ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/plearnpit/ch 5... · 2006....

32
1 บทที4 สถาบันการเงิน บทนํา สถาบันการเงินทําหนาที่เปนคนกลาง (Middleman) ระหวางผูมีเงินออมกับผูที่ตองการใชเงิน กลาวคือ สถาบันการเงินจะเปนผูรวบรวมเงินออมจากผูที่มีเงินเหลือใช แลวนําไปปลอยกู แกผูที่มี ศักยภาพในการใชเงิน ไดแกผูที่จะนําเงินนั้นไปลงทุนหาผลประโยชน กอใหเกิดกําไรแกตนเองและแก ผูถือหุตลอดจนสามารถนําเงินกําไรนั้นไปชําระหนี้คืนแกสถาบันการเงินได ทําใหสถาบันการเงินนํา เงินนั้นไปจายดอกเบี้ยแกผูฝากเงินอีกทอดหนึ่ง ธุรกรรมทางการเงินที่ดําเนินการโดยสถาบันการเงิน มีสวนทําใหระบบเศรษฐกิจเจริญเติบโต เพราะการปลอยกูของสถาบันการเงินทําใหมีการลงทุนเพิ่มขึ้น มีการจางงานสูงขึ้น ประชาชนก็มีรายได ดีขึ้น ยังผลใหมาตรฐานการครองชีพของประชาชนโดยรวมดีขึ้น แตในทางตรงกันขาม ถาเกิด วิกฤติการณสถาบันการเงิน ดังที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในป .. 2540 ยอมสงผลใหระบบเศรษฐกิจ ประสบความหายนะอยางใหญหลวงเชนกัน ประเทศไทยมีสถาบันการเงินอยูหลากหลาย ไมวาจะเปนธนาคารพาณิชย ธนาคารเฉพาะกิจ เชน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร หรือที่รูจักกันดีในชื่อยอวา ... ธนาคารเพื่อการ นําเขาและสงออก ธนาคารอาคารสงเคราะห และธนาคารแหงประเทศไทย เปนตน นอกจากนั้นยังมี บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย บริษัทหลักทรัพยจัดการกองทุน บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทประกัน ชีวิต สหกรณการเกษตร สหกรณออมทรัพย เครดิตยูเนียน โรงรับจํานํา ฯลฯ ถึงกระนั้นก็ตามประชาชน สวนใหญยังไมเขาใจความหมายที่ถูกตองทางธุรกิจของสถาบันการเงินเหลานี้เทาใดนัก วัตถุประสงค หัวขอที่เราจะศึกษาในบทนี้มีดังนี้คือ 1. ความหมายของสถาบันการเงิน 2. ประเภทของสถาบันการเงิน 3. ทําไมตองมีสถาบันการเงิน 4. พัฒนาการของสถาบันการเงินในประเทศไทย

Upload: others

Post on 20-Dec-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

1

บทที่ 4

สถาบันการเงิน บทนํา

สถาบันการเงนิทําหนาท่ีเปนคนกลาง (Middleman) ระหวางผูมีเงินออมกับผูที่ตองการใชเงิน

กลาวคือ สถาบันการเงินจะเปนผูรวบรวมเงินออมจากผูที่มีเงินเหลือใช แลวนําไปปลอยกู แกผูที่มีศักยภาพในการใชเงนิ ไดแกผูที่จะนําเงนินัน้ไปลงทุนหาผลประโยชน กอใหเกิดกําไรแกตนเองและแกผูถือหุน ตลอดจนสามารถนําเงินกําไรนัน้ไปชําระหนีคื้นแกสถาบนัการเงนิได ทําใหสถาบันการเงินนําเงินนั้นไปจายดอกเบี้ยแกผูฝากเงินอีกทอดหนึ่ง

ธุรกรรมทางการเงินทีด่ําเนนิการโดยสถาบนัการเงิน มีสวนทําใหระบบเศรษฐกิจเจริญเติบโต เพราะการปลอยกูของสถาบนัการเงินทําใหมีการลงทนุเพิ่มขึ้น มีการจางงานสูงขึ้น ประชาชนก็มรีายไดดีข้ึน ยังผลใหมาตรฐานการครองชีพของประชาชนโดยรวมดีข้ึน แตในทางตรงกันขาม ถาเกดิวิกฤติการณสถาบันการเงนิ ดังที่เกิดขึน้ในประเทศไทยในป พ.ศ. 2540 ยอมสงผลใหระบบเศรษฐกิจ

ประสบความหายนะอยางใหญหลวงเชนกัน ประเทศไทยมสีถาบันการเงนิอยูหลากหลาย ไมวาจะเปนธนาคารพาณิชย ธนาคารเฉพาะกจิเชน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร หรือท่ีรูจกักันดีในชื่อยอวา ธ.ก.ส. ธนาคารเพือ่การ

นําเขาและสงออก ธนาคารอาคารสงเคราะห และธนาคารแหงประเทศไทย เปนตน นอกจากนั้นยงัมีบริษัทเงนิทุน บริษัทหลกัทรพัย บริษัทหลกัทรัพยจดัการกองทุน บริษทัประกันวินาศภัย บริษัทประกันชีวิต สหกรณการเกษตร สหกรณออมทรพัย เครดิตยูเนยีน โรงรับจํานํา ฯลฯ ถึงกระนั้นก็ตามประชาชนสวนใหญยังไมเขาใจความหมายที่ถูกตองทางธรุกิจของสถาบันการเงินเหลานี้เทาใดนัก

วตัถุประสงค หัวขอที่เราจะศึกษาในบทนีม้ีดังนี้คือ

1. ความหมายของสถาบันการเงิน 2. ประเภทของสถาบันการเงนิ 3. ทําไมตองมีสถาบันการเงนิ 4. พัฒนาการของสถาบนัการเงินในประเทศไทย

Page 2: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

2

5. สถาบันการเงนิในประเทศไทย 6. ขอสังเกตเกี่ยวกับสถาบันการเงินไทย

7. ความสําคัญของธนาคารพาณิชยในภาคการเงนิไทย

1. ความหมายของสถาบันการเงิน

เวลาเราเอยถึงคําวา “สถาบันการเงิน” คนสวนใหญมกัจะนึกถึงธนาคารและทกึทักวาสถาบันการเงนิทําหนาที่เพียงการรบัฝากเงนิและการปลอยกูเทานั้น ปจจุบัน สถาบันการเงนิในบานเรามีหลากหลายและใหบรกิารมากมาย ดังนั้น เราควรจะเขาใจถึงขอบเขตและหนาที่กวางๆของสถาบันการเงนิเสียกอนโดยเริ่มดูท่ีคาํจํากัดความของคําวา “สถาบันการเงิน”

Robert O. Edmister ไดใหคําจํากัดความของคําวา “สถาบันการเงนิ” วา หมายถึง “องคกรท่ีทําหนาท่ีเปนเอเยนต นายหนาและตวักลางในการทําธรุกรรมทางการเงิน”1 จากคําจํากัดความดังกลาวแสดงวา “สถาบันการเงิน” นอกเหนือจากการทําหนาที่เปนตัวกลางระหวางผูออมกบัผูขาดแคลนเงินออมหรือผูกูแลว สถาบันการเงินยังทําหนาที่เปนเอเยนตและนายหนาใหแกทั้งผูออมและผูกูไดอีกดวย

ตารางที ่1 แสดงถึงหนาที่หลักของสถาบนัการเงินแตละแหง เชน บริษัทหลกัทรัพย วาณิชธนกิจ ซึ่งทําหนาท่ีเปนเอเยนต(Agent) ธนาคารพาณิชย ธนาคารออมสนิและเครดิตยูเนียนทําหนาที่เปนสถาบันเงินฝาก(depository institutions) บรษิัทประกนัชีวิต ทําหนาที่เปนพอคาปลีกและรับประกัน เปนตน ดังนั้น สถาบันการเงนิจึงทําหนาท่ีหลากหลายกวาท่ีเราเขาใจกนั ดังเชน วาณิชธนกิจ ซึ่งภาษาอังกฤษเรียกวา Investment Bank หรือ Merchant Bank อาจทําใหหลายคนเขาใจผิดวามนัคือธนาคาร เนื่องจากมีคําวาแบงกตอทาย ที่จริงแลววาณิชธนกิจไมใชธนาคาร เนื่องจากจะไมรับฝากเงนิหรือปลอยกูดงัเชนธนาคารทั่วๆไป แตวาณิชธนกิจจะใหคําปรึกษาทางการเงนิและบริการทางการเงินอ่ืนๆ ดังเชน ถาบรษัิทธุรกิจตองการระดมเงินทุนโดยการออกตราสารการเงิน(financial instruments)

ขายโดยตรงแกผูออม หรือที่เรยีกวา direct finance กต็องไปวาจางวาณิชธนกิจใหดําเนินการให โดยผูวาจางตองจายคาธรรมเนยีม เปนคาจางใหแกวาณิชธนกิจ(investment bank)เปนการตอบแทน

คําวา “เอเยนต” ในที่นี้หมายถึง สถาบันการเงินที่ทําหนาที่บางอยางใหแกผูกูหรือผูใหกู เชน ใหคําปรึกษาทางการเงนิ หรอื ซื้อหรือขายตราสารการเงนิ เปนตน

1 Robert Edmister, Financial Institutions: Markets & Management (New York: McGraw-Hill

International Editions, 1987), p. 7.

Page 3: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

3

ตารางที่ 1

หนาท่ีตางๆของสถาบันการเงิน2

สถาบันการเงิน เอเยนต พอคาปลกี สถาบันเงินฝาก ผูรับประกัน วาณิชธนกจิ (Investment Bank)

× ×

นายหนาคาหลักทรัพย (Stockbrokers)

×

กองทุนรวม ( Mutual Funds) ×

บริษัทประกันชีวิต ( Life Insurance Company)

× × ×

บริษัทเงนิทุน (Finance Company)

×

ธนาคารพาณิชย (Commercial Bank)

×

ธนาคารออมสิน ( Saving Bank)

×

เครดิตยูเนยีน ( Credit Union)

×

2. ประเภทของสถาบันการเงิน

เราสามารถแบงประเภทของสถาบันการเงนิไดหลายวธิ ีในหัวขอน้ีจะแบงเปน 3 วิธีดังตอไปนี้คือ

1. Madura ไดแบงสถาบันการเงินออกเปนสองประเภทใหญๆ คือ 1.1 สถาบันเงนิฝาก (depository institutions) และ

2 Thomas Mayer, James Duesenbury and Robert Aliber, Money Banking and The Economy, sixth edition, (New York:

W.W. Norton & Company, 1981). หนา 29.

