สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้...

14
สุนทรียศึกษา : การสรางสรรคแบบแผนการเรียนรูในทางบวก (วิชาครูที่สํานึกรูถึงคุณคาสิ่งดีงาม) อุทัยวรรณ กาญจนกามล สถาบันเสริมสรางพลังชุมชน 1

Upload: uthaiwan-kanchanakamol

Post on 13-Nov-2014

418 views

Category:

Documents


3 download

DESCRIPTION

ประสบการณ์จากการนำวิชาครูที่รู้คุณค่าสิ่งดีงามมาใช้ในห้องเรียน โดยเน้นการประยุกต์ใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ“สุนทรียปรัศนี” มาเป็นกรอบคิดเพื่อการพัฒนาคน และทีมงาน วิชาครูที่“สำนึกรู้ในคุณค่าสิ่งดีงาม”จะมุ่งเน้นการสื่อสารระหว่างผู้เรียน โดยใช้ประสบการณ์แห่งความสำเร็จ และปฏิบัติการที่ถือว่าดีที่สุดที่เคยได้ทำมา ของทั้งเหล่านักศึกษาและอาจารย์มาเป็นตัวแบบ และจุดประกายความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองในทางบวก โดยเชื่อว่าการค้นหาประสบการณ์การทำงานที่เคยทำได้ดีที่สุด มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จะก่อให้เกิดพลังความคิดและการกระทำในทางบวก กระบวนการดังกล่าว จะทำให้ผู้เรียนมีความภาคภูมิใจ ที่ได้แสดงทัศนะจากความสำเร็จของตนเอง ก่อให้เกิดความบันดาลใจระหว่างผู้เรียน ให้ร่วมกันระดมความคิดและเรียนรู้จากสิ่งดีงาม ทำให้เกิดนวัตกรรมจากการร่วมกันคิดร่วมกันทำ ยังผลให้เกิดการเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติงานร่วมกันอย่างสนุกสนานมั่นใจ และสามารถต่อยอดความคิดลึกซึ้ง ในเนื้อหาใหม่ที่จะเรียนรู้ของผู้เรียน อีกทั้งเพิ่มประสิทธิภาพผู้สอนได้มากยิ่งขึ้น

TRANSCRIPT

Page 1: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

สุนทรียศึกษา :

การสรางสรรคแบบแผนการเรียนรูในทางบวก

(วิชาครูที่สํานึกรูถึงคุณคาสิ่งดีงาม)

อุทัยวรรณ กาญจนกามล สถาบันเสริมสรางพลังชุมชน

1

Page 2: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ใจความโดยสรุป บทความชิ้นนี้กลาวถึง ประสบการณจากการนําวิชาครูที่รูคุณคาสิ่งดีงามมาใชในหองเรียน โดยเนนการประยุกตใชกระบวนการเรียนรูแบบ“สุนทรียปรัศนี” มาเปนกรอบคิดเพื่อการพัฒนาคน และทีมงาน วิชาครูที่“สํานึกรูในคุณคาสิ่งดีงาม”จะมุงเนนการสื่อสารระหวางผู เ รียน โดยใชประสบการณแหงความสําเร็จและปฏิบัติการที่ถือวาดีที่สุดที่เคยไดทํามาของทั้งเหลานักศึกษาและอาจารยมาเปนตัวแบบและจุดประกายความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองในทางบวก โดยเชื่อวาการคนหาประสบการณการทํางานที่เคยทําไดดีที่สุด มาแลกเปลี่ยนเรียนรู จะกอใหเกิดพลังความคิดและการกระทําในทางบวก กระบวนการดังกลาวจะทําใหผูเรียนมีความภาคภูมิใจที่ไดแสดงทัศนะจากความสําเร็จของตนเอง กอใหเกิดความบันดาลใจระหวางผูเรียนใหรวมกันระดมความคิดและเรียนรูจากสิ่งดีงาม ทําใหเกิดนวัตกรรมจากการรวมกันคิดรวมกันทํา ยังผลใหเกิดการเรียนรูและฝกปฏิบัติงานรวมกันอยางสนุกสนานมั่นใจ และสามารถตอยอดความคิดลึกซึ้งในเนื้อหาใหมที่จะเรียนรูของผูเรียน อีกทั้งเพิ่มประสิทธิภาพผูสอนไดมากยิ่งขึ้น อารัมภบท Poor teachers - tell พฤติกรรมของ“ครูแย”แคบอกสั่ง Ordinary teachers - expain “ครูทั่วไป”ใหเด็กฟงนั่งขานไข Good teachers - demonstrate ทําใหดูคือ“ครูดี”มีทัศนไกล Great teachers - inspire บันดาลใจใหมุงมั่นนั้น“ยอดครู”

ก.)ฉันทาคติ ในประสบการณแหงความสําเร็จ

ฐานคิดดั้งเดิมของวิชาครูนั้นเริ่มจากการอนุมาณวา“ผูเรียนไมรู” กระบวนการเรียนรูของผูเรียนจึงมักเริ่มจากสิ่งที่มาจากในตํารา และเนื้อหาของตําราก็มักจะมาจากภายนอกประสบการณและนอกวิถีชีวิตของผูเรียนเปนดานหลัก ดังนั้น โจทยที่นํามาใหคิด ใหทดลอง หรือฝกปฏิบัติจึงมาจากภายนอกผูเรียนเกือบทั้งสิ้น ผลตามของการเรียนรูแบบดั้งเดิมก็คือ ความไมตระหนักถึงคุณคาของส่ิงที่มีอยูในตนเอง ผูเรียนตระหนักอยูเสมอวาตนเองขาดแคลนความรู การแสวงหาความรูจึงเร่ิมตนจากผูอ่ืน หรือส่ิงอื่นที่ไกลตัวออกไป บริบทของการเรียนจึงไมสอดคลองกับวิถีชีวิต สังคม ส่ิงแวดลอมและวัฒนธรรมชุมชน หรือทองถ่ินของตนเอง ดังนั้น ยิ่งเรียนสูงขึ้น ลึกซึ้งมากยิ่งขึ้นเทาใดก็ยิ่งหางจากภูมิธรรมของตนเอง หางไกลจากรากวัฒนธรรมชุมชน ไปจนกระทั่งเกิดความไรสํานึกและไรรากทางวัฒนธรรมในที่สุด นอกจากนั้นผลที่เห็นไดชัดจากกระบวนการการเรียนการสอนดังกลาวก็คือ เกิด การแขงขันกันไขวควาหาความรู นอกตัวตน เกิดการแกงแยงแขงขัน สรางความเคยชินใหกับตนเองดวยการ“เรียนพิเศษกับครูกวดวิชา” มีบรรยากาศเอื้ออํานวยใหเกิดการ

