สรุปผลการประชุมวิชาการ :...

9
สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตรเรื่องพืชกระทอม และสารเสพติดที ่มีสวนผสมของพืชกระทอม วันที่ 12 พฤษภาคม 2551 เวลา 08.30-16.30 น. ณ โรงแรมปริ๊นสตั้น พารค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ ---------------------------------------------- กระทอมจัดเปนพืชเสพติดที่มีการใชโดยชาวบานและผูใชแรงงานในภูมิภาคตางๆ ของไทยมานาน ผลกระทบทางลบของการเสพพืชกระทอมที่สําคัญคือโทษพิษภัยของไมตราจินีน (Mitragynien) ซึ่งมีฤทธิ์กระตุนประสาท เมื่อเสพไประยะหนึ่งสามารถทําใหเกิดการเสพติด ซึ่งสงผลตอรางกายและจิตใจของผูเสพ กฎหมายของประเทศไทยกําหนดใหพืชกระทอมเปน ยาเสพติดใหโทษประเภทที่ 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 ซึ่งในทางปฏิบัติ จะไมคอยมีการบังคับใชกฎหมายในคดีเสพ สวนคดีที่เกี่ยวของกับการผลิต การคา เริ่มสูงมากขึ้น ตั้งแต พ.ศ.2550 เปนตนมา และเริ่มเปลี่ยนแปลงไปในมิติตางๆ โดยมีการนําพืชกระทอมไปใช เปนสวนผสมของสารเสพติดที่ใชกันแพรหลายใน พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต มีการนําใบกระทอม ที่ขึ้นตามพื้นที่หัวไรปลายนาและพื้นที่เขตอุทยานแหงชาติ เขตปาสงวน มาลําเลียง-คา ในภูมิภาค ตางๆ มากขึ้น ทั ้งในรูปใบกระทอมสดและพืชกระทอมแปรรูป รวมทั ้ง มีการปลูกพืชกระทอมเพื่อ การคาในหลายพื้นที่แมแตในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ความเปนมา เมื่อปลายป 2550 มีการนําเสนอประเด็นการขยายตัวของปญหาพืชกระทอมจากภาคใต เขามายังศูนยอํานวยการตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติด (ศอ.ปส.) เพื่อใหพิจารณานโยบายการแกไข ปญหาพืชกระทอม โดยใหทบทวนสถานการณปญหา ผลการดําเนินงานแกไขปญหา กฎหมาย นโยบายและขอสั่งการตางๆ ที่เกี่ยวของ ซึ่งที่ประชุม ศอ.ปส. ไดพิจารณาในประเด็นดังกลาว อยางกวางขวางทั้งในสวนของขอเสนอการปรับปรุงมาตรการทางกฎหมาย เชน การเพิ่มโทษ ในฐานความผิดที่เกี่ยวกับการผลิต การคา ซึ่งมีทั้งขอดีและขอเสีย การเพิ่มความเขมขนของ การดําเนินงานตามมาตรการอื่นที่มีอยู ทั้งดานการเผยแพรขอมูลขาวสาร การใหความรูแกเยาวชน และประชาชนเพื่อตระหนักถึงโทษพิษภัยของพืชกระทอม ฯลฯ นอกจากนี ้ยังไดมอบหมายให สํานักงาน ป.ป.ส. หารือกับหนวยงานที่เกี่ยวของใหรอบคอบกอนที่จะนําเสนอเปนขอเสนอทาง นโยบายและยุทธศาสตรตอไป สํานักงาน ป.ป.ส. จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการครั้งนี้ขึ้น เพื่อทบทวนสถานการณ และแนวโนมปญหาพืชกระทอม ผลการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาพืชกระทอมตาม นโยบายและมาตรการที่มีอยูในปจจุบัน ขอมูลวิชาการ ผลการศึกษา วิจัยที่เกี่ยวของ และจัดทํา เปนขอเสนอทางนโยบาย ยุทธศาสตร ตลอดจนแนวทางการดําเนินงาน เพื่อใหการปองกันและ แกไขปญหาพืชกระทอมมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นตอไป

Upload: utai-sukviwatsirikul

Post on 02-Nov-2014

5 views

Category:

Health & Medicine


0 download

DESCRIPTION

สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี ส่วนผสมของพืชกระท่อม. วันที่12 พฤษภาคม 2551 http://nctc.oncb.go.th/new/images/stories/conclusion/_%20.pdf

TRANSCRIPT

Page 1: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตรเรื่องพืชกระทอม และสารเสพติดทีม่สีวนผสมของพืชกระทอม

วันที่ 12 พฤษภาคม 2551 เวลา 08.30-16.30 น. ณ โรงแรมปริ๊นสต้ัน พารค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ

----------------------------------------------

“กระทอม” จัดเปนพืชเสพติดท่ีมีการใชโดยชาวบานและผูใชแรงงานในภูมิภาคตางๆ

ของไทยมานาน ผลกระทบทางลบของการเสพพืชกระทอมท่ีสําคัญคือโทษพิษภัยของไมตราจินีน

(Mitragynien) ซ่ึงมีฤทธ์ิกระตุนประสาท เม่ือเสพไประยะหนึ่งสามารถทําใหเกิดการเสพติด

ซ่ึงสงผลตอรางกายและจิตใจของผูเสพ กฎหมายของประเทศไทยกาํหนดใหพืชกระทอมเปน

ยาเสพติดใหโทษประเภทท่ี 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.2522 ซ่ึงในทางปฏิบัติ

จะไมคอยมีการบังคับใชกฎหมายในคดีเสพ สวนคดีท่ีเกี่ยวของกับการผลิต การคา เริ่มสูงมากข้ึน

ตั้งแต พ.ศ.2550 เปนตนมา และเริ่มเปล่ียนแปลงไปในมิติตางๆ โดยมีการนําพืชกระทอมไปใช

เปนสวนผสมของสารเสพติดท่ีใชกันแพรหลายในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต มีการนําใบกระทอม

ท่ีข้ึนตามพื้นท่ีหัวไรปลายนาและพื้นท่ีเขตอุทยานแหงชาติ เขตปาสงวน มาลําเลียง-คา ในภูมิภาค

ตางๆ มากข้ึน ท้ังในรปูใบกระทอมสดและพืชกระทอมแปรรูป รวมท้ัง มีการปลูกพืชกระทอมเพื่อ

การคาในหลายพื้นท่ีแมแตในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล

ความเปนมา

เม่ือปลายป 2550 มีการนําเสนอประเด็นการขยายตัวของปญหาพืชกระทอมจากภาคใต

เขามายังศูนยอํานวยการตอสูเพื่อเอาชนะยาเสพติด (ศอ.ปส.) เพื่อใหพิจารณานโยบายการแกไข

ปญหาพชืกระทอม โดยใหทบทวนสถานการณปญหา ผลการดําเนินงานแกไขปญหา กฎหมาย

นโยบายและขอส่ังการตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ซ่ึงท่ีประชุม ศอ.ปส. ไดพิจารณาในประเด็นดังกลาว

อยางกวางขวางท้ังในสวนของขอเสนอการปรับปรุงมาตรการทางกฎหมาย เชน การเพิ่มโทษ

ในฐานความผิดท่ีเกี่ยวกับการผลิต การคา ซ่ึงมีท้ังขอดีและขอเสีย การเพิ่มความเขมขนของ

การดําเนินงานตามมาตรการอื่นท่ีมีอยู ท้ังดานการเผยแพรขอมูลขาวสาร การใหความรูแกเยาวชน

และประชาชนเพื่อตระหนักถึงโทษพิษภัยของพืชกระทอม ฯลฯ นอกจากนีย้งัไดมอบหมายให

สํานักงาน ป.ป.ส. หารือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของใหรอบคอบกอนท่ีจะนําเสนอเปนขอเสนอทาง

นโยบายและยุทธศาสตรตอไป สํานักงาน ป.ป.ส. จึงเห็นควรจัดการประชุมวิชาการครั้งนี้ข้ึน เพื่อทบทวนสถานการณ

และแนวโนมปญหาพืชกระทอม ผลการดําเนินงานปองกันและแกไขปญหาพืชกระทอมตาม

นโยบายและมาตรการที่มีอยูในปจจุบัน ขอมูลวิชาการ ผลการศึกษา วิจัยท่ีเกี่ยวของ และจัดทํา

เปนขอเสนอทางนโยบาย ยุทธศาสตร ตลอดจนแนวทางการดําเนินงาน เพื่อใหการปองกันและ

แกไขปญหาพืชกระทอมมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนตอไป

Page 2: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

2

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

1. เพื่อแลกเปล่ียนขอมูล องคความรู สถานการณ กฎหมายท่ีเกี่ยวของ รวมท้ัง

ผลการปฏิบัติงานดานการปองกันและแกไขปญหาพืชกระทอม และสารเสพติดท่ีมีสวนผสม

วัตถุประสงค

ของพืชกระทอม 2. เพื่อพัฒนาขอเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตรดานการปองกันและแกไขปญหา

พืชกระทอมและสารเสพติดท่ีมีสวนผสมของพืชกระทอม

นักวิชาการ นักวิจัย ผูแทนหนวยงานภาคี ผูบริหารและเจาหนาท่ีของสํานักงาน ป.ป.ส.