Page 4: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

4

1.2 สถาบันการเงินทีไ่มรับฝากเงิน (non-depository institutions)

รูปที่ 1 แสดงใหเห็นวา สถาบันเงินฝากไดแก ธนาคารพาณิชย ธนาคารออมสิน และเครดิต

ยูเนยีน3 สวนสถาบันการเงนิที่ไมรับฝากเงนิ (non-depository institutions) ไดแก บริษัทเงนิทุน

(Finance Company) ซึ่งจะระดมทนุโดยการขายตัว๋สญัญาใชเงิน กองทุนรวม (Mutual Funds) ก็ไม

รับเงินฝากจากประชาชน แตจะขายตราสารการเงนิที่เรยีกวาหนวยลงทุน (Unit Trust) บรษิัทประกัน

ชีวิต ระดมทนุโดยการขายกรมธรรมประกนัภัย และเรยีกเก็บคาพรีเมียม นอกจากนั้น บริษัทหลกัทรัพย (Security Company) และกองทุนรวมสาํรองเลี้ยงชีพ (Pension Funds) ก็จัดวาเปนสถาบันการเงินที่

ไมรับฝากเงนิ

ดังนั้น ความแตกตางของสถาบันการเงินทัง้สองอยูตรงทีว่า งบดุล ในดานหนี้สิน มีรายการอะไรเปนหนีสิ้นสําคัญ ถาเปนสถาบันเงนิฝาก(Depository institutions) ตามปกติจะหมายถึงธนาคาร จะมหีนี้สินสวนใหญเปนเงินฝาก สวนสถาบนัการเงินอ่ืนๆที่ไมไดรับเงินฝาก จะมีหน้ีสนิในรูปแบบอืน่ๆซึง่ไมใชเงินฝาก ไดแก พรีเมีย่ม ตั๋วสญัญาใชเงิน เปนตน (ดูตารางที ่2)

2. Robert O. Edmister ไดแบงสถาบันการเงินออกเปนสองประเภทใหญ ๆคือ 4 (ดูรูปภาพที่ 1)

2.1 ตัวกลางทางการเงนิ (financial intermediaries) และ

2.2 เอเยนตและนายหนา (Agents and Brokers)

นอกจากนั้นยงัไดแบงตวักลางทางการเงนิ (Financial intermediaries) ออกเปน 3 ประเภท

คือ1. สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเงินทีใ่ชหนังสือสัญญาในการทําธุร-

กรรมทางการเงิน (contractual institutions) ซึ่งไดแก บริษัทประกันชวีิต กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

(pension funds) และ 3. Conduit ซึ่งไดแก ทรัสตที่ลงทุนในอสังหาริมทรัพย เปนตน

3. Glenn Hubbard5 ไดแบงสถาบันการเงนิออกเปน 5 ประเภท ดังนี:้

3.1 สถาบันการเงินทีเ่กีย่วของกับตลาดหลกัทรัพย ไดแก วาณิชธนกิจ (Investment Banks)

บริษัทหลกัทรพัย ตลาดหลักทรัพย

3 เครดิตยูเนียนเปนสถาบันการเงนิขนาดเลก็ ไมแสวงหากําไร มีลกัษณะคลายคลึงกับสหกรณออมทรัพย ในประเด็น

ที่วาผูที่จะมาใชบริการตองเปนสมาชกิ โดยการซื้อหุน 4 Ibid., 5 Glenn Hubbard. Money, the Financial System, and the Economy. Fourth Edition. Boston, Pearson

Education, Inc. 2002. p. 278.

Page 5: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

5

รูปภาพที่ 1

ประเภทของสถาบันการเงิน6

สถาบันการเงิน

ธนาคารพาณิชย ธนาคารออมสิน สถาบันเงินฝาก เครดิตยูเนีย่น (Depository institutions)

สถาบันการเงินที่ใชหนังสือ ตวักลางทาง บริษัทประกันชีวิต สัญญาในการทําธรุกรรม การเงิน กองทุนสํารองเลี้ยงชพี (Contractual institutions) (Financial Intermediaries)

Investment Company กองทุนที่ลงทนุใน Conduit

อสังหาริมทรพัย

สถาบันการเงิน

(Financial institutions)

วาณิชธนกิจ เอเยนตและ บริษัทหลกัทรพัย นายหนา

(Agents and Brokers)

6 Ibid.,

Page 6: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

6

ตารางที่ 2 หนี้สินและทรพัยสินที่สําคญัของสถาบันการเงินประเภทตางๆ

สถาบันการเงิน หนี้สิน ทรัพยสนิ

1. สถาบันรับฝากเงิน

ธนาคารพาณิชย เงินฝาก การปลอยกูเพือ่ภาคธรุกจิและการบรโิภค

ธนาคารออมสิน เงินฝาก การปลอยกูแกรัฐบาล แกภาคธุรกิจ ประชาชนทั่วไป และ

ตลาดเงนิ ธนาคารอาคารสงเคราะห เงินฝาก การปลอยกูเพือ่ซื้อบาน

เครดิตยูเนยีน เงินฝาก การปลอยกูเพ่ือการบรโิภค 2. สถาบันการเงินที่ใชสัญญาในการทําธรุกรรม

บริษัทประกันชีวิต พรีเม่ียม ซื้อหลักทรัพยรัฐบาล บริษัทประกันวนิาศภัย พรีเม่ียม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ นายจางและลกูจางจายสมทบเขา

กองทุน

3. สถาบันการเงินที่เนนการลงทุน

บริษัทเงนิทุน ตั๋วสัญญาใชเงนิ ปลอยกูเพื่อซื้อรถยนตและบาน

3.2 สถาบันการงเงินเพื่อการลงทุน (Investment Institutions) ไดแก บริษัทหลกัทรัพยจัดการกองทุน บริษทัเงินทุน

3.3 สถาบันเงนิออมโดยการใชสัญญา(Contractual saving institutions) ไดแก บริษัทประกนัชีวิต บรษิัทประกันวินาศภัย กองทุนบํานาญเลี้ยงชพี

3.4 สถาบันเงนิฝาก ไดแก ธนาคารพาณิชย ธนาคารเงินออมและเครดิตยูเนยีน และ 3.5 สถาบันการเงินของรัฐ

Page 7: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

7

ตารางที ่ 2 แสดงถึงสินทรัพยและหนี้สนิหลักของสถาบันการเงินประเภทตางๆ ตารางนี้แสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา เฉพาะสถาบันเงินฝาก (Depository institutions) เทานั้น ทีม่ีหน้ีสินสําคัญ

เปน เงินฝาก สวนสถาบันการเงินอ่ืนๆ จะไมมีหนี้สินเปนเงินฝากจากสาธารณะชนเลย ดังจะเห็นวา สถาบันเงินออมที่ใชหนังสือสัญญาในการทําธุรกรรม ไดแก บริษัทประกันชวีิต บริษทัประกันวินาศภัย(Fire and Casualty insurance company) ซ่ึงมีเบ้ียประกันเปนหนี้สินสําคัญ กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ (กบข.) มีหน้ีสินเปนการระดมทนุจากทั้งนายจางและลกูจางที่ตอจายเงินสมทบเขากองทุน

สวนสถาบันการเงินประเภทสุดทายคือ สถาบันการเงนิที่เนนการเปนตัวกลางในการลงทนุ(Investment institutions) ไดแกบริษัทเงินทุน ซึ่งมีหน้ีสินสําคัญคือตราสารพาณิชย หุนและพันธบัตร สวนกองทุนรวม มีหนี้ที่สําคัญคือ หนวยลงทุน (Unit trust)

3. ทําไมตองมีสถาบันการเงิน

สาเหตุที่ทําใหเกิดสถาบนัการเงินขึน้ในระบบเศรษฐกิจ เนื่องจากวาสถาบันการเงินไดทําหนาท่ีท่ีสําคัญ 4 ประการ ไดแก 1. สถาบันการเงินจะเขามารวมรับความเสีย่ง (Risk-sharing)

2. สถาบันการเงินจะใหบรกิารสภาพคลอง (liquidity) 3. ใหขอมูลขาวสาร (Information) แกผูเกี่ยวของในตลาดการเงนิ โดยเฉพาะผูกูและผูใหกู และ 4. ชวยลดตนทุนในการทําธรุกรรมทางการเงิน (transaction costs)

เราสามารถอธบิายประเดน็ที ่1 โดยต้ังคําถามที่นาสนใจดงันี้ คือ ทําไมผูมีเงินออมจึงไมปลอยกูเสียเอง แตกลบันําเงินไปฝากไวที่สถาบันการเงนิ? ตัวอยางที่เห็นชัดเจน ไดแก ชวงหลังวิกฤติเศรษฐกิจการเงนิเอเชยี ธนาคารจายดอกเบี้ยเงนิฝากลดลงมาโดยตลอด ในชวงป 2542-2547 แตยอดเงินฝากที่ธนาคารพาณิชยกลับสูงขึ้น

เราอาจตอบคําถามขางตน โดยถามตนเองวา ถาเรามเีงิน 100, 000 บาท ทําไมไมใหเพือ่นฝูงหรือคนรูจักกู แตกลับนําเงนิไปฝากทีธ่นาคาร คําตอบกคื็อ ถาเราใหเพ่ือนฝูงกู เราตองเผชญิกับความเส่ียงสูง เนื่องจาก เราจะแนใจไดอยางไรวา เมื่อครบกําหนดแลว ผูกูจะนําเงินมาคืน แตถาเรานําเงนิไป ฝากทีธ่นาคาร เนื่องจากธนาคารมีผูฝากเงนิและผูกูจํานวนมาก ธนาคารกจ็ะนําเงินของเราไปรวมกบัของผูฝากรายอืน่ๆ กลายเปนเงินกอนใหญ แลวจึงนําไปปลอยกูและลงทุน ซึง่สามารถกระจายการกูและการลงทุนไดหลากหลาย เทากับเปนการลดความเสี่ยง ในประเด็นนี้เทากับวา ธนาคารเขามาแบงปนความเส่ียง (risk-sharing) กับผูออม

Page 8: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

8

ประเด็นที่ 2 สถาบันการเงนิจะใหบริการสภาพคลองแกผูออม เมื่อผูออมขาดสภาพคลอง มีปญหาตองการใชเงนิ เชน ตองจายคาซอมแซมบาน จายคารักษาพยาบาล ก็สามารถไปขอยืมจากธนาคารไดทุกเมื่อ ในประเด็นท่ี 3 สถาบันการเงินจะเก็บรวบรวมขอมลู ตลอดจนประมวลขอมูลเหลานัน้ เชน อัตราผลตอบแทนของพันธบตัรตางๆ ของบริษัทธรุกิจตางๆ แลวเผยแพรใหแกผูออม ซึ่งไมมีเวลาหรือเงินทุนที่จะหาขอมูลเหลานี้ ตนทุนการเก็บขอมูลของธนาคารจะต่ํากวาตนทุนการเก็บขอมูลของผูออมแตละคน ขอมลูของธนาคารจะชวยใหผูออมตัดสินใจลงทุนไดดีข้ึน ประเด็นสุดทาย สถาบันการเงินโดยเฉพาะตัวกลางทางการเงิน เชน ธนาคารจะชวยลดตนทุนในการทําธุรกรรม (transaction costs) ทางการเงนิ และชวยใหผูออมและผูกูรายยอยไดรับประโยชนจากตลาดการเงิน การกูยืมเงนิในตลาดการเงนิ ทั้งผูกูและผูใหกูตางก็มีคาใชจายหรือตนทุนในการทําธรุกรรมท่ีเรยีกวา transaction costs จะขอยกตัวอยางเกี่ยวกับปญหา transaction costs 2 กรณี ดังนี ้ กรณีที่ 1 คุณตองการเลนหุน แตมีเงินออมอยูเพยีง 30, 000 บาท ซึ่งจะซื้อหุนไดจํานวนนอย นอกจากนั้น ยงัตองจายคาธรรมเนยีมใหแก broker อีกดวย หรือคุณอยากลงทุนในตราสารหนี้ คุณกซ็ื้อไมได เนื่องจากคุณตองซื้อ 500, 00 บาท เปนอยางต่ํา คุณอาจรูสึกผิดหวัง การมเีงินออมนอย ทําใหไมสามารถหาประโยชนจากตลาดการเงินไดมากนัก น่ีคือความจริงที่เกิดขึน้ในประเทศไทย ท่ีวา ในประเทศไทย ซึ่งมีประชากร 63 ลานคน แตมีผูเลนหุนอยูเพยีง.......ราย กรณีที่ 2 การที่คุณมเีงินออมนอย ความสามารถในการหารายไดมีจํากัด คุณไมสามารถกระจายการลงทุน (diversify) ออกไปไดหลายประเภท ทําใหมีความเสี่ยงสูง ดวยเหตุน้ี การมีตัวกลางทางการเงนิจะชวยลดลดตนทนุในการทําธรุกรรม (transaction

costs) ทางการเงิน ดวยวธิกีาร ดังนี้ 1. การประหยัดจากขนาด (Economies of Scale)

การแกไขปญหาตนทุนในการทําธรุกรรม (transaction costs)ทางการเงินสูง สามารถทําไดโดยการนําเงินออมของรายยอยๆ เขามารวมกันเปนกอนใหญ แลวนําไปลงทุน ทําให transaction

costs ลดลง ในแตละบาททีล่งทุนสูงขึ้น เชน การซื้อหุน 100,000 หุน กับ 1,000 หุน transaction

costsไมไดแตกตางกันมากนกั ตัวอยางของตัวกลางทางการเงินท่ีเกิดจากการประหยัดจากขนาด คือ กองทุนรวม (mutual funds) ซึ่งสามารลด transaction costs โดยการระดมเงินออมจากรายยอย แลวนําไปลงทนุเปนเงินกอนใหญ นอกจากนัน้ ยังมีความเสี่ยงต่ํา เพราะสามารถกระจายการลงทุนไดหลากหลาย