2

Page 3: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

เรียนรูแบบปจเจกสูงขึ้นเปนเงาตามตัว ขาดความเคารพ นับถือและใหเกียรติระหวางผูเรียนดวยกัน และความนับถือตนเองก็พลอยลดลงไปดวย

จากความทาทายตอส่ิงที่เกิดขึ้นดังกลาว ทําใหนักการศึกษารวมสมัยหัวกาวหนาบางกลุม หันมาใหความสนใจกับ ส่ิงที่มีอิทธิพลทางจิตใจของผูเรียน ใหความสําคัญกับทัศนคติในการเรียนรูมากขึ้นเปนลําดับ โดยถือวา ทัศนคติคือทุกสิ่ง (Attitude is everything) และในปลายศตวรรษที ่20 ไดมีการเปลี่ยนแปลงทฤษฏีวาดวย“การเรียนรูจากการใชปญหาเปนตัวตั้ง” และการเนนหนักในเรื่องการแสวงหาความรูแบบดั้งเดิม มาเปน “การใชสติปญญาที่มีประสบการณอยูแลวในตัวผูเรียนเปนฐาน” และเรียนรูในมุมมองตอโลกและชีวิตในดานบวกเปนปจจัยสําคัญ การทดลองกระบวนการเรียนรูแบบใหมนี้ มีช่ือวา สุนทรียปรัศนี (Appreciative Inquiry)

สุนทรีย(Appreciation) หมายถึง ความงดงาม ความรูสึกในคุณคาและความดีงามของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง และ ปรัศนี (Inquiry) นั้นหมายถึง การแสวงหา การคนพบ หรือการตั้งคําถาม

สุนทรียปรัศนี ในวิชาแหงความเปนครู คือกระบวนการเรียนการสอนที่เร่ิมตนจากการสรางบรรยากาศใหผูเรียนไดคนหาและแสดงออกถึงสิ่งดีงามที่ผูเรียนเคยมีประสบการณมากอน มีความตระหนักถึงคุณคาของสิ่งที่ตนมี ยิ่งมีโอกาสไดแสดงออกก็ยิ่งทําใหเกิดความภาคภูมิใจและความมั่นใจในตนเองและนับถือตนเอง ซ่ึงเปนความบันดาลใจทําใหเกิดความมุงมั่นที่จะทําใหดียิ่งขึ้นกวาเดิม ถือไดวาเปนขั้นตอนแรกของการพัฒนาจิตใจของผูเรียนที่สําคัญยิ่ง

การเริ่มตนพูดคุย สนทนาถึงชวงเวลาที่ดีที่สุด ที่นักศึกษาเคยปฏิบัติ และนําเอาสิ่งเหลานั้นมาวิเคราะห แลวนําเสนอถึงปจจัย เครื่องชี้วัดและที่มาแหงความสําเร็จ และสิ้นสุดลงดวยการหาทางช่ืนชมในสิ่งที่พวกเขาไดกระทํารวมกัน ทําใหเขามีความภาคภูมิใจ ทั้งหมดนี้เปนกระบวนการเรียนรูในบรรยากาศของความเปนประชาธิปไตย ที่แตละคนตางมีสวนรวมอยางเทาเทียมกัน เปนหมูคณะหรือ ทีมงาน โดยมีภาวะผูนําแบบประชาธิปไตยและสัมพันธภาพที่ดีดวย

ข.) การ เนนย้ําคุณคาแหงความสําเร็จในฐานะที่เปนสวนเสริมสรางวิสัยทัศนในทางบวก ในการเรียนรูแบบสุนทรีย จะมีกระบวนคนหาและพบพานกับประสบการณแหงความสําเร็จของนักศึกษาเพราะเริ่มจากความเชื่อวาประสบการณที่ดีทั้งหลายเปนปจจัย สําคัญที่จะเสริมสรางความมั่นใจและเปนสวนสําคัญที่จะกอใหเกิดการมองหาโอกาสใหมในทางที่ดียิ่งขึ้นไปอีก ถือวาเปนการทาทายความสามรถในการคิดและจินตนาการของนักศึกษาไปในเวลาเดียวกัน ประสบการณแหงความสําเร็จจะเปนภูมิหลัง เสริมสงใหนักศึกษาคิดถึงอุดมคติ ในเรื่องการพัฒนาเติบโตงอกงามและพลังที่จะโรมรันมากกวาการรองรับแคปญหาที่ตนเองประสบ

