บทที่ 4...

55
ศ.212 หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค อ.ณพล สุกใส [email protected] http://econ.tu.ac.th/class/archan/napon/EC212_1-57/ 1 บทที่ 4 นโยบายการคลัง (FISCAL POLICY)

Upload: hakhuong

Post on 02-Mar-2018

237 views

Category:

Documents


9 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ศ.212 หลกัเศรษฐศาสตรม์หภาค อ.ณพล สกุใส [email protected]

http://econ.tu.ac.th/class/archan/napon/EC212_1-57/

1

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (FISCAL POLICY)

Page 2: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลงั

Discretionary fiscal policy

Automatic fiscal policy

ผลกระทบของการใช้นโยบายการคลงั: อธิบายผา่นตวัคณู

หน้ีสาธารณะ

ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงั

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 2

นโยบายการคลัง

Page 3: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

4.1 ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของ นโยบายการคลงั 4.1.1 ความหมายของนโยบายการคลงั 4.1.2 วตัถปุระสงคข์องนโยบายการคลงั 4.1.3 เคร่ืองมือของนโยบายการคลงั 4.1.4 ประเภทของนโยบายการคลงั

3

Page 4: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ความหมายนโยบายการคลงั นโยบายท่ีเก่ียวข้องกบัการใช้รายได้ รายจ่าย และการก่อหน้ีสาธารณะของรฐับาลเป็นเคร่ืองมือส าคญัในการก าหนดแนวทาง เป้าหมาย และการด าเนินงาน เพ่ือให้บรรลเุป้าหมายทางเศรษฐกิจ

การด าเนินนโยบายการคลงัอาจใช้วิธีการต่างๆ เช่น การเปล่ียนแปลงการใช้จ่าย การเปล่ียนแปลงแหล่งและวิธีการหารายได้ การเปล่ียนแปลงอตัราภาษี การก่อหน้ีสาธารณะของรฐับาล เป็นต้น

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 4

4.1.1 ความหมายของนโยบายการคลัง

Page 5: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ประการแรก การจดัสรรทรพัยากร จากปัญหาการมีอยู่จ ากดั (Scarcity) ของทรพัยากรการผลิต รฐับาลจึงต้องส่งเสริมการจดัสรรทรพัยากรระหว่างบคุคลแต่ละฝ่ายในระบบเศรษฐกิจให้เกิดประสิทธิภาพสงูท่ีสดุ

นโยบายการคลงัจึงถกูน ามาใช้เพ่ือ การจดัสรรทรพัยากรระหว่างรฐับาล กบัเอกชน เพ่ือ ผลิตสินค้าสาธารณะ (Public goods) และสินค้าก่ึงสาธารณะ (Quasi-public

goods) สินค้าท่ีมีคณุประโยชน์ต่อสงัคมโดยรวม และป้องกนัการผลิตสินค้าท่ีท าลายคณุธรรม

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 5

4.1.2 วัตถุประสงค์ของนโยบายการคลัง

Page 6: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ประการแรก การจดัสรรทรพัยากร (ต่อ) ป้องกนั และ/หรือ ควบคมุการผลิตสินค้าท่ีท าให้เกิดผลเสียต่อสงัคม

ส่งเสริม และ/หรือ อดุหนุนการผลิตสินค้าท่ีท าให้เกิดประโยชน์ต่อสงัคม

ผลิตสินค้าท่ีต้องใช้เทคโนโลยีสงู เงินทนุจ านวนมหาศาล ซ่ึงเอกชนผลิตไม่ได้ หรือรฐับาลต้องมีมาตรการควบคมุการผลิตของเอกชน

ป้องกนัการผกูขาด โดยด าเนินมาตรการต่างๆ ให้เป็นไปตามกลไกตลาด เพ่ือการจดัสรรทรพัยากรอย่างมีประสิทธิภาพ

6 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 7: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ประการท่ีสอง การกระจายความเป็นธรรม การกระจายความเป็นธรรม หมายถึง การก่อให้เกิดความเป็นธรรมของการกระจายรายได้ ผลผลิต และการได้รบับริการจากรฐั

รฐับาลใช้

นโยบายภาษีอากรโดยยึดหลกัความสามารถจ่าย (ability-to-pay)

นโยบายการใช้จ่ายโดยการผลิตสินค้าสาธารณะและก่ึงสาธารณะไปสู่กลุ่มคนต่างๆ ในสงัคม

นโยบายการจ่ายเงินเพ่ือการประกนัสงัคม เช่น ประกนัการว่างงาน การประกนัราคาผลผลิตตกต า่ และนโยบายการจ่ายเงินโอนให้แก่บคุคลบางกลุ่ม เช่น คนชรา ทพุพลภาพ เป็นต้น

7 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 8: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ประการท่ีสาม การส่งเสริมการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การผลกัดนัให้ระบบเศรษฐกิจมีการเจริญเติบโต (Economic growth) เป็นหน้าท่ีส าคญัในการยกระดบัประสิทธิภาพการผลิตของสงัคม ซ่ึงจะน าไปสู่ระดบัรายได้ต่อหวัท่ีสงูขึน้

อาศยันโยบายการคลงัในการยกระดบัการออม การลงทนุ และการสะสมทนุให้สงูขึน้

8 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 9: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ประการท่ีส่ี การรกัษาเสถียรภาพด้านเศรษฐกิจ ในภาวะเศรษฐกิจปกติ รฐับาลจะต้องพยายามรกัษาระดบัการออม การลงทนุ อตัราดอกเบีย้ ค่าจ้าง ประสิทธิภาพการผลิต อตัราการเพ่ิมขึน้ของประชากรให้สอดคล้องกบัอตัราการขยายตวัทางเศรษฐกิจ

