บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่

57

Upload: pinutchaya-nakchumroon

Post on 13-Apr-2017

729 views

Category:

Education


8 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
Page 2: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรง ( Force )

แรง หมายถงึ สิ่งที่สามารถท าใหว้ตัถทุี่อยูน่ิง่เคลือ่นที่

หรือท าใหว้ตัถทุี่ก าลงั เคลือ่นทีม่คีวามเรว็เพิ่มขึน้หรือชา้ลง

หรือเปลีย่นทศิทางการเคลือ่นทีข่องวัตถไุด้

Page 3: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรง ( Force )

Page 4: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรง (Force)

แรงจัดเป็นปรมิาณเวกเตอร์ เพราะมทีั้งขนาดและทศิทาง

หน่วยของแรงในระบบเอสไอ คือ นิวตัน (N)

Page 5: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

การเคลือ่นทีข่องวตัถ ุ

1.1การเคลือ่นทีใ่นหนึง่มติ ิ

คือการเคลือ่นที่ในแนวเสน้ตรงทีไ่ปแนวเดยีวกนัตลอด เช่น การขบัรถยนต์

อัตราเรว็ ความเรง่ และความหนว่งในการเคลือ่นทีข่องวัตถมุาเกีย่วขอ้ง

Page 6: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

อัตราเรว็ (Speed)

ระยะทางทีว่ตัถเุคลือ่นที่ไดใ้นหนึ่งหนว่ยเวลา

มีหนว่ยเปน็เมตร/วนิาที หรือ กิโลเมตร/ชัว่โมง

อัตราเรว็ (v) = ระยะทาง (s)/เวลา (t)

Page 7: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่ง (1)

รถยนตแ์ลน่ดว้ยความเรว็คงทีจ่ากบรรพตพิสยั ไปนครสวรรค ์รวมระยะทาง 40 กิโลเมตร ใช้เวลา 1 ชั่วโมง รถคนนั้นนีว้ิง่ดว้ยอัตราเรว็เทา่ไร

มีหนว่ยเปน็เมตร/วนิาที หรือ กิโลเมตร/ชัว่โมง

อัตราเรว็ (v) = ระยะทาง (s) เวลา (t)

อัตราเรว็ (v) = 40 กม. = 40 กม./ชม. 1 ชม.

Page 8: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่ง (2)

รถยนตแ์ลน่ดว้ยความเรว็คงที ่ รวมระยะทาง 6 กิโลเมตร ใช้เวลา 10 นาทีรถคนนีว้ิง่ด้วยอัตราเรว็เท่าไร

มีหนว่ยเป็นเมตร/วนิาที หรือ กิโลเมตร/ชัว่โมง

อัตราเรว็ (v) = ระยะทาง (s) เวลา (t)

เปลีย่นกม. เป็นเมตร 1 กม. = 1,000 ม. 6 กม. X 1,000 = 6,000 ม.

อัตราเรว็ (v) = 6,000 = 10ม./วนิาท ี 600

เปลีย่นนาทีเป็นวนิาที 1นาที = 60 วินาที 10 นาที X 60 = 600 วินาท ี

Page 9: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่ง (3)

รถยนตแ์ลน่ดว้ยอัตราเรว็คงที ่ 60 กิโลเมตร/ชัว่โมง จากนครสวรรค ์ ไปพิษณโุลก รวมระยะทาง 120 กิโลเมตร รถคนันีจ้ะใชเ้วลาเดนิทางเทา่ไร

มีหนว่ยเปน็เมตร/วนิาที หรือ กิโลเมตร/ชัว่โมง

อัตราเรว็ (v) = ระยะทาง (s) เวลา (t)

Page 10: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

อัตราเรว็เฉลีย่

ระยะทางทีว่ตัถเุคลือ่นที่ไดใ้นหนึ่งหนว่ย

โดยไมไ่ดเ้คลือ่นที่ดว้ยอตัราเร็วคงที ่

อัตราเรว็เฉลีย่ (v) = ระยะทางที่วตัถเุคลือ่นที ่(s)/เวลาทีใ่ชไ้ป (t)

Page 11: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ความเรง่ ( Acceleration)

ความเรว็ของวตัถทุีเ่ปลีย่นไปในหนึง่หนว่ยเวลา

มีหนว่ยเปน็ เมตร/วนิาท2ี (m/s2) หรือ กิโลเมตร/ชัว่โมง2 (km/h2)

มีค่าเป็น + กรณคีวามเร็วเพิ่มขึน้ มีคา่เปน็ - กรณีความเรว็ลดลง

Page 12: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ความเรง่ ( Acceleration)

