เอกเทศสัญญา 2-3

32
เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล 62 62 สรุปหลักกฎหมาย สัญญารับขน (Carriage) บทที1. ความหมายและลักษณะสําคัญของสัญญารับขน ความหมายของสัญญารับขน (Carriage) สัญญารับขน (Carriage) คือ สัญญาที่คูสัญญาฝายหนึ่งเรียกวา ผูขนสงตกลงวาจะทําการ ขนสงของหรือคนโดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยเรียกสินจางซึ่งเปนคาระวางพาหนะหรือคา โดยสาร แลวแตกรณี จากคูสัญญาอีกฝายหนึ่งซึ่งเรียกวา ผูสงหรือ ผูตราสง1 โดยเปนทางคาปกติ ของผูขนสง ลักษณะสําคัญของสัญญารับขน 1. สัญญารับขนเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง สัญญารับขนมีลักษณะเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง แตเปนการจางทําของเฉพาะ กิจการที่ตองกระทําในการขนสงเทานั้น กลาวคือ ผูสงของหรือผูตราสงก็เทากับเปนผูวาจางนั่นเองมี ความมุงหมายอยูที่ความสําเร็จของงาน คือของที่ขนสงไปถึงผูรับตราสง วิธีการที่ผูขนสงจะกระทํา นั้นอยูในอํานาจหรือดุจพินิจโดยอิสระของผูขนสง ผูสงของหรือผูตราสงไมมีอํานาจควบคุมวิธี ดําเนินงานหรือการทํางานของผูขนสง ดังนั้น จึงมีลักษณะเชนเดียวกับสัญญาจางทําของคือ 1 ผูขนสง คือ บุคคลผูรับขนสงของหรือคนโดยสารเพื่อบําเหน็จเปนทางคาปกติของตน(มาตรา 608) มาตรา 608 อันวาผูขนสงภายในความหมายแหงกฎหมายลักษณะนี้คือบุคคลผูรับขนสงของหรือคน โดยสารเพื่อบําเหน็จเปนทางคาปกติของตนผูตราสง หมายถึง ผูสงที่ไดออกใบตราสงตามมาตรา 613 มาตรา 613 ถาผูสงเรียกเอาใบตราสง ผูขนสงก็ตองทําให ใบตราสงนั้นตองแสดงรายการตอไปนีคือ (1) รายการดังกลาวไวในมาตรา 612 อนุมาตรา 1, 2 และ 3 (2) ชื่อหรือยี่หอของผูสง (3) จํานวนคาระวางพาหนะ (4) ตําบลและวันที่ออกใบตราสง อนึ่งใบตราสงนั้นตองลงลายมือชื่อผูขนสงเปนสําคัญ

Upload: api-3821739

Post on 14-Nov-2014

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

62

62

สรุปหลักกฎหมาย สัญญารับขน (Carriage)

บทท่ี 1. ความหมายและลักษณะสําคัญของสัญญารับขน

ความหมายของสัญญารับขน (Carriage) สัญญารับขน (Carriage) คือ สัญญาที่คูสัญญาฝายหนึ่งเรียกวา “ผูขนสง” ตกลงวาจะทําการขนสงของหรือคนโดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยเรียกสินจางซึ่งเปนคาระวางพาหนะหรือคาโดยสาร แลวแตกรณ ีจากคูสัญญาอีกฝายหนึ่งซึ่งเรียกวา “ผูสง” หรือ “ผูตราสง”1 โดยเปนทางคาปกติของผูขนสง ลักษณะสําคัญของสัญญารับขน 1. สัญญารับขนเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง สัญญารับขนมีลักษณะเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง แตเปนการจางทําของเฉพาะกิจการที่ตองกระทําในการขนสงเทานั้น กลาวคือ ผูสงของหรือผูตราสงก็เทากับเปนผูวาจางนั่นเองมีความมุงหมายอยูที่ความสําเร็จของงาน คือของที่ขนสงไปถึงผูรับตราสง วิธีการที่ผูขนสงจะกระทํานั้นอยูในอํานาจหรือดุจพินิจโดยอิสระของผูขนสง ผูสงของหรือผูตราสงไมมีอํานาจควบคุมวิธีดําเนินงานหรือการทํางานของผูขนสง ดังนั้น จึงมีลักษณะเชนเดียวกับสัญญาจางทําของคือ

1 ผูขนสง คือ บุคคลผูรับขนสงของหรือคนโดยสารเพื่อบําเหน็จเปนทางคาปกติของตน(มาตรา 608) มาตรา 608 “อันวาผูขนสงภายในความหมายแหงกฎหมายลักษณะนี้คือบุคคลผูรับขนสงของหรือคน

โดยสารเพื่อบําเหน็จเปนทางคาปกติของตน” ผูตราสง หมายถึง ผูสงที่ไดออกใบตราสงตามมาตรา 613 มาตรา 613 “ถาผูสงเรียกเอาใบตราสง ผูขนสงก็ตองทําให ใบตราสงนั้นตองแสดงรายการตอไปนี้ คือ (1) รายการดงักลาวไวในมาตรา 612 อนุมาตรา 1, 2 และ 3 (2) ช่ือหรือยี่หอของผูสง (3) จํานวนคาระวางพาหนะ (4) ตําบลและวันที่ออกใบตราสง อนึ่งใบตราสงนั้นตองลงลายมือช่ือผูขนสงเปนสําคัญ”

Page 2: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

63

63

1.1 เปนสัญญาที่มุงเอาความสําเร็จของการขนสงเปนสําคัญ 1.2 เปนสัญญาตางตอบแทน กอหนี้ใหแกคูสัญญาทั้งสองฝาย 1.3 เปนสัญญาที่สมบูรณโดยมีเจตนาตกลงกัน คือเพียงแตคูสัญญาแสดงเจตนา

ตรงกันก็เกิดเปนสัญญาสมบูรณขึ้นแลว โดยไมจําตองมีหลักฐานเปนหนังสือหรือตองทําตามแบบแตอยางไร หรือตองสงมอบของอะไรใหแกกันเสียกอน 2. เปนการทํางานที่มีวัตถุประสงคในการขนสง คือ การขนสงของหรือคนโดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ถาเปนการงานอยางอื่น เชน การโดยสารรถไฟที่จัดไวบริการในงานกาชาติหรือมาหมุนในงานกาชาติและพาวิ่งไปรอบ ๆ ลักษณะเชนนี้เปนสัญญาจางทําของ ไมใชสัญญารับขน 3. เปนสัญญาที่มีคาตอบแทน คือ การงานที่ผูขนสงตกลงทําใหนั้นมิใชทําใหเปลา หากแตผูขนสงเรียกสินจาง คือ คาระวางพาหนะหรือคาโดยสาร เปนบําเหน็จตอบแทน เปนทางคาปกติของผูขนสงหรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือผูขนสงเรียกคาระวางพาหนะหรือคาโดยสารจากผูใชบริการของตนเปนปกติ มิไดทําใหเปลา และผูขนสงรับขนสงเปนกิจธุระปกติของตน ฉะนั้น หากทําการขนสงเปนทําใหโดยไมคิดราคา หรือเปนการชั่วคร้ังชั่วคราวมิใชกระทําเปนทางคาปกติแลว สัญญานั้นเปนสัญญาจางทําของธรรมดาทั่วไปไมใชสัญญารับขน2

ขอบเขตของการใชบทบัญญัติตามกฎหมายแพงและพาณิชยวาดวยการรับขน การรับขนของ และคนโดยสารบางประเภทตองบังคับตามกฎหมายหรือกฎขอบังคับพิเศษ ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะ มิไดเปนไปตามบทบัญญัติวาดวยรับขน ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 609 “การรับขนของหรือคนโดยสารในหนาท่ีของกรมรถไฟหลวงแหงกรุงสยาม และการขนไปรษณียภัณฑในหนาท่ีกรมไปรษณียโทรเลขนั้น ทานใหบังคับตามกฎหมายและกฎขอบังคับสําหรับทบวงการนั้น ๆ รับขนของทางทะเล ทานใหบังคับตามกฎหมายและกฎขอบังคับวาดวยการนั้น” แตการขนของในลักษณะดังกลาวนั้นมีกฎหมายพิเศษบัญญัติไวเปนการเฉพาะกลาวคือ

2 กมล สนธิเกษตริน. คําอธิบายกฎหมายแพงฯ วาดวยจางแรงงาน จางทําของ รับขน, พิมพครั้ง

ที่ 9. น. 54.

Page 3: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

64

64

1. การรับขนของหรือคนโดยสารในหน า ท่ีของการรถไฟแหงประเทศไทย (พระราชบัญญัติจัดวางการรถไฟและทางหลวง พ.ศ.2464)3

2. การขนไปรษณียภัณฑในหนาท่ีของกรมไปรษณียโทรเลข (พระราชบัญญัติไปรษณีย พ.ศ.2477)4

3 พระราชบัญญัติจัดวางการรถไฟและทางหลวง พ.ศ. 2464 ขอความเบื้องตน มาตรา 1-7 ภาคที่ 1 วาดวยรถไฟแผนดิน

สวนที่ 1 วาดวยจัดวางการทั่วไป มาตรา 8-17 สวนที่ 2 วาดวยการจัดหาซื้อที่ดิน มาตรา 18-40 สวนที่ 3 วาดวยการกอสราง การบํารุง และลักษณะจัดการงาน มาตรา 41-49 สวนที่ 4 วาดวยการบรรทุกสง มาตรา 50-70 สวนที่ 5 วาดวยความปราศภัย แหงประชาชน มาตรา 71-94

ภาคที่ 2 วาดวยรถไฟราษฎร สวนที่ 6 วาดวยรถไฟผูรับอนุญาต

หมวด 1 วาดวยการใหอนุญาต มาตรา 95-104 หมวด 2 วาดวยการกํากับตรวจตรา ของรัฐบาล มาตรา 105-119 หมวด 3 วาดวยการจัดหาซื้อที่ดิน การกอสราง การบํารุง

วิธีจัดการ และการบรรทุกสง มาตรา 120-135 หมวด 4 วาดวยความปราศภัยแหงประชาชน มาตรา 136-139

สวนที่ 7 วาดวยรถไฟหัตถกรรม มาตรา 140-145 ภาคที่ 3 วาดวยทางหลวง และทางราษฎร มาตรา 146-162

4 พระราชบัญญัติไปรษณีย พ.ศ. 2477 ขอความเบื้องตน มาตรา 1- 3

หมวด 1 บทวิเคราะหศัพท มาตรา 4 หมวด 2 อํานาจสิทธิ์ขาด มาตรา 5- 9 หมวด 3 ไปรษณียากร มาตรา 10-15 หมวด 4 ตราไปรษณียากร มาตรา 16-17 หมวด 5 การรับและสงไปรษณียภัณฑ มาตรา 18-27 หมวด 6 การลงทะเบียนและการประกัน มาตรา 28-34 หมวด 7 ไปรษณียภัณฑสงไมได มาตรา 35-37 หมวด 8 ถุงไปรษณียสงทางเรือ มาตรา 38-44 หมวด 9 สิทธิพิเศษในการรับสงไปรษณีย มาตรา 45-49 หมวด 10 ธนาณัติ มาตรา 50-55