Page 9: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

9

2. ทําตนใหมีความเชี่ยวชาญและชํานาญการ (expertise) ตัวกลางทางการเงินสามารถลด transaction costs โดยการพฒันาตนเองใหมีความชํานาญการและเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เชน นําเทคโนโลยีทางคอมพวิเตอรเขามาใช ทําใหตัวกลางทางการเงนิเสนอบริการทีร่วดเร็ว เชน ลูกคาสามารถใช internet ในการโอนเงินตางๆได สามารถสอบถามการลงทนุของตนเองได ผลที่ตามมาของการที่ตวักลางทางการเงินมี transaction costs ต่ํา ทําใหลูกคาประกอบธุรกิจ

ของตนสะดวกงายดายข้ึน 4. พัฒนาการของสถาบันการเงินในประเทศไทย รูปภาพที ่2 เปนการสรุปใหเห็นถึงพัฒนาการของสถาบันการเงินในประเทศไทย ซึ่งเริ่มตนจากการกอตั้งธนาคารพาณิชยแหงแรกในสมัยพระบาทสมเด็จพระจลุจอมเกลาเจาอยูหัว จนกระท่ังถึงสถาบันการเงนิที่ถูกจัดตั้งขึน้หลังวกิฤติเศรษฐกิจการเงนิป พ.ศ. 2540 และ 2541 ในสมัยรัฐบาลชวน 2 และ ในป พ.ศ. 2545 ในสมัยรฐับาล พ.ต.ท. ทักษณิ ชินวัตร ไดจัดตั้งบรรษัทบริหารสินทรพัยไทย เพื่อเขามาจัดการกับหนีเ้สียในระบบสถาบันการเงนิโดยเฉพาะของภาครฐั

รูปภาพที ่2 ช้ีใหเห็นวา กอนป พ.ศ. 2431 ประเทศไทยไมมีสถาบนัการเงินเลย การกูยืมเงนิในสมัยนัน้ตองทํากันนอกระบบ เชน การกูยืมระหวางเครือญาต ิเพ่ือนฝูง และบุคคลท่ีรูจักมกัคุนกัน เปนการกูยืมกนัในวงจํากดั นอกจากนั้น การกูยืมเงนิกันนอกระบบจะมีวงเงินคอนขางจํากัด การที่จะกูเงินกันเปนเรือนแสนหรือเรอืนลานบาทกค็งเปนไปไดยาก ดังนั้นการไมมีสถาบันการเงินในระบบจึงเปนอุปสรรคตอการทํามาหากินของประชาชน นักธรุกจิไมสามารถกูเงนิไปลงทนุหรอืทํามาคาขายได ทําใหระบบเศรษฐกิจในขณะนั้นไมเจรญิเทาท่ีควร

พระบาทสมเดจ็พระจลุจอมเกลาเจาอยูหัวไดทรงเล็งเห็นถึงปญหานี ้จึงทรงมีพระราชประสงคท่ีจะจดัตั้งธนาคารพาณิชยของไทยขึ้น เพือ่ใหเศรษฐกิจไทยเจรญิกาวหนาดังอารยะประเทศ7 แตเนื่องจากประชาชนสวนใหญไมรูจกัและยังไมเขาใจเกีย่วกับธรุกจิธนาคารพาณิชย จึงทรงเริ่มดวยการมีพระบรมราชานุญาตใหธนาคารพาณิชยตางประเทศมาเปดสาขาในประเทศ ธนาคารพาณิชยตางชาติแหงแรกที่มาเปดสาขาในประเทศไทย ไดแก ธนาคารของประเทศอังกฤษคือธนาคารฮองกงและเซีย่งไฮ (Hong Kong & Shanghai Banking Corporation) ในป พ.ศ. 2431 นับเปนธนาคารพาณิชยแหงแรกในประเทศไทย

ตอมาไดมีสาขาธนาคารพาณชิยตางประเทศอีกหลายแหงไดเขามาตั้งสํานักงานในประเทศไทย ดังเชน ในป พ.ศ. 2437 ธนาคารชารเตอร (The Charter Bank Ltd.) ไดรับพระบรมราชานุญาตให

7 ชัยชาญ วิบุลศลิป, เจาะวิกฤตสถาบันการเงินไทย, (กรุงเทพฯ, 2541) หนา 1.

Page 10: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

10

รูปภาพที่ 2

พ.ศ. 2431

พ.ศ. 2449

พ.ศ. 2485 สถาบันการเงินในตลาดทุน องคกรเฉพาะกจิเพือ่แก

ปญหาสถาบันการเงิน

พ.ศ. 2540

พ. ศ. 2541

พ.ศ. 2544

พัฒนาการของสถาบันการเงินในประเทศไทย

การกูยืมนอกระบบ

สาขาธนาคารพาณิชยตางประเทศ

ธนาคารแหงประเทศไทย

สถาบันการเงินเฉพาะกจิ

• ธนาคารออมสนิ 2489

• ธนาคารเพือ่การเกษตรฯลฯ 2509

สถาบันการเงินอืน่ๆนอกเหนือธนาคารพาณิชย

• บริษัทเงินทุน

• บริษัทประกันชีวิต

• ตลาดหลกัทรพัยแหงประเทศไทย 2518

• ตลาดพนัธบัตร 2541

• องคการเพือ่ปฏิรูประบบสถาบันการเงิน (ปรส.)

• บรรษัทบริหารสินทรัพยสถาบันการเงิน(บบส.)

• บรรษัทตลาดรองสินเชือ่ท่ีอยูอาศยั(บตท.)

ธนาคารรัตนสนิ

ธนาคารพาณชิยไทยแหงแรก

บรรษทับริหารสินทรัพยไทย

Page 11: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

11

จัดตั้งเปนธนาคารที่สองและในป พ.ศ. 2440 ก็มีพระบรมราชานญุาตใหตั้งธนาคารแหงอินโดจนี (Banque de L' Indochina Ltd.) ของฝรัง่เศสเปนธนาคารที่สาม8

แตอยางไรก็ตาม สาขาธนาคารพาณิชยของตางชาติมักจะปลอยกูใหกับลูกคาที่มีสัญชาติเดียวกับตน พอคาคนไทยและคนจีนท่ีทําธุรกิจในประเทศไทยมโีอกาสนอยมากที่จะไดรับเงินกูจากสาขาธนาคารพาณิชยตางชาติ จึงไดมีความพยายามทีจ่ะกอตั้งธนาคารพาณิชยของคนไทยขึ้น แตก็เปนการกระทําแบบคอยเปนคอยไป ซึ่งชัยชาญ วิบลุศิลป ไดบรรยายไวดังนี้

"….เมื่อทรงเห็นวาธนาคารตางชาติไดเปดดําเนินธุรกิจรองรับการคาระหวางประเทศ ซึ่งเอ้ืออํานวยประโยชนแกพวกตนที่เขามาทําการคาขายอยูในประเทศไทย ไมไดอํานวยประโยชนแกพอคาคนไทย ในขณะดียวกันก็ทรงเห็นวาเนื่องจากประชาชนคนไทยสวนใหญยังไมคอยเขาใจในธุรกิจธนาคารพาณิชย นัก เกรงวาจะไมเปนท่ีนิยมของประชาชนเพราะเปนเรื่องใหม ถาตั้งขึ้นแลวไมประสบความสําเร็จก็จะเสีย หาย จึงทรงใหเปดดําเนินการอยางเดียวกับธนาคารพาณิชย เร่ิมทดลองเปนการภายในตั้งแตเดือนตุลาคม พ.ศ. 2447 เร่ิมรับเงินฝากจากกลุมคนท่ีเช่ือถือและใหกูยืม มีทนุเร่ิมแรกสามหมื่นบาท และเรียก กิจการนี้

วา" บุคคลัภย (Book Club)" เมื่อเร่ิมมีความนิยมเช่ือถือมากขึ้น จึงขอพระราชทานพระบรม รา

ชานุญาตจัดตั้งเปนแบงกสยามกัมมาจล ทุนจํากัด (Siam Commercial Bank Co., Ltd.) ซึ่งไดรับพระราชทานอํานาจพิเศษและเปดทําการเมื่อวันท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2449 โดยมีเงินทุนสามลานบาท แบงเปน 3,000 หุน มูลคาหุนละ 1,000 บาท มีพระบรมวงศานุวงศ ขุนนางชั้นผูใหญ ชาวตางชาต ิพอคาชาวจีน และพระคลังขางที่เขาถือหุนดวย ท่ีใหชาวตางประเทศเขาถือหุนดวย เพราะทรงดําริหใหขยายกิจการเพื่อธุรกิจดานแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศดวย เพื่อใหดําเนินธุรกิจธนาคารพาณิชยเชนเดียวกับธนาคาพาณิชยของชาติตะวันตก ตอมาวันท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2482 ไดเปล่ียนช่ือเปนธนาคารไทยพาณิชย

จํากัด นับเปนธนาคารพาณิชยไทยแหงแรกที่มีประวัติความเปนมายาวนาน…"9 หลังจากไดมีการจัดตั้งธนาคารพาณิชย ไทยขึ้นเปนแหงแรกในป พ.ศ. 2431 แลว หลังจากน้ัน อีก 36 ปตอมา จึงไดมกีารจัดตั้งสถาบันการเงินของทางการขึ้นคอืธนาคารแหงประเทศไทย ในป พ.ศ. 2485 เพื่อ ใหเปนธนาคารกลางของประเทศสยาม และเพื่อกํากบัดูแลสถาบันการเงนิ ตอมา รัฐบาลไดมีการจดัตั้งธนาคารเฉพาะกิจขึ้นมาหลายแหง ไดแก ธนาคารออมสนิ ในป พ.ศ.2489 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรหรือ ธ.ก.ส. ในป พ.ศ. 2509 และ ธนาคารอาคารสงเคราะห ในป พ.ศ. 2496 เปนตน

ในทศวรรษ 2503 สถาบันการเงินประเภทอื่นๆ ที่ไมใชธนาคารพาณิชย ไดถูกจดัตั้งขึน้ ไดแก บริษัทเงินทุน บริษัทประกันชวีิต เปนตน จนกระท่ังป พ.ศ. 2518 จึงไดมีการจัดตั้งตลาดหุน

8 Ibid., 9 Ibid., หนา 2.

Page 12: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

12

ข้ึนที่มีช่ือเรียกอยางเปนทางการวา ตลาดหลักทรพัยแหงประเทศไทย (Stock Exchange of

Thailand-SET) ท้ังนี้เพื่อเปนการพัฒนาตลาดทุน (Capital Market) และเพ่ือเปนแหลงเงินทุนระยะยาวสําหรับภาคธุรกิจ