ความเรง่ (a) = ความเร็วทีเ่ปลีย่นไป = v2 - v1 = v ช่วงเวลาทีค่วามเรว็เปลีย่น t2 – t1 t

ตัวอย่าง รถยนตค์นัหนึง่เคลือ่นที่จากจุดหยดุนิง่ จนมีความเรว็เปน็ 20 กม./ชม. ในเวลา 5 วินาท ีรถคันนีม้คีวามเร่งเท่าไร

V1 = 0 V2 = 20 t1 = 0 t2 = 5

ความเรง่ (a) = v2 - v1 = 20 - 0 = 20 = 4 m/s2

t2 – t1 5 - 0 5

Page 13: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่ง (1)

รถยนตเ์คลือ่นทีด่ว้ยความเรว็ 36 เมตร/วินาท ี และหยดุเมื่อถงึทีห่มาย โดยใช้เวลาหยดุรถ 6 วินาทีจงหาความเรง่ของรถคนันี ้

V1 = 36 V2 = 0 t1 = 0 t2 = 6

ความเรง่ (a) = v2 - v1 = 0 - 36 = -36 = -6 m/s2

t2 – t1 6 - 0 6

Page 14: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

1.2 การเคลือ่นทีแ่นวดิง่

ไม่ว่าเคลือ่นทีข่ึน้ หรือลงจะมแีรงโน้มถว่งมากระท าตอ่วตัถตุลอดเสน้ทาง

มีทิศทางเขา้สูศ่นูยก์ลางโลก โดยมขีนาดความเรง่ (g) = 9.80665 m/s2

โดยคา่ g แตกตา่งกนัไปตามปจัจยัตา่งๆ (แตเ่ฉลีย่ = 10 )

Page 15: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

มวล และน้ าหนกั

น้ าหนกัของวัตถ ุ คือ แรงโน้มถว่งของโลกที่กระท าตอ่วัตถนุัน้ๆ มีหน่วยเป็น นิวตัน

มวลของวตัถ ุคือ ขนาดที่แทจ้รงิของวตัถุ มีหน่วยเปน็กโิลกรมั

โดยน้ าหนกั = มวล x ค่าความเรง่จากแรงโน้มถว่ง (g)

Page 16: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

1.3 การเคลือ่นทีแ่บบโพรเจกไทล ์

Page 17: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

1.3 การเคลือ่นทีแ่บบโพรเจกไทล ์

Page 18: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

1.4 ความเรง่สูศ่นูยก์ลาง

Page 19: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

การเคลือ่นทีแ่บบโพรเจกไทล ์

Page 20: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

การเคลือ่นทีแ่บบโพรเจกไทล ์

Page 21: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงกริยิา - แรงปฏกิริยิา

แรงกริยิา คือ แรงทีเ่กดิจากการกระท าโดยสิง่ใดๆ เช่น การออกแรงกดโตะ๊

น้ าหนกัของวตัถกุเ็ปน็แรงกริยิาทีโ่ลกออกแรงดงึดดูวตัถใุหเ้ขา้สูศ่นูยก์ลางของโลก

Page 22: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงกริยิา - แรงปฏกิริยิา

แรงปฏิกริยิา คือ แรงอันเนือ่งมาจากแรงกรยิาโดยมทีศิทางตรงกนัขา้ม และขนาดเทา่กบัแรงกรยิาเสมอ

กรณีรถชนสนุขั

แรงกริยิา คือ แรงที่รถชนสนุขั จึงท าใหส้นุขักระเดน็ไป

แรงปฏิกริยิา เป็นแรงทีส่นุขัชนรถ จึงท าใหร้ถบบุ

แสดงใหเ้หน็วา่ แรงกิรยิา และแรงปฏกิริยิาไม่สามารถหกัลา้งกนัได้

Page 23: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงกริยิา - แรงปฏกิริยิา

Page 24: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงกริยิา - แรงปฏกิริยิา

Page 25: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงกริยิา - แรงปฏกิริยิา

Page 26: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงลอยตวั/แรงพยงุ

คือแรงทีข่องเหลวพยงุวตัถไุว ้เมื่อวตัถุนัน้อยูใ่นของเหลว

น้ าหนกัของวตัถทุีช่ัง่ในของเหลว จะมีคา่นอ้ยกวา่น้ าหนกัของวตัถทุีช่ัง่ใน อากาศ เนื่องจากแรงพยงุของของเหลวมมีากกว่าแรงพยงุของอากาศ