ท้ังสวนกลางและสวนภูมิภาค นําเสนอขอมูล องคความรูตางๆ ท่ีเกี่ยวของ และผูเขาประชุมได

อภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น ตลอดจนใหขอเสนอเชิงนโยบาย โดยมี นายพิทยา จินาวัฒน

รองเลขาธิการ ป.ป.ส. เปนประธานผูนําการประชุม

รปูแบบการประชมุ

ประเด็น/หัวขอเรื่องในการนําเสนอและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

1. สถานการณปญหาและแนวโนม

2. การศึกษาวิจัย และองคความรูท่ีเกี่ยวของ (พ.ศ.2546-2550) 3. การทบทวนนโยบาย ยุทธศาสตร และมาตรการในการปองกันและแกไขปญหา พืชกระทอมในปจจุบัน 4. ขอเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร และแนวทางการดําเนินงานตอไป 5. สรุปผลการประชุมในภาพรวม สรุปขอมูลที่สําคัญจากการประชุม

◘ มีดังนี้

สถานการณปญหาและแนวโนม

1. การผลิต สถานการณปญหาพืชกระทอมในปจจุบัน

การผลิตมี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเปนการเก็บใบกระทอมจากการท่ีพืช

กระทอมข้ึนตามธรรมชาติ อาทิ ในพื้นท่ีหัวไรปลายนา พี้นท่ีเขตปาสงวนฯ เขตอทุยานฯ ฯลฯ

สวนลักษณะท่ีสอง คือ การปลูกพืชกระทอมเพื่อการคา อาทิ ในเขตหนองจอก เขตประเวศ เขตสวนหลวง ซ่ึงเปนพื้นท่ีเขตรอบนอกของกรุงเทพฯ ฯลฯ แนวโนมของการผลิตแบบปลูก

พืชกระทอมเพื่อการคา อาจมีเพิ่มมากข้ึน หากไมมีมาตรการปองปราม และมาตรการท่ีเขมงวด

รุนแรง อาทิ การเพิ่มโทษ การยึดทรัพยผูผลิต ฯลฯ

2. การคา พืชกระทอมท่ีใชในการคาพบวามีท้ัง ใบกระทอมสด ใบกระทอมแหง และใบ

กระทอมบดละเอียดเปนผง รูปแบบการคาพบวามีการคาสงเพิ่มมากข้ึน โดยตลาดของพืช

กระทอมเริ่มขยายตัวจากตลาดทองถิ่น เปนตลาดตางพื้นท่ี และตลาดตางประเทศ กลุมการคา

Page 3: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

3

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

มีท้ังคาพืชกระทอมอยางเดียว และคายาเสพติดหลายชนิด การลําเลียงสวนใหญนิยมใชการขนสง

ทางบกโดยรถบรรทุก (pick up)

3. การแพรระบาด การแพรระบาดของพืชกระทอมมีการขยายตัวเพิ่มมากข้ึนในพื้นท่ีตางๆ อาทิ

ภาคใต ภาคกลาง ซ่ึงสวนใหญเปนพื้นท่ีในชนบท กลุมผูเสพมีความหลากหลายเพิ่มมากข้ึน

เดิมสวนใหญผูเสพคือกลุมผูใชแรงงาน เกษตรกร แตปจจุบันขยายเปนกลุมผูขับรถบรรทุก/

รถมอเตอรไซค/รถแท็กซ่ีในกรุงเทพฯ วัยรุนในภาคใต และกลุมผูวางงาน ฯลฯ จากการศึกษาพบวา ผูเสพกระทอมสวนใหญเปนเพศชาย การศึกษาไมสูงนัก

ฐานะทางเศรษฐกิจอยูในระดับยากจน อายุเฉล่ียเริ่มลดลง วัตถุประสงคของการเสพเปล่ียนแปลงไป

คือจากเดิมเพื่อใหทํางานกลางแดดไดทนนาน เปล่ียนเปนการเสพเพื่อความสนุกสนานเพิ่มมากข้ึน

รูปแบบการเสพ มีท้ังเสพใบกระทอมอยางเดียวโดยการเค้ียว การชงน้ําดื่ม การสูบ ตลอดจน

เสพใบกระทอมเพื่อทดแทนยาเสพติดชนิดอื่นท่ีหายากและมีราคาแพง และการเสพกระทอมตาม

สูตรผสมตางๆ โดยตั้งชื่อตางๆ กันไป อาทิ ส่ีคูณรอย วันทูคอล ฯลฯ ซ่ึงพบมากในจังหวัด

ชายแดนภาคใต

สถิติการจับกุม ระหวาง พ.ศ. 2546-2550 พบวา พชืกระทอมมีจํานวนคดี

ท่ีจับกุมและปริมาณของกลางสูงข้ึนมากใน พ.ศ.2550 คดีสวนใหญเกิดข้ึนในพื้นท่ีภาคใต

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และกรุงเทพฯ สวนพื้นท่ีจังหวัดพบวามีการจับกุมเพิ่มข้ึน