3

Page 4: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

อยู และในรูปแบบของ “การปฏิบัติการที่ดีที่สุด” ในชวงเวลาหนึ่ง หรือตนแบบปฏิบัติการในบรรยากาศของความมีช่ือเสียงเกียติยศจะทําใหเกิดสภาวะความเปนจริงที่เสริมสงใหอนาคตดีตามไปดวย ค.) การปลูกฝงความเชื่อวาจินตนาการในเชิงบวกจะนําไปสู “ปฏิบัติการในเชิงบวก”ดวย สุนทรียปรัศนี เนนย้ําในเรื่องการสรางภาพลักษณ ในทางที่ดีจะเสริมสงใหเกิดวัตรปฏิบัติที่ดี ดังนั้นพิธีกรรมที่นํามาใชในกระบวนการเรียนรูทั้งหลายจึงเริ่มตนจากการใชจินตนาการที่เปนอุดมคติเปนพลังขับดันใหเกิดปฏิบัติการที่ดีเลิศ ดังนั้นผูจัดประสบการณเรียนรูทั้งหลาย จําเปนอยางยิ่งที่จะตองตระหนักวา “ความผิดพลาด และปญหาทั้งปวง”จะทําใหเกิดการบั่นทอนกําลังใจและความสําเร็จในอนาคตเชนกัน ดวยเหตุที่วามันกลายเปนแหลงฟกตัวของความวิตกกงัวล ความประหวั่นพร่ันพรึง ความเจ็บปวด และความสูญเสียไปโดยใชเหตุ จินตนาการของความเปนอุดมคติตางหาก ที่จะทําใหผูเรียนรู มีความบันดาลใจ ที่จะเรียนดวยความสุข สนุ กสนาน และมีความคาดหวังถึงสิ่งที่ทําดวยตัวเองในอนาคตวาจะทําใหไดดีที่สุด ง.) คุณคาแหงการตั้งคําถามกันสองตอสอง ตอกลุม หรือทีมงานเพื่อเสริมสรางพลังทีมงาน เปนโอกาส ในชั้นเรียน ที่จะทําใหนักศึกษาเกิดความอยากรูอยากเห็น และการคนพบความสําเร็จในตัวเพื่อนรวมชั้นเรียนซึ่งจะสงผลใหตางฝายตางสนใจ เชื่อใจ ช่ืนชมซึ่งกันและกัน และนําไปสูการเคารพนับถือกันและกัน การจัดประสบการเรียนรูที่ใหความสําคัญกับการตั้งชุดคําถาม ที่นําไปสูการเสริมสรางพลังใจแกผูเรียนและทําใหผูเรียนใครครวญถึงสิ่งที่ตนได เคยทํามาในอดีต ซ่ึงการไดแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกันและกันถึงประสบการณแหงความสําเร็จ หรือการกลาวขานถึงวันเวลาที่ดีที่สุด ตลอดจนการกอใหเกิดความภาคภูมิใจในตัวเองและผูทํางานดวยกันจะนํามาซึ่งความบันดาลใจใฝเรียนรูซ่ึงเปนพลังอันยิ่งใหญ และกลายเปนเวทีที่ฟกตัวของผูมีพลังขับเคลื่อนสังคมไปสูการเปลี่ยนแปลงที่ดี และจุดประกายใหผูคนในสังคมในอนาคต ดังนั้นทามกลางบรรยากาศของการสัมภาษณกันและกัน และนําเสนอสิ่งที่ดี การสนทนาในมุมมองที่หลากหลายจะกลายเปนสีสันใหมในพื้นที่แหงการเรียนรู และไดแทรกสํานึกแหงความดีงามไดอยางวิเศษสุด

ถึงแมวาการจัดประสบการณเรียนรูแบบสุนทรียภาพนี้จะลอกเรียนแบบจากสุนทรียปรัศนี แตบรรยากาศและสภาวะแวดลอมของ การเรียนรูในหองเรียนและโรงประลองของวิทยาลัยจะตางไปจาก การทํางานตามสภาวะความเปนจริงของสถาบัน องคกรหรือชุมชนซ่ึง วิสัยทัศนรวมและปฏิบัติการรวมกันของทีมงาน จะเปนปจจัยสําคัญของการอยูรอดและเติบโตขององคกรหรือชุมชนซ่ึงเปนผลกระทบโดยตรงตอองคกรหรือชุมชนเอง ในขณะที่ช้ันเรียนหรือโรงประลองในวิทยาลัยนั้นเปนแหลงเรียนรู “ช่ัวคราว” หรือเปนไดแค “เสมือนจริง” นี่ถือเปนขอจํากัดที่สําคัญ ที่จะตอง

4

Page 5: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ตระหนักวาเวลาในการคิดและทํารวมกันนั้นสั้นและฉาบฉวยในกลุมเล็กๆในแตละชวงใชนอยเชน 20 นาที หรือ3ช่ัวโมงและสวนใหญก็จะอยูในชวงเวลาที่เปน “ปจจุบัน” รวมกัน ดังนั้น สุนทรียศึกษา จึงเปนรูปแบบการเรียนรู ที่จะตองออกแบบใหเขมขนในเรื่องกระบวนการคิด และการมีสวนรวมใหมากยิ่งขึ้นไปอีก โดยเฉพาะการใหความสําคัญกับขอมูลที่มาจากแหลงเรียนรูใหมากขึ้น สุนทรียศึกษา ในชีวิตประจําวัน สุนทรียศึกษาชวยใหการเรียนรูโลกในทางบวก มองโลกในแงดี เร่ิมจากชั้นเรียนประจําวันในปการศึกษาใหม มันชวยนําทางใหอาจารยมีจิตสํานึก และตัดสินใจที่จะกาวไปในทางบวกรวมกับนักศึกษา ไมวาจะใชบทเรียนหรืออุปกรณใด ๆ มันก็จะชวยใหนักศึกษาสามารถเขาถึงพลังที่มีอยูในตัวเอง ทั้งทักษะและพรสวรรค แลวนํามันออกมาใชในการเรียนรูไดอยาง มั่นใจภาคภูมิใจและนับถือตัวเองและคนรอบขางมากขึ้น ตัวอยางดังตอไปนี้จะชวยทําใหเห็นรูปธรรมของสิ่งที่กลาวมาขางตนชัดเจนยิ่งขึ้น

1. ทีมงาน สุนทรียศึกษาชวยใหนักศึกษาทํางาน เปนทีมไดอยางไรในชั้นเรียน? คําตอบคือ เร่ิมตั้งแตการตั้งคําถามที่เสริมสรางพลังใจ จากประสบการณเรียนรูของเขาเอง โดยขอให ทีมงานแตละกลุมที่กอตั้งกันเอง ลองทบทวนถึงสิ่งที่ทําใหเกิดความสุข คามสําเร็จ ความรูสึกถึงความสําเร็จ ความภาคภูมิใจที่เคยมี และโดยไมใชการใหคะแนนในการสอบมาเปนตัวตั้ง แตละกลุมจะไดรับงาน 2 แบบคือ

1.)เลาประสบการณที่ดีที่สุดที่ทุกคนในกลุมเคยมีไมวาเรื่องใดก็ตาม 2.)เลาเรื่องที่เปนปจจัยเกื้อหนุนทําใหเกิดประสบการณที่ดีที่สุดนั้น จากนั้นก็ใหแตละกลุมนํามาเสนอผลงานของกลุมโดยใช แผนฟลิปชารต และ

นําเสนอดวยวาจา กระบวนการเรียนรูเร่ิมจากการระดมความคิดในเรื่องปจจัยที่กอเกิดทีมงานที่ดี และตอจากนั้นใหกลุมจินตนาการถึง ส่ิงที่อยากใหกลุมมีเปนอุดมคติ วาทีมในฝนของกลุมเปนเชนไร

เมื่อมีการนําเสนอภายหลังจากที่ไดระดมความคิดแลวในชั้นเรียนที่ประชุมรวม โดยเนนย้ําใหผูที่จะนําเสนอ ใชประเด็นที่เปนองคประกอบของการทํางาน เพื่อใหเปนทีมในฝน อาจารย มีหนาที่รวบรวมประเด็นสําคัญ ที่นักศึกษาไดนําเสนอ โดยวัตถุดิบตองมา จากความคิดและการระดมสมองของนักศึกษาเปนหลักไมใชความคิดของอาจารย และไมจําเปนตองวิจารณ