หมวด 11 การตรวจคน จับกุม ฟองรองและบทลงโทษ

Page 4: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

65

65

3. การรับขนของทางทะเล กําหนดไววาใหเปนไปตามกฎหมายและกฎขอบังคับวาดวยการนั้น (มาตรา 609 วรรคสอง) โดยที่การขนสงทางทะเลไมวาจะเปนขนสงของหรือคนโดยสาร มีหลักเกณฑและระเบียบประเพณีแตกตางไปจากการขนสงทางบกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งการขนสงทางทะเลระหวางประเทศ มีความตกลงระหวางประเทศ กฎ ระเบียบ และประเพณีในทางปฏิบัติที่ยอมรับนับถือกันอยูมากมาย ฉะนั้นจึงไมสมควรที่จะนําหลักเกณฑที่ใชกับการขนสงทางบกมาใชกับการขนสงทางทะเลได แมจะนํามาใชในฐานะกฎหมายใกลเคียงก็ขัดเขินเพราะสภาพของการขนสง วิธีการ ภัยและการเสี่ยงภัยทางทะเลมีสูงกวา สําหรับประเทศไทยมีพระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 วางหลักเกณฑเกี่ยวกับการขนของทางทะเล สิทธิ หนาที่และความรับผิดของผูที่เกี่ยวของไวโดยเฉพาะโดยเดินตามหลักสากลและประเพณีที่ยอมรับกันระหวางประเทศ อยางไรก็ตาม การขนสงทางทะเลภายในเขตทะเลอาณาเขตของประเทศไทยมีความเกี่ยวเนื่องใกลชิดกับการบังคับใชกฎหมายไทย เพราะถือวาเปนการขนสงที่กระทําอยูในประเทศไทย ผูขนสง ผูสงของ ผูรับของ รวมทั้งสินคาที่ขนสงลวนอยูในราชอาณาจักรและมีสวนตอเนื่องใกลชิดกับการขนสงทางบก มาตรา 4 วรรคสองของพระราชบัญญัติรับขนของทางทะเล พ.ศ.2534 จึงบัญญัติไววา “ การขนสงของทางทะเลในราชอาณาจักร ถาไดตกลงกันเปนหนังสือวาใหใชพระราชบัญญัตินี้บังคับก็ใหใชพระราชบัญญัตินี้บังคับโดยอนุโลม ” ดังนั้น หากมิไดมีการตกลงและเขียนไวเปนหนังสือเปนอยางอื่นแลว การขนสงของทางทะเลภายในราชอาณาจักร (คือในบริเวณทะเลสวนที่ตอเนื่องติดกับผืนแผนดินซึ่งอยูในอํานาจอธิปไตยของประเทศไทย) ใหปฏิบัติตามบทบัญญัติวาดวยการรับขนในลักษณะ 8 บรรพ 3 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เวนแตคูสัญญารับขนของจะไดรับตกลงกันเปนหนังสือวาใหนําบทบัญญัติและหลักเกณฑที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติรับขนของทางทะเลฯ มาใชบังคับแกการขนสงของทางทะเลในรายนั้น ๆ ขอพิจารณา การขนสงในลักษณะใดเปนการขนสงทางทะเลในราชอาณาจักรหรือไมนั้น ตัวอยางเชน การขนสงในแมน้ําเจาพระยา ที่ตอเนื่องกับการขนสงมาจากทะเล เปนการขนสงทางทะเลหรือไม ในเรื่องนี้จะตองพิจารณาวาการขนสงในแมน้ําเจาพระยาเปนสวนหนึ่งตางหากหรือเกี่ยวเนื่องในลักษณะรับชวงตอจากการขนสงทางทะเลเพื่อใหการขนสงตามสัญญารับขนของทางทะเลบรรลุผลสําเร็จหรือไม หากเกี่ยวเนื่องและถือเปนสวนหนึ่งแหงการขนสงของทาง

สวนที่ 1 ความผิดที่เจาพนักงานกรมกระทําขึ้น มาตรา 56-60 สวนที่ 2 ความผิดอยางอื่น มาตรา 61-77 สวนที่ 3 การตรวจคน จับกุม และฟองรอง มาตรา 78-81

หมวด 12 การรักษาการตามพระราชบัญญัติ มาตรา 82

Page 5: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

66

66

ทะเล โดยเฉพาะการขนของจากทะเลเดินทางเขามายังทาเรือหรือที่หมายปลายทางของสินคาซึ่งอยูในเขตแมน้ํา ก็ถือไดวาเปนการขนสงของทางทะเลดวย อยางไรก็ดีคงจะตองดูพฤติการณเปนเรื่อง ๆ ไปวา การขนสงของในลําแมน้ําที่ติดตอกับทะเลนั้นเปน “การขนสงของทางทะเล” หรือไม การที่มาตรา 4 วรรคสองของพระราชบัญญัติรับขนของทางทะเลฯ บัญญัติไวดังกลาวขางตน อันเปนผลใหนําบทบัญญัติวาดวยการรับขนในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไปใชกับการขนสงของทางทะเลในราชอาณาจักรดวย ทั้ง ๆ ที่บทบัญญัติวาดวยการรับขนในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมีหลักเกณฑที่มุงจะใชกับการขนสงภายในประเทศที่เปนการขนสงทางบกเปนสวนใหญนั้นคงจะเปนความประสงคของผูบัญญัติกฎหมายที่ไมอยากใหเกิดการสับสนในการใชบังคับกฎหมายแกการขนสงทางทะเลในราชอาณาจักรซึ่งตอเนื่องใกลชิด และมีองคประกอบตาง ๆ ที่อยูภายใตประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยนับตั้งแตการทําสัญญาซื้อขายสินคา การสงมอบสินคา กรรมสิทธิ์ในสินคา การขนสงสินคาทางบกมายังทาเรือ การบรรทุกและขนถายสินคา ฯลฯ แตผูเขียนใครช้ีใหเห็นวาหลักเกณฑของกฎหมายวาดวยการับขนของทางทะเลนั้นเปนหลักเกณฑที่มีลักษณะพิเศษและเหมาะสมกับสภาพการขนสง สภาพของความเสี่ยงภัยทางทะเล มีขอกําหนดยกเวนความรับผิดและขอจํากัดความรับผิดไวโดยชัดแจงในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นแกของหรือบุคคลที่เกี่ยวของ เพราะลักษณะของการเสี่ยงภัยทางทะเลนั้นมีโอกาสสูงกวาการขนสงทั่วไป ดังนั้น หากพิจารณาถึงความเปนธรรมในการใชกฎหมาย ควรที่จะใชหลักเกณฑที่ใชแกการขนสงของทางทะเลโดยเฉพาะแกการขนสงของทางทะเลทั้งหมดทุกกรณี ไมวาจะเปนการขนสงชายฝงหรือการขนสงระหวางประเทศในทะเลลึก อยางไรก็ตามกอนที่ประเทศไทยจะมีพระราชบัญญัติการขนสงของทางทะเล พ.ศ.2534 ศาลไทยไดนําเอาหลักเกณฑวาดวยรับขนในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยไปใชบังคับแกกรณีพิพาทเรื่องการรับขนของทางทะเลในฐานะเปนกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่ง ซ่ึงผลออกมาในลักษณะแปลก ๆ ในสายตาของนักกฎหมายตางประเทศ และเปนผลที่ตางประเทศไมอาจยอมรับได เพราะไมสอดคลองกับหลักเกณฑสากล 4. กรณีของการขนสงทางอากาศในเชิงพาณิชย (โดยทางเครื่องบินหรืออากาศยาน) เปนรูปแบบการขนสงที่เกิดขึ้นภายหลังประกาศใชบทบัญญัติวาดวยการรับขน ในบรรพ 3 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย กลาวคือเกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง กอนหนานั้นมีแตการใชเครื่องบินเปนยานพาหนะในทางการทหารและการขนสงทางทหารเทานั้น หลักเกณฑที่ใชในความสัมพันธระหวางผูสงของทางอากาศกับผูประกอบการขนสงทางอากาศ ตลอดจนวิธีการตาง ๆ ที่เกี่ยวกับการขนสงทางอากาศจึงเปนหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนด และจัดใหมีขึ้นในภายหลังประกาศใชบทบัญญัติวาดวยการรับขนในบรรพ 3 ประกอบกับภัยและการเสี่ยงภัยในการขนสงทางอากาศก็มีสูงกวาการขนสงทางบก ฉะนั้นการจะนําเอาบทบัญญัติในเรื่องการขนสง

Page 6: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

67

67

ทางบกมาใชกับการขนสงทางอากาศ โดยถือวาเปนกฎหมายใกลเคียงอยางยิ่งจึงไมนาจะกระทําได ในขณะที่เขียนนี้ ประเทศไทยยังไมมีกฎหมายวางหลักเกณฑในเรื่องสิทธิและหนาที่ความรับผิดของผูสงของทางอากาศ ผูขนสงทางอากาศ และผูที่เกี่ยวของตลอดจนวิธีการที่ใชในการขนสงทางอากาศ ( ไมวาจะเปนการขนสงของหรือคนโดยสาร ) พระราชบัญญัติเดินอากาศฯ ก็เปนเพียงบทบัญญัติที่กําหนดวาใครบางจะสามารถมีกรรมสิทธิ์ในอากาศยานสัญชาติไทย คุณสมบัติของผูซ่ึงจะอนุญาตใหเปนผูประกอบการเดินอากาศ การประกอบการสนามบิน เครื่องมือ เครื่องอุปกรณที่ใชในการบิน ฯลฯ ซ่ึงเปนหลักเกณฑระหวางรัฐกับเอกชน ที่ปฏิบัติกันอยูในปจจุบันสายการบินภายในประเทศ และสายการบินระหวางประเทศตางใชหลักเกณฑในอนุสัญญากรุงวอรซอร 1929 และ โปรโตโคล กรุงเฮก 1955 และกรุงมอนตริอน 1975 เปนขอกําหนดความสัมพันธ สิทธิ และหนาที่ความรับผิดระหวางผูสงของ ผูโดยสารกับผูขนสงทางอากาศ เชนนี้ขอกําหนดเกี่ยวกับขอจํากัดความรับผิดและขอยกเวนความรับผิดของผูขนสง (บริษัทสายการบิน) ไวเปนพิเศษ แตกตางไปจากบทบัญญัติวาดวยการขนสงทางบก โดยนําหลักเกณฑเหลานี้ไปกําหนดไวในดานหลังของตั๋วโดยสารหรือในใบตราสง (Airway bill) แสดงวาคูสัญญาไดตกลงกําหนดสิทธิ หนาที่และความรับผิดกันไวอยางไร หากเกิดความเสยีหาย หรือสูญหายเกิดขึ้นก็ใหบังคับกันไปตามนั้น แตหากตกลงกันไมไดและนําขอพิพาทสูศาลขอความใดที่ขัดหรือแยงกับบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ศาลไทยก็ใชบทบัญญัติของประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบังคับแทน5

5 เรื่องเดียวกัน หนา 55 - 59

Page 7: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

68

68

สัญญารับขนของ (Carriage of goods)

ลักษณะเฉพาะของสัญญารับขนของ 1. มีบุคคลเขามาเกี่ยวของกับสัญญารับขนของในฐานะคูสัญญาและผูรับประโยชนจากสัญญา ไดแกบุคคลตาง ๆ ที่บัญญัติไวในมาตรา 608 และมาตรา 610 ประกอบดวย 1.1 ผูสง (Sender) หรือผูตราสง (Consignor) คือ บุคคลผูทําความตกลงกับผูขนสงเพื่อใหขนของไปให การที่มีช่ือเปนสองช่ือก็โดยที่สัญญารับขนของนี้ บางทีไมมีการออกใบตราสง (Consignment note) บางทีก็มีการออกใบตราสง ถาไมออกใบตราสงคูสัญญาฝายนี้ก็เรียกวาผูสง แตถามีการออกใบตราสงก็มีช่ือวา ผูตราสง 1.2 ผูขนสง (Carrier) คือ บุคลคลผูตกลงรับขนสงของใหแกผูสงหรือผูตราสงเพื่อบําเหน็จทางการคําตามปกติของตน 1.3 ผูรับตราสง (Consignee) คือ บุคคลผูที่ไดเขามาเกี่ยวของกับสัญญารับขนของในฐานะผูรับประโยชน และโดยที่มีผูรับตราสงเขามาเปนผูรับประโยชนเชนนี้ สัญญารับขนของจึงมีลักษณะพิเศษอีกอยางหนึ่ง คือเปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอกดวย ซ่ึงจะไดพิจารณาตามลําดับตอไป 2. คาตอบแทน ในสัญญารับขนของนั้น ผูขนสงกระทําไปเพื่อบําเหน็จทางการคาปกติของตน ดังนั้นจึงตองมีการตอบแทนการขนสงของดังกลาวซึ่งเรียกวา “คาระวางพาหนะ (Freight)”6 3. เอกสารที่เก่ียวของกับการรับขนของ 3.1 ใบกํากับของ (Way Bill) ใบกํากับของเปนเอกสารที่แสดงถึงสภาพและจํานวนสิ่งของที่สงวามีอยูอยางไร เชน ใบกํากับของในการขนสงน้ําตาล อาจระบุวา น้ําตาลทรายขาว ชนิดดีเกรด 1 จํานวน 100 กระสอบ มีน้ําหนักกระสอบละ 30 กิโลกรัม เปนตน

6 คาระวางพาหนะ (Freight) คูสัญญาสามารถตกลงชําระเปนเงินหรือทรัพยสินอื่นก็ได แตโดยทั่วไป

แลวมักตกลงใหชําระเปนเงินตรา

Page 8: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

69

69

ประโยชนของใบกํากับของ เปนหลักฐานที่ผูขนสงสามารถใชยันตอผูสงวาสภาพและจํานวนสิ่งของที่มอบหมายใหผูขนสงนั้นครบถวนถูกตองหรือไม รายการที่ตองปรากฏในใบกํากับของ คือ (1) สภาพและน้ําหนัก หรือขนาดแหงของที่สง กับสภาพ จํานวน และ

เครื่องหมายแหงหีบหอ (2) ตําบลที่กําหนดใหสง (3) ช่ือหรือยี่หอ และสํานักของผูรับตราสง (4) ตําบลและวันที่ออกใบกํากับของนั้น และ (5) ตองลงลายมือช่ือผูสงเปนสําคัญ ” 3.2 ใบตราสง (Consignment Note) รายการที่ตองปรากฏในใบตราสง(มาตรา 613)