จาก 7 จังหวัดใน พ.ศ.2546 เปน 20 จังหวัด ใน พ.ศ. 2550

สถิติการบําบัดรักษา ระหวาง พ.ศ. 2546-2550 พบวา ผูใชพืชกระทอมเขารับ

การบําบัดรักษาปละไมเกิน 500 คน สวนใหญเปนเพศชาย และสวนใหญมาจากภาคใต การศึกษาสถานภาพการใชสารเสพติด พืชกระทอม พ.ศ.2550 โดยเครือขาย

องคกรวิชาการสารเสพติด พบวา ประชากรภาคใตรายงานวาเคยใชสูงท่ีสุด รองลงมาคือ

กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ ตามลําดับ โดยผูเคยใชในระยะ

1 ป มีจํานวน 378,214 คน และผูเคยใชใน 30 วัน มีจํานวน 264,522 คน พืชกระทอมมีแนวโนมการแพรระบาดขยายตัวเพิ่มมากข้ึน ท้ังในมิติดานพื้นท่ี

และจํานวนผูเสพ โดยมีสาเหตุท่ีสําคัญคือ ผูเสพมีทัศนคติท่ีดีตอพืชกระทอม ราคาไมแพง

โทษพษิภยัไมรนุแรง และโทษตามกฎหมายนอย ◘ ■

การศกึษาวิจัย และองคความรูที่เก่ียวของ (พ.ศ.2546-2550)

จากการรวบรวมขอมูลพบวา การศึกษาวิจัย และองคความรูท่ีเกี่ยวของกับพืชกระทอม

ระหวาง พ.ศ.2546-2550 ท่ีสําคัญมีดังนี้

การศึกษา วิจัย และองคความรูที่เก่ียวของ

1. มหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร, ชุดโครงการวิจัย การศึกษาทางเภสัชวทิยาและพษิวทิยา

ของใบกระทอม, 2548-2552 (ขณะนี้อยูระหวางดําเนินการวิจัยและมีการนําเสนอผลการศึกษา

เบื้องตนของโครงการวิจัยยอยบางโครงการไปบางแลวในการประชุมวิชาการสารเสพติดระดับชาติ

ครั้งท่ี 4 ณ มหาวทิยาลัยสงขลานครนิทร ระหวางวนัท่ี 3-5 กรกฎาคม 2550)

Page 4: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

4

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

ชุดโครงการดังกลาวประกอบดวยโครงการวิจัยยอย 7 โครงการ คือ

1) ฤทธ์ิลดน้ําตาลในเลือดของสารสกัดหยาบใบกระทอม 2) ผลของสารสกัดใบกระทอมตอระบบทางเดินอาหาร 3) การพัฒนาวิธีวิเคราะหและศึกษาเภสัชจลนศาสตรของมิทรากัยนีนในหนูขาว 4) ผลของสารสกดัใบกระทอมตอเสนประสาทและรอยตอบรเิวณปลายประสาท กลามเนื้อลาย 5) การศึกษาแนวโนมความเปนสารเสพติดของสารสกัดจากพืชกระทอม 6) การศึกษาพิษเรื้อรังของสารสกัดใบกระทอม 7) ผลของการสกัดจากใบกระทอมตอพฤติกรรมและการดื้อยาตอฤทธ์ิแกปวด ในสัตวทดลอง

2. สํานักยุทธศาสตร สํานักงาน ป.ป.ส., เอกสารเผยแพรเรื่อง ผลการศึกษาส่ีคูณรอย,

2551 3. กองนิติการ สํานักงาน ป.ป.ส., เอกสารเผยแพรเรือ่ง กฎหมายควบคุมพชืกระทอม

ของตางประเทศ, 2551

4. สุนทรี วิทยนารถไพศาล, กฎหมายเกี่ยวกับพืชกระทอมในสังคมไทย, 2550

5. จุฑารัตน สถิรปญญา และวัลลภา คชภักดี, การใชกระทอมในกลุมเกษตรกร : กรณีศึกษาพื้นท่ี อ.ปาพยอม จ.พทัลุง, 2550

6. มีนา นุยแนบ, การใชพืชกระทอมในผูปวยท่ีเขารับบริการโรงพยาบาลจิตเวชสงขลา

นครินทร, 2550 7. กอบกูล จันทวโร, เอกสารเผยแพรเรื่อง มาตรการทางกฎหมายในการแกไขปญหา พืชกระทอม, 2550

8. สํานักงาน ป.ป.ส., หนังสือเรื่อง พืชกระทอมในสังคมไทย, 2548 ในหนังสือดังกลาวไดรวบรวมขอมูลการศึกษา วิจัย ของนักวิชาการเกี่ยวกับ