ในชวงหลังวกิฤติเศรษฐกิจการเงินเอเชีย พ.ศ. 2540 รัฐบาลไทยประสบกับปญหาดานงบประมาณเปนอยางมาก เนื่องจากรายรับของรัฐบาลไมเพียงพอกับการใชจาย ตลอดจนเพื่อแกปญหาสถาบันการเงนิ รัฐบาลตองกูเงินโดยการออกพันธบัตรรัฐบาล และในชวงนีเ้องท่ีธนาคารพาณิชยประสบปญหามาก มีหน้ีที่ไมกอใหเกิดรายไดหรือเอ็นพแีอล (Non-Performing Loans-NPL) จํานวนมหาศาล ธนาคารพาณิชยจึงระมัดระวังในการปลอยสินเชื่อ ทั้งๆท่ีสภาพคลองในระบบธนาคารพาณิชยมีอยูสงูถึงหกแสนลานบาท ทําใหธุรกิจขาดเงินทุนในการประกอบธุรกิจ ธรุกจิขนาดใหญจึงหันไปกูเงินโดยตรงจากผูออม(Direct Finance) โดยการออกขายหุนกู ดังนั้น ในระยะนีร้ัฐบาลก็พยายามพัฒนาตลาดพนัธบตัร(Bond Market) โดยการออกขายพันธบัตรรัฐบาล เพื่อใชเปนดอกเบ้ียอางอิง (Bench Mark) สําหรับหุนกูของภาคเอกชน ในป พ.ศ. 2540 รัฐบาลไดจัดตั้งองคกรเฉพาะกิจขึน้มาหลายแหง เพ่ือแกไขปญหาสถาบันการเงนิ เชน องคการเพื่อการปฏริูประบบสถาบันการเงนิ (ปรส.) บรรษัทบริหารสนิทรัพยสถาบันการเงนิ (บบส.) เปนตน ในเดือน มกราคม พ.ศ. 2541 รัฐบาลชวน 2 ไดจัดตั้งธนาคารรัตนสินขึ้นมา เพ่ือรบัซื้อสินทรัพยคุณภาพดจีากบริษัทเงินทุนท่ีถูกปดกิจการ แตในที่สุดกถ็ูกขายใหตางชาติไป และเปลี่ยนชื่อเปนธนาคารยโูอบี รัตนสิน จํากัด (มหาชน) ตอมาเมื่อวนัที่ 28 พฤศจกิายน 2548 ธนาคารแหงนี้ไดรับการอนุมตัิจากทางการใหรวมกิจการกับธนาคารเอเชยี จาํกัด (มหาชน) และเรยีกชื่อใหมวา ธนาคารยูไนเตด็ โอเวอรซีส (ไทย) จํากัด (มหาชน)10 ในป พ.ศ. 2544 เปนปที่ประเทศไทยไดเผชิญกับวิกฤติเศรษฐกิจมาแลวเปนเวลาสี่ป และเปนปที่ประเทศไทยมีธนาคารพาณิชยมาเปนเวลา 110 ปแลว แตดูเหมือนวาธนาคารพาณิชยไทยยังอยูในฐานะออนแอ ไมมีความมั่นคง มีสินทรัพยที่ไมกอใหเกิดรายไดจํานวนมหาศาล จนกระทั่งรัฐบาล พ.ต.ท. ทักษณิ ชิณวัตร ที่เขามาบริหารประเทศในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2544 เสนอกฎหมายจัดตั้งบรรษัทบริหารสินทรัพยไทย (บ.ส.ท.) หรือ Thai Asset Management Corporation (TAMC) ข้ึนในป พ.ศ. 2544 เพื่อแกปญหาสินทรพัยที่ไมกอใหเกิดรายไดของสถาบันการเงนิ

ในป พ.ศ. 2546 ถึงแมจะไดมีการจัดตั้งบรรษัทบริหารสินทรัพยไทยมาแลวเปนเวลาสองป แตสถานการณของธนาคารพาณิชยไทยกยั็งไมกระเตื้องขึ้นเทาใดนัก ปญหาเอ็นพีแอลและปญหาการเพิ่ม 10 รายงานประจําป ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอรซีส (ไทย) จํากัด (มหาชน) 2548.

Page 13: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

13

ทุนของธนาคารพาณิชยบางแหงยังปรากฏอยู ดังจะเห็นไดจากกรอบที่ 1 ซึ่งเปนการวเิคราะหของฟทช เรทติ้ง (ประเทศไทย) ซ่ึงเปนสถาบันจดัอันดับเครดิตอีกแหงในประเทศไทย

กรอบท่ี 1

ฟทชชี้เอ็นพแีอลขวางแบงกฟนชา ฟทชประเมินเศรษฐกิจไทยชวง 2-3 ป มีเสถียรภาพเปนบวก แตภาคธนาคารยังอยูบนเสนทางฟนตัว

เชื่องชาในภาวะดอกเบี้ยต่ํา เนื่องจากสินทรัพยในระบบยังคงแย ตองเรงแกปญหาคุณภาพสินทรัพยเพิ่มทุน และกนัสํารองหนี้สูญใหไดมาตรฐานสากล ขณะที่ พัฒนสิน-ธนชาติแนะถือหุนแบงกปานกลาง ชี้แมกําไรไตรมาส 2 จะด ี

แตครึ่งปหลังไดรับผลกระทบจากรายไดดอกเบี้ยหด

นายวินเซนต มิลตัน กรรมการผูจัดการใหญของฟทช เรทติ้งส (ประเทศไทย) กลาวในงานสัมมนา "การใหเครดิตบริษัทเอกชนและธนาคาร" ท่ีโรงแรมคอนราด วานนี ้(9) โดยใหขอมูลเนนการมองแนวโนมของสถาบันการเงินไทย สรุปวา ในชวง 2-3 ปท่ีผานมา มองเห็นสัญญาณหลายอยางที่บงบอกวา เศรษฐกิจไทยโดยรวมมีเสถียรภาพดีข้ึน

โดย นายมิลตัน อธิบายกวา ภาคการเงินไทย มีการชําระคืนหนี้สกุลดอลลารสหรัฐไปแลวเปนจํานวนมาก สภาพคลองในระบบฟนตัวได ดวยมูลหน้ีระยะส้ันของภาคการเงินลดลง ระบบธนาคารปรับตวัดีข้ึนอยางชาๆ การจัดตั้งบรรษทับริหารสินทรพัยของไทย (ทีเอเอ็มซี) ดําเนินการไดดวยความรอบคอบ การลงทุนเริ่มฟนตัวดีข้ึน แมแตภาคกอสรางก็ฟนตัวแลว ขณะท่ีหน้ีภาครัฐเทียบจีดีพี มีแนวโนมจะปรับข้ึนในระยะกลาง แตภาวะนี้อาจกอใหเกิดความเส่ียงได เปนความเส่ียงทางดานการคลัง ท่ีสามารถแกปญหาไดถาหากภาคการเงินไทยกลับคืนสูภาวะขยายตัวไดอีก

อยางไรก็ตาม ผูบริหารของฟทช เตือนวา แมมีสัญญาณการฟนตัวของเศรษฐกิจโดยรวม แตในภาคการเงินของไทยยังคงมีปญหาใหเห็นอยู ในภาวะแวดลอมดอกเบี้ยยังคงตํ่า โดยภาคธนาคารไทยไมควรวางใจในเมื่อการปฏิรูปโครงสรางภาคการเงิน ยังเปนเรื่องจําเปน และยังตองดําเนินการตอไปอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะภาคธนาคารของไทย ยังอยูบนเสนทางไปสูการฟนตัวอยางเช่ืองชา

"ภาคธนาคารไทยฟนตัวไดปานกลาง กิจกรรมของบริษัทเอกชนคลองตัวข้ึน ภาคเศรษฐกิจแทจริงฟนตวัดึงใหแบงกฟนตามดวยแบบคอยเปนคอยไป แตการฟนตัวสะทอนวา ภาคธนาคารไทยโดยเฉพาะแบงกท่ีออนแอบางแหงยังจําเปนตองแกปญหาเรื่องการเพิ่มทุน กันสํารองใหไดตามมาตรฐานสากล" นายมิลตันกลาว

เขาตั้งขอสังเกตวา กําไรสุทธิของภาคธนาคารฟนตัวแลวในชวง 2-3 ปท่ีแลว แตในชวง 6-12 เดือนที่ผานมา มีหลายธนาคารที่ปลอยสินเชื่อเชิงรุก โดยเนนคุณภาพ แตปลอยกูไดนอย ทําใหเกิดแรงกดดันกับงบบัญชีธนาคาร และกดดันกําไรจากสวนตางดอกเบี้ยดวย

นอกจากนี้ คุณภาพสินทรัพยของภาคธนาคารไทยออนแอ มีเพียงธนาคารดบีีเอสไทยทนุ ท่ีมีหนี้ท่ีไมกอรายไดนอย (เอ็นพีแอล) ท่ีสุด เพราะยอมขายหนี้สวนนี้ออกไป คาดวา เอ็นพีแอลในระบบยังคงสูงในอีก 2-3 ปขางหนา จึงจําเปนที่ธนาคารไทยตองจัดการหน้ีเสียใหลดลง หรือสะอาดโดยเร็ว เขามองปญหาที่เกดิจากพัฒนาการภาคธนาคารไทยหลังป 2540 วา การปลอยกูของธนาคารรัฐในฐานะธนาคารทีส่นองนโยบายรฐัขยายตัวอยางมาก ซ่ึงเปนการปลอยกูใหกับธุรกิจขนาดเล็ก และคนระดับลาง

นายมิลตัน สรุปในชวงทายวา แรงผลักดันสําคัญทําใหกําไรภาคธนาคารลดลง คือ ตนทุนจากแหลงทุนและการตดัลดตนทุนดําเนินงาน การปรับโครงสรางภาคเอกชนลาชา การลงทุนเกิดข้ึนนอย เพราะสินเชื่อขยายตัวต่ํา จะกดดันใหการฟนตัวของกําไรในกลุมธนาคารที่แข็งแกรง ขณะท่ีธนาคารที่ออนแอกวา จะมีความสามารถทาํกําไรดอยลง และเส่ียงตอการถูกแทรกแซง

"เอ็นพีแอลกับสินเชื่อปรับโครงสรางที่มีอยูมาก เปนความเส่ียงท่ีขวางการฟนตัวของแบงกไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งหากดอกเบี้ยปรับข้ึน การแขงขันที่มีมากข้ึน ระหวางแบงกตางชาตกัิบแบงกรัฐ จะสรางแรงกดดันใหกับความสามารถทํากําไร และมาตรฐานการใหสินเชื่อของแบงกอยางตอเน่ือง คนระดบักลางจะหนุนใหสินเชื่อเพื่อรายยอยเติบโต แตมาตรฐานของระบบกับโครงสรางที่ออนแอนําไปสูปญหาไดในอนาคต ความเส่ือมถอยในการใชสิทธิของเจาหนี้ และกรอบงานปรับโครงสรางหนี้ เชน กรณีทีพีไอจะเปนภัยคุกคามความฟนฟูระบบสินเชื่อโดยรวม" นายมิลตนั กลาว

ที่มา: หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ 10 กรกฎาคม 2546

Page 14: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

14

5. สถาบันการเงินในประเทศไทย ตารางที ่3 เปนสรุปขอมูลสาํคัญๆ ของสถาบันการเงินในประเทศไทย ไดแก วันที่ท่ีสถาบันการเงนิแตละประเภทเริ่มเปดดําเนนิการ จํานวนกิจการ จํานวนสาขา เงินฝากหรือเทียบเทา เงินกองทุนและสินเชื่อ สําหรับวันที ่30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ซึ่งเปนชวง 1 ปหลังจากที่ประเทศไทยประสบกับวิกฤติเศรษฐกจิการเงินเอเชยี (Asian Financial Crisis)

วิกฤติเศรษฐกจิการเงินเอเชยีสงผลกระทบตอสถาบันการเงินของไทยอยางใหญหลวง ทําใหสถาบันการเงนิของไทยออนแอลงอยางมาก สถาบันการเงินบางประเภท เชนบรษิัทเงินทุนถูกปดกิจการไปถึง 56 ราย สวนธนาคารพาณิชยไทย โดยเฉพาะธนาคารขนาดเล็ก รัฐบาลไดเขายึดกิจการ ดังนั้น ธนาคารพาณิชยที่เอกชนเปนเจาของมีจํานวนนอยลง นอกจากนั้นชาวตางประเทศไดเขามาซื้อหุนธนาคารของคนไทยมากขึ้น ทําใหธนาคารพาณิชยหลายแหงมีชาวตางชาติถือหุนเกินกวา 50 เปอรเซ็นต ตารางที ่3 ระบุวา ณ วันที ่30 มิถุนายน พ.ศ. 2541 ประเทศไทยมธีนาคารพาณิชยอยู 36

แหง เปนธนาคารพาณิชยไทย 13 แหง นั่นคือเปนธนาคารพาณิชยทีจ่ดทะเบยีนในประเทศไทย เปนสาขาธนาคารพาณิชยตางประเทศ 23 แหง มีบรษิัทเงินทุนเหลืออยู 36 บรษิัท (จากเดิมท่ีมีอยูประมาณ 90 กวาแหง ในป พ.ศ. 2539) มีบริษัทประกันชีวิต 25 บริษัท จากเดิมท่ีมีอยูเพียง 13

บริษัท ทั้งนี้เปนไปตามนโยบายเปดเสรีบรษิัทประกนัของรัฐบาลในขณะนัน้ กลาวคือ ในวนัท่ี 26