(1) สภาพและน้ําหนัก หรือขนาดแหงของที่สง กับสภาพ จํานวน และเครื่องหมายแหงหีบหอ

(2) ตําบลที่กําหนดใหสง (3) ช่ือหรือยี่หอ และสํานักของผูรับตราสง (4) ช่ือหรือยี่หอของผูสง (5) จํานวนคาระวางพาหนะ (6) ตําบลและวันที่ออกใบตราสง (7) ลงลายมือช่ือผูขนสงเปนสําคัญ7

7 กรณีเปนการขนสงทางอากาศจะเรียกใบตราสงวา “Air Waybill” หากเปนการขนสงทางรถไฟ

เรียกวา “Rail Waybill”และหากเปนการขนสงทางทะเลจะเรียกวา “Ocean Bill of Lading” พระราชบัญญัติการรับขนของทางทะเล พ.ศ. 2534 มาตรา 3 “ใบตราสง” หมายความวา เอกสารที่ผูขนสงออกใหแกผูสงของเปนหลักฐานแหงสัญญารับ

ขนของทางทะเลแสดงวาผูขนสงไดรับของตามที่ระบุในใบตราสงไวในความดูแลหรือไดบรรทุกของลงเรือแลว และผูขนสงรับที่จะสงมอบของดังกลาวใหแกผูมีสิทธิรับของนั้นเมื่อไดรับเวนคืนใบตราสง

มาตรา 18 “ใบตราสงพึงแสดงรายการดังตอไปนี้ ลักษณะทั่วไปแหงของ เครื่องหมายที่จําเปนเพื่อบงตัวของขอความที่แจงลักษณะอันตรายแหงของ

หากจะตองมี จํานวนหนวยการขนสงและน้ําหนักของหรือปริมาณอยางอื่น ทั้งนี้ ตามที่ผูสงของแจงหรือจัดให 1. สภาพแหงของเทาที่เห็นไดจากภายนอก

Page 9: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

70

70

ลักษณะและการใชประโยชนในใบตราสง (1) เปนหลักฐานที่ใชยันตอผูขนสงวา สภาพและจํานวนของที่สงเปนอยางไร ซ่ึงเปนประโยชนแกผูตราสง (2) ใชเปนหลักฐานหรือเปนเครื่องมือซ้ือขายหรือโอนของที่รับขนนั้นไปใหคนอื่นไดอีก โดยการสลักหลังใบตราสงโอนใหไปและผูทรงใบตราสงก็นําใบตราสงนั้นไปขอรับของจากผูขนสง เวนแตในใบตราสงนั้นเองมีขอความหามโอนโดยสลักหลัง (มาตรา 614) (3) เปนหลักฐานในการไปขอรับของจากผูขนสงคือใบตราสงใชเปนเครื่องมือโอนของที่สงใหแกกันได กลาวคือ ผูตราสงเมื่อสงของแลวจะสงหรือมอบใบตราสงใหแกผูรับตราสงซึ่งเปนบุคคลภายนอกที่ไดรับประโยชนแหงสัญญารับขนของ ทําใหผูรับตราสงมีสิทธิรับของที่สงนั้นจากผูขนสงได ทั้งนี้เปนเปนตามมาตรา 615

การโอนใบตราสง มาตรา 614 “แมวาใบตราสงจะไดออกใหแกบุคคลผูใดโดยนามก็ตาม ทานวายอม

สลักหลังโอนใหกันได เวนแตจะมีขอหามการสลักหลังไว” แมวาจะมีการบัญญัติรายการตามมาตรา 613 และมาตรา 614 ซ่ึงอาจทําใหเขาใจวามี

ใบตราสงชนิดเดียวคือ ใบตราสงที่ออกและระบุช่ือผูรับตราสงเทานั้น แตอยางไรก็ตามการแปลความและทางปฏิบัติตามธรรมเนียมการคาและการขนสงตลอดจนในทางตําราเปนที่ยอมรับกันวาสามารถอออกใบตราสงไดใน 2 ลักษณะ คือ

2. ช่ือและสํานักงานของผูขนสง 3. ช่ือของผูสงของ 4. ช่ือของผูรับตราสง ถาผูสงของระบุไว 5. คาระวางเทาที่ผูรับตราสงจะตองจาย หรือขอความแสดงวาผูรับตราสงเปนผูจายคาระวางและคา

เรือเสียเวลาในการบรรทุกของลงเรือ ณ ทาตนทาง 6. ทาตนทางที่บรรทุกของลงเรือตามสัญญารับขนของทางทะเลและวันที่ผูขนสงรับของเขามาอยูใน

ความดูแล 7. ทาปลายทางที่ขนถายของขึ้นจากเรือตามสัญญารับขนของทางทะเล 8. ขอความแสดงวาของนั้นใหบรรทุกบนปากระวางหรืออาจบรรทุกบนปากระวางได 9. วันหรือระยะเวลาสงมอบของ ณ ทาปลายทางที่ขนถายของขึ้นจากเรือ ถาคูสัญญาไดตกลงกันไว 10. ขอจํากัดความรับผิดซึ่งมากกวาที่กําหนดไวในมาตรา 58 11. สถานที่และวันที่ออกใบตราสง 12. จํานวนตนฉบับใบตราสงที่ออก 13. ลายมือช่ือผูขนสงหรือตัวแทนผูขนสง”

Page 10: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

71

71

(2) ใบตราสงที่ออกใหแกผูถือใบตราสง และ (3) ใบตราสงที่ออกใหโดยระบุช่ือผูรับตราสง

ดังนั้น การโอนใบตราสงจึงขึ้นอยูกับวาเปนใบตราสงชนิดใด กลาวคือ หากเปนใบตราสงที่ออกใหแกผูถือใบตราสง การโอนก็สามารถทําไดงายเพียงการสงมอบใบตราสงเทานั้น แตหากเปนใบตราสงที่ออกใหโดยระบุช่ือผูรับตราสงไว กรณีเชนนี้ก็สามารถโอนใบตราสงไดตามมาตรา 614 โดยการสลักหลังโอนใหกันได เวนแต ใบตราสงนั้นจะมีขอหามการสลักหลังไว การรับสินคากรณีมีใบตราสง มาตรา 615 “ถาไดทําใบตราสงใหแกกัน ทานวาของนั้นจะรับมอบเอาไปไดตอเมื่อเวนคืนใบตราสงหรือเมื่อผูรับตราสงใหประกันตามควร” ใบตราสงเปนหลักฐานในการไปขอรับของจากผูขนสง ทั้งนี้เพราะใบตราสงนั้นใชเปนเครื่องมือโอนของที่สงใหแกกันไดตามมาตรา 614 ดังนั้น ใบตราสงจึงอาจมีการเปลี่ยนมือโดยการโอนใบตราสงตามวิธีการที่กฎหมายกําหนด ผูขนสงจึงตองระมัดระวังในการสงมอบของตามสัญญาขนสง ซ่ึงหากเปนกรณีที่สัญญาขนสงนั้นมีการออกใบตราสงไวการจะมาขอรับของตามสัญญาขนสงไดก็ตอเมื่อผูรับของไดทําการเวนคืนใบตราสงใหแกผูขนสง หรือในกรณีที่ไมสามารถเวนคืนใบตราสงได เชน ใบตราสงกําลังอยูระหวางการจัดสงหรือยังอยูในระหวางขั้นตอนการโอน กรณีเชนนี้ผูรับตราสงหรือผูรับโอนใบตราสงก็สามารถขอรับขอไปโดยไมตองเวนคืนใบตราสงไดโดยการใหประกันตามควรแกผูขนสงแทนการเวนคืนใบตราสง

ตัวอยาง Air Waybill (Air Consignment Note)

Page 11: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

72

72

ตัวอยาง ใบตราสง(BILL OF LADING) ของบริษัท Siam International Freight Lines ที่ใชประกอบการรับขนสงทางทะเล

Page 12: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

73

73

หนาท่ีความรับผิดของผูขนสง 1. ตองขนสงของไปยังอีกที่หนึ่งตามสัญญา 2. ตองออกใบตราสง หากผูสงเรียกเอาใบตราสง (มาตรา 613) 3. ตองรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายหรือสงมอบชักชา มาตรา 616 “ผูขนสงจะตองรับผิดในการที่ของอันเขาไดมอบหมายแกตนนั้นสูญหายหรือบุบสลายหรือสงมอบชักชา เวนแตจะพิสูจนไดวา การสูญหายหรือบุบสลายหรือชักชานั้นเกิดแตเหตุสุดวิสัย หรือเกิดแตสภาพแหงของนั้นเอง หรือเกิดเพราะความผิดของผูสงหรือผูรับตราสง” ผูขนสงตองรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลายที่เกิดแกของที่ตนรับขน ซ่ึงลักษณะของความรับผิดของผูขนสงในความสูญหายบุบสลายตามสัญญารับขนเปนการรับผิดที่มากกวาความรับผิดของผูรับจางธรรมดาตามสัญญาจางทําของ กลาวคือ ในสัญญาจางทําของ เชน ผูวาจางใหผูรับจางขนของจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยผูรับจางมิไดรับขนของเปนทางคาปกติของตน ถาและของที่รับจางขนไปนั้นเกิดสูญหายหรือบุบสลาย ผูรับจางไมตองรับผิดเพื่อการสูญหายหรือบุบสลายนั้น นอกจากผูรับจางจะไดกระทําหรือกอใหเกิดขึ้นโดยความผิดของตนเอง หรือกลาวอีกนัยหนึ่งก็คือ ในสัญญาจางทําของผูรับจางมีหนาท่ีเพียงใชความระมัดระวังท่ีจะสงวนและรักษาทรัพยนั้นอยางวิญูชนเทานั้น (เวนแตจะมีการตกลงไวเปนอยางอื่น) หากการสูญหายหรือบุบสลายมิไดเกิดขึ้นเพราะการขาดความระมัดระวัง ผูรับจางก็ไมตองรับผิด แตถาเปนการขนสงตามสัญญารับขนเมื่อมีการสูญหายหรือบุบสลายขึ้นแกของท่ีตนรับขน ผูขนสงจะตองรับผิดท้ังสิ้น เวนแต จะพิสูจนไดวา ความสูญหายหรือบุบสลายหรือสงมอบของที่สงชักชาเกิดขึ้นจากเหตุใน 3 ประการนี้ คือ (1) เกิดจากเหตุสุดวิสัย (2) เกิดจากสภาพแหงของนั้นเอง (3) เกิดจากความผิดของผูสงหรือผูรับตราสง

ขอสังเกต เหตุสุดวิสัย

ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 8 คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายถึง “เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี ไมมีใครจะอาจปองกันได แมทั้งบุคคลผูตองประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้นจะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายจากบุคคลนั้นในฐานะเชนนั้น ” สําหรับผลพิบัติที่ไมอาจปองกันไดที่นับวาเปนเหตุสุดวิสัยไดแก เชน อุทกภัย อัคคีภัย ฟาผา

Page 13: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

74

74

ใตฝุน เปนตน น้ําแหงก็เปนเหตุสุดวิสัยได ภัยอันเกิดจากราชศัตรู หรือจากขบถจลาจลภายในประเทศ หรือการปลนสะดม8 แยงชิงหรือแมการถูกขโมยไปโดยผูขนสงไดใชความระมัดระวังปองกันอยางสุดความสามารถของตนแลว แตก็มิสามารถปองกันไดกรณีเหลานี้ถือวาเปนเหตุสุดวิสัย

ความเสียหายที่เกิดจากสภาพของของที่ขนสงนั้นเอง ความเสียหายที่เกิดจากสภาพของของที่ขนสงนั้นเองหมายถึงของที่ขนสงมานั้นโดยสภาพเปนของซึ่งอาจเสียหายขึ้น เชน เนา เสีย บูด ระเหยกลายเปนไอหรือลดปริมาณลงตามธรรมชาติเพราะตัวของทรัพยนั้นเอง ตัวอยางเชน ในกรณีของการขนสัตวซ่ึงเปนสัตวที่มีชีวิตการเสียหายอาจเกิดขึ้นโดยการที่สัตวนั้นดิ้นหรือทํารายกันเองโดยที่ผูขนสงไดใชความระมัดระวังแลว หรือรับจางขนน้ําแข็ง แตปรากฏวาวันนั้นอากาศรอนมากกวาผิดปกติ ทําใหน้ําแข็งมีการละลายมากกวาปกติ เปนตน แตหากเปนกรณีที่มีการตกลงใหขนอาหารโดยใชรถที่มีการควบคุมความเย็น แตปรากฏวาเครื่องควบคุมความเย็นเกิดชํารุดเปนเหตุใหสินคาที่ขนสงเสียหาย เชนนี้ ถือเปนกรณีที่ผูขนสงตองรับผิดชอบจะอางเปนเหตุยกเวนความรับผิดไมได