พืชกระทอมในสังคมไทย ท้ังดานวัฒนธรรม พฤติกรรม สุขภาพ วิทยาศาสตร และกฎหมาย

ไดแก

1) การศึกษารวบรวมขอมูลองคความรูของหมอพื้นบานท่ีใชพืชกระทอมในการ

บําบัดรักษาโรค โดย อรุณพร อิฐรัตน และคณะ

2) การศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม การรับรู อาการ หรือปรากฏการณลักษณะอื่นๆ

ท่ีเกิดข้ึนในคนผูท่ีมีประสบการณใชพืชกระทอม โดย สาวิตรี อัษณางคกรชัย และคณะ 9. บุญศิริ จันศิริมงคล, การศึกษาภาวะของผูเสพพืชกระทอม อําเภอพุนพิน จังหวัด

สุราษฎรธาน,ี 2546

Page 5: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

5

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

ผลการศึกษา วิจัย และองคความรูท่ีนาสนใจ ไดแก ผลการศึกษา วิจัย และองคความรู ที่นาสนใจ

1. ฤทธิ์ตานอาการทองเสียของใบกระทอมสามารถยับย้ังอาการถายเหลวชนิดรุนแรงและ

ลดปริมาณของอุจจาระไดดีใกลเคียงกับยามาตรฐาน 2. จากการทดลอง โดยให total alkaloids ในใบกระทอมกับหนูทดลอง พบวาสารสกัด

จากพืชกระทอมอาจไมมีแนวโนมความเปนสารเสพติด เนื่องจากสารสกัดจากพืชกระทอม ไมมีผล

อยางมีนัยสําคัญตอการกระตุนการหล่ังสารโดปามีน แตมีผลตอกานสมองท่ีสงผลตอการหล่ังสาร

ซีโรโทนีน อยางไรก็ตามยังตองทําการทดสอบโดยวิธีการอื่นๆ เพื่อยืนยันผลการศึกษาใหมีความ

ครอบคลุมเพิ่มมากข้ึน (รวมท้ังการทดลองทําในสัตวทดลอง ซ่ึงมีความเปนไปไดท่ีปฏิกิริยาของ

มนุษยท่ีมีตอสารสกัดจากพืชกระทอมอาจสงผลตางจากสัตวทดลอง)

3. จากการตรวจพิสูจนองคประกอบทางเคมีใน ส่ีคูณรอย พบวา สวนผสมหลักสวนใหญ

คือ คาเฟอีน ไดเฟนิลไฮดรามีน และพืชกระทอม นอกจากนี้ยังมีสวนผสมอื่นๆ เชน ยาแกไอ

ยาแกอาเจียน ยาลดน้ํามูก ยาแกปวด ยากันยุง และสารท่ีพบในฟาทลายโจร เปนตน 4. จากการสัมภาษณผูเสพ ส่ีคูณรอย เม่ือ พ .ศ.2550 ในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต

พบวา มีสวนผสมอื่นๆ ใน ส่ีคูณรอย เชน เครื่องด่ืมชูกําลัง กาแฟกระปอง วัตถุออกฤทธิ์ (อลัปรา

โซแรม, มาโน) สปารค (ยาฆาหญา ) กัมมอคโซน น้ํายาซักผาขาวไฮเตอร ผงสีขาวในไสหลอด

ฟลูออเรสเซนส เปนตน ทําใหส่ีคูณรอยมีผลออกฤทธ์ิแบบผสมผสาน ท้ังทําใหเกิดอาการมึนเมา

คึกคัก บาบิ่น หงุดหงิด งวงซึม ฯลฯ แลวแตสูตรผสมท่ีใช

6. เม่ือศึกษาถึงภูมิปญญาและความนิยมใชกระทอมของหมอพื้นบานโดยวิเคราะหจาก

ความถี่ของโรคท่ีหม อพื้นบานนิยมใชกระทอมรักษาโรค พบวา มีการใชกระทอมในการรักษา

อาการทองรวงมากที่สุด รองลงมาคือ รักษาโรค เบาหวาน แกปวดเม่ือย แกไอ และขับพยาธิ

ตามลําดับ ทัศนคติของหมอพื้นบานยังเห็นวา หากใชพืชกระทอมใหถูกวิธีจะมีคุณคามากกวาโทษ

7. ผูใชใบกระทอมรายงานวา เคย มีอาการเมากระทอมเกิดข้ึนเม่ือลองใชครั้งแรกๆ หรือ

เม่ือเค้ียวใบกระทอมปริมาณมากติดตอกัน โดยมีลักษณะอาการ ออนเปล้ีย แขนขาออนแรง

มือส่ัน ตัวส่ัน แนนหนาอก เวียนศีรษะ และปวดศีรษะ จึงอาจใชขอมูลเรื่องอาการเหลานี้เพื่อบอก

เตือนผูใชใบกระทอมใหระมัดระวังความเส่ียงตออุบัติเหตุ ท่ีอาจเกิดข้ึนหากตองขับรถหรือใช