ในภาวะเศรษฐกิจตกต า่หรือภาวะเงินเฟ้อ รฐับาลจะต้องพยายามปรบัระดบัราคา ค่าจ้าง และอตัราดอกเบีย้ให้มีความยืดหยุ่น เพ่ือให้กลไกตลาดสามารถท างานได้

การท าให้ปัจจยัต่างๆ เป็นไปตามท่ีต้องการ คือ การใช้นโยบายเศรษฐกิจ ซ่ึงได้แก่ นโยบายการคลงั และนโยบายการเงิน

9 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 10: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

การใช้จ่ายของรฐับาล (Government expenditure) การใช้จ่ายเพ่ือการซ้ือสินค้าและบริการของรฐับาล (Government purchase of

goods and services: G = GC + GI)

การใช้จ่ายในการบริโภค (Consumption expenditure: GC)

การใช้จ่ายในการลงทนุ (Investment expenditure: GI)

การใช้จ่ายเงินโอนของรฐับาล (Government transfer payment: R)

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 10

4.1.3 เครื่องมือของนโยบายการคลัง

Page 11: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

รายรบัของรฐับาล (Government receipt) รายได้ของรฐับาล (Government revenue)

รายได้จากการเกบ็ภาษีอากร (Tax revenue: T)

รายได้ท่ีมิใช่ภาษีอากร (Non-tax revenue)

หน้ีสาธารณะ (Public debt)

เงินคงคลงั (Treasury cash balances)

11 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

รายจ่ายของรฐับาล = รายได้ของรฐับาล + หน้ีสาธารณะ + เงินคงคลงั

Page 12: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

1. การใช้จ่ายของรฐับาล (Government expenditure) จ าแนกตามลกัษณะเศรษฐกิจ ได้เป็น 3 ประเภท

การใช้จ่ายในการบริโภค (Consumption expenditure) หรืองบประจ า (Current expenditure) เช่น ค่าจ้าง เงินเดือนข้าราชการ ลกูจ้างของรฐั

การใช้จ่ายในการลงทนุ (Investment expenditure) หรืองบลงทนุ (Capital expenditure) ได้แก่ งบลงทนุในโครงการต่างๆ เช่น การก่อสร้างสาธารณูปโภคต่างๆ

การใช้จ่ายเงินโอนของรฐับาล (Government transfer payment) เป็นรายจ่ายท่ีรฐับาลจ่ายให้แก่บคุคลหรือหน่วยงานโดยไม่ได้สร้างผลผลิต เป็นการโอนอ านาจซ้ือจากมือรฐับาลไปสู่มือผูร้บั เช่น เงินบ าเหน็จบ านาญ เงินสงเคราะหช์ราและทพุพลภาพ และเงินอดุหนุนต่างๆ เงินโอนจึงไม่อยู่ใน GDP หรือ GNP แต่อยู่ใน Disposable income

12 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 13: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

13 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

โครงสร้างการใช้จ่ายของรฐับาล ปี 2533 – 2554

0

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552 2553

2554

ล้านบ

าท

รายจ่ายประจ า รายจ่ายลงทุน รายจ่ายช าระต้นเงินกู้ รายจ่ายเพ่ือชดใช้เงินคงคลงั

114,488.6 (5.28) 32,554.6 (1.50)

355,484.6 (16.38)

1,667,439.7 (76.84)

รวม 2,169,967.5 ล้านบาท

Page 14: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

2. รายรบัของรฐับาล (Government receipt)

2.1 รายได้ของรฐับาล (Government revenue) แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

รายได้จากการเกบ็ภาษีอากร (Tax revenue) ได้แก่ รายได้ของรฐับาลท่ีมีท่ีมาจากการเกบ็ภาษีต่างๆ คือ ภาษีเงินได้บคุคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบคุคล ภาษีศลุกากร ภาษีสรรพสามิต ภาษีการค้าต่างๆ ภาษีมลูค่าเพ่ิม เป็นต้น

รายได้ท่ีมิใช่ภาษีอากร (Non-tax revenue) ได้แก่ รายได้จากการด าเนินกิจการต่างๆ ของรฐับาล รฐัวิสาหกิจ รายได้จากการขายหลกัทรพัยแ์ละอสงัหาริมทรพัย ์และการเกบ็ค่าธรรมเนียม ค่าปรบัต่างๆ เป็นต้น

14 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 15: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ภาษีอากร (Tax) ภาษี คือ ส่ิงท่ีรฐับาลบงัคบัจดัเกบ็จากประชาชน และน ามาใช้เพ่ือประโยชน์ของสงัคมโดยส่วนรวม ไม่มีส่ิงตอบแทนโดยเฉพาะเจาะจงแก่ผูเ้สียภาษี

ประเภทของภาษี จ าแนกตามลกัษณะการขึน้ต่อรายได้ ภาษีแบบเหมาจ่าย (Lump sum tax) เป็นภาษีท่ีไม่ได้ขึน้อยู่กบัรายได้ ภาษีเงินได้ (Income tax) เป็นภาษีท่ีจดัเกบ็ตามระดบัรายได้

จ าแนกตามภาระภาษี ภาษีทางตรง (Direct tax) คือ ภาษีท่ีผูเ้สียภาษีต้องแบกรบัภาระภาษีไว้ทัง้หมด ไม่สามารถผลกัภาระภาษีน้ีไปให้ผูอ่ื้นได้

ภาษีทางอ้อม (Indirect tax) คือ ภาษีท่ีผูเ้สียภาษีแบกรบัภาระภาษีไว้เพียงบางส่วน และสามารถผลกัภาระภาษีน้ีไปให้ผูอ่ื้นได้ หรือผูเ้สียภาษีไม่ต้องรบัภาระภาษีเลย และสามารถผลกัภาระภาษีให้ผูอ่ื้นได้ทัง้หมด

