกซ์เจอร์ในขั้นตอน ก่อนกระบวนการผลิต”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ, 2552, หน้า 1190-1195. D.B. Payne and H.G. Gunhold. “Digital sundials and broadband technology,” in Proc.

Page 17: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 17

IOOC-ECOC, 1986, pp. 557-998. 5.4 วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ ์ภาคนิพนธ ์และปริญญานิพนธ์

ชื่อผู้แต่ง.**“ชื่อเรื่อง.”*ชนิดของงานนิพนธ์,*ชื่อปริญญา,*ชื่อสถาบันการศึกษาของงานนิพนธ์,*ปี. ตัวอย่าง สุริยา จิรสถิตสิน. “ระบบผู้เชี่ยวชาญส าหรับการออกแบบกระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา กรณีศึกษาการผลิตกรอบกระจก.” วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม อุตสาหการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2550 S. Mack. “Desperate Optimism.” M.A. thesis, University of Calgary, Canada, 2000.

5.5 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ออนไลน์) ชื่อผู้แต่ง.**“ชื่อเรื่อง.”*อินเตอร์เน็ต: แหล่งที่มา(เว็บไซต์),*วันเดือนปีที่เขียน,*[วันเดือนปีที่สืบค้น].

ตัวอย่าง ภัทรชัย ลลิตโรจน์วงศ์. “ความรู้เบื้องต้นด้านทรัพย์สินทางปัญญา.” อินเตอร์เน็ต: www.it.kmitl.ac.th/~pattarachai/IntellectualProperty.html, 12 เมษายน 2545, [20 เมษายน 2554] M. Duncan. “Engineering Concepts on Ice.” Internet: www.iceengg.edu/staff.html, Oct. 25, 2000 [Nov29, 2003].

6. การเขียนชื่อผู้แต่ง - ชื่อผู้แต่งคนไทยให้เขียน ชื่อ นามสกุล หากเป็นชาวต่างชาติให้เขียน นามสกุล

ตามด้วย ชื่อต้น และ ชื่อกลาง (ถ้ามี) - หากเอกสารไม่ระบุชื่อผู้แต่ง ให้ระบุชื่อหน่วยงานที่เป็นเจ้าของเอกสารนั้นแทน - ถ้ามีผู้แต่งหลายคน ในกรณีไม่เกิน 3 คน ให้ลงรายการทั้งหมด โดยใช้

เครื่องหมาย ( , ) คั่นชื่อ คนที ่1 และ 2 และใช้ค าว่า (และ) ขั้นชื่อคนที่ 2 กับ 3 แต่หากว่าชื่อผู้แต่งมากกว่า 3 คน ให้ใช้ค าว่า (และคนอื่น ๆ) (and others) ตามหลังจากผู้แต่งคนแรก หรือจะใช้ค าว่า (และคณะ) (et al.) ก็ได้

ทั้งนี้ หากใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการจัดการการอ้างอิงและสร้างบรรณานุกรม เช่น Endnote หรือ zotero จะช่วยให้การเขียนรายงานง่ายขึ้น โดยสามารถเลือกใช้รูปแบบการอ้างอิงแบบต่าง ๆ ที่บรรจุอยู่ในซอฟท์แวร์นั้นได้ ตัวอย่างการเขียนบรรณานุกรมดังรูปที่ 9

Page 18: คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน · PDF fileแบบ TH SarabanPSK ขนาด 16 pts. ตัวปกติ ทั้งหน้า

คู่มือรายงานข้อเสนอโครงงาน หน้า 18

บรรณานุกรม

[1] วริทธิ์ อึ๊งภากรณ.์ การออกแบบเครื่องจักรกล. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชัน, 2521, หน้า 93-100. [2] W.K. Chen. Linear Networks and Systems. Belmont, CA: Wadsworth, 1993, pp. 123-35. [3] R.E. Walpole and R.H. Myers. Probability and Statistics for Engineers and Scientists. NY:

Macmillan Publishing, 1978, pp. 89-95. [4] นิกร ศิริวงศ์ไพศาล, เสกสรร สุธรรมานนท์ และ อารดา ลีชุติวัฒน์. “การปรับปรุงระบบการ จั ด ก า ร

คลังสินค้าของโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา.” วารสารวิจัย มข., ปีท่ี 15 (ฉบับท่ี 3).,หน้า 214-226, มีค.2553.

[5] G. Pevere. “Infrared Nation.” The International Journal of Infrared Design, vol. 33, pp. 56-99, Jan. 1979.

[6] กุลภัสร ์ทองแก้ว, สุภาพรรณ ไชยประพัทธ์ และเจริญยุทธ เดชวายุกุล, “การประเมินค่าความ คลาดเคลื่อนทางเรขาคณิตของการเจาะบนช้ินงานท่ีถูกจับยึดด้วยฟิกซ์เจอร์ใน ข้ันตอนก่อนกระบวนการผลิต”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ, 2552, หน้า 1190-1195.

[7] D.B. Payne and H.G. Gunhold. “Digital sundials and broadband technology,” in Proc. IOOC-ECOC, 1986, pp. 557-998.

[8] สุริยา จิรสถิตสิน. “ระบบผู้เช่ียวชาญส าหรับการออกแบบกระบวนการผลิตเฟอร์นิเจอร์ไม้ยางพารา กรณีศึกษาการผลิตกรอบกระจก.” วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม อุตสาหการ, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2550

[9] S. Mack. “Desperate Optimism.” M.A. thesis, University of Calgary, Canada, 2000.

รูปที่ 9 ตัวอย่างการพิมพ์บรรณานุกรม 7.4 ภาคผนวก ข้อความบางอย่างไม่เหมาะสมที่จะเขียนรวมเข้าไว้ในเนื้อหารายงาน เนื่องจากจะท าให้ขาดความต่อเนื่องของข้อความในแต่ละหัวข้อได้ เช่น ข้อความนั้นมีความยาวเกินไป หรือเป็นภาพประกอบที่มีขนาดใหญ่เกินไป การเขียนภาคผนวกนั้น ให้มีกระดาษ 1 หน้ากระดาษขั้น ก่อนถึงเนื้อหาของภาคผนวก โดยมีข้อความค าว่า “ภาคผนวก” ไว้ตรงกลางกระดาษ โดยใช้อักษรแบบ TH SarabunPSK 20 pts. และพิมพ์เป็นตัวหนา

1.5 นิ้ว

1.5 นิ้ว

1 นิ้ว

1 นิ้ว

เว้น 1 บรรทัด