บทที่ 4

5

Click here to load reader

Upload: chaiwat-vichianchai

Post on 28-May-2015

1.517 views

Category:

Lifestyle


1 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 4

บทที่ 4 ผลการวจัิย

ในการวิจัย การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที ่http://chaiwat31.wordpress.com ใช้การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ซ่ึงเป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมแนะแนว 1. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com 1.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนดงบังพิสัยนว การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบค าถามท้ายหน่วย และคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนจากการตอบค าถาม คะแนนจากการทดสอบ E1/E2 ท้ายหน่วย หลังเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 84.17 66.45 84.17/66.45

จากตารางที่ 1 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com มีประสิทธิภาพ 84.17/66.45 1.2 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบค าถามท้ายหน่วย และคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=92) คะแนนจากการตอบค าถาม คะแนนจากการทดสอบ E1/E2

Page 2: บทที่ 4

19

ท้ายหน่วย หลังเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 75.25 77.66 75.25/77.66

จากตารางที่ 2 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com มีประสิทธิภาพ 75.25/77.66 1.3 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนว การนุสรณ์ จงัหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 3 จากตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบค าถามท้ายหน่วย และคะแนนจากการทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนจากการตอบค าถาม คะแนนจากการทดสอบ E1/E2 ท้ายหน่วย หลังเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 84.25 71.84 84.25/71.84

จากตารางที่ 3 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที ่http://chaiwat31.wordpress.com เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก มีประสิทธิภาพ 84.25/71.84 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กดว้ยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 4

Page 3: บทที่ 4

20

ตารางที่ 4 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของคะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนการประเมินก่อน คะแนนการประเมินหลัง t-test เผชิญประสบการณ์ เผชิญประสบการณ์ X SD. X SD. 9.32 0.59 10.05 0.87 5.24* *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291 จากตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทีเ่รียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของคะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=92) คะแนนการประเมินก่อน คะแนนการประเมินหลัง t-test เผชิญประสบการณ์ เผชิญประสบการณ์ X SD. X SD. 13.68 2.18 16.56 3.44 5.02* *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291 จากตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทีเ่รียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน

Page 4: บทที่ 4

21

2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของคะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนการประเมินก่อน คะแนนการประเมินหลัง t-test เผชิญประสบการณ์ เผชิญประสบการณ์ X SD. X SD. 12.34 2.78 14.36 2.99 5.21* *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291 จากตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทีเ่รียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 2. ในการวิจัย ผลการตรวจสอบนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใช้ Social Media “Facebook” เพ่ือการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ ซึ่งเป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ กิจกรรมแนะแนว และเก็บข้อมูลจ านวนนักเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) “Facebook” โดยใช้แบบบันทึกการสังเกต การส่งงานใน “Facebook group” Comdongbug ม.3, Comdongbug ม.5, comdongbug ม.6 ดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 แสดงผลรวมทั้งหมด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใช้ Social Media “Facebook”เพ่ือการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ แบบสังเกตพฤติกรรม (n=จ านวน มัธยมศึกษาปีท่ี 3 (70คน),5 (92คน) ,6 (76คน) รวมจ านวนนักเรียนทั้งหมด 238 คน)

แบบสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ ข้อ รายการพฤติกรรม ปฏิบัต ิ ไม่ปฏิบตั ิ

Page 5: บทที่ 4

22

1 2 3 X sd.

การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.3 การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.5 การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.6

64 85

6 7

70 4.60 13.89

6 0.39 1.2

แปลความหมาย ( X =4.60) คือ นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ จากตารางที่ 7 พบว่า โดยเฉลี่ยจ านวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ทีเ่รียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เพ่ือการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ ในภาพรวมแล้วอยู่ในระดับนักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้( X =4.60) 3. ในการวิจัย ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม ส านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที ่http://chaiwat31.wordpress.com ใช้การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ซึ่งเป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมแนะแนว ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็น ดังตารางที่ 8 ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของนักเรียน ที่เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) (n=(100) “จ านวนมัธยมศึกษาปีที่ 3=29 คน,5=36 คน,6=35 คน)” ความคิดเห็น จ านวนทั้งหมด X SD. แปลความหมาย 1. นักเรียนชอบเรยีนด้วยบทเรียนออนไลน ์ 4.80 4.97 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 4.08 4.23 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 3. นักเรียนมีความสุขในการเรยีน 3.96 4.10 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4. นักเรียนมโีอกาสได้ตดัสินใจด้วยตนเอง 5.16 5.35 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5. นักเรียนมีอสิระในการเรยีนมากขึน้ 5.04 5.22 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 6. นักเรียนได้รับความรูเ้หมือนเรียนกับครูตัวจริง 3.96 4.10 เห็นด้วยอย่างยิ่ง เฉลี่ยรวม 4.50 4.66 เห็นด้วยอย่างยิ่ง

จากตารางที่ 8 พบว่า โดยเฉลี่ยความคิดเห็นในภาพรวมของนักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่ง ( X =4.50) นักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งเรียงตามล าดับ คือ นักเรียนชอบเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ ( X =4.80) นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ( X =4.08) นักเรียนมีความสุขในการเรียน ( X =3.96) นักเรียนมีโอกาสได้ตัดสินใจด้วยตนเอง( X =5.16) นักเรียนมีอิสระในการเรียนมากขึ้น ( X =5.04) และนักเรียนได้รับความรู้เหมือนเรียนกับครูตัวจริง( X =3.96)