ทุนนิยมที่มีหัวใจ:...

196
openbooks HCL BACKUP.indd 1 HCL BACKUP.indd 1 1/1/70 9:47:42 AM 1/1/70 9:47:42 AM

Upload: sarinee-achavanuntakul

Post on 11-Aug-2015

994 views

Category:

Documents


14 download

DESCRIPTION

ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล เรียบเรียงจากบทบรรยาย ณ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เชียงใหม่ พ.ศ. 2551

TRANSCRIPT

Page 1: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

openbooks

HCL BACKUP.indd 1HCL BACKUP.indd 1 1/1/70 9:47:42 AM1/1/70 9:47:42 AM

Page 2: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

æ‘¡æå§√—Èß·√° °—𬓬π 2551

‡≈¢¡“µ√∞“π “°≈ª√–®”Àπ—ß ◊Õ

978-974-8233-52-9 √“§“ 165 ∫“∑

‡√◊ËÕß

 ƒ≥’ Õ“™«“π—π∑°ÿ≈

‡√’¬∫‡√’¬ß æ‘≥—∞∞“ Õ√ÿ≥∑—µ

°Õª√∑‘æ¬å Õ—®©√‘¬‚ ¿≥

∫√√≥“∏‘°“√∫√‘À“√ ¿‘≠‚≠ ‰µ√ ÿ√‘¬∏√√¡“

∫√√≥“∏‘°“√

 ‘π’π“∂ ‡»√…∞æ‘»“≈

ÕÕ°·∫∫ª°·≈–√Ÿª‡≈à¡ πÿ √“ ª√–°“¬æ‘ ÿ∑∏‘Ï

 ”π—°æ‘¡æå openbooks

286 ∂ππæ‘™—¬ ·¢«ß∂πππ§√‰™¬»√’

‡¢µ¥ÿ ‘µ °√ÿ߇∑æœ 10300 ‚∑√»—æ∑å 0-2669-5145 ‚∑√ “√ 0-2669-5146

www.onopen.com email: [email protected]

®—¥®”Àπà“¬

‡§≈Á¥‰∑¬ 117-119 ∂ππ‡øóòÕßπ§√ µ√ߢⓡ«—¥√“™∫æ‘∏ °√ÿ߇∑æ 10200

‚∑√»—æ∑å 0-2225-9536-40 ‚∑√ “√ 0-2222-5188

HCL BACKUP.indd 2HCL BACKUP.indd 2 1/1/70 9:47:43 AM1/1/70 9:47:43 AM

Page 3: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

อยากังขาวาพลเมืองกลุมเล็กๆ ผูมีความคิดและความทุมเทจะเปลี่ยนแปลงโลกไมได อันที่จริง มันคือสิ่งเดียวที่เคยเปล่ียนแปลงโลกเรา

ตั้งแตอดีตจวบจนปจจุบัน - Margaret Mead, นักมานุษยวิทยา -

ถาเราสามารถคนพบวิธีการที่ตอบสนองตอความตองการของผูยากไร ในทางทําใหภาคธุรกิจมีกําไร และนักการเมืองไดคะแนนนิยม ก็เทากับวาเรา

ไดคนพบวิถีอันยั่งยืนแหงการลดระดับความไมเทาเทียมกันในโลกนี้ - Bill Gates, ผูกอตั้งบริษัท Microsoft -

ธรุกิจมีเปาหมายที่สูงสงไมแพการแพทย กฎหมาย และการศึกษา เปาหมายนั้นคือการจัดหาสินคาและบริการที่ปรับปรุงคุณภาพชีวิต ของลูกคา จัดหาอาชีพและงานที่มีความหมายใหกับพนักงาน

สรางความมั่งคั่งและความเจริญใหกับนักลงทุน

และเปนพลเมืองที่เปยมความรับผิดชอบและความหวงใย - John Mackey, ผูกอตั้งบริษัท Whole Foods Market -

HCL BACKUP.indd 3HCL BACKUP.indd 3 1/1/70 9:47:44 AM1/1/70 9:47:44 AM

Page 4: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

สารบัญ

คํานํามหาวิทยาลัยเที่ยงคืน: 6 คํานํา: 11 ความเขาใจผิดบางประการเกี่ยวกับทุนนิยม มายาคติ และขอเท็จจริง: 14 สูกระบวนทัศนใหมแหงการรวมมือกัน: 36 แนวคิดใหมๆ ที่ประกอบสรางเปนกระบวนทัศนใหม: 40 เครื่องมือใหมๆ ที่ใชในภาคปฏิบัติ: 54 สถาบันใหมๆ ในกระบวนทัศนใหม: 70

ทางเลือกของสังคม (2): กรณีศึกษา: 92

HCL BACKUP.indd 4HCL BACKUP.indd 4 1/1/70 9:47:44 AM1/1/70 9:47:44 AM

Page 5: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

2) DualCurrency System: 112 3) บริษัท Benetech: 126 4) โครงการ Campfire ในประเทศซิมบับเว: 134 ธนาคารกรามีน (Grameen Bank): 146 อภิธานศัพท: 174