เครื่องจักรยนตเม่ือมีอาการเมาหรือภาวะเปนพิษจากใบกระทอมได ผูท่ีใชใบกระทอมเปนประจํา

เม่ือหยุดใชจะมีภาวะถอนยาเกิดข้ึน โดยสามารถพบไดในผูใชประจํามากกวาในผูใชเปนครั้งคราว

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ อาการท่ีเกิดข้ึนเม่ือหยุดใชใบกระทอมคือ ความรูสึกอยากใชใบ

กระทอมอยางรุนแรง รวมกับอาการ 4 กลุมใหญๆ คือ กลุมอาการทางดานกลามเนื้อกระดู กและ

ขอ (ปวดเม่ือย กลามเนื้อกระตุก ) กลุมอาการทางระบบประสาทอัตโนมัติ (หาวมาก น้ําตาไหล

ใจส่ัน หัวใจเตนแรง รูสึกเหมือนเปนไขรอนๆ หนาวๆ ) กลุมอาการทางอารมณซึมเศรา

(เพลีย หดหูเศราหมอง ) กลุมอาการดานความรูสึกวิตกกังวล (เครียด หงุดหงิดโมโหง าย

กระวนกระวาย)

Page 6: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

6

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

การทบทวนนโยบาย ยุทธศาสตร และมาตรการในการปองกันและแกไขปญหา

พืชกระทอมในปจจุบนั

1. นโยบายระดับประเทศ

นโยบาย

นโยบายเรื่องพืชกระทอมปรากฏอยูในนโยบายยาเสพติดโดยท่ัวไปของรัฐบาล ซ่ึงมียุทธศาสตรการดําเนินงาน ไดแก

1) ดานการลดความตองการ เนนการบําบัดรักษาฯ ดวยระบบสมัครใจ 2) ดานการลดปริมาณ เนนการปราบปราม สกัดกั้นการลําเลียงพืชกระทอมจาก

ภาคอื่นๆ ลงไปยังภาคใตตอนลาง 3) ดานการปองกัน เนนการปองกันกลุมเส่ียง 4) ดานการบริหารจัดการ ไมมีโครงสราง ระบบงาน กลไกการแกไขปญหา

พืชกระทอมเปนพิเศษ ยกเวนในภาคใตซ่ึงใชโครงสราง ระบบงาน กลไกเสริม เพื่อชวยใหสงผล

ตอการแกไขปญหาพืชกระทอมใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใตไดมากย่ิงข้ึน

2. นโยบายระดับพื้นท่ี มียุทธศาสตรการแกไขปญหาเชิงพื้นท่ี โดยเฉพาะในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดน

ภาคใต และโครงสรางระบบงาน กลไกเสริม

3. นโยบายดานกฎหมาย ยังคงกําหนดใหเปนยาเสพติดใหโทษประเภทท่ี 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติด

ใหโทษ พ.ศ.2522 ■ ขอคิดเห็นตอเน้ือหาของนโยบาย

ขอคิดเห็นตอเนื้อหาของนโยบายแกไขปญหาพืชกระทอมท่ีสําคัญ สรุปไดดังนี้

1. ปญหาการใชพืชกระทอมอยางเดียวมีไมมากนัก เพราะเปนการใชตามวิถีชีวิตเดิมของ

คนในทองถิ่น แตปญหาท่ีพบมากคือการนําพืชกระทอมไปเปนสวนผสมรวมกับสารอื่นตามสูตร

ตางๆ เพื่อเสพและมีการนําไปสัมพันธกับปญหาความม่ันคงจึงทําใหปญหานี้ไดรับความสนใจ

เปนอยางมาก ดังนั้นจึงควรดําเนินการแกไขปญหาพืชกระทอมตามกฎหมายท่ีมีอยูเดิมไปกอน

จนกวาจะมีการปรับปรุงกฎหมายใหม

2. ควรทบทวนมาตรการทางกฎหมาย โดยเทียบเคียงพชืกระทอมกบักญัชา และกัญชง

(Hemp)

3. ในการทบทวนมาตรการทางกฎหมายพืชกระทอม ควรนําบทเรียนเรื่องผลกระทบของ

การแกกฎหมายจากยามาเปนยาบามาพิจารณารวมดวย เนื่องจากมีการเพิ่มโทษ แตไมสามารถ

แกปญหาใหบรรลุตามเจตนารมณของกฎหมายได

Page 7: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

7

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

การดําเนินงานตามนโยบายแกไขปญหาพืชกระทอมในภาพรวมยังประสบ

ความสําเร็จไมมากนักในระดับของผลกระทบ (Outcome) กลาวคือการใชพืชกระทอม

ผลของการดําเนินงานตามนโยบาย

ในลักษณะเชิงเดี่ยวและผสมกับสารอื่นลดนอยลง อยางไรก็ตามพบวามีการพัฒนาทั้งในระดับ Input-Process-Output ดังนี้