จากนั้นกลุมยอยจะไดรับงานตอมาอีกก็คือ นําสิ่งที่มีอยูในกลุมอื่นมาเสริมสิ่งที่กลุมเองมีอยู โดยการแลกเปลี่ยนและสนทนากลุม

5

Page 6: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ในชวงสุดทาย กลุมยอยทุกกลุมไดจะรับงานใหระดมความคิดกันอีกครั้ง ใหระบุถึง วิธีการที่จะทําใหทีมงานของตนเอง ไปสูอุดมคติ ในชวงที่มีกิจกรรม อาจารยตองทําใหทีมงานกลุมแนใจวา การระดมความคิด เหลานั้นเปน ประสบการณที่ดีที่สุดของเขา และเปนพลังชีวิตที่เขาไดคิดไดทําจริงๆไมใชสักแตพูดใหสวยงาม

ประการตอมาคือ จะตองไมเอยถึงประสบการณ ที่ลมเหลวเลย และจะตองไมมีการพูดถึงสิ่งเสื่อมทราม เลวรายใหไดยิน

ในระหวางการสนทนา การฟงเรื่องราวของกันและกัน ก็เนนใหฟงกันอยางตั้งใจไมขัดจังหวะ ไมขัดคอ เมื่อจะนําเสนอในสิ่งที่แตกตาง ไปจากผูเลาจะตองไมมีคําวา“แต”และแทนที่คําวาแต ดวยคําวา “และ” ตลอดกาล

2. ผูนําชั้นเลิศ ส่ิงที่สําคัญประการตอมาคือ การระดมความคิดในเรื่องคุณลักษณะของ ผูนําในอุดมคติและองคประกอบของสวนที่ทําใหเปนผูนําในอุดมคติ เชนเดียวกับประเด็นแรก การระดมความคิดจะใชประสบการณเดิมที่เคยมีมาของผูนําที่ดีที่สุดในสายตาของพวกเขา แตหากมีเวลาก็ใหพวกเขาจินตนาการถึงผูนําในอุดมคติและแลกเปลี่ยนกันในกลุมและในชั้นเรียน

เราจะตองเริ่มจากการอภิปรายกันในกลุมเล็กกอนเสมอ แลวรายงานตอกลุมใหญของชั้นเรียน ที่พิเศษยิ่งกวานั้นก็คือ การมอบหมายใหแตละกลุมคัดเลือกผูที่เห็นวาสามารถจะพูดหนาชั้นไดในเวลา2นาที ในเรื่อง “ผูนําในดวงใจ” ลงทายดวยการอภิปรายถึงแนวทางการลงมือปฏิบัติวาตอนนี้เราอยูตรงไหน (ทั้งครูและศิษย) และจะไปสูส่ิงที่ปรารถนาโดยทางใดไดบาง

ขณะที่นักศึกษากําลังรายงาน อาจารยมีหนาที่คนหาสิ่งดีที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เพื่อใหเกิดบรรยากาศแหงความชื่นชม ดังนั้นคําถามจากปากอาจารยจึงควรจะเปน “ผูนําที่ดีที่สุดในสายตาของทานนั้นทําอะไรบาง จึงไดช่ือวาดีสุดๆ” ก็จะทําใหเกิดการแผวถางทางนําไปสูความคิดในเชิงบวกมากกวาลบ ไมบอกวา ไมดีนั้นเปนเชนไร

3. องคกรท่ีมีความเปนเลิศ ในสวนที่สําคัญที่ควรแกการเรียนรูและที่นักศึกษาควรสนใจก็คือ

ธรรมชาติขององคกรที่ถือวาดีเลิศนั้นมีคุณลักษณะเปนเชนไรบาง? มีอะไรเปนตัวอยางที่ชัดเจนและเปนรูปธรรม ? แลวหลังจากนั้นใหนักศึกษา ทบทวนวา ภาษาและกิริยาอาการที่แสดงถึงความเปนเลิศเทาที่เห็นนั้นเปนเชนไรในองคกรดังกลาว? และในชวงทาย ใหนักศึกษารายงานถึง ส่ิงที่ไดสังเกตเห็นในเรื่องดีๆโดยปราศจากการ พูดคุยหรือสนทนาในสิ่งที่ไมดี

4. ทฤษฏีองคการ ในชวงป ๒๕๓๕ เดวิด โคออปเปอรริเดอร เร่ิมใชสุนทรียปรัศนี

เปนรูปแบบของการทําหลักสูตรพํฒนาองคกร ไดนําเอาทฤษฏีองคการมาผสมผสานกัน ทําวิจัยในรูปแบบการพํฒนา ผูนําการเปลี่ยนแปลงไดบงชี้วาความสําคัญที่ทําใหองคกร

6

Page 7: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ประสพความสําเร็จนั้น คือการสื่อสาร 2 ทางที่เทาเทียมกัน และขอมูลที่ไดก็นํามาใชปรับทัศนคติของผูเรียนได รวมถึงบอกไดวามีปจจัยใดที่นําไปสูความเปนเลิศขององคการ

5. การสัมภาษณผูนําการเปลี่ยนแปลง สวนใหญในหลักสูตรปริญญาตรี มักไมคอยมีการสัมภาษณ หรือสนทนากับใครในเรื่องที่ตน กําลังศึกษาอยู วิธีการนี้จะมีประโยชนคือ การสรางคําถามชุดหนึ่งขึ้นมา แลวนํามาฝกหัดสัมภาษณกันและกัน แนนอนที่สุด คําถามเหลานั้นก็จะมุงเนนใหผูเรียนไดทบทวนผลงานที่ยอดเยี่ยมของตัวเองที่เคยทํามา (อาทิ ระบบการทํางาน หรือบุคลิกภาพของตัวเอง ) หรือไมก็ แสดงละครกันในกลุม ถึง “การเปน ผูนําที่ดีเขาทํากันยังไง?” และ“มันจูงใจยังไงบาง?”