15 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 16: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ภาษีอากร (Tax) (ต่อ) ประเภทของภาษี

จ าแนกตามอตัราภาษี

ภาษีอตัราภาษีคงท่ี (Proportional tax rate) เม่ือฐานภาษีเพ่ิมขึน้ สดัส่วนภาระภาษีต่อฐานภาษีคงท่ี

ภาษีอตัราภาษีก้าวหน้า (Progressive tax rate) เม่ือฐานภาษีเพ่ิมขึน้ สดัส่วนภาระภาษีต่อฐานภาษีสงูขึน้

ภาษีอตัราภาษีถดถอย (Regressive tax rate) เม่ือฐานภาษีเพ่ิมขึน้ สดัส่วนภาระภาษีต่อฐานภาษีลดลง

16 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 17: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

17 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

โครงสร้างรายได้ของรฐับาล ปี 2533 – 2554

0

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552 2553

2554

ล้านบ

าท

ภาษีทางตรง ภาษีทางอ้อม รายได้ท่ีไม่ใช่ภาษี

209,426.65 (9.41)

1,123,109.07 (50.49)

891,841.47 (40.10)

ภาษีทางตรง ได้แก่ ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ภาษีทางอ้อม เช่น ภาษีมูลค่าเพ่ิม ภาษีน ้ามนั ภาษีขาเข้า ภาษีเครื่องด่ืม รายได้ท่ีมิใช่ภาษี เช่น ค่าธรรมเนียมจากส่วนราชการ รายได้น าส่งจากรฐัวิสาหกิจ

รวม 2,224,377.19 ล้านบาท

Page 18: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

2.2 หน้ีสาธารณะ (Public debt) ในกรณีท่ีรฐับาลด าเนินนโยบายงบประมาณขาดดลุ รฐับาลจะต้องจดัหาเงินมาจนุ

(Finance) ส่วนท่ีขาดดลุโดยการก่อหน้ีสาธารณะ ซ่ึงมีทัง้เงินกู้ระยะยาวและเงินกู้ระยะสัน้ แหล่งเงินกู้แบ่งเป็น แหล่งเงินกู้ภายในประเทศ และเงินกู้จากต่างประเทศ

แหล่งเงินกู้ เงินกู้ภายในประเทศ

เพ่ือชดเชยการขาดดลุชัว่คราว เพ่ือใช้ในการลงทนุตามโครงการพฒันาเศรษฐกิจ เพ่ือสร้างเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ

เงินกู้จากต่างประเทศ เพ่ือใช้สนับสนุนการลงทนุโครงการขนาดใหญ่ท่ีไม่สามารถอาศยัเงินออมภายในประเทศได้ จ าเป็นต้องอาศยัสินค้าทนุและเทคโนโลยีทนัสมยัจากต่างประเทศ ซ่ึงต้องใช้เงินตราต่างประเทศ แต่ประเทศมีเงินตราต่างประเทศมีน้อย จึงต้องกู้ยืมเพ่ือให้มีเงินตราต่างประเทศเพียงพอ

18 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 19: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

2.3 เงินคงคลงั (Treasury cash balances) เงินทัง้ปวงท่ีพึงช าระให้แก่รฐับาลไม่ว่าเป็นภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าปรบั เงินกู้ หรือเงินอ่ืนใด ซ่ึงหวัหน้าส่วนราชการได้เกบ็หรือรบัเงินนัน้มีหน้าท่ีควบคมุให้ส่งเข้า บญัชีเงินคงคลงั หรือคลงัจงัหวดั หรือคลงัอ าเภอ ตามหลกัเกณฑแ์ละเง่ือนไขท่ีกฎหมายก าหนด

19 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 20: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

งบประมาณแผน่ดิน

เป็นแผนการใช้จ่ายเงินของรฐับาล ประกอบด้วยประมาณการรายได้และรายจ่าย และการจดัหาเงินเพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายตามประมาณการรายจ่ายในช่วงระยะเวลา 1 ปี

ในด้านรายได้ รฐับาลจะต้องประมาณการรายได้แต่ละประเภท (รายได้จากการเกบ็ภาษีอากร และรายได้ท่ีมิใช่ภาษีอากร) ว่ามีมากหรือน้อยเพียงใด เพียงพอต่อประมาณการรายจ่ายหรือไม่ ถ้าไม่พอจะหาเงินจากแหล่งอย่างไรให้เพียงพอต่อรายจ่าย เช่น การกู้ยืม

ในด้านรายจ่าย รฐับาลจะต้องประมาณการว่าในการด าเนินตามแผนงาน เป้าหมาย และโครงการต่างๆ นัน้ จะมีการใช้จ่ายในแต่ละด้านมากหรือน้อยเพียงใด

20 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 21: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ลกัษณะการจดัท างบประมาณ งบประมาณสมดลุ (Balanced budget) งบประมาณเกินดลุ (Surplus budget) งบประมาณขาดดลุ (Deficit budget)

หลกับญัชีงบประมาณ รายจ่ายของรฐับาลทัง้หมด = รายรบัของรฐับาลทัง้หมด Gov’t Exp. = Gov’t Rev. + Treasury cash balance + Public debt ดงันัน้ ในทางบญัชี งบประมาณสมดลุเสมอ

การจ าแนกลกัษณะของงบประมาณ รายจ่ายของรฐับาลทัง้หมด เปรียบเทียบ รายได้ของรฐับาลทัง้หมด

Gov’t Exp. เปรียบเทียบ Gov’t Rev.