ความเสียหายเกิดจากความผิดของผูสงหรือผูรับตราสง เชน ผูสงของเปนผูดําเนินการบรรจุหีบหอ (Pack) เอง แตใชหีบหอที่ไมเหมาะสมกับของที่ใหขนสง และมิไดแจงใหผูขนสงทราบถึงสภาพที่แทจริงของของนั้น ทําใหเกิดความเสียหายขึน้แกของในหีบหอนั้น หรือผูรับตราสงเมื่อไดรับแจงแลววาของถึงที่หมายปลายทางแลว แตไปรับของชาของจึงเนาเสียหรือเสื่อมคุณภาพ เปนตน

8 พิจารณาเปรียบเทียบคําพิพากษาฎีกาที่ 1036/2491 ซึ่งในคดีนั้นจําเลยทําสัญญารับจางขนสินคาโดย

การลองแพเมื่อจําเลยละเลยไมจัดการสงใหทันตามกําหนดจนพนกําหนดเวลาตามสัญญาแลวจึงมาถูกปลนกลางทางดังนี้ถือวาจําเลยผิดสัญญา จะยกเอาขอถูกปลนเปนเหตุแกตัวไมได

- คําพิพากษาฎีกาที่ 2378/2523 รถที่บรรทุกของถูกคนรายแยงชิงไปในขณะไปจอดอยูที่ปมน้ํามันที่มีไฟเปดสวางตลอดคืนทั้งยังอยูติดกับถนนมิตรภาพ และในรานขายของมีบริเวณใหรถจอดไดประมาณ 10 คัน แสดงวามีรถมาจอดที่ปมน้ํามันนั้นเปนประจํา เปนเหตุการณที่ไมอาจคาดหมายได แมจะไดใชความระมัดระวังแลวดังนั้นสินคาที่สูญหายไปเพราะถูกคนรายใชอาวุธปนชิงเอาไปพรอมกับรถจึงเปนเหตุสุดวิสัย

- การกระทําที่ไมประมาทเลินเลอเพราะไดใชความระมัดระวังตามสมควรนั้น เมื่อเกิดเหตุขึ้นยังไมพอถือวาเหตุนั้นเปนเหตุสุดวิสัย

Page 14: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

75

75

รับผิดในกรณีเกิดการสูญหาย บุบสลาย หรือสงชักชาในการขนสงชวงและการขนสงหลายทอด ผูขนสงตองรับผิดในความเสียหายอันเกิดจากผูขนสงชวง การขนสงชวง หมายถึง การขนสงที่ผูขนสงนํางานที่ตกลงจะขนสงนั้นใหผูขนสงรายอื่นดําเนินการแทนตน เชน

โดยทั่วไปธุรกิจการขนสง ผูขนสงซึ่งทําสัญญารับขนโดยตรงกับผูสงสามารถแตงตั้งหรือมอบหมายใหบุคคลอื่นรับชวงไปดําเนินงานแทนตนได ดังนั้น ในทางปฏิบัติผูเปนคูสัญญากับผูสงของอาจไมใชผูดําเนินกิจการขนสงจริง ๆ ก็ได แตถึงอยางไรก็ตาม บุคคลผูเขาเปนคูสัญญารับขนก็ยังคงตองรับผิดตามสัญญามาตรา 617 “ผูขนสงจะตองรับผิดในการที่ของสูญหาย หรือบุบสลาย หรือสงชักชา อันเกิดแตความผิดของผูขนสงคนอื่น หรือบุคคลอ่ืนซึ่งตนหากไดมอบหมายของนั้นไปอีกทอดหนึ่ง” ผูขนสงตองรับผิดรวมกับผูขนสงอื่นในกรณีท่ีเปนการขนสงหลายทอด การขนสงหลายทอด หมายถึง การขนสงที่มี ผูขนสงหลายรายทําการขนสง โดยมีลักษณะการขนสงที่มีการแบงเปนทอด ๆ เชน

ผูขนสงทอดที่ 2

ผูขนสงทอดที่ 1

ผูรับของ

ผูขนสงชวง

ผูขนสง

ผูรับของ

Page 15: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

76

76

การขนสงหลายทอดตางกับการขนสงชวง กลาวคือ การขนสงชวง เปนเรื่องที่ผูขนสงมอบหมายงานใหผูอ่ืนทําแทนตน อาจเปนการขนสงทอดเดียวหรือหลายทอดก็ได สวนการขนสงหลายทอดเปนเรื่องของการแบงงานกันทําเปนสวน ๆ ตามสภาพและความชํานาญของแตละคน แตอยางไรก็ตามในการขนสงหลายทอดผูขนสงทั้งหมดจะตองรับผิดรวมกันในการสูญหาย บุบสลาย หรือสงชักชาไมวาจะเกิดขึ้นในทอดใดทอดหนึ่งก็ตาม มาตรา 618 “ถาของนั้นไดสงไปโดยมีผูขนสงหลายคนหลายทอด ทานวาผูขนสงท้ังนั้นจะตองรับผิดรวมกันในการสูญหาย บุบสลาย หรือสงชักชา” 4. หนาท่ีในการบอกกลาวใหทราบเมื่อของมาถึงแลว (มาตรา 622) ผูขนสงตองบอกกลาวแกผูรับตราสง หมายถึง กรณีที่สัญญารับขนไดกําหนดใหขนสงของไปถึงอีกบุคคลหนึ่งคือผูรับตราสง ฉะนั้นถาในสัญญารับขนใดมิไดระบุตัวผูรับวาเปนใคร ผูขนสงก็ไมมีหนาที่ที่จะตองบอกกลาวตามนี้ เพราะไมรูจะไปบอกกลาวแกใคร อยางไรก็ตาม ผูขนสงไมจําตองสงของที่ตนรับขนใหถึงมือผูรับตราสงเสมอไป ทั้งนี้สุดแตขอสัญญารับขนของที่ผูขนสงไดทําไวกับผูสงหรือผูตราสง หรือตามประเพณีทางปฏิบัติเปนเร่ือง ๆ ไป แตถาไมมีขอตกลงกันไวเปนอยางอื่นก็เปนหนาที่ของผูขนสงที่ตองบอกกลาวใหผูรับตราสงทราบดังกลาวแลวเพื่อใหผูรับตราสงมารับของไป ดังที่ไดกลาวมาในตอนตนแลววา สัญญารับขนของเพื่อสงใหแกผูรับตราสงนั้นเปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอกดวย คือ เปนสัญญาที่กอสิทธิใหแกผูรับตราสง สิทธินี้จะมีขึ้นโดยสมบูรณเม่ือของถึงตําบลที่กําหนดใหสงและผูรับตราสงไดเรียกใหผูขนสงจัดการสงมอบ และนับแตเวลานั้นเปนตนไป สิทธิทั้งหลายของผูตราสงตามสัญญารับขนยอมโอนมายังผูรับตราสงทั้งสิ้น และตอจากนั้นผูสงไมมีสิทธิตามสัญญารับขนเกี่ยวกับของนั้นอยางใดอีก (มาตรา 627) มาตรา 627 “เมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบแลว ทานวาแตนั้นไปสิทธิทั้งหลายของผูสงอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นยอมตกไปไดแกผูรับตราสง” คําพิพากษาฎีกาท่ี 1556/2509 โจทกฟองจําเลยซึ่งเปนบริษัทอยูตางประเทศแตมีสํานักงานสาขาอยูในประเทศไทย ดังนี้ ถือวาโจทกฟองบริษัทใหญเปนจําเลย มิใชฟองบริษัทสาขาใหรับผิด และตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 71 ถือวาบริษัทจําเลยมีภูมิลําเนาในประเทศไทยดวย โจทกจึงฟองบริษัทจําเลยในศาลไทยได ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพง มาตรา 4(2) สัญญาขนสงทําระหวางบริษัทในตางประเทศกับบริษัทจําเลย แตโจทกเปนผูรับตราสง เมื่อโจทกไดเรียกใหสงมอบของแลว ยอมมีสิทธิฟองบริษัทจําเลยใหรับผิดเกี่ยวกับสัญญาขนสงในฐานะที่จําเลยเปนผูรับขนสงไดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 627

Page 16: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

77

77

กรณีตัวอยาง

ขอสังเกต กรณีตามตัวอยางดังกลาวหากพิจารณาตามมาตรา 627 จะเห็นไดวา ของที่ขนสงนั้นสูญหายไปในระหวางขนสง ซ่ึงของที่สงยังไปไมถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูรับตราสงยังไมไดเรียกใหสงมอบ กรณีเชนนี้ผูขนสงก็ไมมีหนี้อยางใดที่จะตองชําระแกผูรับตราสง ผูรับตราสงจึงไมใชผูเสียหายอันเกิดจากผูขนสงผิดสัญญารับขน ผูรับตราสงไมมีเหตุจะเรียกรองเอาคาเสียหายจากผูขนสงได ผูเสียหายจากขอเท็จจริงดังกลาวคือ บริษัท ก.(ผูสง) ผูสง

คําพิพากษาฎีกาท่ี 1921/2518 บริษัทโจทกทําสัญญาขายสุนัขพันธุเยอรมันเชฟเพอดรวม 20 ตัวใหกรมตํารวจ และไดตกลงกันวาจางบริษัทจําเลยขนสงสุนัขดังกลาวโดยเครื่องบินจากประเทศเยอรมันตะวันตกมายังทาอากาศยานดอนเมือง เพื่อสงใหแกกรมตํารวจ เมื่อจําเลยขนสงสุนัขมาถึงทาอากาศยานดอนเมืองอันเปนตําบลที่กําหนดใหสง ปรากฏวาสุนัขตายไป 12 ตัว อีก 8 ตัว มีอาการออนเพลียเนื่องจากความผิดของบริษัทจําเลยที่มิไดจัดใหมีอากาศหายใจเพียงพอสําหรับสุนัขเหลานั้น กรรมการบริษัทโจทกไปรับมอบจึงไดรับสุนัขที่ยังมีชีวิตจากเจาหนาที่ของจําเลยมาเพียง 8 ตัว ดังนี้ เมื่อประปรากฏวากรมตํารวจผูรับตราสงยังมิไดเรียกใหสงมอบสุนัขตามความในตามมาตรา 627 สิทธิทั้งหลายของบริษัทโจทกผูสงสุนัขอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นจึงยังมิไดตกไปไดแกกรมตํารวจผูรับตราสง โจทกในฐานะผูสงจึงมีอํานาจฟองเรียกคาเสียหายจากจําเลยได

เมื่อพิจารณาจากคําพิพากษาฎีกาที่ 1921/2518 ดังกลาว ทําใหเขาใจวาสิทธิของผูรับตราสงจะมีขึ้นก็ตอเมื่อของที่สงไปถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบ แลวเทานั้น ในกรณีท่ีของเสียหายหรือสูญหายไประหวางทางยังไมถึงตําบนที่ใหสง กรณีเชนนี้ ผูรับตราสงก็ไม

สัญญาซื้อขาย(ขาวสาร)

บริษัท ก.(ผูสง) บริษัท ข. (ผูรับตราสง)

สัญญารับขนของ

บริษัท A (ผูขนสง) ขนจากเชยีงใหมไปทาเรือคลองเตยกรุงเทพฯ

ขาสารเสียหายไปทั้งหมดเพราะความผิดของผูขนสง เหตุเกิดท่ีจังหวัดนครสวรรค

Page 17: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

78

78

อาจใชสิทธิเรียกรองได แตอยางไรก็ตามปญหาเกี่ยวกับการเกิดสิทธิของผูรับตราสงนั้น ไดมีแนวคําวินิจฉัยท่ีเปล่ียนแปลงไปกลาวคือ