6. การนําเสนอ ตัวอยางสุดทายของปฏิบัติการสุนทรียศึกษาก็คือ ใหทดลองปฏิบัติการนําเสนอเปนกลุมอยางสรางสรรคและคิดกันเองเปนกลุม เปนโอกาสอันวิเศษที่จะทําใหนักศึกษาทํางานกันเปนทีม และการพูดในที่สาธารณะเปนงานใหนักศึกษาทําตองเตรียมอยางประณีต

ส่ิงที่อาจารยจะตองทบทวนกอนอื่น ลีลาการนําสูบทเรียนแตละครั้งเปนเชนไร? มีความ

ตื่นเตน มีชีวิตชีวา และนาสนใจหรือไม ? ประการสําคัญก็คือมีเทคนิกหรือกระบวนการมีสวนรวมของผูเรียนจริงหรือไม หากมีการจัดประสบการการเรียนรูที่มีลักษณะหรรษาวิชาการดวย ก็ยิ่งทําใหมีเสนห ทําใหผูเรียนประทับใจมากขึ้นเปนทวีคูณ

กระบวนการดังกลาว สามารถทําใหการเรียนรู มีชีวิตชีวาสดใสสนุกสนานและผลที่ตามมาก็คือนักศึกษาจะตระหนักมากยิ่งขึ้นถึงความสําคัญของการสนทนาอยางมีสวนรวม การคิดและวางแผนการทํางานรวมกันในฐานะ “ผูเรียนรู” และออกแบบจัดประสบการณเรียนรูของตัวเองและของกลุม ไดอยางดีเยี่ยม ในเวลาตอมาไดเชนเดียวกัน

ส่ิงที่ชวยไดมากในการเรียนรูก็คือ 1.คําถามที่เสริมสรางพลังใจงายๆ และถามถึง ส่ิงที่เขาคุนเคยหรือมีอยูแลว 2.คําถามที่เปดโอกาสใหนักศึกษาไดเห็นถึงสิ่งที่ใชการไดดีในอดีต เปนทุนสํารอง และศักยภาพของตัวเองที่คนพบได บางคนอาจจะหาตัวตนพบไดในเวลาเดียวกัน 3.กิจกรรมการเรียนการสอนที่เปดโอกาสการเรียนรู ตั้งแตการทดลอง การปฏิบัติการ และการสะทอนความรูสึกภายหลังจากที่ปฏิบัติเสร็จแลว และการสรางเงื่อนไขที่ทําใหนักศึกษารูสึกถึงสิ่งที่เขาทําสําเร็จเปนหลัก

7

Page 8: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ดังนั้นสิ่งสําคัญที่อาจารยจะตองเตรียมตัวและเตรียมใจก็คือ การปรับบทบาทความ

เปนครูแบบดั้งเดิมในฐานะของผูประสาทวิชา โดยมีครูเปนศูนยกลาง มาเปนผูเอื้ออํานวยใหเกิดการเรียนรูที่ผูเรียนเปนศูนยกลาง จากที่สงเสริมความคิดแบบปจเจกมาเปนความคิดแบบรวมหมู จากที่เคยคับแคบใชวิธีส่ังการและหาคําตอบที่ถูกตองสอดคลองกับครูมาเปนการแสดงความคิดเห็นแบบประชาธิปไตย มีความคิดหลากหลายที่งดงามได นั่นหมายถึงประชาธิปไตยในรูปแบบพหุนิยม ที่เคารพในความคิดของผูอ่ืนและตัวเองดวย ซ่ึงทาทายอยางยิ่งตอการจัดการศึกษาในแนวเพาะบม “ความเปนไท”ใหกับผูเรียนเอง โจทยที่อาจารยจะตองขบคิดเพื่อสรางบรรยากาศแหงการเรียนรูใหมก็คือ 1. ทําอยางไรจึงจะทําใหผูเรียนมีความบันดาลใจในการรวมกันระดมความคิดในทีมงานของตนเอง ?

ดังนั้นผูสอนจะตองพยายามสราง “ชุดคําถาม” ที่นําไปสูการระดมความคิดคนหาความดีงาม และสิ่งเปนประสบการณความสําเร็จที่วิเศษของผูเรียน เปนหลัก

ก.)แมนักศึกษาจะนําปญหามาถาม ทางออกก็คือ การใหหลักคิด โดยใหมองหาสิ่งที่ใชการไดสถานการณ แหงปญหานั้นแลวเปลี่ยนคําวา“ปญหา”มาเปน“ความทาทายที่จะเปลี่ยนแปลงไปสูส่ิงที่ดีกวา”เปนสําคัญ แลวนํามาถอดบทเรียน อาทิ “อะไรทําใหทีมงานยังสามารถทํางาน หรืออยูกันไดในขณะที่มีปญหาเกิดขึ้น”

ข.)หากนักศึกษามีความกังวล หรือกระวนกระวายเมื่อเจอสถานการณบางอยางที่กดดัน ใหอาจารยอยูกับเขาและแนะนําใหเขาคนหาประสบการณที่ใกลเคียงกับความหมายเดิมของประเด็นที่เปนปญหา

2.ทําอยางไรจึงจะฉายใหเห็นปจจัยที่ทีผลทําใหทุกสิ่งใชการได และใหมองหาโอกาสและความเปนไปได 3.ทําอยางไรจึงจะเราอารมณนักศึกษาสนใจวิธีการที่จะนําไปสูความ สําเร็จเปนสําคัญ เนื่องจาก ประสบการณแหงความสําเร็จและสวนที่ดีที่สุดของปฏิบัติการทั้งหลาย สามารถปลดปลอยส่ิงที่ดีที่มีอยูภายในตัวของผูเรียนออกมาไดอยางเปนธรรมชาติ ทําใหเขาจินตนาการเปนและสามารถจินตนาการในสิ่งที่ดีที่สุดไดซ่ึงจะเปนหนทางที่ทําใหเขามีปฏิบัติการที่ดีที่สุดไดเชนเดียวกัน