21 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 22: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

งบประมาณสมดลุ (Balanced budget) คือ รายได้รวม เท่ากบั รายจ่ายรวม งบประมาณเกินดลุ (Surplus budget) คือ รายได้รวม น้อยกว่า รายจ่ายรวม รฐับาลจึงสามารถน าเงินส่วนท่ีเหลือไปเกบ็ไว้เป็นเงินคงคลงัได้ หรืออาจน าไปช าระคืนเงินท่ีกู้ยืมมากไ็ด้

งบประมาณขาดดลุ (Deficit budget) คือ รายได้รวม มากกว่า รายจ่ายรวม รฐับาลจะต้องมีการจดัหาเงินมาใช้จนุเจือ (Finance) ส่วนท่ีขาดดลุโดยการก่อหน้ีสาธารณะ หรือการน าเงินคงคลงัออกมาใช้

22 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 23: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

23 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

ดลุงบประมาณของไทย ปี 2533 – 2554

-1000000

-500000

0

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

2550

2551

2552 2553

2554

ล้านบ

าท

วงเงินงบประมาณ ประมาณการรายได้ ดลุงบประมาณ

2,169,967.5

1,770,000

399,967.5

Page 24: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

การใช้เคร่ืองมือของนโยบายการคลงั เพ่ือแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ

นโยบายการคลงัแบบขยายตวั (Expansionary fiscal policy)

นโยบายการคลงัแบบหดตวั (Contractionary fiscal policy)

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 24

4.1.4 ประเภทของนโยบายการคลัง 4.1.4 -1) นโยบายการคลงัจ าแนกตามลกัษณะของปัญหาเศรษฐกิจ

Page 25: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

คือ นโยบายการคลงัท่ีมีการเปล่ียนแปลงเคร่ืองมือต่างๆ (G, T, R) ของรฐับาล เพ่ือท าให้สามารถบรรลเุป้าหมายท่ีจะท าให้เกิดการขยายตวัของรายได้ประชาชาติ

ได้แก่ เพ่ิม G , R , ลด T

ดงันัน้ จึงสามารถแก้ไขปัญหาการว่างงาน และขจดัหรือลดปัญหาช่องห่างเงินฝืด (Deflationary gap)

เน่ืองจากท าให้ YE เพ่ิมขึน้มาเข้าใกล้ YF ย่ิงขึน้

ผลต่อดลุงบประมาณ คือ แย่ลง

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 25

(1) นโยบายการคลงัแบบขยายตวั (Expansionary fiscal policy)

Page 26: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

คือ นโยบายการคลงัท่ีมีการเปล่ียนแปลงเคร่ืองมือต่างๆ (G, T, R) ของรฐับาล เพ่ือท าให้สามารถบรรลเุป้าหมายท่ีจะท าให้เกิดการหดตวัของรายได้ประชาชาติ

ได้แก่ ลด G , R , เพ่ิม T

ดงันัน้ จึงสามารถขจดัหรือลดปัญหาช่องห่างเงินเฟ้อ (Inflationary gap)

เน่ืองจากท าให้ YE เพ่ิมขึน้มาเข้าใกล้ YF ย่ิงขึน้

ผลต่อดลุงบประมาณ คือ ดีขึน้

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 26

(2) นโยบายการคลงัแบบหดตวั (Contractionary fiscal policy)

Page 27: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

จากมาตรการ การใช้จ่ายของรฐับาล (G) รายจ่ายเงินโอน (R) และมาตรการภาษี (T) สามารถจ าแนกนโยบายการคลงัตามลกัษณะการท างาน ได้ดงัน้ี

นโยบายการคลงัแบบตัง้ใจ (Discretionary fiscal policy)

นโยบายการคลงัแบบอตัโนมติั (Automatic fiscal policy)

หรือ นโยบายการคลงัแบบไม่ตัง้ใจ (Non-discretionary fiscal policy)

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 27

4.1.4 ประเภทของนโยบายการคลัง 4.1.4 -2) นโยบายการคลังจ าแนกตามลักษณะการท างาน

Page 28: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

คือ นโยบายการคลงัท่ีมีการเปล่ียนแปลงเคร่ืองมือต่างๆ (G, T, R) ของรฐับาล โดยผา่นการอนุมติัจากรฐัสภา เพ่ือท าให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมมีการเปล่ียนแปลง และกระทบให้รายได้ประชาชาติเปล่ียนแปลง

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 28

(1) นโยบายการคลงัแบบตัง้ใจ (Discretionary fiscal policy)

Page 29: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

29 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

10 0.8 , d dC Y Y Y T R

34I

10 0.8 5 0.2 15 34 20

72 0.64

DAE C I G

Y Y

Y

1 0.64 72Y

72200

0.36EY

20G

5 0.2T Y

15R

72 0.64Y DAE Y

ล้านบาท

ดลุยภาพของ ศก.

สมมติระบบเศรษฐกิจ เป็นดงัน้ี

ถ้ารายได้ประชาชาติท่ีระดบัการจ้างงานเตม็ท่ี เท่ากบั 225 ล้านบาท

DAE

DAE0 = Ca – bTa + bRa + I + G + (b – bt)Y

= 72+0.64Y

Y = DAE

0 Y Y0 = 200 YF = 225

E0

Page 30: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

30 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

1

0.36

1225 200 25

0.36

25 0.36

9

E a

a

a

Y G

G

G

0.8

0.36

0.8225 200 25

0.36

0.36 25

0.8

11.25

E a

a

a

Y R

R

R

1. การเปล่ียนแปลงการใช้จ่ายรฐับาล (Ga)

2. การเปล่ียนแปลงรายจ่ายเงินโอนของรฐับาล (Ra)