มีนาคม พ.ศ. 2540 คณะรัฐมนตรรีัฐบาลพลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ ไดมีมติอนุมัติใหจัดตั้งบริษัทประกันชวีิตเพิม่ขึ้นอีก 12 แหง

นอกจากนั้นประเทศไทยก็มสีถาบันการเงนิเฉพาะกิจอยูพอสมควร เชน ธนาคารออมสิน สหกรณการเกษตร บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม ธนาคารเพือ่การสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย เปนตน

ขอที่นาสังเกตเกี่ยวกับตารางที่ 3 คือ ในป พ.ศ. 2540 ซึ่งเปนปแรกท่ีประเทศไทยประสบกับวิกฤติเศรษฐกจิรายแรงที่สุดนับตั้งแตสงครามโลกครั้งที ่2 เปนตนมา รัฐบาล นายชวน หลีกภยั ซึ่งบริหารประเทศมาตั้งแตเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2540 ถึง เดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2544 ไดจดัตั้งสถาบันการเงนิขึ้นมาใหม 4 แหง ไดแก องคการเพื่อการปฏริูประบบสถาบันการเงนิ บรรษัทบรหิารสินทรัพยสถาบันการเงิน บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยูอาศัย และองคการบริหารสินทรัพยสถาบันการเงนิ โดยหวังวาสถาบันการเงินเหลานี้จะเขามาแกไขปญหาภาคการเงินของประเทศไทยได แตดูเหมือนวาความหวังดังกลาวไมประสบความสําเร็จเทาใดนัก

Page 15: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

15

ตารางที่ 3

ขอมลูสําคัญๆ ของสถาบันการเงินในประเทศไทย ณ 30มิ.ย. 2541

(หนวย: พันลานบาท)

สถาบันการเงิน เริ่มเปดดําเนินการ

จํานวนกจิการ

จํานวนสาขา

สินทรัพย

เงินฝากหรอื

เทียบเทา

สินเชื่อ เงินกองทุน

ธนาคารพาณิชย1 2431 36 3,381 7,178.1

4,470.5 5,710.9

507.1

บริษัทเงนิทุน 2512 36 n.a. 630.2 246.5 489.0 46.3 บริษัทเครดิตฟองซิเอร

2512 12 - 6.7 3.2 5.9 1.0

ธนาคารออมสนิ 2489 1 557 283.2 241.8 142.3 25.2 ธนาคารเพือ่การเกษตรฯ 2509 1 658 250.3 130.9 202.7 15.7 ธนาคารอาคารสงเคราะห 2496 1 202 342.9 168.1 294.0 25.5 บรรษัทเงนิทนุอุต-สาหกร

รม 2502 1 23 205.8 - 138.5 19.7

บริษัทประกนัชีวิต 2472 25 1,237 182.5 140.6 39.2 30.7 สหกรณการเกษตร 2459 n.a. - n.a. n.a. n.a. n.a.

สหกรณออมทรพัย n.a. - n.a. n.a. n.a. n.a. n.a โรงรับจาํนาํ 2409 n.a. - n.a. n.a. n.a. n.a. บรรษัทเงนิทนุอุต-สาหกร

รมขนาดยอม 2535 1 1 3.2 - 1.6 0.6

ธนาคารเพือ่การสงออกและนาํเขาแหงประเทศ

ไทย

2536 1 3 83.4 - 66.4 8.1

องคการเพือ่การปฏริูประบบสถาบนัการเงิน

2540 1 - 0.496 - - 500

บรรษัทบริหารสินทรพัยสถาบนัการเงนิ

2540 1 - 1.027 - - 1,000

1 รวมสินเชื่อของกิจการวิเทศธนกิจ แตไมรวมการกูยืมระหวางธนาคาร, รวมสาขาธนาคารพาณิชยตางประเทศ

.

Page 16: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

16

บรรษัทตลาดรองสนิเช่ือที่อยูอาศัย

2540 1 - 1.114 - - 1,000

องคการบริหารสนิทรพัยสถาบนัการเงนิ

2540 1 - 0.572 - - 36

ท่ีมา: ระบบการเงนิไทย, ฝายวิชาการธนาคารแหงประเทศไทย, ธันวาคม 2541, หนา 25

6. ขอสังเกตเกีย่วกับสถาบันการเงินไทย จากการศึกษาสถาบันการเงนิในประเทศไทยมาพอสมควร เราสามารถตั้งขอสังเกตเกีย่วกับสถาบันการเงนิไทยไดดังตอไปนี:้

1. 1. สถาบันการเงินในประเทศไทยมีหลากหลาย ขาดเอกภาพในการกํากับดูแล เนื่องจากอยูภายใตการกํากับดูแลของหลายหนวยงาน จากอดีตจนถึงปจจุบัน-พ.ศ.2549 การกํากับดูแลระบบสถาบันการเงนิในประเทศไทยยังแยกกนัโดยอิสระ

2. ตารางที่ 4 เปนการสรุปหนวยงานที่กํากับ ตรวจสอบสถาบันการเงินตางๆ ตลอดจนกฎหมายที่บังคับใชกับสถาบันการเงนินั้นๆ

กอนเกดิวกิฤตเศรษฐกิจการเงินเอเชีย ในป พ.ศ. 2540 ธนาคารแหงประเทศไทยเปนผูกํากับดูแลสถาบันการเงินเพียง 3 แหง ไดแก ธนาคารพาณิชย (รวมถึงธนาคารพาณิชยตางประเทศ กิจการวิเทศธนกจิ สํานักงานผูแทนธนาคารตางประเทศ) บริษัทเงินทุน (รวมท้ังบริษัทเงนิทุนหลักทรัพย) และบรษัิทเครดิตฟองซิเออร

กระทรวงการคลัง กํากับดแูลสถาบันการเงินเฉพาะกิจทัง้หมด เชน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห (ธอส.) ธนาคารเพื่อการนําเขาและสงออก (ธสน.) เปนตน

สหกรณออมทรัพยและสหกรณการเกษตร อยูภายใตการดูแลของกรมสงเสริมสหกรณและกรมตรวจบญัชีสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร สําหรับบริษัทประกันชีวิตและบริษัทประกันวินาศภัย อยูภายใตการกํากับดแูลของสํานักงานประกันภัย กระทรวงพาณิชย สวนโรงรับจํานํา อยูภายใตการดูแลของกระทรวงมหาดไทย

การท่ีสถาบันการเงนิไทยอยูภายใตการตรวจสอบของหลายหนวยงาน ท่ีมีความรู ความเชี่ยวชาญทางดานการตรวจสอบไมเทาเทียมกัน ทําใหสถาบันการเงินในประเทศไทยมีคุณภาพแตกตางกันอยางมาก ดูเหมือนวาธนาคารพาณิชยจะถกูคุมเขมโดยธนาคารแหงประเทศไทยมากกวาสถาบันการเงนิอื่นๆ แมกระนั้นก็ตาม เมื่อเศรษฐกจิออนแอดังปรากฏในป 2540 ธนาคารพาณิชยก็ลมละลายไปหลายแหงโดยงาย สงผลกระทบตอภาคเศรษฐกิจทีแ่ทจรงิ กลาวคือ สถาบันการเงินไมปลอยกูแก

Page 17: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

17

ตารางที่ 411 หนวยงานท่ีกาํกับดแูลสถาบนัการเงิน

สถาบันการเงิน หนวยงานที่กํากับดูแล กฎหมายท่ีเก่ียวของ

1 ธนาคารแหงประเทศไทย กระทรวงการคลัง พ.ร.บ.การธนาคารพาณิชย พ.ศ. 2485 และฉบับแกไข. 2 ธนาคารพาณิชย 3 สาขาธนาคารตางประเทศ

4 วิเทศธนกิจ

ธนาคารแหงประเทศไทย พ.ร.บ.การธนาคารพาณิชย พ.ศ. 2485 และฉบับแกไข.

5 บริษัทเงินทุน 6 บริษัทเงินทุนและหลักทรัพย

7 บริษัทเครดติฟองซิเอร

ธนาคารแหงประเทศไทย The Act on the Undertaking of Finance Business, Securities

Business and Credit Foncier Business B.E. 2522 and

amended.

8 ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง Government Savings Bank Act, B.E.2489

9 ธนาคารเพือ่การเกษตรและสหกรณการเกษตร

กระทรวงการคลัง The Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives Act,

B.E.2509

10 ธนาคารเพื่ออาคารสงเคราะห

กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

Government Housing Bank Act, B.E.2496

11 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย

กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

The Export-Import Bank of Thailand Act, B.E.2536

12 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม

กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

The Industrial Finance Corporation of Thailand Act, B.E.2502

13 Money Changers กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

Exchange Control Act, B.E.2485

14 บริษัทหลักทรพัย 15 บริษัทหลักทรพัยจัดการกองทุนรวม

คณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

พ.ร.บ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542

16 บริษัทประกันชวีิต กระทรวงพาณชิย พ.ร.บ. ประกันชีวิต พ.ศ.2510 และฉบับแกไข 17 สหกรณการเกษตร 18 สหกรณออมทรัพย

กรมสงเสริมสหกรณและกรมตรวจบญัชีสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร

Cooperative Act, B.E.2511

19 กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ คณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

พ.ร.บ. กองทนุสํารองเลี้ยงชพี พ.ศ. 2530

20 กองทุนประกันสังคม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

พ.ร.บ. กองทุนประกันสังคม พ.ศ. 2533

21 โรงรับจํานํา กระทรวงมหาดไทย พ.ร.บ. โรงรับจาํนาํ พ.ศ. 2505

11 ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 18: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

18

บริษัทตางๆ ทําใหบริษัทเหลานั้นตองลดการผลิตและการจางงาน ทําใหเศรษฐกิจหดลงประมาณ 10 % ในปถดัมา เมื่อรัฐบาล นาย ชวน หลีกภยั เขามาบริหารประเทศ โดยมีนายธารนิทร นิมมานเหมินท เปนรัฐมนตรวีาการกระทรวงการคลัง ไดเห็นความสําคัญของปญหาการขาดเอกภาพในการกํากับดูแลสถาบันการเงนิ จึงมีแนวคิดท่ีจะโอนอํานาจการตรวจสอบสถาบันการเงินเฉพาะกิจ 10 แหง ใหธนาคาร แหงประเทศไทย12ชวยดแูล ทัง้นี้เพื่อเปนการเพิ่มประสิทธภิาพและศักยภาพของสถาบันการเงินเหลานั้น ใหเปนสถาบันการเงินที่สามารถเขามาชวยเหลอืและพัฒนาระบบเศรษฐกิจได ธนาคารเฉพาะกิจทั้ง 10 แหงนี้ ไดแก ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (ธสน.) ธนาคารอาคารสงเคราะห(ธอส.) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.) บรรษัทเงินทนุอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย(ไอเอฟซีที) บรรษัทเงนิทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม (บอย.) บริษัทเงินทุนรัตนทนุ บรษิัทหลักทรัพยเพื่อธรุกจิหลัก (ทีเอสเอฟซี) ธนาคารรัตนสิน ธนาคารออมสิน และบรรษัทประกนัสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เปนตน

แนวคดิของนายธารินทรดังกลาวไดรับการตอบรับดวยดีจาก ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกลุ ผูวาการธนาคารแหงประเทศไทยในขณะนั้น ม.ร.ว. จัตุมงคล เห็นวาสถาบันการเงินเหลานั้นตองเขามาอยูภายใตกฎเกณฑเดียวกับสถาบันการเงินทีธ่นาคารแหงประเทศไทยดูแลอยู ซึ่งในชวงแรกอาจผอนผนัใหเฉพาะการทําบัญชีใหถกูตองตามมาตรฐานสากลกอน ตอจากนั้น จึงจะมีการพัฒนาระบบตรวจสอบใหมีความแข็งแกรงมากขึ้น13

อยางไรก็ตาม เมื่อรัฐบาลนายชวน หลีกภยั ไดหมดวาระลงในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2544 ดูเหมือนวาธนาคารแหงประเทศไทยกยั็งไมไดเขาไปกํากบัดูแลสถาบันการเงนิท้ัง 10 อยางเต็มที ่และเมื่อรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษณิ ชินวตัรเขามาบริหารประเทศ ในเวลาตอมา ก็ไดสั่งปลด ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกุล ออกจากตาํแหนงผูวาการธนาคารแหงประเทศไทย เมื่อวันท่ี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2544 เนื่องจากไมสนองนโยบายของรัฐบาล ท่ีตองการใหธนาคารแหงประเทศไทยขึน้อัตราดอกเบีย้ แต ม.ร.ว. จัตุมงคล โสณกลุ ไมเห็นดวย

ในเดือนมกราคม 2548 สํานักนโยบายระบบการเงนิ สํานกังานเศรษฐกจิการคลัง กระทรวงการคลัง ภายใตรฐับาล พ.ต.ท.ทักษณิ ชินวัตร มีแนวคิดทีจ่ะแกไขขอบกพรองของระบบการกํากับดูแลภาคการเงนิไทย ดวยการจะปฎิรปูระบบกาํกับดูแลสถาบันการเงินไทย โดยตองการแยกการกํากับดูแล

12 "ธปท.ขานรับแนวคิดดูแล 10 สถาบันการเงินรัฐ", หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ, 5 สิงหาคม 2541, หนา 18 13 Ibid.,

Page 19: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

19

ตารางที่ 414 หนวยงานท่ีกาํกับดแูลสถาบนัการเงิน

สถาบันการเงิน หนวยงานที่กํากับดูแล กฎหมายท่ีเก่ียวของ

1 ธนาคารแหงประเทศไทย กระทรวงการคลัง พ.ร.บ.การธนาคารพาณิชย พ.ศ. 2485 และฉบับแกไข. 2 ธนาคารพาณิชย 3 สาขาธนาคารตางประเทศ

4 วิเทศธนกิจ

ธนาคารแหงประเทศไทย พ.ร.บ.การธนาคารพาณิชย พ.ศ. 2485 และฉบับแกไข.