8

Page 9: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

ผลพวงของสุนทรียศึกษา นอกจากสุนทรียศึกษาจะเปนเครื่องมือที่มีประโยชนในการจัดการกับชั้นเรียนแลวประโยชนที่ไดรับมากกวานั้นก็คือ ในขณะที่มีการเรียนรู ระหวางกันในสิ่งดีงาม จะทําใหผูเรียน รูจักตนเองมากขึ้น นับถือตนเอง และมีความมั่นใจมากขึ้นกวาเดิม และที่สําคัญก็คือ ผูเรียนเกดิความบันดาลใจ เมื่อไดรับคําถามที่เสริมสรางพลังจากครู สุนทรียศึกษาจะทําใหเกิดผลลัพธที่ช่ืนชูใจกับนักศึกษาทั้งในทันทีทันใด หรือไมก็มีการสั่งสมไปทีละเล็กละนอย กลาวคือ 1.)เราไดสังเกตเห็นถึงพลังท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนรูและ การปฏิสัมพันธระหวางนักศึกษาดวยกันในทางที่ดี เรามักไดยินคําถามบอยครั้งวาเมื่อไหร จะมีการเรียนรูเชนนี้อีก และมีสถานการณที่นําไปสูระดับที่สูง หรือลึกซึ้งไปกวานี้อีก 2.)นักศึกษามีความรูสึกดีม่ันใจและปลอดภัยเนื่องจากการพูดจาสนทนาถึงสิ่งดี ๆ กับกลุมทําใหความลังเลและหวาดกลัวลดนอยลง การฉายภาพในทางที่ดีตอตัวใครก็ตามเปนการใหเกียรติในประสบการณของเขาไปในตัว และเมื่อคําถามวามันเกิดขึ้นไดอยางไร ส่ิงที่ไดรับสะทอนกลับภายหลังจากกิจกรรมผานไปแลวก็คือ “มันงายมากที่จะพูดถึงใครบางคนที่อยูในระหวางปฏิบัติการที่ดีที่สุดของฉัน” และ “เมื่อพูดถึงความลมเหลว ฉันไดกลบความจริงบางอยางไวมิกลาพูด แมกระทั่งกับตัวฉันเอง” 3.) ภาพจากจินตนาการที่เปนความหวังในอนาคตจะ ชวยเสริมสรางพลังในตัวเขาเอง( ทําใหเขาสามารถทําอะไรไดในอนาคตไดดีกวา เมื่อเปรียบเทียบกับภาพในจินตนาการที่วางเปลา) พลังที่เกิดขึ้นจากความบันดาลใจจะทําใหเกิดความคิด และนวัตกรรมที่สรางสรรคไดดีกวา

มีผูตั้งคําถามวาเมื่อเราพูดกันแตความสําเร็จและสิ่งดีงามแลว ในสวนท่ีไมดีละมีหรือไมและหากมีเราจะทําอยางไรกับมันดี?

คําตอบก็คือ กอนอื่นเราตองเร่ิมตนที่ ชีวิตจริงมิไดโรยดวยกลีบกุหลาบ เราเชื่อวา ภาพลักษณที่เลวรายก็ดึงความสนใจที่จะใหเรียนรูไดเชนเดียวกัน แตเราสามารถเรียนรูไดดีที่สุด ในส่ิงที่ใชการไดและใชไดผลมากกวาสวนที่เลวราย

ดังนั้นแทนที่จะใชเวลาใหสูญเสียไปกับสิ่งปรักหักหักพังเราควรใชสมาธิในสวนที่เปนการมองโลกในดานดี เหนือส่ิงอื่นใดก็คือ ความปรักหักพัง และความผิดพลาดนั้นเราทําไดอยางดีที่สุดแคซอมแซม แกไข และดูเยี่ยงไวไมใหเอาอยาง ในขณะที่ปญญาที่ไดจากการปฎิบัติดีนั้นสามารถนํามาตอยอด เสริมสรางใหดียิ่งขึ้น และเสริมสรางพลังทีมงานไดดวย

9

Page 10: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

4.) นักศึกษา เชื่อในตัวเองมากขึ้นและมีความมั่นใจในประสบการณของตนเอง การมีสวนรวมจึงมีบรรยากาศที่ดี ซ่ึงตรงนี้ถือวาเปนสิ่งเปราะบางเนื่องจากการเรียนรูในโรงเรียนหรือวิทยาลัย ที่อาศัยตํารา หนังสือและครูคือคําตอบสุดทาย 5.) นักศึกษา มีทักษะและความมั่นใจในสุนทรียปรัศนีวา เปนทางเลือกท่ีจะทําใหริเร่ิมสรางสรรคแทนการวิเคราะหและแกไขปญหา วิธีการแกไขปญหาแบบดั้งเดิม คือกิจกรรมอันทรงพลังที่เราเคยเชื่อวามันใชการไดดี การตรงเขาไปสูปญหาทําใหเรา เขาไปอยูในวังวนของความคิดเดิม คือการแกไขสิ่งปรักหักพัง ซ่ึงในทายที่สุดเราก็พบวา ที่ทําไดอยางดีที่สุดก็คือการลดปญหา หรือการเยียวยาเทานั้นเอง ในขณะที่การตกผลึกความคิดที่ดีงามที่ตนเองเคยมีประสบการณมาแลวในอดีดนําไปสูการสรางวิสัยทัศนในทางที่ดี ทําใหหลุดจากกรอบความคิดเดิม ที่เอาปญหาเปนตัวตั้ง ซ่ึงเปล่ียนผานระบบคิดที่อาศัยปญญาเปนตัวจุดประกาย สามารถกอเกิดนวัตกรรมไดอยางคาดไมถึง

ยิ่งไปกวานั้นก็คือ สุนทรียปรัศนีแตะเขาไปในเรื่องของการคนพบพรสวรรคที่ซอนตัวอยูภายในตัวของผูเรียน ซ่ึงจะทําใหผูเรียนนําเอาศักยภาพของตนเองออกมาใชไดอยางนาอัศจรรย การเขาถึงชีวิตในฐานะ เปนสิ่งมหัศจรรย ดูจะมีชีวิตชีวาที่จะกอใหเกิดความเปลี่ยนแปลงไดมากกวาชีวิตที่ร ุมลอมดวยปญหาที่จําเปนจะตองไดรับการแกไขเปนแนแท ! 6.) ทัศนคติบวกตอนักศึกษาวาเปนผูรูมีคุณคาและเปนของจริง สุนทรียปรัศนี จะชวยเปดโลกของการเรียนรูในชั้นเรียน พบตัวเองวางอกงาม เจริญเติบโตในระยะเริ่มแรกของการพัฒนาตนเอง ซ่ึงเปนรากฐาน สําคัญสําหรับเรียนรูทางวัฒนธรรมที่สรางสรรคและสรางเสริมสุขภาพตนเองไดอีกตางหาก ไมวา ทางกาย ใจ สังคมหรอืจิตวิญญาณ นักศึกษาสวนใหญสามารถรายงานไดอยางกระตือรือรนวาพวกเขามีประสบการณที่ดีในการทํางานรวมกันเปนทีมมากยิ่งขึ้น มีการคนพบที่นาตื่นเตนรวมกับคนแปลกหนา และเขาใจเพื่อนและมุมมองของเพื่อนมากขึ้น นี่เปนความลึกซึ้งยิ่งขึ้นของการใชพลังชีวิตรวมกันระหวางมนุษยตอมนุษยในอนาคต และทําใหสัมพันธภาพของผูเรียนในชั้นเรียนแนบแนนขึ้นอีกดวย