ล้านบาท

ล้านบาท

DAE

DAE0= Ca – bTa + bRa + I + G0+ (b – bt)Y

= 72+0.64Y

Y = DAE

0 Y Y0 = 200 YF = 225

E0

DAE1= Ca – bTa + bRa + I + G1+ (b – bt)Y = 81+0.64Y

Ga=9

Y=25

E1

DAE

DAE0 = Ca – bTa + bRa0 + I + G + (b – bt)Y

=72+0.64Y

Y = DAE

0 Y Y0 = 200 YF = 225

E0

DAE1= Ca – bTa + bRa1 + I + G + (b – b t)Y = 81+0.64Y

bRa =0.8(11.25) =9

Y=25

E1

Page 31: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

31 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

0.8

0.36

0.8225 200 25

0.36

0.36 25

0.8

11.25

E a

a

a

Y T

T

T

3. การเปล่ียนแปลงภาษีแบบเหมาจ่าย (Ta)

4. การเปล่ียนแปลงอตัราภาษีเงินได้ (t)

แทนค่า ล้านบาท

DAE

DAE0 = Ca – bTa0 + bRa + I + G + (b - bt)Y

= 72+0.64Y

Y = DAE

0 Y Y0 = 200 YF = 225

E0

DAE1 = Ca – bTa1 + bRa + I + G + (b - bt)Y

= 81+0.64Y -bTa =(-b)(-11.25) =9

Y=25

E1

DAE

DAE0 = Ca – bTa + bRa + I + G + (b – bt0)Y

= 72+0.64Y

Y = DAE

0 Y Y0 = 200 YF = 225

E0

DAE1= Ca – bTa + bRa + I + G + (b – bt1)Y

= 72+0.68Y

Y=25

E1

ล้านบาท

2

2

10 0.8 5 15 34 20

72 0.8 1

Y DAE C I G

Y t Y

t Y

225FY

2

2

225 72 0.8 1 225

0.15

t

t

แสดงว่าถ้าต้องการให้รายได้ประชาชาติเพ่ิมขึ้น 25 ล้านบาท ต้องลดอตัราภาษีจาก 20% เป็น 15%

Page 32: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

คือ นโยบายการคลงัท่ีการเปล่ียนแปลงของเคร่ืองมือต่างๆ (G, T, R) ของรฐับาล เป็นไปโดยอตัโนมติัตามภาวะเศรษฐกิจ ไม่ต้องผา่นการอนุมติัจากรฐัสภา

เม่ือเศรษฐกิจมีการเปล่ียนแปลงไป เคร่ืองมือของนโยบายการคลงัต่างๆ จะเกิดการเปล่ียนแปลงขึน้เอง ดงันัน้ นโยบายการคลงัแบบน้ีจึงถือว่านโยบายการคลงัแบบไม่ตัง้ใจ (Non-discretionary fiscal policy)

การเปล่ียนแปลงของเคร่ืองมือต่างๆ ท่ีเป็นโดยอตัโนมติัท าให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมมีการเปล่ียนแปลง และกระทบให้รายได้ประชาชาติเปล่ียนแปลง

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 32

(2) นโยบายการคลงัแบบอตัโนมติั (Automatic fiscal policy)

Page 33: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

เราเรียกเครื่องมือต่างๆ (G, T, R) ของรฐับาลท่ีมีอยู่แล้วในระบบเศรษฐกิจ ซ่ึงก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงรายได้จากภาษี และค่าใช้จ่ายโดยอตัโนมติัตามภาวะเศรษฐกิจ ว่าเป็นตวัรกัษาเสถียรภาพท่ีมีอยู่เองในระบบเศรษฐกิจ (Built-in stabilizer) เช่น เมื่อรายได้ลดลง จ านวนภาษีท่ีจดัเกบ็ได้กจ็ะลดลงโดยอตัโนมติั ดงันัน้ รายได้ประชาชาติกจ็ะลดลงไม่มากนัก

เม่ือรายได้ลดลง รายจ่ายเงินโอนของรฐับาลเพ่ิมขึน้โดยอตัโนมติั ดงันัน้ รายได้ประชาชาติกจ็ะลดลงไม่มากนัก

จะเหน็ว่าเป็นโครงสร้างระบบภาษีหรือเงินโอนท่ีมีความสมัพนัธ ์สอดคล้อง และเปล่ียนแปลงไปตามภาวะทางเศรษฐกิจ

ดงันัน้ เมื่อเกิดการผนัผวนของปัจจยัอ่ืนๆ จะมีตวัรกัษาเสถียรภาพท าหน้าท่ีช่วยลดขนาดการเปล่ียนแปลงของรายได้ประชาชาติไม่ให้เปล่ียนแปลงมากจนเกินไป

33 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

Page 34: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ตวัรกัษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Built-in stabilizer) ส าคญัมี 2 ประเภท

ภาษีเงินได้ (Income tax) ภาษีท่ีเปล่ียนแปลงในทิศทางเดียวรายได้จะท าหน้าท่ีรกัษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจโดยอตัโนมติั คือ

เมื่อรายได้ประชาชาติขยายตวั ภาษีจะสงูขึน้โดยอตัโนมติั ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมจึงเพ่ิมขึน้ไม่มาก ซ่ึงจะช่วยลดความผนัผวนของระบบเศรษฐกิจจากการท่ีท าให้รายได้ประชาชาติเปล่ียนแปลงไปไม่มากนัก

ค่าใช้จ่ายเงินโอนของรฐับาลและเงินอดุหนุน (Transfer payment and subsidy) เงินโอนและเงินอดุหนุนท่ีมีความสมัพนัธก์บัรายได้ในทางผกผนัจะช่วยลดความผนัผวนของระบบเศรษฐกิจได้ คือ

ในภาวะเศรษฐกิจตกต า่ ค่าใช้จ่ายการโอนจะสงู ท าให้เอกชนได้รบัเงินช่วยเหลือ ดงันัน้ จึงยงัสามารถใช้จ่ายได้ ผลจะท าให้ความต้องการใช้จ่ายมวลรวมลดลงไม่มาก ดงันัน้ รายได้ประชาชาติดลุยภาพจะไม่ตกต า่จนเกินไป

34 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

, 0aT T tY t

, 0aR R rY r

Page 35: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

35 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

a dC C bY

aI I

a a aDAE C I G bY

aG G

1

1a a a

Y DAE

Y C I Gb

ดลุยภาพของ ศก.