Page 27: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ลักษณะของวตัถทุีอ่ยูใ่นของเหลว

Page 28: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ลักษณะของวตัถทุีอ่ยูใ่นของเหลว

Page 29: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่ง

เมื่อน าดนิน้ ามนักอ้นหนึง่แขวนดว้ยเครือ่งชัง่สปรงิ พบวา่อ่านคา่น้ าหนกัได ้ 5.45 นิวตนั แต่เมือ่ไปชัง่ในน้ าพบวา่ อ่านคา่ได ้4.20 นิวตนั แรงพยงุทีน่้ ากระท าตอ่ดนิน้ ามนัมีค่าเทา่ไร

แรงพยงุ = น้ าหนกัทีช่ัง่ในอากาศ - น้ าหนกัทีช่ัง่ในน้ า

แรงพยงุ = 5.45 – 4.20 = 1.25 นิวตัน

Page 30: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

เรือลอยอยูใ่นน้ า

แรงลอยตัวของเรอื เท่ากับ/มากกว่าน้ าหนกัของเรอื ส่วนทีจ่มอยูใ่ตผ้วิน้ า เท่ากบั/มากกว่า น้ าหนกัของเรอื

Page 31: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

เรือลอยอยูใ่นน้ า

Page 32: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงเสยีดทาน

ในการออกแรงกระท าใหว้ตัถเุคลือ่นทีไ่ปบนพื้นจะมีแรงตา้นเกดิขึน้ทีผ่ิวสมัผสั

มีทิศตรงขา้มกบัการเคลือ่นท่ี เรียกวา่ แรงเสยีดทาน (friction :f )

แบ่งเปน็แรงเสยีดทานสถติ (เริม่เคลือ่น) และแรงเสยีดทานจลน ์(เคลือ่นทีแ่ลว้)

Page 33: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงเสยีดทานขึน้อยูก่บั

น้ าหนกัของวัตถ ุ : ยิ่งน้ าหนักมากแรงเสยีดทานกม็ากขึน้

พื้นที่ผิวสมัผสั : ชนิดของวสัดุ, ความเรยีบความขรขุระ

ความลาดเอยีงของพืน้ผิว

Page 34: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงเสยีดทานขึน้อยูก่บั

Page 35: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงเสยีดทานขึน้อยูก่บั

Page 36: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่งการลดแรงเสยีดทาน

ใช้น้ ามันหลอ่ลืน่ และจาระบี

ระบบลกูปนื

การออกแบบรปูร่างของยานพาหนะใหเ้พรยีวลมลดแรงตา้น

ท าใหพ้ื้นมผีวิเรยีบเปน็การลดแรงเสยีดทานใหน้้อยลง เช่น ถนนลาดยาง

Page 37: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่งการเพิม่แรงเสยีดทาน

ลวดลายของยางรถยนตช์ว่ยเพิม่แรงเสยีดทาน

พื้นรองเทา้ทีท่ าจากยาง ช่วยเพิม่แรงเสยีดทาน

รองเท้ากฬีามีปุม่ยางทีพ่ื้นรองเทา้ ท าให้ยดึเกาะพืน้ไดด้ี

Page 38: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอยา่งการลดแรงเสยีดทาน

Page 39: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แรงเสยีดทาน

Page 40: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

แบบฝกึหดัประจ าเรือ่ง

2 ชั่วโมง คิดเปน็กีว่นิาท ี และ 40 กิโลเมตร คิดเปน็กีเ่มตร

รถแลน่ไป 100 เมตร ในเวลา 5 วินาท ีมีอัตราเรว็เฉลีย่เทา่ไร

รถคนัหนึ่งวิง่ดว้ยอัตราเรว็คงที ่40 กิโลเมตร/ชัว่โมง ในเวลา 5 ชั่วโมง จะวิ่งได้ระยะทางเทา่ไร

รถสปอรต์เรง่จากความเรว็ 4 เมตร/วินาท ีไปจนมคีวามเรว็ 25 เมตร/วนิาที ในเวลา 10 วินาท ีรถคันนีม้คีวามเร่งเท่าไร

Page 41: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

โมเมนตข์องแรง

โดย ครูปินัชยา นาคจ ารญู

Page 42: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

โมเมนตข์องแรง

หมายถึง ผลของแรงทีก่ระท าตอ่วตัถเุพือ่ใหว้ตัถหุมนุไปรอบจดุหมนุ

มี 2 ทิศทาง คือ โมเมนตต์ามเขม็นาฬกิา และโมเมนต์ทวนเขม็นาฬกิา

Page 43: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

คาน

หลักการของโมเมนต ์ น ามาใชก้บัอุปกรณท์ีเ่รยีกวา่ คาน (lever)