5 บริษัทเงินทุน 6 บริษัทเงินทุนและหลักทรัพย

7 บริษัทเครดติฟองซิเอร

ธนาคารแหงประเทศไทย The Act on the Undertaking of Finance Business, Securities

Business and Credit Foncier Business B.E. 2522 and

amended.

8 ธนาคารออมสิน กระทรวงการคลัง Government Savings Bank Act, B.E.2489

9 ธนาคารเพือ่การเกษตรและสหกรณการเกษตร

กระทรวงการคลัง The Bank for Agriculture and Agricultural Cooperatives Act,

B.E.2509

10 ธนาคารเพื่ออาคารสงเคราะห

กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

Government Housing Bank Act, B.E.2496

11 ธนาคารเพื่อการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย

กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

The Export-Import Bank of Thailand Act, B.E.2536

12 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรม

กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

The Industrial Finance Corporation of Thailand Act, B.E.2502

13 Money Changers กระทรวงการคลัง/ธนาคารแหงประเทศไทย

Exchange Control Act, B.E.2485

14 บริษัทหลักทรพัย 15 บริษัทหลักทรพัยจัดการกองทุนรวม

คณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

พ.ร.บ.หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ.2535 และ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542

16 บริษัทประกันชวีิต กระทรวงพาณชิย พ.ร.บ. ประกันชีวิต พ.ศ.2510 และฉบับแกไข 17 สหกรณการเกษตร 18 สหกรณออมทรัพย

กรมสงเสริมสหกรณและกรมตรวจบญัชีสหกรณ กระทรวงเกษตรและสหกรณการเกษตร

Cooperative Act, B.E.2511

19 กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ คณะกรรมการหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

พ.ร.บ. กองทนุสํารองเลี้ยงชพี พ.ศ. 2530

20 กองทุนประกันสังคม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

พ.ร.บ. กองทุนประกันสังคม พ.ศ. 2533

21 โรงรับจํานํา กระทรวงมหาดไทย พ.ร.บ. โรงรับจาํนาํ พ.ศ. 2505

14 ธนาคารแหงประเทศไทย

Page 20: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

20

สถาบันการเงนิออกจากการกําหนดนโยบายการเงินและการรวมหนวยงานกํากับดูแลเขาไวดวยกัน15 กลาวคือ กระทรวงการคลังจะจดัตั้งองคกรขึ้นมาใหม ใหช่ือวา “องคกรกํากับดแูลภาคการเงิน

(Financial Services Authority-FSA)” ซึ่งจะทําหนาที่กํากับ ตรวจสอบสถาบันการเงนิทุกประเภทในประเทศไทยใหอยูในมาตรฐานและเกณฑเดียวกนั และหนวยงานใหมนี้จะอยูภายใตการดูแลของกระทรวงการคลัง

แนวคดิท่ีจะปฎิรูประบบกํากับดแูลสถาบนัการเงินไทยของกระทรวงการคลังดังกลาว เทากับเปนการลดอํานาจและบทบาทของธนาคารแหงประเทศไทยในการกํากับดูแลสถาบนัการเงินที่สําคัญที่สุดคือธนาคารพาณิชย ใหเหลือเพียงบทบาทในการดําเนินนโยบายการเงินเทานั้น หนวยงานท่ีกํากบัดูแลสถาบันการเงินของธนาคารแหงประเทศไทยจะถกูโอนไปอยูภายใตองคกรใหม คือ “องคกรกํากับดูแลภาคการเงนิ” แนวคิดการปฏริูปดังกลาวของกระทรวงการคลัง ยังไมเปนที่ยอมรบัของธนาคารแหงประเทศไทยและธนาคารพาณิชยเทาใดนกั ดังนั้น เปนสิ่งที่เราตองติดตามศึกษาตอไปวากระทรวงการคลังจะดําเนนิการเรื่องนี้ตอไปอยางไร 2. ในป พ.ศ. 2549 9ปหลังจากที่ประเทศไทยประสบวกิฤติเศรษฐกิจการเงินเอเชีย สถาบันการเงนิไทยไดถูกครอบงําโดยชาวตางชาติเปนจํานวนมาก ตารางที่ 5 แสดงใหเห็นถงึขอมูลการถือหุนของคนตางชาติในธนาคารพาณิชยท่ีจดทะเบียนในประเทศไทย ณ วันที่ 30 มกราคม 2549 ซึ่งมีธนาคารพาณิชยทีจ่ดทะเบียนในประเทศไทยอยู 14 ธนาคาร แตมีเพียง 4 ธนาคารเทานัน้ ที่ตางชาติถือหุนไมเกิน รอยละ 25 นอกเหนือจากธนาคารพาณิชยแลว สถาบันการเงนิไทยอืน่ๆ ไมวาจะเปน บรษิัทเงินทนุ บรษัิทหลักทรพัย บรษิัทประกนัฯลฯ ตางกถ็ูกครอบงําโดยชาวตางชาติเชนกนั ดูเสมือนวาโลกในยุคโลกาภิวัตน สถาบนัการเงินไทยจะอยูรอดไดยากถาไมรวมกิจการกับตางชาต ิ

3. สถาบันการเงินที่ทางการใหความใสใจจะเปนสถาบนัการเงนิในระบบทั้งส้ิน ซึ่งสถาบันการเงนิเหลานีส้วนใหญ ไมสามารถเขาถึงประชากรสวนใหญของประเทศ จะมียกเวนก็เพยีง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ( ธกส. ) ซึ่งสามารถเขาถึงเกษตรกรไดถึง 4 ลานคน ในป พ.ศ. 2542

15 เอกสารประกอบการสัมมนาเรือ่งการปฏิรูประบบกํากับดูแลสถาบันการเงินไทย สํานักนโยบายระบบการเงิน สํานัก

เศรษฐกิจการคลงั กระทรวงการคลัง 14 มกราคม 2548

Page 21: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

21

ตารางที่ 516 การถือหุนของตางชาตใินธนาคารที่จดทะเบียนในประเทศไทย

ณ 30 มกราคม 2549

ธนาคาร สัดสวนการถอืหุนของตางชาต ิ(%)

1. ธนาคารสแตนดารดชารเตอรด (ไทย ) 99.80 2. ธนาคารยูไนเต็ดโอเวอรซีส (ไทย) 97.45

3. ธนาคารทิสโก 46.56

4. ธนาคารไทยพาณิชย 43.66

5. ธนาคารเกยีรตินาคิน 42.57

6. ธนาคารกสกิรไทย 35.89

7. ธนาคารกรงุเทพ 35.24

8. ธนาคารสินเอเชีย 33.40

9. ธนาคารทหารไทย 32.61

10. ธนาคารกรุงศรีอยุธยา 28.39

11.ธนาคารนครหลวงไทย 24.02

12. ธนาคารกรุงไทย 8.72

13. ธนาคารไทยธนาคาร 6.72

14. ธนาคารธนชาต 1.01

7. ความสําคญัของธนาคารพาณิชยในภาคการเงินไทย ขอมูลในตารางที่ 3 แสดงใหเห็นวาในป 2541 ธนาคารพาณิชยมีสาขามากที่สุด กลาวคือมี

สาขาทั้งสิ้น 3,381 สาขา เปนของธนาคารพาณิชยไทย 3,342 แหง เปนของสาขาธนาคารตางประเทศ 20 แหง และเปนของกิจการวิเทศธนกจิรายใหม 19 แหง ขณะที่บรษิทัประกันชวีิต มีจํานวนสาขารองลงมาคือ 1,237 แหง

16 “หุนแบงกไทยในมือตางชาติ” วารสารการเงินการธนาคาร กุมภาพันธ 2549 หนา 28 และ 30.

Page 22: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

22

นอกจากนั้นแลว ไมวาจะดตูัวเลขสินทรพัย ตัวเลขสินเชื่อ ตัวเลขเงนิฝากหรือแมกระทั่งเงินกองทุน ธนาคารพาณิชยก็มีมากกวาสถาบันการเงินอ่ืน ๆ เปนจํานวนมาก สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นวา ธนาคารพาณิชยเปนสถาบันการเงินที่มบีทบาทสําคัญท่ีสุดในประเทศไทย ถึงแมวาตารางที่ 3 เปนขอมูลของป 2541 แมขอมูลในป 2549 แตกตางจากป 2541บาง แตก็ใหขอสรุปเหมือนเดิมคือ ธนาคารพาณิชยเปนสถาบันการเงนิท่ีสําคัญที่สุดในประเทศไทย

เราสามารถเหน็บทบาทของธนาคารพาณิชยไดชัดเจนยิ่งขึ้น จากรูปภาพที่ 3 และรูปภาพท่ี 4

ซึ่งแสดงถึงสวนแบงตลาดของแตละสถาบันการเงินในประเทศไทย สวนแบงตลาดในที่น้ี สามารถวัดจากสัดสวนของปริมาณเงินฝากของแตละสถาบันการเงนิตอเงินฝากของระบบการเงนิ หรืออาจจะวัดจากสัดสวนปริมาณสินเชื่อของแตละสถาบันการเงิน หารดวยปริมาณสินเชื่อของทุกสถาบันการเงนิก็ได

สําหรับรูปที ่3 และรูปที ่4 ใชสัดสวนสินเชื่อเปนตัววัดสวนแบงตลาดของสถาบันการเงนิในประเทศไทย รูปทั้งสองชี้ใหเห็นวาชวงกอนเกิดวิกฤติการณการเงินเอเชีย(Asian Financial Crisis)

ธนาคารพาณิชย ณ วันท่ี 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 มีสวนแบงตลาดอยูประมาณ 70% หมายความวา สินเชื่อท่ีปลอยโดยสถาบนัการเงินทั้งหมดในประเทศไทย 70% เปนการปลอยโดยธนาคารพาณชิย ประมาณ 22% ปลอยโดยบริษัทเงนิทุน และประมาณ 8% ปลอยโดยสถาบันการเงินอ่ืนๆทีเ่หลอืท้ังหมด แตหลังวกิฤตกิารณการเงนิเอเชีย(Asian Financial Crisis) บริษัทเงนิทุนไดถูกปดกิจการไปเปนจํานวน 56 แหง ดังนั้น สินเชื่อที่ปลอยโดยบริษัทเงนิทุน (รวมบรษิัทเงินทุนและหลักทรัพย) ไดลดฮวบลง ทําใหสัดสวนสินเชื่อที่ปลอยโดยบริษัทเงินทนุ ลดจาก 22% เหลือเพียง7% ขณะที่สัดสวนสินเชื่อของธนาคารพาณิชย เพิ่มจาก 70% เปน 80.5% เทากับวาธนาคารพาณิชยมีความสําคัญมากยิ่งข้ึนในภาคการเงินไทย หลังวิกฤตการณการเงินเอเชีย น่ันคือหลังเดือนกรกฎาคม 2540