สมมติระบบเศรษฐกิจ ก่อนใช้มาตรการ ภาษี หรือ เงินโอน เป็นดงัน้ี

ถ้าใช้ ภาษีเหมาจ่าย a dC C bY

aI I

a a a aDAE C bT I G bY

aG G

aT T

1

1a a a a

Y DAE

Y C bT I Gb

ดลุยภาพของ ศก.

ถ้าใช้ ภาษีเงินได้ a dC C bY

aI I

a a a aDAE C bT I G b bt Y

aG G

aT T tY

1

1a a a a

Y DAE

Y C bT I Gb bt

ดลุยภาพของ ศก.

…….(1) …….(2)

…….(3)

….(4)

…….(5)

..….(6)

Page 36: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ก่อนมีภาษี ภาษีเหมาจ่าย ภาษีเงินได้ เปรียบเทียบ เมื่อมีภาษีเงินได้

Marginal propensity to

spend

สมการ (1)

สมการ (3)

สมการ (5)

แนวโน้มการเปล่ียนแปลงการใช้จ่ายมวลรวมลดลง ดงันัน้ DAE จึงเปล่ียนแปลงน้อยกว่า ท าให้ Y เปล่ียนแปลงน้อยกว่า

Multiplier สมการ (2)

สมการ (4)

สมการ (6)

ตวัคณูมีค่าลดลง ดงันัน้ เมื่อ DAE เปล่ียนแปลง Y จึงเปล่ียนแปลงน้อยกว่า

36 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

b

1

1 b

b btb

1

1 b

1

1 b bt

Page 37: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

37 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

a dC C bY

aI I

a a aDAE C I G bY

aG G

สมมติระบบเศรษฐกิจ ก่อนใช้มาตรการ ภาษี หรือ เงินโอน เป็นดงัน้ี

ถ้าใช้ เงินโอนเหมาจ่าย a dC C bY

aI I

a a a aDAE C bR I G bY

aG G

aR R

1

1a a a a

Y DAE

Y C bR I Gb

ดลุยภาพของ ศก.

ถ้าใช้ เงินโอนแปรผนัตรงข้ามกบัรายได้ a dC C bY

aI I

a a a aDAE C bR I G b br Y

aG G

aR R rY

1

1a a a a

Y DAE

Y C bR I Gb br

ดลุยภาพของ ศก.

1

1a a a

Y DAE

Y C I Gb

ดลุยภาพของ ศก.

…….(3)

….(4)

…….(5)

..….(6)

…….(1) …….(2)

Page 38: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ก่อนมีเงินโอน เงินโอนเหมาจ่าย

เงินโอนแปรผนัตรงข้ามกบัรายได้

เปรียบเทียบ เมื่อมีเงินโอนแปรผนัตรงข้ามกบัรายได้

Marginal propensity to

spend

สมการ (1)

สมการ (3)

สมการ (5)

แนวโน้มการเปล่ียนแปลงการใช้จ่ายมวลรวมลดลง ดงันัน้ DAE จึงเปล่ียนแปลงน้อยกว่า ท าให้ Y เปล่ียนแปลงน้อยกว่า

Multiplier

สมการ (2)

สมการ (4)

สมการ (6)

ตวัคณูมีค่าลดลง ดงันัน้ เมื่อ DAE เปล่ียนแปลง Y จึงเปล่ียนแปลงน้อยกว่า

38 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

b

1

1 b

b brb

1

1 b

1

1 b br

Page 39: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

4.2 ผลกระทบของการใช้นโยบายการคลัง : อธิบายผ่านตัวคูณ 4.2.1 ตวัคณูการใช้จ่ายของรฐับาล 4.2.2 ตวัคณูภาษีเหมาจ่ายและรายจ่ายเงินโอนของรฐับาล 4.2.3 ตวัคณูงบประมาณส่วนเพ่ิมสมดลุ (BALANCE BUDGET MULTIPLIER)

39

Page 40: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

40 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

ก าหนดระบบเศรษฐกิจ (หน่วย: ล้านบาท)

100 0.6

65 0.18

53

30 0.3

dC Y

I Y

G

T Y

สมการการบริโภค สมการการลงทนุ

จาก (1) - (4) จะได้

(1) (2)

(5)

สมการการใช้จ่ายของรฐับาล สมการการเกบ็ภาษี

(3)

รายได้ประชาชาติดลุยภาพ

1) ค านวณรายได้ประชาชาติดลุยภาพ

(4)

ล้านบาท

1

1

1

100 0.6 30 65 53

1 0.6 0.6 0.3 0

a a a a

a a a a

a a a a

E a a a a

E

DAE C b Y T tY I iY G

Y C bT I G b bt i Y

b bt i Y C bT I G

Y C bT I Gb bt i

Y

.18

1 200 500

1 0.6EY

Page 41: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

41 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

, , ,a a a aC I G Tจาก (6) เมื่อใช้ Partial derivative with respect to จะได้

ตวัคณูรายจ่ายเพ่ือการบริโภค คือ ตวัคณูรายจ่ายเพ่ือการลงทนุ คือ ตวัคณูรายจ่ายของรฐับาล คือ ตวัคณูภาษีเงินได้แบบเหมาจ่าย คือ ตวัคณูงบประมาณส่วนเพ่ิมสมดลุ คือ