คาน เปน็เครือ่งกลชนิดหนึง่ทีใ่ชด้ดีงัดวตัถใุหเ้คลือ่นที่รอบจดุหมนุ

ถูกสรา้งขัน้มาเผื่อผอ่นแรงในกจิกรรมตา่งๆ

Page 44: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

การหาโมเมนตข์องแรง

ผลคณูของแรงกบัระยะตัง้ฉากจากแนวแรงถงึจุดหมุน

จากภาพโมเมนตข์องแรง = E x L1 (ทวนเขม็) และ = W x L2 (ตามเขม็)

Page 45: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

สมดุลของคาน/โมเมนต ์

คือผลรวมของโมเมนตท์วนเขม็นาฬิกา = ผลรวมของโมเมนตต์ามเขม็นาฬิกา

หรือฝัง่ซา้ย และขวาของคานตอ้งมโีมเมนตข์องแรงทีเ่ทา่กันนัน่เอง

Page 46: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

กิจกรรม “หาจดุสมดลุ”

โดย ครูปินัชยา นาคจ ารญู

Page 47: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

กิจกรรม “หาจดุสมดลุ”

ให้นกัเรยีนท าคานจ าลองจากดนิสอ ไม้บรรทดั และยางวง โดยใหว้างไม้บรรทดัลงบนบกิเกอร ์โดยทีไ่มบ้รรทดัไมต่ก พร้อมทั้งเขยีนอธิบายวา่ท าอยา่งไร

Page 48: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

กิจกรรม “หาจดุสมดลุ” 1.จากคานทีส่มดุลแลว้ใหน้กัเรยีนวางเหรยีญ 1 บาท (2 เหรยีญ)ลงบนไม้บรรทัดทัง้ 2 ฝั่งโดยไม่ใหเ้หรยีญตก พร้อมทั้งเขยีนอธิบายวา่ท าอยา่งไร 2.ท าซ้ าตามขอ้ 1 แต่เปลีย่นเป็น เหรยีญ 1 บาท กับเหรยีญ 10 บาท ลงบนไม้บรรทัดทัง้ 2 ฝั่งโดยไม่ใหเ้หรยีญตก พร้อมทั้งเขยีนอธิบายวา่ท าอยา่งไร

Page 49: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอย่างการหาโมเมนตข์องแรง

ช่าง ใช้แรง 200 N ที่ปลายประแจขนัน๊อตยาว 20 cm จะมีโมเมนตท์ี่กระท าตอ่น๊อตเทา่ไร

จากภาพตอ้งใหร้ะยะหา่งจากจุดหมุนของแรง 1 เป็นเทา่ไร ถึงจะสมดลุ

Page 50: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอย่างการหาโมเมนตข์องแรง

จากภาพคานนีส้มดุลหรือไม ่จงอธิบาย

Page 51: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ตัวอย่างการหาโมเมนตข์องแรง

ต้องน าวตัถหุนกั 16 นิวตัน แขวนไวท้ี่ใด คานจึงสมดลุ

Page 52: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

ส่วนประกอบของคาน

จุดหมนุหรอืจดุฟัลกรมั (Fulcrum) F

แรงความต้านทาน (W) หรือน้ าหนักของวตัถุ

แรงความพยายาม (E) หรือแรงทีก่ระท าตอ่คาน

Page 53: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

การจ าแนกคาน

คานอนัดบัที ่1

เป็นคานทีม่จีดุ (F) อยู่ระหวา่งแรงความพยายาม (E) และแรงความตา้นทาน (W)

เชน่ กรรไกรตัดผา้ กรรไกรตัดเลบ็ คีมตดัลวด เรือแจว ไมก้ระดก เป็นตน้

Page 54: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

คานอนัดบัที ่2

มีแรงความตา้นทาน (W) อยู่ระหว่างแรงความพยายาม (E) และจุดหมนุ (F)

เชน่ ที่เปิดขวดน้ าอดัลม รถเขน็ทราย ที่ตัดกระดาษ เป็นตน้

Page 55: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

คานอนัดบัที ่2

Page 56: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

คานอนัดบัที ่3

มีแรงความพยายาม (E) อยู่ระหวา่งแรงความต้านทาน (W) และจุดหมนุ (F)

เชน่ ตะเกยีบ คีมคบีถา่น แหนบ เป็นตน้

Page 57: บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่

คานอนัดบัที ่3