นอกจากนั้น ธนาคารพาณิชยยังมีบทบาทสําคัญในฐานะเปนผูวาจางแรงงาน ตารางที ่6 แสดงถึงจํานวนพนกังานของธนาคารพาณิชยไทย ระหวาง ป พ.ศ. 2540 ถึงไตรมาสที ่3 ของป พ.ศ.2542 ซึ่งจะเห็นวา ในป พ.ศ. 2540 ธนาคารพาณิชยไทยไดจางพนักงานถึง 112,993 คน วิกฤตเศรษฐกิจการเงนิเอเชยี ระบบธนาคารพาณิชยไทยประสบกับสินเชื่อที่ไมกอใหเกิดรายได (Non-Performing

Loans) จํานวนมหาศาล โดยเฉพาะธนาคารพาณิชยของรัฐ ทําใหธนาคารไทยตองปรับตัว โดยพยายามลดตนทุนใหต่ําลง หนทางที่งายดายที่สุดในการลดตนทุนคือการลดจํานวนพนักงาน ดังนั้นจึงจะเห็นไดวา นับตั้งแตป พ.ศ. 2540 ถึงไตรมาส 3 ป พ.ศ. 2542 จาํนวนพนักงานของธนาคารพาณิชยไทย โดยรวม ไดลดลงมาเปนลําดบั จาก 112,993 คน ในป พ.ศ. 2540 เปน 109,526 และ

Page 23: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

23

รูปท่ี 3 สัดสวนการปลอยสินเชื่อของสถาบันการเงินตางๆ

ชวงกอนวกิฤติเศรษฐกจิการเงินเอเชีย พ.ค. 2539

104,565 คน ในป พ.ศ. 2541และ ในไตรมาส 3 ป พ.ศ. 2542 ตามลําดับ เปนท่ีนาสังเกตวา ในป พ.ศ. 2542 ธนาคารพาณิชยขนาดใหญทุกแหง ซึ่งเอกชนเปนเจาของไดลดพนักงานของตนลง ขณะที ่ธนาคารไทย แตมีชาวตางชาติเปนผูถือหุนใหญ หรือท่ีเรียกวาธนาคารลกูครึ่ง ซึ่งไดแก ธนาคารเอเชีย และธนาคารดบีีเอสไทยทน ุไดรับพนักงานเพิ่มขึ้น สวนธนาคารของรัฐอีก 5 แหงในขณะนั้น มีอยูสองธนาคารไดแก ธนาคารไทยธนาคารและธนาคารรัตนสิน ที่รับพนกังานเพิ่มขึ้น

อยางไรก็ตาม ในป 2543 ธนาคารพาณิชยยังมีแผนที่จะลดพนักงานตอไป เกือบทุกธนาคาร

ตองปรับตวั ลดตนทุนโดยมนีโยบายยุบสาขาและจํานวนพนักงาน ดังเชนธนาคารแสตนดารตชาเตอร นครธน (Standard Chartered Nakornthon- SCNB) หลังจากเขามาซื้อธนาคารนครธน ในตนป

2543 นับตั้งแตเขามาควบกิจการ ภายในเวลาไมถึงปไดลดจํานวนพนักงานลงเกนิกวาครึ่งหนึ่ง

กลาวคือลดจากจาก 2,800 คน 1,344 คน17

17 หนังสือพิมพ The Nation 2 October 2000, หนา B12.

ธนาคารพาณิชย 70 %

บริษัทเงินทุน 22 %

สถาบนัการเงนิอื่นๆ

8 %

Page 24: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

24

รูปท่ี 4 สัดสวนการปลอยสินเชื่อของสถาบันการเงินตางๆ

ชวงหลังวกิฤตเิศรษฐกจิการเงินเอเชีย พ.ศ. 2542

นอกจากความสําคัญในฐานะเปนแหลงการจางงานแลว ภาคการเงินของไทย ซึ่งมีธนาคารพาณิชยเปนจกัรกลสําคญั กอใหเกิดการจางงานและรายไดตอประเทศเปนอยางมาก ตารางที่ 7 แสดง

การเปรยีบเทยีบความสําคัญของภาคการเงนิแตละประเทศตอการจางงานและรายไดประชาชาต(ิGDP)

โดยการสรางดัชนีข้ึนมาวัด โดยใชประเทศสหรัฐอเมรกิาเปนตัวอางอิง ใหดัชนีมีคาเปน 1 ขณะที่ของ

ประเทศมาเลเซีย ดัชนีมีคาเทากับ 1.02 สวนประเทศฟลิปปนสดัชนีมีคาเทากับ 1.38 สวนประเทศ

สิงคโปร ซึ่งเปนประเทศคอนขางเลก็ แตดชันีน้ีสูงถึง 2.25 แสดงวาภาคการเงนิของประเทศสิงคโปร มี

ความสําคัญตอการจางงานและรายไดประชาชาติของประเทศมากกวาประเทศมาเลเซียและประเทศฟลิปปนส สวนประเทศไทย ดัชนีนี้สูงถึง 9.25 แสดงวาภาคการเงินไทยมีความสําคัญตอเศรษฐกิจ

มากกวาประเทศอื่นๆที่ปรากฏในตารางที่ 7 นอกจากนั้นยังสะทอนถึงความดอยประสิทธิภาพของภาค

การเงนิไทย เนื่องจากตองใชบุคลากรจํานวนมาก

สถาบนัการเงินอื่นๆ 12.5 %

บริษัทเงินทุน

7 %

ธนาคารพาณิชย

80.5 %

Page 25: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

25

ตารางที่ 6

จํานวนพนกังานของธนาคารพาณิชยไทย พ.ศ. 2540 – ไตรมาส 3/2542

ท่ีมา: กรุงเทพธรุกจิ, วันที่ 7 กุมภาพนัธ พ.ศ. 2543

ดวยความสําคญัดังกลาว สถาบันการเงินที่เราจะศึกษาในหนังสือเลมนีไ้ดแกธนาคารพาณิชยเทานั้น ในบทหลังๆ เราจะศึกษาถงึโครงสรางตลาดของธนาคารพาณชิยในประเทศไทย และการกําหนดราคา นั่นคือการกําหนดอัตราดอกเบี้ยเงนิฝากและอัตราดอกเบี้ยเงินกูของธนาคารพาณิชย

ช่ือธนาคาร 2540 2541 ไตรมาส 3 2542

จํานวนที่เปลี่ยนแปลง

1. ธ. กรุงเทพ 24,999 21,652 21,027 -625 2. ธ. กรุงไทย 16,252 18,422 18,336 -86 3. ธ. กสิกรไทย 15,370 14,927 13,406 -1,521 4. ธ. ไทยพาณชิย 12,679 12,220 10,469 -1,751 5. ธ. กรุงศรีอยุธยา 12,131 12,160 11,159 -1,001 6. ธ. ทหารไทย 8,181 8,103 7,627 -476 รวม 1-6 ( ธนาคารไทย ) 89,802 87,484 82,024 -5,460 7. ธ. ไทยทน ุ 2,965 2,875 3,158 283 8. ธ. เอเชีย 2,319 2,202 2,491 289 รวม7-8(ธ.ที่ตางชาตถิือหุนใหญ) 5,284 5,077 5,649 572 9. ธ. นครหลวงไทย 6,130 5,882 5,554 -328 10. ธ. ศรนีคร 5,760 5,541 4,970 -571 11. ธ. ไทยธนาคาร 2,721 2,271 3,101 830 12. ธ. นครธน 2,119 2,091 1,979 -112 13. ธ. รัตนสนิ 1,177 1,180 1,288 108 รวม 9-13 ( ธนาคารรัฐ ) 17,987 16,965 16,892 -73

รวมทั้งหมด 112,993 109,526 104,565 -4,961

Page 26: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

26

ตารางที่ 718

ดัชนีการจางงานในภาคการเงิน

เปนสัดสวนกบัประชากรและ GDP

ประเทศ สัดสวน (%)

สิงคโปร 2.25

มาเลเซีย 1.02

ฟลิปปนส 1.38

ไทย 9.25

สหรัฐอเมริกา 1.00

ในบทนี้ เราไดศึกษาประเดน็ตางๆของสถาบันการเงิน ตลอดจนพัฒนาการของสถาบนัการเงินในประเทศไทยและขอสังเกตเกี่ยวกับสถาบันการเงินไทย

18 Asian Banker Research, The Nation 2 ก.พ. 2545

Page 27: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

27

บรรณานุกรมบทท่ี 4

วารสาร การเงินการธนาคาร ปที่ 19 ฉบับที่ 219 เดือนกรกฎาคม 2543

หนังสือพิมพกรุงเทพธรุกิจ, วันที่ 7 กุมภาพันธ พ.ศ. 2543.

"ธปท.ขานรับแนวคดิดูแล 10 สถาบันการเงินรัฐ "หนังสือพิมพกรุงเทพธรุกจิ, 5 สิงหาคม 2541.

ธนาคารแหงประเทศไทย ระบบการเงินไทย, ฝายวิชาการ,ธันวาคม 2541.

บจ. ศูนยวจิัยไทยพาณชิย ชัยชาญ วิบุลศลิป, เจาะวกิฤตสถาบันการเงินไทย. 2541.

“หุนแบงกไทยในมือตางชาต ิ วารสารการเงินการธนาคาร กุมภาพันธ 2549 หนา 28 และ 30.

Baye, Michael R. and Jansen, Dennis W. Money, Banking, and Financial Markets: An Economics

Approach, Houghton Miffin Company, Boston, 1995.

Edmister, Robert Financial Institutions :Markets Management, McGraw-Hill International Editions, New

York. 1987.

Knight, Malcolm. "Developing Countries and the Globalization of Financial Markets", Working Paper, IMF,

July 1998.

หนังสือพิมพ The Nation, 2 October 2000.

Page 28: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

28

วันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2548 ปที่ 28 ฉบับที่ 9813

ตัดสินคดปีระวัติศาสตรโกงบีบซีี "เกริกเกียรติ"ผิด เจอคุก30ป-สั่งปรับอีก3.2พันลาน

จําเลยรวมอกี5โดนถวนหนา อัยการภูมิใจเอาเงินชาวบานคืน สงสํานวน

ใหแคนาดามดั"ราเกซ"

ศาลอาญาทยอยตัดสนิคดีประวัติศาสตรฉอโกงแบงกบีบีซี หลังสอบพยานนานกวา 8 ป ยกฟองคดแีรก แตอกี 3 คด ี"เกรกิเกรียติ ชาลีจนัทร"อวม ถูกพพิากษาจําคุกรวม 30 ป สั่งปรับรวม 3.2 พันลานบาท หอบหลักทรัพย 50 ลาน ประกันตวัระหวางอุทธรณ เผยยงัเหลืออกี 13 คด ีทนายยันสูถึงฎีกา ดานอัยการสงคําพิพากษาใหแคนาดาประกอบการพิจารณาสง"ราเกซ สักเสนา" กลบัมาชดใชความผิดในไทย

เมื่อเวลา 10.00 น. วันที่ 20 มกราคม ที่หองพิจารณา 7 ศาล

อาญากรุงเทพใต สนามหลวง ศาลมีคําพพิากษาใหจําคุกนายเกรกิเกยีรติ ชาลีจันทร อดีตกรรมการผูจัดการใหญ ธนาคาร

กรุงเทพฯพาณชิยการ จํากัด(มหาชน) หรือบีบซีี ฐานยักยอกทรัพยเปนเวลา 30 ป และใหชดใช

คาเสียหายรวมเปนเงินกวา 3,200 ลานบาท สวนคดฝีาผนืคําสั่งธนาคารแหงประเทศไทย(ธปท.) ศาล

พิพากษายกฟอง

คดีแรกพนักงานอัยการฝายคดีเศรษฐกจิและทรพัยากร ยื่นฟองนายเกรกิเกยีรติ จําเลยที่ 1 และนายเอก