ในทางกลับกัน การฟงคําบรรยายในชั้นเรียนจากอาจารยเปนวัฒนธรรมแบบปจเจกอยางเห็นไดชัดกลาวคือ อากัปกิรียาเพงตรงไปที่อาจารยเปนหนึ่งเดียว และแบบตัวใครตัวมัน เพื่อจะซึมซับในสิ่งที่อาจารยถายทอด ในขณะที่กระบวนการของสุนทรียศึกษา เปนเรื่องของการรับฟงเร่ืองราวดีงามของกันและกัน เปนกระบวนการกลุม ที่ทําใหเขาใจสังคม โลก และชีวิตของคนอื่นไดมากขึ้น ในขณะ เดียวกัน ก็เผยใหเห็นถึงสิ่งดีๆ และสิ่งที่ตนเองคิดวาดีที่สุด ตอคนอื่นไดอยางไมเกอเขิน และเปนโอกาสดีที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูซ่ึงกันและกัน มันเปนสํานึกแหงการเกาะเกี่ยวพึง่พาอาศัยกันและกัน เคารพนับถือซ่ึงกันและกัน ในบรรยากาศแหงความเอื้ออาทร การแบงปน การสนับสนุนและรวมงานกันอยางเคียงบาเคียงไหลหรืออาจไปไกลจนถึงการรวมหัวจมทายในฐานะพันธมิตรหรือภาคีคนหนึ่งหรือแมกระทั่งในฐานะของแนวรวมแลวแตวาการจัดประสบการณเรียนรูจะกอใหเกิดความบันดาลใจขนาดไหน

10

Page 11: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

7.) สุนทรียศึกษา ใหบทบาทของความเปนครูในฐานะผูจัดประสบการณเรียนรูเปนดานหลัก นั่นคือ ครูมีบทบาทเปนผูช้ีแนะ ผูจุดประกาย เปนวิทยากรกระบวนการ เปนผูประสาน

สัมพันธ ผูเสริมสรางพลังใจ และผูกอกระแสกลุมพลัง ซ่ึงถือวาเปนผลตามที่ดีของการเรียนการสอนในปจจุบัน นักศึกษาได มองโลกในแงดี มี่นใจในตนเองและ มีความสุขขณะที่เรียนรูไปดวย เปนหรรษาวิชาการ และทําใหอะไรงายเขา ซ่ึงในทางปฏิบัติ เราพบวาเปนความงายยิ่งขึ้นที่จะกอใหเกิด พัฒนาการในตัวผูเรียนเอง เนื่องจากเปนการเรียนรูจากประสบการณของตัวเอง ส่ิงที่ไดพบเห็น และไดยิน เร่ืองราวประสบการณแหงความสําเร็จเกิดขึ้นกับนักศึกษาคนแลวคนเลา จะทําใหครูมีความรูสึกยินดี มํากําลังใจสอนมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่ิงเหลานี้ถือเปนวัตถุดิบนําเขา เพื่อการเรียนรูใหลึกซึ้งยิ่งขึ้นไปอีก และเมื่อเราพึมพํากับตัวเองว า “เออจริงซิ”หรือ“ใชแลว”ก็ยิ่งทําใหเราเห็นวาเราเดินทางมาในหนทางที่ถูกตอง ทั้งผูจัดประสบการเรียนรู และนักศึกษาเอง การจัดวางกรอบความคิดในทางบวกถือวาเปนพลังสําคัญในชั้นเรียนที่จะสรางความบันดาลใจ อยากรูอยากเห็นและอยากคนควาหาความรูใหม ทําใหมองเห็นหนทางที่เปนไปไดใหมๆมากยิ่งขึ้น ซ่ึงถือเปนความหมายและทิศทางใหมของการศึกษา เราไดพบ การจัดวางกรอบความคิดในความสํานึกถึงคุณคาของความเปนมนุษยในตัวผูเรียน ซ่ึงเปนพลังชุมชนแหงการเรียนรู และเขาใกลวัตถุประสงคที่แทจริงของการศึกษาเพื่อความเปนไท ซ่ึงเราเชื่อและหวังวา กิจกรรมทั้งหลายที่มีรากเหงามาจาก สัมมาทิฐิ จะมีมากขึ้นในมวลมนุษยชาติ ซ่ึงถือเปนความทาทายอยางยิ่งของวงการศึกษาที่กําลังหาทางปฏิรูปการศึกษาในแวดวงของตนเอง เพื่อมุงสูอิสรภาพอยางแทจริง ปจฉิมกถา: ผูเขียนขอฝากขอสังเกตเพื่อกอใหเกิดการวิภากษในวันขางหนาเกี่ยวกับกระบวนการแหงสุนทรียศึกษา ไวอยางยนยอ 6 ประการเพื่อใหเขาใจและจดจําไดงาย กลาวคือสุนทรียศึกษาเปนเรื่องของ...... 1) การเพิ่มเติมเสริมสรางจากขางใน (Internalization) 2) การกอเกิดความบันดาลใจใหรวมคิด (Inspiration) 3) การรวมเนรมิตนวัตกรรม (Innovation) 4) การรวมเหนี่ยวนําสูปฏิบัติการ (Implementation) 5) การรวมสรางพื้นฐานการพัฒนา (Improvement) 6) การศึกษาที่ทําใหเกิดภูมิคุมกัน (Immunity)

ดวยความเชื่อในพุทธปรัชญาที่วา สัตวโลกยอมเปนไปตามกรรม (กัมมุณา วัตติ โลโก) เราสามารถเปนพุทธะได หากเราคนพบ“อริยะมรรค”ไดดังเชนที่พระพุทธองคทรงคนพบ

ความเปนพุทธะ คือความเปนผู รู ผูตื่น ผูเบิกบาน ส่ิงสําคัญที่พระพุทธเจาทรงคนพบและสถาปนาตนเองเปนพุทธะไดนั้นคืออริยะสัจจะ การเริ่มตนจากสิ่งดีงาม ที่รํารึกไดวา “เคยทํา” จะ