12.5

1 1a

Y

C b t i

12.5

1 1a

Y

I b t i

12.5

1 1a

Y

G b t i

1.5

1 1a

Y b

T b t i

2) ค านวณตวัคณู

1

1 1 1 1

1 2.5 1.5

1 1

a a

a a a

bY G T

b t i b t i

bG G G

b t i

Page 42: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

3) ถ้ารายได้ประชาชาติท่ีการจ้างงานเตม็ท่ี เท่ากบั 550 ล้านบาท

2.5

550 500 2.5

50 20

2.5

a

a

a

Y G

G

G

(1) เพ่ิมรายจ่ายภาครฐั

1.5

550 500 1.5

50 33.33

1.5

a

a

a

Y T

T

T

(2) ลดการเกบ็ภาษีเหมาจ่าย

DAE

E1 DAE1 = 220 + 0.6Y

Y = DAE

0 Y Y0 = 500 YF = 550

E0 DAE0 = 200 + 0.6Y

2.5 1.5 ,

550 500 2.5 1.5

5050

1

a a a a

a

a a

Y G T G T

G

T G

(3) เพ่ิมรายจ่ายรฐับาล และเพ่ิมการเกบ็ภาษีเหมาจ่าย ภาระการคลงั (1) T – (G + R) แย่ลง 20 ล้านบาท (2) T – (G + R) แย่ลง 33.33 ล้านบาท (3) T – (G + R) คงเดิม

20 20

0.6 33.33

50 0.6 50

a

a

a a

DAE G

b T

G b T

50 2.5 2.5 20

1.5 1.5 33.33

2.5 1.5 2.5 50 1.5 50

a

a

a a

Y G

T

G T

42

Page 43: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

4.3 หน้ีสาธารณะ

4.3.1 สาเหตกุารก่อหน้ีสาธารณะ 4.3.2 ผลกระทบของหน้ีสาธารณะ

43

Page 44: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ก่อหน้ีเพ่ือน าเงินมาลงทนุในโครงการต่างๆ เพ่ือพฒันาประเทศ ก่อหน้ีเพ่ือน ามาใช้จ่ายเพ่ือรกัษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ เช่น ในช่วงเศรษฐกิจตกต า่

ก่อหน้ีเพ่ือน ามาใช้จ่ายในกรณีฉุกเฉิน เช่น ภาวะสงคราม หรือ สาธารณะภยัครัง้ใหญ่

ก่อหน้ีเพ่ือน ามาใช้ช าระหน้ีเก่า ก่อหน้ีเพ่ือมาชดเชยการขาดดลุงบประมาณ ควรมีการเปรียบเทียบระดบัของหน้ีสาธารณะต่อรายได้ประชาชาติ เพ่ือให้เหน็ว่าหน้ีสาธารณะเป็นปัญหาหรอืมีความส าคญัต่อระบบเศรษฐกิจอย่างไรบา้ง

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 44

4.3.1 สาเหตกุารก่อหน้ีสาธารณะ

Page 45: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ผลกระทบต่อเสถียรภาพของราคา: การก่อหน้ีสาธารณะอาจส่งผลให้มีปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจเพ่ิมขึน้ และ ท าให้เกิดภาวะเงินเฟ้อได้

ผลกระทบต่อการจดัสรรทรพัยากร: ภาครฐักู้เงินจากตลาดเงินในประเทศ อาจเป็นการแย่งทรพัยากรเงินทุนจากภาคเอกชนได้ ท าให้การลงทุนของภาคเอกชนลดลง โดยเราจะเรียกผลของการท่ีการใช้จ่ายภาครฐัท าให้การลงทุนของภาคเอกชนลดลงน้ีว่า “Crowding out effect”

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 45

4.3.2 ผลกระทบของหน้ีสาธารณะ

Page 46: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ผลกระทบต่อการกระจายรายได้: ถ้ารฐับาลก่อหน้ีในลกัษณะออกเป็นพนัธบตัรรฐับาลขายให้แก่ประชาชน คนท่ีถือพนัธบตัรและได้รบัผลตอบแทนจากพนัธบตัรมกัเป็นผูมี้รายได้สงู

ผลกระทบต่อการด าเนินงานและโครงการของรฐับาล: รฐับาลอาจต้องแบง่เงินงบประมาณไว้ช าระหน้ี แทนท่ีจะได้น าเงินส่วนน้ีไปใช้จ่ายในการลงทุน หรือ โครงการอย่างอ่ืนๆ

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 46

4.3.2 ผลกระทบของหน้ีสาธารณะ (ต่อ)

Page 47: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

47 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

หน้ีสาธารณะคงค้างของไทย ปี 2539 – 2554

0

1000000

2000000

3000000

4000000

5000000

2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

ล้านบ

าท

หน้ีท่ีรฐับาลกู้โดยตรง หน้ีของรฐัวิสาหกิจท่ีไม่เป็นสถาบนัการเงิน

หน้ีของหน่วยงานภาครฐัอ่ืน หน้ีสินของกองทุนเพ่ือการฟ้ืนฟฯู

รวม 4,448,295 ล้านบาท

3,181,159 (71.51)

1,236,691 (27.80)

30,445.18 (0.69)

Page 48: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

48 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

0

500000

1000000

1500000

2000000

2500000

3000000

3500000

4000000

4500000

5000000

2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

ล้านบ

าท

หน้ีในประเทศ หน้ีต่างประเทศ

แหล่งเงินกู้ของหน้ีสาธารณะ ปี 2539 – 2554 เฉพาะหน้ีของรฐับาลและรฐัวิสาหกิจทีมิ่ใช่สถาบนัการเงิน

รวม 4,417,849 ล้านบาท 351,135.2

(7.9)

4,066,714 (92.1)

Page 49: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

49 บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557)