คําพิพากษาฎีกาท่ี 7340/2541 ...ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 627 ซ่ึงบัญญัติวา “เมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงและผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบแลว ทานวาแตนั้นไปสิทธิทั้งหลายของผูสงอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นยอมตกไปไดแกผูรับตราสง” บทบัญญัติมาตรานี้แสดงใหเห็นวา สัญญารับขนมีลักษณะเปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอก กลาวคือแมผูรับตราสงจะเปนบุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูสัญญาตามสัญญารับขน แตหากผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบของเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงอันเปนการแสดงเจตนาที่จะรับเอาประโยชนตามสัญญารับขนแลว สิทธิทั้งหลายของผูสงอันเกิดแตสัญญารับขนนั้นยอมตกไดแกผูรับตราสง หากผูรับตราสงยังมิไดเรียกใหสงมอบของเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงหรือแสดงเจตนาที่จะรับเอาประโยชนตามสัญญารับขน ผูรับตราสงยอมไมมีสิทธิตามสัญญารับขนซึ่งรวมถึงไมมีสิทธิเรียกรองเอาคาเสียหายเพราะของสูญหายทั้งหมดหรือสูญหายบางสวนหรือบุบสลายในระหวางการขนสงจากผูขนสงดวย ดังนี้ เงื่อนไขท่ีจะทําใหสิทธิท้ังหลายตามสัญญารับขนตกไดแกผูรับตราสงจึงมีเพียงประการเดียว คือเม่ือผูรับตราสงไดเรียกใหสงมอบของเมื่อของถึงตําบลที่กําหนดใหสงหรือเม่ือผูรับตราสงซึ่งเปนบุคคลภายนอกไดแสดงเจตนาที่จะรับเอาประโยชนตามสัญญารับขนแลวนั่นเอง ที่มาตรา 627 บัญญัติวา “เม่ือของถึงตําบลที่กําหนดใหสง...” จึงมีความหมายเปนเพียงเวลาที่กฎหมายกําหนดวาผูรับตราสงจะแสดงเจตนารับเอาประโยชนจากสัญญารับขนไดเมื่อใดเทานั้น หาใชเงื่อนไขอีกขอหนึ่งซึ่งหากไมมีของถึงตําบลที่กําหนดใหสงแลวจะเปนเหตุใหสิทธิตามสัญญารับขนไมตกไดแกผูรับตราสงไม เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา สินคาพิพาทสูญหายไปทั้งหมดในระหวางการขนสง สินคายอมไมอาจสงถึงตําบลที่กําหนดใหสงอยูในตัว กรณีจึงไมอาจนํามาตรา 627 มาใชบังคับได เพราะหากนําบทบัญญัติมาตรา 627 มาปรับใชกับกรณีนี้ผลจะกลายเปนวาหากสินคาสูญหายไปเพียงบางสวนในระหวางการขนสงและผูรับตราสงเรียกใหสงมอบสินคาบางสวนที่สงมาถึงตําบลที่กําหนดใหสงผูรับตราสงสามารถฟองใหผูขนสงรับผิดในความสูญหายนั้นได แตถาหากสินคาสูญหายไปทั้งหมดในระหวางการขนสง ผูรับตราสงไมอาจฟองใหผูขนสงรับผิดในความสูญหายนั้นได การตีความกฎหมายเชนนั้นนาจะไมตรงกับเจตนารมณของบทกฎหมายมาตราดังกลาว นอกจากนี้ ในกรณีที่ผูสงอันเปนคูสัญญารับขนกับผูขนสงเรียกเอาใบตราสง ผูขนสงตองทําใบตราสงใหแกผูสง ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 613ซ่ึงใบตราสงดังกลาวถือไดวาเปนหลักฐานแหงสัญญารับขน และใบตราสงนี้ยอมโอนใหกันไดตาม มาตรา 614 และในระหวางที่ของยังอยูในมือผูขนสง ผูทรงใบตราสงอาจจะใหผูขนสงงดการสงของนั้น หรือใหสงกลับคืนหรือจัดการแกของนั้นเปนประการอื่นได ตามมาตรา 626 อันเปนบทบัญญัติที่แสดงใหเห็นวาผูรับโอนใบตราสงหรือผูทรงใบตราสงนั้นมีสิทธิตามสัญญารับขนอยูกอนที่ของจะสงถึงตําบลปลายทางแลว เมื่อขอเท็จจริงฟงไดวา โจทกเปนผูทรงใบตราสงที่

Page 18: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

79

79

จําเลยที่ 2 ออกใหแกผูขายและเปนผูมีกรรมสิทธิ์ในสินคาพิพาทตามใบตราสงนั้น แมโจทกไมอาจแสดงเจตนารับเอาประโยชนจากสัญญารับขนโดยเรียกใหสงมอบของไดเพราะไมมีกําหนดเวลาที่จะเรียกใหสงมอบของไดตามมาตรา 627 ก็ตาม แตก็ถือไดวาโจทกเปนผูเสียหายเพราะเหตุที่สินคาพิพาทตองสูญหายเนื่องจากการขนสงนั้นโดยตรง ทั้งนี้เพราะใบตราสงเปนหลักฐานแหงสัญญารับขน เมื่อโจทกเปนผูทรงใบตราสงนั้นโดยชอบ และการปลอยสินคาที่ขนสงใหแกผูรับจะกระทําไดก็ตอเมื่อผูรับมีใบตราสงมาแสดงหรือขอแลกเอาใบปลอยสินคาไปเพื่อนําไปขอออกสินคาตอไปเทานั้น โจทกจึงเปนผูมีสิทธิตามสัญญารับขนสินคาพิพาทยอมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 1 และที่ 2 ผูรวมกันขนสงสินคาพิพาทใหรับผิดตามสัญญารับขนได ที่ศาลอุทธรณนํามาตรา 627 มาปรับแกคดีนี้ แลววินิจฉัยวาโจทกไมมีอํานาจฟองจําเลยที่ 1 และที่ 2 ใหรับผิดตามสัญญารับขน ศาลฎีกาโดยมติที่ประชุมใหญไมเห็นพองดวย

5. หนาท่ีในการรับผิดตอผูขนสงคนกอน ๆ มาตรา 629 บัญญัติวา “ถาผูขนสงคนใดสงมอบของเสียแตกอนไดรับคาระวางพาหนะและอุปกรณไซร ทานวาผูขนสงคนนั้นยังคงตองรับผิดตอผูขนสงกอน ๆ ตน เพื่อคาระวางพาหนะและอุปกรณซ่ึงยังคางชําระแกเขา” กฎหมายมิไดแตเพียงใหสิทธิแกผูขนสงทอดหลังที่สุด มีอํานาจเรียกคาระวางพาหนะและอุปกรณเพื่อผูขนสงทุกคนเทานั้น แตยังไดกําหนดใหเปนหนาที่เสียทีเดียววา จะตองเรียกและรับคาระวางพาหนะและอุปกรณสําหรับจะใชใหกับผูขนสงคนกอน ๆ ตนดวย ถาสงมอบของไปโดยมิไดเรียกใหครบถวนดังกลาวแลว ก็ตองรับผิดชดใชใหแกผูขนสงคนกอน ๆ ตน สิทธิยึดหนวงของผูขนสง (บุริมสิทธิของผูขนสง) มาตรา 630 “ผูขนสงชอบที่จะยึดหนวงเอาของไวกอนไดตามที่จําเปนเพื่อประกันการใชเงินคาระวางพาหนะและอุปกรณ” เมื่อของไปถึงตําบลที่กําหนดใหสงและผูขนสงไดแจงใหผูรับตราสงทราบแลว ผูรับตราสงมาขอรับของแตไมยอมใชคาระวางพาหนะและอุปกรณใหเสร็จสิ้น กฎหมายใหอํานาจผูขนสงมีสิทธิยึดหนวงของที่สงนั้นไดเทาที่จําเปน คือ เทาที่จะเปนหลักประกันตามจํานวนคาระวางพาหนะและอุปกรณที่คางอยู

Page 19: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

80

80

มีปญหาวากรณีเชนนี้ผูขนสงจะนําของที่ยึดหนวงไวนั้นออกขายทอดตลาดและหักเอาจํานวนเงินที่คางชําระไวจะไดหรือไม ขอใหสังเกตวา กรณีที่ผูขนสงสามารถนําเอาของนั้นขายทอดตลาดไดจะตองเปนกรณีตองดวยมาตรา 631 บัญญัติใหอํานาจไว กลาวคือ ตองเปนกรณีที่หาตัวผูรับตราสงไมพบ หรือพบตัวผูรับตราสงแลวเขาบอกปดไมยอมรับของเหลานี้ เมื่อผูขนสงปฏิบัติตามขั้นตอนที่กฎหมายกําหนดแลวจึงจะทําการขายทอดตลาดได ดังนั้น ถากรณีผูรับตราสงไมไดบอกปดไมยอมรับของ เปนกรณีที่ตองการรับของแตไมสามารถชําระคาอุปกรณตาง ๆ ไดครบถวนกรณีเชนนี้ ผูขนสงจะนําของออกขายทอดตลาดไมได ตองปฏิบัติตามหลักเกณฑทั่วไปในเรื่องสิทธิยึดหนวง ดังที่บัญญัติไวตั้งแตมาตรา 241 ถึงมาตรา 250 เชน ผูขนสงตองจัดการดูแลรักษาทรัพยสินที่ยึดหนวงไวตามสมควร และมีสิทธิเรียกรองเอาคาใชจายจากผูรับตราสงไดในภายหลัง หรือผูขนสงจะเก็บดอกผลแหงทรัพยที่ยึดหนวงไวและจัดสรรเอาใชหนี้แกตนกอนเจาหนี้อ่ืนได เปนตน ขอจํากัดความรับผิดของผูขนสง 1. กรณีของการสงของมีคา มาตรา 620 “ผูขนสงไมตองรับผิดในเงินทองตรา ธนบัตร ธนาคารบัตร ตั๋วเงิน พันธบตัร ใบหุน ใบหุนกู ประทวนสินคา อัญมณี และของมีคาอยางอื่น ๆ หากมิไดรับบอกราคาหรือสภาพแหงของไวในขณะที่สงมอบแกตน แตถาของนั้นไดบอกราคาทานวาความรับผิดของผูขนสงก็ยอมจํากัดเพียงไมเกินราคาที่บอก” ของมีคาเมื่อเกิดสูญหาย หรือบุบสลายไปดวยเหตุใด ๆ ก็ตามยอมกอใหเกิดความเสียหายแกผูเกี่ยวของเปนอยางมากกวาปกติเชนของอื่น อีกทั้งยังอาจระวังรักษายากดวย กฎหมายจึงกําหนดใหผูสงตองบอกราคาหรือสภาพแหงของนั้นแกผูขนสงเสียในขณะที่สงมอบเพื่อวา ผูขนสงเมื่อทราบแลวจะไดใชวิธีขนสงและความระมัดระวังไดตามความเหมาะสมแกของนั้น ขอสังเกต ถอยคําที่วา “และของมีคาอยางอื่น ๆ” นั้น มีความหมายเพียงใด คําตอบคือวาหมายถึงของที่มีคาเปนพิเศษในตัวของมันเองทํานองเดียวกับเงินทองตรา ธนบัตร ตั๋วเงิน ฯลฯ เหลานี้ มิไดหมายถึงของที่มีราคาแพง ๆ เสมอไป

Page 20: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

81

81

คําพิพากษาฎีกาที่ 537/2502 สินคาผาอันเปนสิ่งของธรรมดาสามัญทั่ว ๆ ไปนั้น เมื่อไมปรากฏวาเปนของมีคาพิเศษอยางไรแลว จะถือวาเปนของมีคาตามความหมายแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 620 ยังไมได 2. กรณีการสิ้นสุดของความรับผิดของผูขนสง มาตรา 623 บัญญัติวา “ความรับผิดของผูขนสงยอมสิ้นสุดลงในเมื่อผูรับตราสงไดรับเอาของไวแลวโดยไมอิดเอื้อน และไดใชคาระวางพาหนะกับทั้งอุปกรณเสร็จสิ้นแลว แตความที่กลาวนี้ ทานมิใหใชบังคับในกรณีที่ของสูญหายหรือบุบสลาย เห็นไมไดแตสภาพภายนอกแหงของนั้น หากวาไดบอกกลาวความสูญหาย หรือบุบสลายแกผูขนสงภายในแปดวันนับแตวันสงมอบ อนึ่ง บทบัญญัติทั้งหลายนี้ ทานมิใหใชบังคับในกรณีที่มีการทุจริต หรือประมาทเลินเลออยางรายแรงอันจะปรับเอาเปนความผิดของผูขนสงได” นับตั้งแตตกลงทําสัญญารับขนแลว ผูขนสงมีหนี้หรือหนาที่ที่จะตองขนของสงไปจนถึงมือผูรับตราสงโดยเรียบรอย ฉะนั้นความรับผิดของผูขนสงจึงมีอยูตลอดเวลานับตั้งแตเร่ิมสัญญาไปจนถึงเวลาสงมอบของใหผูรับตราสง และผูรับตราสงไดใชคาระวางพาหนะกับทั้งอุปกรณเรียบรอยแลว ขอสังเกต กฎหมายใชคําวา “และไดใชคาระวางพาหนะกับทั้งอุปกรณเสร็จสิ้นแลว” แสดงวาลําพังแตเพียงผูรับตราสงรับมอบของโดยไมอิดเอื้อนเทานั้น ยังไมอาจถือไดวาเปนการสิ้นสุดหนาที่ของผูขนสง จะตองประกอบดวยผูรับตราสงไดใชคาอุปกรณ และคาระวางพาหนะเสร็จสิ้นแลวดวยจึงจะทําใหผูขนสงหมดหนาที่ และความรับผิดชอบสิ้นสุดลง แตถาของนั้นถาหากมองแตเพียงภายนอกโดยยังไมไดทําการตรวจละเอียดแลว ไมสามารถเห็นการบุบสลายได กฎหมายยืดเวลาออกไปใหอีกเปน 8 วัน นับแตวันสงมอบ แตตองไมลืมวา ตองเปนกรณีที่ผูรับตราสงไดชําระคาระวางพาหนะและอุปกรณเสร็จสิ้นแลวดวย ถายังไมชําระอยูตราบใด ระยะเวลา 8 วัน ที่กฎหมายกําหนดหนาที่ใหผูรับตราสงแจงใหผูขนสงทราบถึงการบุบสลายก็ยังไมเร่ิมนับ แตถาความสูญหายหรือบุบสลายนั้นเกิดเพราะความทุจริตหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงของผูขนสงแลว ผูขนสงก็ตองรับผิดตอผูสงหรือผูรับตราสงโดยไมจํากัดเวลาภายในกําหนดอาจุความ 10 ป ตามหลักทั่วไป (ป.พ.พ มาตรา 193/30)