ระดับปจจัยนําเขา

(Input)

- ใหความสําคัญกับขอมูลวิชาการเพิ่มมากข้ึน - เนนส่ือเพื่อประชาสัมพันธและรณรงคแกไขปญหาพืชกระทอมในพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนภาคใต

ระดับกระบวนการ (Process)

- เนนการเฝาระวัง การสืบสวนหาขาว และการสกัดกั้นเพิ่มมากข้ึน - มีการเผยแพรขอมูลขาวสารและดําเนินการปองกันแกไขปญหา - มีการตรวจพิสูจนองคประกอบของสารเสพติดท่ีมีพืชกระทอมเปน สวนผสม

ระดับผลผลิต (Output)

- มีการปราบปรามแหลงผลิตพืชกระทอม โดยเฉพาะในกรุงเทพฯ และปริมณฑลอยางจริงจังและเปนรูปธรรม - มีผลงานการสกัดกั้น จับกุม การลักลอบคาพืชกระทอมในพื้นท่ีตางๆ มากข้ึน - ผูเขารับการบําบัดรักษาฯ การเสพติดพืชกระทอมมีนอย ซ่ึงอาจ มีสาเหตุมาจากหลายประการ เชน รางกายและจิตใจของผูเสพยังไม ทรุดโทรมมากนัก ทัศนคติท่ีดีตอพืชกระทอมโดยเฉพาะคนในพื้นท่ี ภาคใตซ่ึงเห็นวาพืชกระทอมเปนยารักษาโรคมากกวาเปนยาเสพติด เขารับการบําบัดรักษาฯ เนื่องจากอันตรายท่ีเกิดจากสารเสพติดตัวอื่น ท่ีใชรวมกับพืชกระทอม ฯลฯ

◘ ■

ขอเสนอเชิงนโยบาย ยุทธศาสตร และแนวทางการดําเนินงานตอไป

1. ควรเนนการใชหลักนิติศาสตรกับกลุมผูผลิต-ผูคารายใหญ และใชหลักรัฐศาสตรกับ

กลุมผูใชพืชกระทอมตามวิถีชีวิตเดิม (ใชเพื่อทํางานกลางแจง ใชรักษาโรค)

ขอเสนอเชิงนโยบาย

2. ควรเนนการปองกันกลุมผูใชรายใหมซ่ึงเปนกลุมวัยรุนและกลุมอาชีพท่ีไมเคยใชยา

เสพติดชนิดใดมากอน และปองปรามกลุมนักคารายใหม 3. ควรนํามาตรการตรวจสอบทรัพยสินตามกฎหมายฟอกเงินและมาตรการภาษีมาใชกับ

กลุมผูผลิตและผูคา 5. ควรเพิม่โทษในฐานความผิดเกี่ยวกับการผลิต การแปรรูป การจําหนาย ใหสูงข้ึนโดย

เทียบเคียงกับกัญชา

Page 8: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

8

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

6. ควรใหผูเสพติดพืชกระทอมเขารับการบําบัดรักษาฯ โดยเนนการบําบัดรักษาในระบบ

สมัครใจมากกวาระบบบังคับบําบัด 7. ควรศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายในแนวทางตางๆ ตลอดจนผลกระทบท่ีอาจเกิดจาก

นโยบายนั้นๆ (ตัดฟนทําลายพืชกระทอมโดยไมใหมีเลย/ มีพืชกระทอมไดแตตองมีการควบคุม/

อนุญาตใหใชพืชกระทอมในทางสมุนไพร/มีนโยบายเพิ่มเติมเฉพาะพื้นท่ี ฯลฯ)

1. ควรพัฒนาบุคลากรดานการปราบปรามยาเสพติด ใหมีทัศนคติ ความรู และทักษะใน

การปฏิบัติงานตรวจคน สกัดกั้น ลักลอบลําเลียงพืชกระทอม โดยเฉพาะการนําไปจําหนายในพื้นท่ี

ภาคใตตอนลาง

ขอเสนอในการปรับปรุงมาตรการดําเนินงาน

2. ควรพัฒนาชุดทดสอบเพื่อตรวจหาสารเสพติดของพืชกระทอมในรางกาย

3. ควรเพิ่มความเขมขน จริงจังในการปราบปรามขบวนการคายาเสพติดจําพวกพืชกระทอม 4. ควรสํารวจพื้นท่ีเส่ียงท่ีมีการปลูกพืชกระทอมมาก และเพิ่มความเขมขนของการ

เฝาระวังในพื้นท่ีท่ีมีพืชกระทอมข้ึนอยูตามธรรมชาติ เชน เขตปาสงวนฯ เขตอุทยานฯ เขตรักษา