สดัส่วนหน้ีสาธารณะคงค้างต่อ GDP ของไทย ปี 2539 – 2554

0

10

20

30

40

50

60

2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554

ร้อยล

สดัส่วนหน้ีสาธารณะต่อ GDP

Page 50: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 50

กรอบความยัง่ยืนทางการคลัง

ปีงบประมาณ 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555F

เป้าหมายและตวัช้ีวดักรอบความยัง่ยืนทางด้านการคลงั

ยอดหน้ีสาธารณะคงค้าง/ GDP (ปีงบฯ) ≤ 60 ≤ 55 ≤ 50 ≤ 50 ≤ 50 ≤ 50 ≤ 50 ≤ 60 ≤ 60 ≤ 60 ≤ 60 ภาระหน้ี/งบประมาณ ≤ 16 ≤ 16 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ≤ 15 ดลุงบประมาณ (ล้านบาท) สมดลุภายในปี 2548 รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ - - ≥ 25 ≥ 25 ≥ 25 - - - ≥ 25 ≥ 25 ≥ 25

ผลการด าเนินงานภายใต้กรอบความยัง่ยืนทางการคลงั

ยอดหน้ีสาธารณะคงค้าง/ GDP (ปีงบฯ) 54.0 49.4 48.1 46.1 41.2 36.9 37.3 44.3 41.9 43.6 44.3 ภาระหน้ี/งบประมาณ 10.3 10.7 9.9 9.9 10.7 11.3 10.4 10.2 12.6 10.0 11.4 ดลุงบประมาณ (ล้านบาท) -200.0 -174.9 -99.9 0 0 -146.2 - 165.0 -347.1 -350.0 -400.0 -322.0 รายจ่ายลงทุน/งบประมาณ 21.9 21.2 25.2 25.5 26.3 23.9 24.1 22.0 12.6 16.4 19.9

Page 51: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

4.4 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงั

4.4.1 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงัแบบอตัโนมติั 4.4.2 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงัแบบตัง้ใจ

51

Page 52: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ข้อดี สามารถช่วยรกัษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจได้ คือ ช่วยบรรเทาปัญหา ก่อนท่ีรฐับาลจะใช้นโยบายการคลงัแบบตัง้ใจเพ่ือแก้ไขปัญหาอีกครัง้

นโยบายน้ีช่วยระบบเศรษฐกิจได้ดี ในกรณีท่ีระบบเศรษฐกิจอยู่ใกล้ภาวะการจ้างงานเตม็ท่ี หรือในภาวะเงินเฟ้อ ซ่ึงจะสามารถชะลอการใช้จ่ายมวลรวมไม่ให้เพ่ิมขึน้เกินไป

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 52

4.4.1 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงัแบบอตัโนมติั

Page 53: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ข้อเสีย นโยบายการคลงัแบบอตัโนมติัไม่ได้แก้ไขปัญหา เป็นเพียงการบรรเทาปัญหา ดงันัน้ ถ้าปัญหารนุแรงต้องใช้นโยบายการคลงัแบบตัง้ใจเข้าช่วย

การเกบ็ภาษีเงินได้แบบอตัราก้าวหน้า อาจเป็นตวัถ่วงทางการคลงั (Fiscal drag) ซ่ึงท าให้รายได้ประชาชาติเพ่ิมขึน้ได้น้อย เข้าสู่ระดบัท่ีเกิดการจ้างงานเตม็ท่ีได้ยาก

ไม่เหมาะในภาวะเศรษฐกิจท่ีก าลงัฟ้ืนตวั เน่ืองจาก จะท าให้เศรษฐกิจฟ้ืนตวัได้ช้า จากผลของภาษีท่ีเพ่ิมขึน้ในอตัราท่ีเรว็กว่ารายได้ ขณะท่ีเงินโอนจะเพ่ิมขึน้ในอตัราท่ีลดลงเม่ือรายได้เพ่ิมขึน้

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 53

4.4.1 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงัแบบอตัโนมติั (ต่อ)

Page 54: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ข้อดี เม่ือระบบเศรษฐกิจมีความผนัผวนมาก การอาศยันโยบายการคลงัแบบอตัโนมติัอาจไม่ได้ผล ดงันัน้ จึงต้องอาศยันโยบายการคลงัแบบตัง้ใจเพ่ือใช้เป็นนโยบายแก้ไขปัญหาโดยตรง

ข้อเสีย การปิดช่องว่างเงินเฟ้อ และเงินฝืด ต้องอาศยัผลของตวัคณู ซ่ึงยากท่ีจะทราบค่าท่ีชดัเจนได้

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 54

4.4.2 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงัแบบตัง้ใจ

Page 55: บทที่ 4 นโยบายการคลังecon.tu.ac.th/archan/Napon/EC212_1-57/Lecture/EC212_1_57_Chapter… · ความหมาย ประเภท และเครื่องมือของนโยบายการคลัง

ข้อเสีย เกิดความล่าช้าของระบบการท างาน (Time lag) รบัทราบปัญหา วางแผนนโยบาย รอออกกฎหมาย

ความล่าช้าในการรบัรู้ปัญหา (Recognition Lag)

ความล่าช้าในการด าเนินการ (Implementation Lag) เปล่ียนแปลงยาก ความล่าช้าในการตดัสินใจ (Decision Lag) เหตผุลทางการเมืองท าให้แก้ไขไม่ตรงจดุ

ความล่าช้าในการปฏิบติัการ (Execution Lag) เช่น ระบบราชการ

ความล่าช้าในการออกผล (Response Lag) การคาดการณ์ของผูผ้ลิตและครวัเรือน

บทท่ี 4 นโยบายการคลงั (1/2557) 55

4.4.2 ข้อจ ากดัของนโยบายการคลงัแบบตัง้ใจ (ต่อ)