Page 21: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

82

82

3. กรณีผูขนสงเขียนขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของตนเอง มาตรา 625 บัญญัติวา “ใบรับ ใบตราสง หรือเอกสารอื่น ๆ ทํานองนั้นก็ดี ซ่ึงผูขนสงออกใหแกผูสงนั้น ถามีขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงประการใด ทานวาความนั้นเปนโมฆะ เวนแตผูสงจะไดแสดงความตกลงดวยชัดแจงในการยกเวน หรือจํากัดความรับผิดเชนวานั้น” โดยปกติเมื่อทําสัญญารับขนเรียบรอยแลว หากผูสงตองการอาจเรียกใหผูขนสง ออกใบรับ ใบตราสง หรือเอกสารอื่น ๆ อันเกี่ยวกับการขนสงของนั้นได แตในทางปฏิบัติเมื่อผูขนสงรับมอบของเรียบรอยแลว จะออกใบรับของใหทันที นอกจากใบรับแลวถาของที่สงมีจํานวนมากหรือเปนสินคาพิเศษ ผูขนสงจะออกเอกสารอื่น ๆ มอบใหกับผูสงไวดวย เอกสารเหลานี้เปนเอกสารซึ่งออกโดยฝายผูขนสง ผูสงไมมีโอกาสแกไขหรือทําความตกลงเปนอยางอื่น ฉะนั้นถาหากผูขนสงสามารถกําหนดขอความยกเวน หรือจํากัดความรับผิดของตนไดตามใจชอบแลว จะเห็นไดวาฝายผูสงจะถูกเอาเปรียบและไมไดรับความยุติธรรมไดอยางงายดาย กฎหมายจึงหาทางปองกันไวเสีย โดยบัญญัติใหขอความดังกลาวเปนโมฆะ เวนแตวาผูสงจะตกลงดวยชัดแจง การตกลงโดยชัดแจงนั้น กฎหมายมิไดกําหนดไววาจะตองทําอยางไรฉะนั้นจึงตองพิจารณาอาศัยขอเท็จจริงและพฤติการณแตละกรณีประกอบไปดวย เชน ผูสงลงลายมือช่ือรับรองเอกสารนั้น ๆ หรือทําเปนหนังสือรับรองเอกสารนั้น ๆ ใหปรากฏไวจึงจะถือไดวามีการตกลงชัดแจง ลําพังเพียงแตผูสงยอมรับเอกสารเหลานั้นโดยมิไดอิดเอื้อนยังถือไมไดวามีการตกลงชัดแจงแลว หนาท่ีความรับผิดของผูสง หนาท่ีของผูสงสามารถแยกพิจารณาได 3 ประการ คือ 1. หนาท่ีตองชําระคาระวางพาหนะและอุปกรณ ผูสงมีหนาที่ตองชําระคาระวางพาหนะตามสัญญา สวนอุปกรณแหงคาระวางพาหนะอันไดแกคาใชจายใด ๆ ตามจารีตประเพณีที่ผูขนสงไดเสียไปโดยควรในระหวางขนสง เชน คาภาษี คาผานทาง เปนเรื่องที่ผูขนสงจายแทนผูสงไปลวงหนากอน ผูสงมีหนาที่ตองชําระคืนใหแกผูขนสง คาระวางพาหนะจะชําระกันเมื่อใดกอนหรือหลังจากขนของไปถึงปลายทาง และสงมอบของใหแกผูสงแลว ก็สุดแตจะไดตกลงกันระหวางผูขนสงและผูสงหรือผูรับตราสง ขอสังเกต ในกรณี มาตรา 628 ไดบัญญัติไววาถาของที่รับขนนั้นสูญหายไปในระหวางขนสงเพราะเหตุสุดวิสัย ผูขนสงไมมีสิทธิจะไดรับคาระวางพาหนะ ถาหากไดรับคาระวางพาหนะไปแลวเทาใด ผูขนสงจะตองคืนใหแกผูสงทั้งสิ้นขอที่พึงสังเกตสําหรับ มาตรา 628 นี้ก็คือ กฎหมายกลาวแตเร่ืองคา

Page 22: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

83

83

ระวางพาหนะเทานั้นไมไดพูดถึงอุปกรณแหงคาระวางพาหนะ ฉะนั้น แมจะเปนกรณีของที่รับขนสูญหายเพราะเหตุสุดวิสัย ผูขนสงก็นาจะยังคงมีสิทธิเรียกเอาอุปกรณแหงคาระวางพาหนะที่ไดจายไปจากผูสงได 2. หนาท่ีตองแสดงสภาพของของที่ใหขน หนี้ในขอนี้มีเฉพาะเมื่อของที่จะสงเปนของอันตรายอยูโดยสภาพ เชนสัตวรายหรือนากลัวจะกอใหเกิดอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสินอื่นได เชนวัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง หรือเปนของแตกหักงาย เปนตน เชนนี้ มาตรา 619 ไดกําหนดใหผูสงตองแจงใหผูขนสงทราบถึงสภาพของของนั้นกอนทําสัญญาขนสง เพื่อผูขนสงจะไดใชความระมัดระวังหรือจัดวางไวในที่ปลอดภัย ถาผูสงไมแจงใหผูขนสงทราบหากเกิดมีความเสียหายใด ๆ ขึ้นแกผูขนสงเนื่องจากของนั้น ผูขนสงมีสิทธิฟองรองเรียกคาสินไหมทดแทนความเสียหายเอาจากผูสงได 3. หนาท่ีในการออกใบกํากับของ (Way Bill) (ดูรายละเอียดในเรื่องเอกสารที่เกี่ยวของกับการับขน) อายุความในการฟองรองบังคับคดี มาตรา 624 “ในขอความรับผิดของผูขนสงในการที่ของสูญหายหรือบุบสลาย หรือสงชักชานั้น ทานหามมิใหฟองเมื่อพนกําหนดปหนึ่งนับแตสงมอบ หรือปหนึ่งนับแตวันที่ควรจะไดสงมอบ เวนแตในกรณีที่มีการทุจริต” อายุความฟองรองตามมาตรานี้ เปนเรื่องผูสง หรือผูรับตราสงฟองผูขนสง ซ่ึงตองฟองภายในปหนึ่งนับแตวันสงมอบ หรือวันที่ควรจะไดสงมอบ มีปญหาวา วันที่ควรจะไดสงมอบนั้นหมายถึงวันใด เห็นวานาจะหมายถึงวันหลังจากที่ขอมาถึงตําบลที่กําหนดใหสง และผูขนสงไดบอกกลาวใหผูรับตราสงทราบแลว ซ่ึงกฎหมายบังคับใหเปนหนาที่ของผูขนสงตองบอกกลาวฉะนั้นถาผูขนสงไมยอมบอกกลาวจึงถือไดวา กระทําผิดหนาที่ ผูรับตราสงยอมไมอาจทราบถึงกําหนดวันสงมอบได อายุความซึ่งใหโทษแกผูรับตราสงจึงยังไมควรเร่ิมนับ

Page 23: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

84

84

สัญญารับขน (Carriage)

ลักษณะสําคัญ ประเภทของสญัญา

1.มีลักษณะเปนสัญญาจางทําของประเภทหนึ่ง

1. สัญญารับขนของ 2. สัญญารับขนคนโดยสาร

2.เพื่อการขนสงเปนสําคัญ 3.เปนสัญญาที่มีคาตอบแทน

บุคคลที่เกี่ยวของ คาตอบแทน เอกสารที่เกี่ยวของ

3.1 ใบกํากับของ (Way Bill) ผูสง (Sender) หรือผูตราสง (Consignor)

คาระวางพาหนะ (Freight)

3.2 ใบตราสง (Consignment Note)

ผูขนสง (Carrier)

ผูรับตราสง (Consignee)

1.1 เปนสัญญาตางตอบแทน 1.2 สมบูรณโดยมีเจตนา 1.3 มุงเอาความสําเร็จของการขนสงเปนสําคัญ

Page 24: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

85

85

สัญญาจางขนสง

ทําที่………………………….. วันที…่……….เดือน……………………พ.ศ. ……………..

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้นระหวาง ….……………………………….………………..……………

โดย………………………………………………...…………….ผูมีอํานาจกระทําการแทน สํานักงานตั้งอยู ณ ….……..………………ตรอก/ซอย……………ถนน………ตําบล/แขวง……………….อําเภอ/เขต….…………………จังหวัด….……………ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” กับ ………….……………………โดย……………………….………ผูมีอํานาจกระทําการแทน สํานักงานตั้งอยู ณ ….………………ตรอก/ซอย…….………….………ถนน….………………… ตําบล/แขวง……………………………….อําเภอ/เขต….……………จังหวัด….………………..…ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูรับขน”

คูสัญญาทั้งสองฝายตกลงทําสัญญาดังตอไปนี้ ขอ 1. ผูวาจางตกลงจางและผูรับขนตกลงรับจางขนสง……………………………….……

ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ทรัพยสิน” อันเปนกรรมสิทธิ์หรืออยูในครอบครองของผูวาจางใหจัดขนสงทรัพยสินในวันที่…………………………ไปสง ณ เลขที่……..ตรอก/ซอย…………………..ถนน…………..………ตําบล/แขวง……...………อําเภอ/เขต. ………………จังหวัด………………โดยผูรับขนตองสงถึง ณ สถานที่ดังกลาว ภายในวันที่……...………………….เวลา…....…………… ขอ 2. ผูวาจางตกลงจางผูรับขนโดยการเหมาจายคาขนสงเปนคราวเดียวเปนจํานวนเงิน……………………บาท (……………………………….) ทั้งนี้ ในวันทําสัญญาผูวาจางจะทําการวางมัดจํา เปนเงินจํานวนทั้งสิ้นในอัตรารอยละ ……………ของราคาเหมาจายทั้งสิ้นนั้น ขอ 3. ผูรับขนสัญญาวาจะไมเอางานที่รับขนตามสัญญานี้ไปใหผูอ่ืนรับจางขนสงชวงอีกทอดหนึ่งเวนแตจะไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากผูวาจาง ทั้งนี้ผูรับขนยังคงตองรับผิดชอบตอผูวาจางในการกระทําหรือความผิดอยางใด ๆ ของผูรับจางชวง

ขอ 4. ผูรับขนไมสามารถทําการจัดสงทรัพยสินใหทันตามกําหนดนัดในสัญญานี้ ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได นอกจากนี้ ในระหวางการเดินทางหากทรัพยสินเกิดความชํารุดบกพรองหรือเสียหายจนผูวาจางหรือผูรับทรัพยสินเห็นวาไมสามารถใชประโยชนในทรัพยสินได ผูวาจางจะบอกเลิกสัญญาและเรียกใหผูรับขนชดใชคาสินไหมทดแทนและคาเสียหายไดอีกสวนหนึ่งดวย

ขอ 5. ผูวาจางรับวาจะเปนผูแจงลักษณะเกี่ยวกับทรัพยสินใหผูรับขนทราบ เชน ทรัพยสิน อันตราย ทรัพยสินที่จะมีผลใหทรัพยสินของผูอ่ืนเสียหาย ทรัพยสินมีคา ทรัพยสินที่เปนของสดเสีย

Page 25: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

86

86

งาย เปนตน หากผูวาจางไมทําการแจงแลวเกิดความเสียหายขึ้นจากการปดบังหรือประมาทเลินเลอ ในการดังกลาวแลว ผูวาจางจะตองเปนผูรับผิดชอบในความเสียหายนั้น

สัญญานี้ไดทําขึ้นเปนสองฉบับมีขอความถูกตองตรงกัน คูสัญญาทั้งสองฝายไดอานและเขาใจดีแลวจึงไดลงลายมือช่ือและประทับตรา (ถามี) ไวตอหนาพยานเปนสําคัญ และเก็บรักษาไวฝายละฉบับ ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง ลงชื่อ………………………………………..ผูรับขน (………………………………….) (………………………………………..) ลงชื่อ………………………………….พยาน ลงชื่อ………………………………………..พยาน (………………………………….) (………………………………………..)