11

Page 12: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

เปนปจจัยหนุนเนื่องใหเกิด ส่ิงดีงามอีกหลายหลากตามมา ไมวาจะเปนความคิดเห็นที่ดี(สัมมาทิษฐิ)( สัมมากัมมันตะ)วาจาที่ไพเราะ( สัมมาวาจา)( สัมมาสังกัปปะ)( สัมมาวายามะ)สติดี( สัมมาสติ)มี( สัมมาสมาธิ ) และดวยหลักแหงการหนุนเนื่องนั้นเอง(อิทัปปจจัยตา) ก็สามารถจะทําให คน กลุมคน ชุมชน และสังคม “จุติใหม” (Reincarnation)ในโลกใบนี้ กองทุกขกองนี้ และเปลี่ยนแปลง ไปสูโลกที่ดีกวาไดไมยากนัก “ใจ” เปนผูนําสรรพสิ่ง “ใจ”เปนใหญ ทุกส่ิงสําเร็จไดดวย”ใจ” หากคิด พูด ทํา ในสิ่งดี หรือช่ัว ฉันใด ความสุข หรือความทุกขก็จะติดตามตัว เหมือนลอเกวียนหมุนเตา ตามรอยเทาโคฉันนั้น

และทายที่สุดนี้ ขอผนวกบทเพลง 2 ลีลาที่อาจทําใหบทความชิ้นนี้อานแลวผอนคลายไมหนักไปในทางวิชาการมากเกินไป แมจะมีเนื้อหาบริบทตางกัน แตเปาหมายในบทเพลงนั้นพองพานกันยิ่งนัก

ความรักท่ีย่ิงใหญท่ีสุดทั้งหลายทั้งปวง (อยูท่ีนี่ และตรงนี้ กับผูเรียนของเรา)

ฉันเชื่อวาเด็กทั้งหลายคืออนาคตของเรา ฟูมฟกเขาใหดีและใหโอกาสเขาไดกาวไปในทิศทางที่เขาปรารถนา แสดงใหเขาเห็นถึงความงดงามที่มีอยูภายในจิตใจของเขา ใหเกียรติเขาและปลูกฝงใหเขารูสึกภาคภูมิใจในตนเอง ถาจะใหงายขึ้นอีกก็คือ มาทําใหเขาไดหัวเราะกันอยางเบิกบาน ดังเชนที่เราไดเคยสัมผัสในเยาววัย ทุกชีวิตตางแสวงหาวีรบุรุษในดวงใจของตนเอง ฉันเองก็ไมรูเหมือนกันวาเขาไปหากันที่ไหน และฉันก็ไมพบวาใครจะเปนแบบอยางใหฉันไดดังปรารถนา มันเปนความรูสึกอางวาง ในโลกที่อยูยากในปจจุบัน ดังนั้นฉันจึงเรียนรูที่จะพึ่งพาตนเอง ฉันปรารถนามานานแลวที่จะไมครอบงําหรืออยูภายใตเงื้อมเงาของใคร หากฉันประสพความสําเร็จหรือแมลมเหลวฉันก็ไมหวั่น เพราะ อยางนอยที่สุด ฉันก็ไดทําในสิ่งที่ฉันเชื่อ และแมนใครจะบังอาจยื้อยุดฉุดกระชากวิญญาณของฉันไป ทําใหฉันสูญเสัยทุกอยาง เขาก็ไมอาจฉุดกระชากเกียรติศักดิ์ของฉันไปดวยได เพราะฉันไดพานพบแลววา ความรักอันยิ่งใหญนั้นบังเกิดแลวแกตัวฉัน

12

Page 13: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

เพราะฉันไดพานพบแลววา ความรักอันยิ่งใหญที่สุดนั้นอยูภายในตัวของฉันเอง ความรักอันยิ่งใหญทั้งปวงนั้นงายแกการทําอะไร ๆใหสําเร็จได ความรักอันยิ่งใหญนั้นคือรูจัก“รัก”ตัวเอง ซ่ึงไมไดหมายถึง“หลงรัก”ตัวเอง หากแตรูซ้ึงถึงคุณคาของตัวเอง และการไดเรียนรูที่จะรักตัวเองตางหาก คือ ความรักอันยิ่งใหญทั้งปวง และหากจะมีเหตุบังเอิญตองไปอยูในที่พิเศษแหงหนใดก็ตามที่ทานเคยฝนไว คือไดพบความรัก มีครอบครัวที่อบอุน และประสพความสําเร็จในงานที่ทํา จงเขาไปอยูในมุมสงบ แลวคนหาพลังแหงความรักอันกลาแกรงของทานเองใหเจอ แปลจากเนื้อเพลงยอดนิยมอันดับหนึ่งของ Whitney Houston ป ๒๕๒๙

–The Greatest Love of All

มหาวิทยาลัยในฝน หากจะเปรียบมหา’ลัยเปนดั่งเชนเตาเผา คณะก็คงเหมือนเบา ที่หลอมพวกเราออกมา

ถานกอนแดงที่โหมไฟแรงคือ ภาควิชา ที่หลอมคนใหมีคา อีกพัฒนาใหสมคาคน กอนจะสอบเอ็นทรานสเขามาศึกษา แขงขันกันดังเหมือนบา กวดวิชาไปทุกแหงหน ผานเขามามุงหวังปริญญาคาลน กลับพบแตความหมองหมน ไมเหมือนที่ตนตั้งใจ

ยามเรียนหางไกลผูใหความคิด จะหวังเพื่อนที่ใกลชิด ก็มีแตความหมองไหม ประคองตัวเองมิใหตองถูกรีไทร ตางเหยียบบากันไป เหมือนไตบันไดอาถรรพ ขอวอนกราบพอพิมพแมพิมพทั้งหลาย ไดโปรดหลอหลอมเหลาบัณฑิตไทย เหมือนที่คนเขาหมายมั่น ประสาทวิชา ประสานดวงใจ คิดใฝสรางสรรค กระตุนใหคนรักกัน บากบั่นเพื่อคนยากไร อยาใหเปรียบมหา’ลัยเปนเชนสนามรบ ที่คิดถึงเพียงวันชีพจบในชวงอนาคตใกล ใหการศึกษาสมดังปรัชญามหา’ลัย บรรลุเปาหมายยิ่งใหญ เพื่อลูกหลานไทยแทจริง

เนื้อเพลง : อุทัยวรรณ กาญจนกามล

13

Page 14: สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน โดยอุทัยวรรณ กาญจนกามล

14