พันธุสัตวปาฯ 5. ควรมีแนวปฏิบัติท่ีชัดเจนเกี่ยวกับการจับกุมผูเสพสารเสพติดท่ีมีสวนผสมของ

พืชกระทอม (ส่ีคูณรอย วนัทูคอล ฯลฯ) โดยคํานึงถึงความครบถวนขององคประกอบของฐาน

ความผิด 6. ควรมีแนวปฏิบัติท่ีชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการชั่งน้ําหนักพืชกระทอมของกลางท่ีจับได

(เชน ไมนับรวมน้ําหนักของลําตน) 7. ควรรวบรวม วิเคราะหผลการศึกษา วิจัย พืชกระทอมเพิ่มเติม โดยเฉพาะเรื่อง

เกี่ยวกับสารออกฤทธ์ิท่ีมีอยูในพืชกระทอมท่ีสงผลตอรางกายมนุษยเพื่อนํามาใชเปนขอมูล

ประกอบการพัฒนานโยบายการแกไขปญหาพืชกระทอมตอไป 8. ควรวิจัยเชิงเปรียบเทียบระหวางผลกระทบของพืชกระทอมกับยาเสพติดอื่นๆ

9. ควรพัฒนายุทธศาสตรการแกไขปญหาเชิงพื้นท่ี รวมท้ังกลไกการดําเนินงานโดยให

องคกรปกครองสวนทองถิ่น และองคกรภาคประชาชน เขามามีสวนรวมในการเฝาระวังปญหา

เพื่อใหการแกไขปญหาระดับพื้นท่ีมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน

◘ ■

สรุปผลการประชุมในภาพรวม เรื่องที่ตองดําเนินการโดยเรงดวน

เรื่องท่ีตองดําเนินการโดยเรงดวน (พฤษภาคม - กันยายน 2551) มีดังนี้

1. ตองติดตามสถานการณปญหาพืชกระทอมอยางใกลชิด ท้ังดานการปลูกเพื่อคา การแปรรูป การคา และการเสพ

Page 9: สรุปผลการประชุมวิชาการ : นโยบายและยุทธศาสตร์เรื่องพืชกระท่อม. และสารเสพติดที่มี

9

สวนวิชาการดานยาเสพติด

สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สาํนักงาน ป.ป.ส.

2. ปรับปรุงการดําเนินงานภายใตกรอบนโยบายเดิม โดยนําขอมูล และผลการศึกษา วิจัย

ท่ีมีอยูไปใชประโยชนในทางปฏิบัติ ไดแก

- การเฝาระวัง การสืบสวนหาขาวกลุมผูผลิต ผูคารายสําคัญ และการสกัดกั้น มิใหลักลอบลําเลียงไปคาในพื้นท่ีภาคใตตอนลาง

- กําหนดหลักเกณฑ/แนวทาง/วิธีการตรวจหาสารเสพติดในรางกาย วัตถุตองสงสัย และของกลาง

- บงัคับใชกฎหมายอยางเขมงวดกับผูผลิต/ผูแปรรูป/ผูจําหนาย - ปองกันผูเสพรายใหม

3. ปรับปรุงองคประกอบดานโครงสราง-ระบบงาน-ขอมูล-บุคลากร-อุปกรณ เพื่อสนับสนุน การดําเนินงานแกไขปญหาพืชกระทอมอยางมีประสิทธิภาพ

1. สํานกัพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน ป.ป.ส. เปนแกนกลาง

อํานวยการรวบรวม วิเคราะหผลการศึกษา วิจัย พืชกระทอมเพิ่มเติม โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับ

สารออกฤทธ์ิท่ีมีอยูในพืชกระทอมเพื่อนํามาใชเปนขอมูลประกอบการพัฒนานโยบายการแกไข

ปญหาพืชกระทอม และวางแนวทางการวิจัยพืชเสพติดตอไป

เรื่องที่ตองดําเนินการในระยะตอไป

2. สํานักยุทธศาสตร สํานักงาน ป.ป.ส. เปนแกนกลางกําหนดประเด็น และหาหนวยวิจัย

เพื่อดําเนินการศึกษาทางเลือกเชิงนโยบายตลอดจนผลกระทบท่ีอาจเกิดข้ึน 3. สํานักยุทธศาสตร และ สํานักพัฒนาการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด สํานักงาน

ป.ป.ส. รวมกันดําเนินการพัฒนาขอเสนอทางนโยบายใหมีความเหมาะสมตอไป

---------------------------------------

นายบัณฑิต คงเกล้ียง/ น.ส.ปยะธิดา เหลืองอรุณ ผูจดบันทึก นางจันทรา สุยสุวรรณ ผูสรุปผลการประชุม นายสุนทร ชื่นศิริ ผูตรวจ