Page 26: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

87

87

สัญญารับขนคนโดยสาร (Carriage of passengers)

สัญญารับขนคนโดยสารมีลักษณะเปนสัญญารับขนประเภทหนึ่งเชนเดียวกับสัญญารับขนของ แตมีความแตกตางกันบางในสวนของวัตถุแหงการขนสง กลาวคือ ส่ิงที่ผูขนสงรับขนนั้นแทนที่จะเปนของกลับเปนคนโดยสารและเคร่ืองเดินทางของคนโดยสารที่ผูโดยสารนําติดตัวไปดวยในการเดินทาง หนาท่ีและความรับผิดชอบของผูขนสง 1. ตองรับผิดในความเสียหายหรือลาชาในการขนสงคนโดยสาร ผูขนสงจะตองรับผิดตอคนโดยสารในความเสียหายที่เกิดแกคนโดยสารนั้น หรือในความเสียหายอยางใด ๆ อันเปนผลโดยตรงจากการที่ตองลาชาในการขนสง เวนแตความเสยหายหรือลาชานั้นเกิดเพราะเหตุสุดวิสัย หรือเกิดแตความผิดของคนโดยสารนั้นเอง (มาตรา 634)9 คําพิพากษาฎีกาท่ี 1250/2517 โจทกจําเลยแถลงรับกันวา เหตุที่รถพลิกคว่ําเพราะลูกหมากคันสงหลุด โดยคนขับไมไดขับรถเร็วเกินกวาอัตราที่กฎหมายกําหนดไว แลวทากันขอใหศาลวินิจฉัยขอกฎหมายเพียงขอเดียววา จําเลยจะตองรับผิดตามฟองหรือไมปรากฏฟองของโจทกบรรยายวานายอิ้วจือไดขับรถยนตของจําเลยจากตลาดหญาคาไปตลาดดงเค็งเพื่อรับสงสินคาและคนโดยสารตามทางการที่จําเลยจาง โดยความประมาทปราศจากความระมัดระวัง ขับรถเร็วสูงกวาที่กฎหมายกําหนดไว ทําใหรถยนตที่ขับพลิกคว่ํา โจทกซ่ึงเปนผูโดยสารตกลงจากรถไดรับบาดเจ็บ จึงขอใหจําเลยชดใชคาเสียหายแกโจทก ดังนี้ เห็นไดวาฟองของโจทกประสงคใหจําเลยรับผิดฐานเปนผูรับขนสงคนโดยสารตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 608 จําเลยมิไดปฏิเสธวาจําเลยมิใชผูรับขนสงคนโดยสารดังโจทกฟอง ฉะนั้น จําเลยจึงตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดแกโจทกซ่ึงเปนคนโดยสาร เวนแตการเสียหายเกิดแตเหตุสุดวิสัยหรือเกิดแตความผิดของโจทกตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 634 แมคูความจะแถลงรับกันวารถพลิกคว่ําเพราะลูกหมากคันสงหลุดอันไมใชเพราะขับรถเร็วเกินอัตราที่กฎหมายกําหนด ก็ไมทําใหจําเลยพนจากความรับผิดในฐานเปนผูรับขนสงคนโดยสารไปได จําเลยจะอางวาทางพิจารณาตางกับฟองโดยขอใหศาลยกฟองหาได

9 มาตรา 634 “ผูขนสงจะตองรับผิดตอคนโดยสารในความเสียหายอันเกิดแกตัวเขา หรือในความ

เสื่อมเสียอยางใด ๆ อันเปนผลโดยตรงแตการที่ตองชักชาในการขนสง เวนแตการเสียหายหรือชักชานั้นเกิดแตเหตุสุดวิสัยหรือเกิดแตความผิดของคนโดยสารนั้นเอง”

Page 27: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

88

88

ไม การที่รถพลิกคว่ําเพราะลูกหมากคันสงหลุด ไมใชเหตุสุดวิสัยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 8 เพราะยังอยูในวิสัยที่ผูขับจะสามารถปองกันได หากใชความระมัดระวังตามสมควรตรวจดูสภาพรถใหเรียบรอยดีกอนนําออกขับ จะเห็นไดวา หนาที่และความรับผิดของผูขนสงที่มีตอคนโดยสารในสัญญารับขนคนโดยสารนี้มีลักษณะเชนเดียวกับความรับผิดของผูขนสงในสัญญารับขนของตามมาตรา 616 กลาวคือ ถาในระหวางขนสงนั้น คนโดยสารไดรับความเสียหาย เชน คนโดยสารไดรับบาดเจ็บเพราะรถโดยสารนั้นชนกับรถอื่นโดยความประมาทของผูขับขี่ หรือความเสียหายหรือเสื่อมเสียที่คนโดยสาร ไดรับนั้นเปนผลโดยตรงจากการลาชาในการขนสงเชนนี้ผูขนสงตองรับผิดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายหรือเสื่อมเสียใหแกคนโดยสารเวนแตจะพิสูจนไดวาความเสียหายที่คนโดยสารไดรับหรือความลาชานั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุสุดวิสัย หรือเกิดจากความผิดของคนโดยสารนั้นเองแลว ผูขนสงก็ไมตองรับผิดอนึ่งความเสียหายที่เกิดขึ้นแกคนโดยสารนั้น แมจะเกิดจากรถโดยสารและจากผูขับขี่ซ่ึงมิใชของผูขนสงหรือลูกจางของผูขนสงโดยตรง แตอยูในความควบคุมของผูขนสง และรถนั้นรับสงคนโดยสารในปกติธุระของผูขนสง ผูขนสงก็ยังตองรับผิด (คําพิพากษาฎีกาที่ 431/2509)10 2. หนาท่ีในการขนสงเครื่องเดินทาง นอกจากหนาที่ในการขนคนโดยสารจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งแลว ผูขนสงมีหนาที่ตองรับขนเครื่องเดินทางที่คนโดยสารนําติดตัวไปเพื่อใชสอยในการเดินทางโดยเหมาะสมและตามสมควรแกฐานะของตนอีกดวย เชน เครื่องนุงหม หีบและกระเปาบรรจุของเหลานี้ เปนตน ซ่ึงเปนเครื่องเดินทางที่ผูโดยสารนํามามอบใหแกผูขนสงทันเวลา คือ กอนการขนคนโดยสารนั้นจะขนสงฯ ผูขนสงก็มีหนาที่ตองขนไปให โดยคนโดยสารไมตองเสียคาระวางพาหนะสําหรับเครื่องเดินทางนั้นเพิ่มขึ้นจากคาโดยสาร แตถาของที่คนโดยสารนําติดตัวไปดวยนั้น โดยสภาพไมใชของที่ใชเพื่อการเดินทาง เชน สินคาที่ซ้ือไปขาย หรือเปนของที่มีปริมาณมากเกินน้ําหนักที่ผูขนสงไดกําหนดเปนขอจํากัดไวในสัญญารับขน ผูขนสงไมมีหนาที่ตองขนสงหรือรับผิดสําหรับของที่มิใชของใชเพื่อการเดินทาง หรือของที่เกินน้ําหนักที่อนุญาตเวนแตจะเสียคาระวางพาหนะตางหากจากคาโดยสาร และหากคนโดยสารเอาของนั้นไปโดยไมเสียคาระวางพาหนะถือไดวาผูขนสงไมไดรับมอบหมายของนั้น

10 บริษัทขนสงจํากัดตองรับผิดตอความเสียหายอันเกิดแกคนโดยสาร แมรถคันที่เกิดเหตุจะไมใชรถที่

บริษัทขนสงจํากัดเปนเจาของ (เปนรถของคนอื่นเขามาเดินรวม) และคนขับไมใชลูกจางของบริษัท

Page 28: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

89

89

ผูขนสงก็ไมตองรับผิดในความเสียหายสําหรับของนั้น เวนแต ความสูญหายหรือบุบสลายเกิดแกของนั้นโดยเปนความผิดของผูขนสงหรือลูกจางของผูคนสง (มาตรา 638)11 การสงมอบเครื่องเดินทางคืน เครื่องเดินทางที่ผูขนสงตองขนสงไปนี้ ตองสงมอบใหแกคนโดยสาร เมื่อคนโดยสารเดินทางไปถึงปลายทาง (มาตรา 635)12 ถาคนโดยสารไมรับมอบเครื่องเดินทางของตนภายในเวลาหนึ่งเดือน นับแตวันที่เครื่องเดินทางนั้นไปถึงปลายทางของคนโดยสาร ผูขนสงอาจเอาของนั้นออกขายทอดตลาดได แตถาเครื่องเดินทางนั้นมีสภาพเปนของสดของเสียได ผูขนสงอาจเอาของนั้นออกขายทอดตลาดไดเมื่อรออยูเกิน 24 ช่ัวโมงแลว ไดเงินสุทธิจากการขายทอดตลาดเทาใดใหผูขนสงหักเอาไวเปนคาระวางและคาใชจายในการขายทอดตลาด ถายังมีเงินเหลือใหสงมอบใหแกผูควรไดรับเงินนั้นโดยพลัน (มาตรา 636 และมาตรา 632)13 หนาที่และความรับผิดของผูขนสงในเครื่องเดินทางอันไดรับมอบหมายมานั้น แมผูขนสงจะมิไดคิดคาระวางพาหนะตางหากจากคาโดยสารปกติ ผูขนสงก็ตองรับผิดในความสูญหายหรือบุบสลาย หรือในการสงของลาชาเชนเดียวกับที่ผูขนสงตองรับผิดในสัญญารับขนของ (มาตรา 637)14

11 มาตรา 638 “ผูขนสงไมตองรับผิดในเครื่องเดินทางซึ่งตนมิไดรับมอบหมาย เวนแตเมื่อเครื่องเดินทางนั้นสูญหายหรือบุบสลายไปเพราะความผิดของผูขนสงหรือลูกจางของผูขนสง”

12 มาตรา 635 “เครื่องเดินทางหากไดมอบหมายแกผูขนสงทันเวลาทานวาตองสงมอบในขณะคนโดยสารถึง”

13 มาตรา 636 “ถาคนโดยสารไมรับมอบเครื่องเดินทางของตนภายในเวลาเดือนหนึ่งนับแตวันเครื่องเดินทางนั้นถึงไซร ผูขนสงอาจเอาออกขายทอดตลาดเสียได

ถาเครื่องเดินทางนั้นมีสภาพเปนของสดของเสียได ผูขนสงอาจเอาออกขายทอดตลาดได เมื่อของนั้นถึงแลวรออยูลวงเวลากวายี่สิบสี่ช่ัวโมง

บทบัญญัติในมาตรา 632 นั้น ทานใหใชบังคับแกคดีดังวานี้ดวยอนุโลมตามควร” มาตรา 632 “เมื่อเอาของออกขายทอดตลาดแลวไดเงินจํานวนสุทธิเทาใด ใหผูขนสงหักเอาไวเปนเงิน

คาระวางพาหนะและคาอุปกรณ ถาและยังมีเงินเหลืออยูอีกเทาใดตองสงมอบใหแกบุคคลผูควรที่จะไดเงินนั้นโดยพลัน

14 มาตรา 637 “สิทธิและความรับผิดของผูขนสงเพื่อเครื่องเดินทางอันไดมอบหมายแกผูขนสงนั้น แมผูขนสงจะมิไดคิดเอาคาขนสงตางหากก็ตาม ทานใหบังคับตามความในหมวด 1”

Page 29: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

90

90

3. ขอยกเวนหรือจํากัดความรับผิด ถามีขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงอยูในตั๋ว ใบรับหรือเอกสารอื่นทํานองเชนวานี้ ซ่ึงผูขนสงออกใหแกคนโดยสาร ขอความนั้นเปนโมฆะ

ตัวอยางเชน ในการโดยสารรถประจําทางของนายเอก นายเอกไดสงมอบเครื่องเดินทางใหแกพนักงานของบริษัทรถคิดเปนจํานวนเงิน 1,000 บาท แตมีขอความเขียนไวที่ทางขึ้นวา “โปรดดูแลตัวทานและทรัพยสินของทาน หากเกิดความเสียหายใด ๆ จะไมรับผิดชอบ”