ชัย อธิคมนนัทะ อดีตผูชวยกรรมการผูจดัการใหญ รับผดิชอบการดําเนินการดานสินเชื่อ จําเลยที่ 2 ใน

ความผดิฐานกระทําผิด พ.ร.บ.ธนาคารพาณิชย พ.ศ.2505

ตามฟองสรุปวา ธนาคารแหงประเทศไทย(ธปท.) ปรากฏหลักฐานวา จําเลยทั้งสองซึ่งเปนผูแทนธนาคารบีบีซี ที่เปนนิติบุคคล มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบในการบริหารงาน ไดกระทําหนาที่ฝาฝนไมปฏิบัติตามคําสั่งของ ธปท. ฉบับลงวนัที ่18 เมษายน 2538 เรื่องแกไขฐานะและการดําเนินการงาน

หลายประการ จําเลยทั้งสองรวมกันฝาฝนคําส่ัง ธปท. โดยใหสินเชื่อกบับุคคลและนติิบุคคลท่ีเปน

ตางอารมณ - นายเกริกเกียรติ ชาลีจันทร อดีตกรรมการผูจัดการใหญ ธนาคารกรุงเทพฯพาณิชยการ จํากัด หรือบีบีซี เดินทางไปรับฟงคําพิพากษาคดียักยอกทรัพยจากศาลอาญาดวยสีหนายิ้มแยมแจมใส เมื่อสายวันที่ 20 มกราคม ที่หองพิจารณา 7 ศาลอาญากรุงเทพใต กอนจะยืนคอตกหลังศาลพิพากษาจําคุกรวม 30 ป และสั่งปรับรวม 3.2 พันลานบาท

Page 29: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

29

ลูกหนีร้ายเดิมที่ธนาคารบีบซีีใหสินเชื่อไวแลวเพิ่มเติมรวมเปนเงนิกวา 9,000 ลานบาท ศาลพิเคราะห

พยานหลกัฐานโจทกและจําเลย พิพากษายกฟอง

ตอมาศาลอานคําพิพากษาคดท่ีีพนักงานอยัการฝายคดีเศรษฐกิจและทรพัยากร และธนาคารบีบีซี รวมกันเปนโจทกยื่นฟองนายพิเศษ พานิชสมบัติ จําเลยท่ี 1 นายเกรกิเกียรติ จําเลยที่ 2, บริษัทซิตี้ เทรด

ดิ้ง คอรปอเรชัน่ จํากัด จําเลยที่ 3 น.ส.สุนันทา หาญวรเกยีรต ิกรรมการบริษัทซิตี้ฯ จําเลยที่ท่ี 4, นาย

เอกชัย อธิคมนันทะ กรรมการบริษัทซิตี้ฯ จําเลยที่ท่ี 5 และนายเทอรรี่ อีสเตอร กรรมการบริษัทซิตีฯ้

จําเลยที่ 6 ในความผดิฐานรวมกันยักยอกทรัพย ใหจําเลยรวมกนัชดใชคาเสียหายจํานวน

1,657,000,000 บาท และเปนกรรมการกระทําผดิหนาที่หรือรับของโจร

ศาลพิเคราะหพยานหลกัฐานโจทก-จําเลยแลว พิพากษาจําคุกจําเลยที่ 2 เปนเวลา 10 ป ปรับ 2,264 ลาน

บาท บรษิัทจําเลยที่ 3 ปรับ 1 ลานบาท จําเลยท่ี 4 และที่ 6 ใหจําคุกคนละ 7 ป ปรับคนละ 1 ลานบาท

และใหจําเลยที่ 2, 4 และ 6 รวมกันชดใชเงินตน 1,132 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 17.25 ตอป

จําเลยที่ 5 จําคุก 8 ป ปรับ 1 ลานบาท และใหชดใชเงินตน 75 ลานบาท พรอมดอกเบี้ยรอยละ 17.25

ตอป จําเลยที่ 1 พยานหลกัฐานโจทกยังไมมีความแนชัดวารวมกระทําผิดดวย เพราะไมไดรวมลงลายมือ

ช่ือในการอนมัุติสินเชื่อ พิพากษายกฟอง

ตอมา เวลา 11.50 น. ศาลอานคําพิพากษาคดีที่พนักงานอัยการฝายเศรษฐกิจฯ และธนาคารบีบีซี

รวมกันเปนโจทกยื่นฟองนายเกริกเกยีรต ิจําเลยที่ 1 น.ส.สุนันทา หาญวรเกยีรต ิกรรมการผูมีอํานาจ

บริษัทสมประสงค อินเตอรคอมมิวนิเคชัน่ จํากัด จําเลยที่ 2 บริษัทอเมริกนัสแตนดารด แอพเพรซลั

จํากัด จําเลยท่ี 3, นายไพโรจน ซึงศิลป กรรมการผูมีอํานาจบรษิัทอเมรกิันสแตนดารดฯ จําเลยท่ี 4, นาย

วีระชัย คงแกว เจาหนาที่ประเมิน บรษิัทสแตนดารดฯ จําเลยท่ี 5, บรษิัทสมประสงค อินเตอรคอมมวินิ

เคชั่น จํากดั จําเลยที่ 6 ในความผิดฐานรวมกันยกัยอกทรพัย ใหจําเลยรวมกันชดใชคาเสียหายจํานวน

353,363,966 บาท

ศาลพิเคราะหพยานหลกัฐานแลวพิพากษาจําคุกจําเลยท่ี 1 เปนเวลา 10 ป ปรับ 706,729,000 บาทเศษ

จําเลยที่ 2 ใหจําคุก 7 ป ปรับ 1 ลานบาท บรษัิทจําเลยท่ี 6 ใหปรับ 1 ลานบาท และใหจําเลยรวมกัน

ชดใชเงินตนจาํนวน 353,300,000 บาทเศษ สําหรับจําเลยที่ 3-5 พิพากษายกฟอง

Page 30: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

30

ตอมาเวลา 13.30 น. ศาลอานคําพิพากษาคดีที่พนักงานอัยการฝายคดีเศรษฐกิจฯ เปนโจทกย่ืนฟองนาย

เกรกิเกยีรติ จําเลยท่ี 1 นายวันชัย ธรรมธิตวิัฒน อดีตผูอํานวยการสํานักบริหารเงนิและวานิชกิจธนกิจ

ธนาคารบีบีซี จําเลยท่ี 2, บรษิัทแอตแพค จาํกัด จําเลยที่ 3 และนายถาวรสวัสดิ์ ชวะโนทัย กรรมการ

บริษัทแอตแพค จําเลยที่ 4 ในความผิดฐานยักยอกทรัพย ใหจําเลยรวมกันชดใชเงินจํานวน

362,000,000 บาท

ศาลพิเคราะหพยานหลกัฐานพิพากษาจําคกุจําเลยที่ 1 และที่ 2 คนละ 10 ป ปรับคนละ 238,331,600

บาท บริษัทจําเลยที่ 3 ปรับ 238,331,600 บาท และจําเลยท่ี 4 จําคุก 10 ป ปรับ 238,331,600 บาท

และใหจําเลยทั้งหมดรวมกนัชดใชเงินตนจํานวน 119,185,600 บาท หากจําเลยไมชําระคาปรับใหนํา

ทรัพยสินขายทอดตลาด

ผูสื่อขาวรายงานวา ทั้ง 3 คดีนายเกรกิเกยีรติ ถูกจาํคุกรวม 30 ป และส่ังปรับรวม 3,208,331,600 บาท

(อานรายละเอยีด น.20)

ตอมา นายเกรกิเกยีรตย่ืินคํารองขอประกนัตัวพรอมหลกัทรัพยเปนโฉนดที่ดินกรุงเทพฯ และเชยีงใหม,

เงินสด รวมมลูคา 50 ลานบาท ศาลมีคําสัง่อนุญาตใหปลอยตวัช่ัวคราวนายเกริกเกียรต ิโดยตรีาคา

ประกัน 47 ลานบาท ขณะทีจ่ําเลยอื่นๆ ศาลมีคําสั่งอนุญาตใหปลอยตวัช่ัวคราวเชนกนั

ผูสื่อขาวรายงานวา วันเดยีวกนันี้ นายเกริกเกียรติสวมชุดสูทสีเทา โดยมีนายแพทยสวนตวัติดตามเฝาดูอาการโรคหัวใจอยางใกลชิด ซึ่งหลังจากที่ศาลมีคําพิพากษายกฟองคดแีรก นายเกรกิเกียรติมีสีหนายิ้มแยม และหันมาทักทายพรอมจับมือกับนายเอกชัย จําเลยรวมดวย แตภายหลังที่ศาลมคํีาพิพากษาใหจําคุกในคดียักยอกทรัพย ทั้ง 3 คดี นายเกรกิเกยีรตกิลับมีสีหนาทาทางเครงเครียด

ท้ังนี้ ระหวางฟงคําพิพากษามีญาติพีน่องและเพื่อนของจาํเลยรวมทั้งผูสื่อขาวรวมฟงคําพิพากษากนัอยางหนาแนนหองพิจารณาคดี

นายวนิัย ดํารงคมงคลกลุ รองอธิบดีอัยการฝายเศรษฐกจิฯ กลาววา ที่ศาลพิพากษาจําคุกนายเกริกเกยีรต ิ

Page 31: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

31

สํานวนคดยีักยอกทรัพยทั้ง 3 เรื่อง เปนเวลา 30 ป และสั่งปรับหลายพันลานบาทนัน้ อัยการมีความ

ภาคภูมใิจท่ีสามารถนําเงินของประชาชนคนืกลับสูทางการได ซ่ึงคดีบีบีซี อัยการไดใชเวลาสืบพยานนานถึง 8 ป ทั้งนี้ตนจะรายงานผลคําพิพากษาใหนายคัมภรี แกวเจริญ อัยการสูงสุด ทราบโดยทันที

พรอมทั้งสรุปผลคําพิพากษาคดียักยอกทรพัยทั้ง 3 คด ีสงใหอธิบดีอัยการฝายคดีตางประเทศ เพื่อสงคํา

พิพากษาไปยังศาลแคนาดาโดยเร็วในการประกอบการพิจารณาไตสวนพยานที่รฐับาลไทยขอใหสงตัวนายราเกซ สักเสนา ผูตองหาในคดีฉอโกงบีบีซี กลับมาดําเนินคดใีนประเทศไทย ซึ่งคําพิพากษาจะแสดงใหศาลแคนาดาเห็นวานายราเกซ มีสวนเกี่ยวของในการกระทําความผดิดวย

รองอธิบดีอัยการฝายเศรษฐกจิฯ กลาววา สําหรับที่ศาลยกฟองสํานวนคดีฝาฝนคําส่ัง ธปท. และ พ.ร.บ.ธนาคารพาณิชยฯ เพราะคดีขาดอายุความนัน้ เปนเรื่องความเห็นทางกฎหมาย ซึ่งอัยการจะตรวจดูรายละเอียดคําพิพากษาเพื่อพิจารณายืน่อุทธรณคดีตอไป โดยคดีนีเ้ปนคดีความผิดเล็กนอย ซ่ึงหากศาลพิพากษาลงโทษจริง ก็จะสั่งปรับเทานัน้ ไมมีโทษจําคุก

นายผดุงพันธุ จันทะโร ทนายความของนายเกริกเกยีรติ กลาววา แมศาลจะพิพากษาจาํคุกนายเกริกเกียรติท้ัง 3 คดี แตกไ็มหนักใจ เพราะฝายจาํเลยจะตอสูคดีจนถึงท่ีสุด และเชื่อวาคดีบบีีซี จะตองมีคาํ

พิพากษาจนถงึศาลฎีกาแนนอน อยางไรกด็ ีคดียักยอกทรพัยบีบีซี ยังเหลือสํานวนที่อยูระหวางการพิจารณาอีก 13 คดี เชื่อวาอกีไมนานศาลจะทยอยมีคําพิพากษาแตละคดีออกมา

หนา 1

<< ::::: Back Page :::::o

Page 32: ch 5 สถาบันการเงินecon.tu.ac.th/class/archan/Plearnpit/ch 5... · 2006. 8. 28. · สถาบันเงินฝาก (Depository institutions) 2. สถาบันการเง

32