และยังปรากฏขอความวา “ผูขนสงจะรับผิดในเครื่องเดินทางในวงเงินไมเกิน 200 บาท” ไวในตั๋วรถดวย ปรากฏวา คนขับรถประมาททําใหเกิดอุบัติเหตุและทําใหเครื่องเดินทางและนายเอกไมสามารถเดินทางไปถึงที่หมายไดตามกําหนด เชนนี้ บริษัทจะปฏิเสธความรับผิดตามสัญญารับขนคนโดยสารโดยอางวาไดจํากัดความรับผิดไวไมได ตามมาตรา 639 15 แตอยางไรก็ตามกฎหมายไมหามผูขนสงจะทําขอตกลงยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของตนกับคนโดยสารเสียทีเดียว กลาวคือ ผูขนสงสามารถทําความตกลงเชนวานั้นได แตความตกลงดังกลาว คนโดยสารตองตกลงดวยโดยชัดแจง เชน ทําบันทึกขอตกลงยกเวนความรับผิดไวเปนกรณีพิเศษ หรือใหผูโดยสารลงลายมือช่ือยอมรับขอจํากัดความรับผิดนั้นไวใหชัดเจน เปนตน ทั้งนี้ทํานองเดียวกับขอตกลงยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงในสัญญารับขนของ (มาตรา 639) หนี้หรือความรับผิดของคนโดยสารในสัญญารับขนคนโดยสาร คนโดยสารมีหนี้ที่ตองชําระคาโดยสารแกผูขนสงตามที่ไดตกลงไวกับผูขนสงคนโดยสาร หรือตามอัตราคาโดยสารที่ผูขนสงคนโดยสารกําหนดขึ้นไว สวนการชําระคาโดยสารจะชําระกันเมื่อใด เชนจะชําระเมื่อทําสัญญารับขนคนโดยสาร หรือชําระเมื่อขนสงคนโดยสารไปถึงจุดหมายปลายทางแลว ก็สุดแตจะไดตกลงกันระหวางผูขนสงและผูโดยสาร หรือตามประเพณีที่ปฏิบัติกันในการขนสงเชนนั้น

15 มาตรา 639 “ต๋ัว ใบรับ หรือเอกสารอื่นทํานองเชนวานี้อันผูขนสงไดสงมอบแกคนโดยสารนั้น

หากมีขอความยกเวนหรือจํากัดความรับผิดของผูขนสงอยางใด ๆ ทานวาขอความนั้นเปนโมฆะ เวนแตคนโดยสารจะไดตกลงดวยชัดแจงในการยกเวนหรือจํากัดความรับผิดเชนนั้น”

บริษัทไมประกันจํากัด

Page 30: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

91

91

ความระงับของสัญญารับขน(ท้ังรับขนของและรับขนคนโดยสาร) 1. เม่ือผูขนสงไปปฏิบัติตามสัญญารับขนเรียบรอยแลว คือขนของหรือคนโดยสารตามที่ตกลงกันเรียบรอยแลว 2. สัญญารับขนของอาจเลิกไปกอนท่ีผูขนสงปฏิบัติเสร็จสิ้นตามสัญญาโดยคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีดังตอไปนี้ 2.1 เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งไมปฏิบัติตามสัญญา อีกฝายหนึ่งก็ยอมมีสิทธิบอก

เลิกสัญญาได หลังจากที่ไดบอกกลาวใหเวลาพอสมควรใหฝายที่ไมปฏิบัติตามสัญญาจัดการปฏิบัติตามสัญญาแลว ทั้งนี้เปนไปตามหลักทั่วไปในเรื่องการเลิกสัญญาตามมาตรา 387

2.2 เมื่อของที่รับขนเกิดวินาศภัยเพราะเหตุสุดวิสัย สัญญารับขนก็ส้ินสุดลง ทั้งนี้เพราะการชําระหนี้ของผูขนสงกลายเปนพนวิสัยผูขนสงจึงหลุดพนจากการชําระหนี้ตามมาตรา 219

2.3 เมื่อผูสงหรือผูทรงใบตราสงในกรณีที่มีการออกใบตราสงได ส่ังใหผูขนสงงดการสงของนั้น หรือใหสงของนั้นกลับคืน หรือใหจัดการแกของนั้นเปนอยางอืน่และผูขนสงไดปฏิบัติตามคําสั่งของผูสงหรือผูทรงใบตราสงนั้นแลว (มาตรา 626) สําหรับกรณีนี้จะเกิดขึ้นไดก็โดยที่ของนั้นยังอยูในมือของผูขนสง และผูขนสงชอบที่จะไดรับเงินคาระวางพาหนะตามสวนแหงระยะทางที่ไดจัดการขนสงไปแลวกับคาใชจายอื่น ๆ ที่ไดเสียไปเพราะเหตุที่บอกงดหรือเพราะสงของกลับคืนหรือเพราะจัดการเปนประการอื่นนั้น ขอใหพึงสังเกตวา สิทธิของผูสงในอันที่จะเลิกสัญญารับขนของดังกลาวนี้มีลักษณะเชนเดียวกับสิทธิของผูวาจางในสัญญาจางทําของ ในอันที่จะเลิกสัญญาจางทําของกลางคันได

2.4 ในกรณีที่หาตัวผูรับตราสงไมพบหรือผูรับตราสงปฏิเสธไมยอมรับของถาผูขนสงไดดําเนินการตามวิธีการดังบัญญัติไวในมาตรา 631 โดยเอาของนั้นไปฝากไวยังสํานักงานฝากทรัพยหรือขายทอดตลาดแลวสัญญารับขนของก็เปนอันระงับไป

3. เม่ือมีการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาของคูสัญญารับขน กลาวคือ คูสัญญาตกลงเลิกสัญญากันเองโดยความยินยอมของทั้งสองฝายตามหลักของนิติกรรมสัญญาทั่วไป)

............................................................................

Page 31: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

92

92

สัญญาจางขนสงคนโดยสาร

สัญญาฉบับนี้ทําขึ้น ณ ….…………………..ตําบล/แขวง….……………...……………อํ า เ ภอ /เ ขต….………………………จั งหวั ด….………………….เ มื่ อ วั นที่….…….…………..ระหวาง………………………………..……………………… ซ่ึงตอไปในสัญญานี้เรียกวา “ผูวาจาง” ฝายหนึ่งกับ ………………………………………………………………… อยูบานเลขที่….………ถนน………………………ตําบล/แขวง….……………………อําเภอ/เขต …………….……………จังหวัด…………………โทรศัพท….………………………ซ่ึงตอไปนี้ในสัญญานี้เรียกวา “ผูขนสง” อีกฝายหนึ่ง โดยมีขอตกลงกันดังตอไปนี้

ขอ 1. ผูวาจางตกลงจางและผูขนสงตกลงรับจางทําการขนสงนักศึกษาและบุคลากรของผูวาจางดวยยานพาหนะ ……………………………………….…………เพื่อไปศึกษานอกสถานที่ ณ ……………………….…………ระหวางวันที่………………..………ถึงวันที่…….…………………โดยเริ่มออกเดินทางจาก….…………………….……ในวันที่………….……………เวลา….……น. และกลับถึง………………………….…ในวันที่……………….เวลา……………น. ตามตารางแสดงรายละเอียดกําหนดวันเวลาการเดินทางแนบทายสัญญาซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของสัญญานี้ ขอ 2. ผูขนสงตกลงรับทําการขนสงตามขอ 1. โดยคิดคาจางเปนเงนิจํานวน…………บาท ผูวาจางจะชําระเงินคาจางใหแกผูขนสงเมือผูขนสงไดปฏิบัติตามสัญญาจางถูกตองครบถวนแลว ขอ 3. ผูขนสงจะตองจัดหายานพาหนะซึ่งมีที่นั่งจํานวน…………………ที่นั่ง มีส่ิงอํานวยความสะดวกภายใน คือ .………..……………………..………………จํานวน………………….……ลํา/คัน ซ่ึงมีประกันภัยช้ันหนึ่งครอบคลุมความเสียหายใด ๆ ทั้งสิ้นทั้งยังตองอยูในสภาพมั่นคงแข็งแรงปลอดภัยมีเครื่องอุปกรณ สวนควบและเครื่องใชประจํายานพาหนะถูกตองครบถวนตามกฎหมาย ใชการไดดีในการขนสงและมีความสะอาดถูกสุขลักษณะพรอมพนักงานควบคุม ขับขี่ยานพาหนะ ตองไดรับประกาศนียบัตรรับรองความรูความสามารถและมีใบอนุญาตใหขับขี่ยานพาหนะประเภทนั้น และเปนผูมีความประพฤติดี มีความชํานาญ สุขุมรอบคอบในการควบคุมขับขี่ยานพาหนะ เพื่อปฏิบัติหนาที่ตามสัญญานี้

ผูขนสงจะตองแจงชื่อพนักงานควบคุม ขับขี่ยานพาหนะ และชื่อพนักงานประจํายานพาหนะพรอมสําเนาประกาศนียบัตร ใบอนุญาต ขับขี่ยานพาหนะของผูควบคุม ขับขี่ยานพาหนะตามวรรคหนึ่งใหผูวาจางทราบกอนออกเดินทาง ขอ 4. ในระหวางปฏิบัติหนาที่ตามสัญญา ผูขนสงหรือตัวแทนหรือพนักงานของผูขนสงจะตองปฏิบัติตามคําสั่งของผูวาจาง หรือตัวแทนของผูวาจาง หากไมปฏิบัติตามผูวาจางหรือตัวแทนของผูวาจาง มีสิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดทันที

Page 32: เอกเทศสัญญา 2-3

เอกสารประกอบการสอนวิชาเอกเทศสัญญา 2 (สัญญารับขน)โดย อาจารยอุดม งามเมืองสกุล

93

93

ขอ 5. ผูขนสงสัญญาวาจะไมเอางานที่รับจางตามสัญญานี้ไปใหผูอ่ืนรับจางขนสงชวงอีกทอดหนึ่งเวนแตจะไดรับความยินยอมเปนหนังสือจากผูวาจาง แตทั้งนี้ผูขนสงยังคงตองรับผิดชอบตอผูวาจางในการกระทําหรือความผิดอยางใด ๆ ของผูรับจางชวง ขอ 6. ถาผูขนสงไมจัดยานพาหนะทําการขนสงใหทันตามกําหนดวันเวลาและสถานที่ที่กําหนดไวในสัญญา หรือจัดยานพาหนะที่มีสภาพไมเหมาะสมแกการเดินทางไดโดยปลอดภัย ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได

ขอ 7. ในระหวางการเดินทาง หากยานพาหนะของผูขนสงเกิดชํารุดบกพรองหรือเสียหายจนผูวาจางหรือตัวแทนของผูวาจาง เห็นวา ไมเหมาะสมที่จะเดินทางตอไปไดโดยปลอดภัย ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาและวาจางยานพาหนะอื่นตามที่ผูวาจางเห็นสมควรใชเดินทางตอไปได

ขอ 8. ผูขนสงจะตองรับผิดชดใชคาเสียหายตอคนโดยสารและผูวาจางเพื่อความเสียหายอยาง ใด ๆ ที่เกิดขึ้นอันเนื่องจากการขนสงลาชาหรือความชํารุดบกพรองหรือสภาพของยานพาหนะตามสัญญานี้ รวมทั้งความเสียหายที่เกิดจากความจงใจหรือประมาทเลินเลอของผูขนสงหรือตัวแทนหรือพนักงานของผูขนสงดวย

ขอ 9. หากผูขนสงผิดสัญญาขอใดขอหนึ่ง ผูวาจางมีสิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที และเมื่อผูวาจางบอกเลิกสัญญาแลว ผูขอสงยอมใหผูวาจางดําเนินการดังตอไปนี้

1) เรียกเอกาคาจางที่เพิ่มขึ้นเพราะจางบุคลอื่นทําการขนสงตอไปจนแลวเสร็จตามสัญญา 2) เรียกคาเสียหายอันพึงมีจากผูรับจาง ขอ 10. การบอกกลาวเลิกสัญญาโดยหัวหนาสถานศึกษาหรือผูไดรับมอบหมายจากหัวหนา

สถานศึกษาหรือตัวแทนของผูวาจางที่กระทําตอตัวแทนหรือพนักงานของผูขนสงใหถือวาเปนการบอกเลิกสัญญานี้แลว

สัญญานี้ไดทําขึ้นเปนสองฉบับ มีขอความอยางเดียวกัน คูสัญญาไดอานเขาใจขอความโดยละเอียดตลอดแลว จึงไดลงลายมือช่ือพรอมทั้งประทับตรา (ถามี) ไวเปนสําคัญ ตอหนาพยานและเก็บไวฝายละฉบับ ลงชื่อ………………………………….ผูวาจาง ลงชื่อ………………………………………..ผูขนสง (………………………………….) (………………………………………..) ลงชื่อ………………………………….พยาน ลงชื่อ………………………………………..พยาน (………………………………….) (………………………………………..)