HCL BACKUP.indd 5HCL BACKUP.indd 5 1/1/70 9:47:45 AM1/1/70 9:47:45 AM

Page 6: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

6

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ประมาณเดือนมีนาคม 2550 มหาวิทยาลัยเที่ยงคืนนัดประชุมปรึกษาหารือกันในหลายเร่ือง หนึ่งในน้ันคือการเปดช้ันเรียนใหมหลังจากท่ีเคยเปดวิชามลายูศึกษาไปเมื่อตนป 2549 ที่เชียงใหม และไดเปดวิชานี้อีกครั้งที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรวิทยาเขตปตตานีในเดือนพฤษภาคม ตอมา ในเดือนสิงหาคมก็เปดชั้นเรียนเร่ือง งานวิจัยดวยฝาเทา โดย ดร.ประมวล เพ็งจันทร หลังจากนั้นกิจกรรมช้ันเรียนก็วางเวนไป เมื่อตกลงกันวาจะเปดชั้นเรียนอีกครั้ง ประเด็นที่ทุกคนสนใจอยากเรียนรูคือเร่ืองของทุนนิยม เพราะเปนเร่ืองท่ีครอบคลุมไปทุก ปริมณฑลของโลกและชีวิต มีบทบาทมากจนตองต้ังคําถามวา ทุนนิยมควรเปนอยางไรกันแน? ทุนนิยมท่ีเปนธรรมมีหรือไม? ยุคสมัยจากน้ีผูคนจะเปนอยางไรตอไป? ประชาชนอยางเราจะมีที่ทางตรงไหนในบรรยากาศที่มีทุนนิยมเปนลมหายใจ? มีตัวอยางอันควรแกการเรียนรูอะไรบางที่เราจะสามารถใชระบบนี้อยางมีประสิทธิภาพได?

คํานํา มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน

HCL BACKUP.indd 6HCL BACKUP.indd 6 1/1/70 9:47:46 AM1/1/70 9:47:46 AM

Page 7: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

7

สฤณี อาชวานันทกุล

วิทยากรซึ่งจะเชิญมาบรรยายท่ีสมาชิกทุกคนนึกถึงคือ คุณสฤณี อาชวานันทกุล ผูมีผลงานโดดเดนเรื่อง ‘To Think Well is Good, To Think Right is Better’ เรื่องราวของความกลาคิดกลาทําของ 12 นักคิดผูสั่นโลกไหวดวยแนวคิดใหมเพื่อมนุษยชาติ จะวาไปแลวผลงานของคุณสฤณีนี่เองเปนแรงบันดาลใจใหการคิดเปดช้ันเรียน

ในเรื่องนี้เปนจริงขึ้นมา ในการปรึกษาหารือกัน มีขอเสนอวา จะขอใหวิทยากรชวยคนความาเลาดวยวา นอกจากเร่ืองของแนวความคิดของบุคคลและองคกรตางๆ ที่ลงมือกระทําอยูในแตละทองถิ่นแตละประเทศเพื่อเผชิญหนากับปญหาที่แตกตางกันแลว เมื่อมองมายังบานเรา มีเรื่องใดที่เหมาะจะนํามาเปนกรณีศึกษาเพื่อประยุกตใชใหสอดคลองกับสภาพปญหาของสังคมไทยไดบาง และไมผิดหวังเลย การบรรยายในช้ันเรียนท่ีชื่อวา “ทางรอดทุนนิยม สังคมแหงความรวมมือ” คุณสฤณีทําการบานมาอยางดี ไดเสนอองคความรูเก่ียวกับทุนนิยม มายาคติเก่ียวกับทุนนิยม ทั้งยกตัวอยางความฉอฉลท่ีเกิดข้ึนกับระบบและบุคคลรวมท้ังเสนอกระบวนทัศนใหมที่กําลังเกิดขึ้นในทามกลางกระแสหลัก รวมท้ังเรื่องราวของการคิดคนนวัตกรรมใหมๆ เปนทางเลือกของสังคม เปนตัวอยางของการทดลองคนควาแสวงหาทางออกท่ีประสบความสําเร็จมากขึ้นเร่ือยๆ มีกรณีศึกษามากมายท่ีนาต่ืนตาตื่นใจ ไมวาจะเปนกรมธรรมประกันอากาศ, ระบบเงินตราแบบใหม, บริษัทตัวอยางที่ทําธุรกิจเพื่อสังคม, โครงการท่ีชาวบานดูแลบริหารจัดการในประเทศซิมบับเว และเรื่องของธนาคารกรามีน ธนาคารเพ่ือคนจน ที่สําคัญคือ ทั้งหมดน้ีมี

บางกรณีที่เริ่มนํามาใชในประเทศไทยบางแลว วิทยากรนําเราไปสูประเด็นท่ีวา ทุนนิยมท่ีมีหัวใจน้ันมีจริงและเปนไปได ดวยพลังแหงความดีของคนท่ีกลาคิดกลาทํา มีใหเห็น

HCL BACKUP.indd 7HCL BACKUP.indd 7 1/1/70 9:47:47 AM1/1/70 9:47:47 AM

Page 8: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

8

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เปนตัวอยางมากมาย และส่ิงเหลานี้กําลังผลิดอกออกผลงดงาม แมการเปดชั้นเรียนไปเม่ือบายวันเสาร-อาทิตยที่ 7 และ 8 กรกฎาคม 2550 ทามกลางผูรวมสนทนาอยางอบอุนจะผานพนไปแลวก็ตาม แตมหาวิทยาลัยเท่ียงคืนใครขอถายทอดบรรยากาศการแลก-เปลี่ยนเรียนรูแบบสบายๆ นั้น โดยการเปดช้ันเรียนในรูปแบบของหนังสือชุดความรูเที่ยงคืนเลมนี้ เพื่อใหผูอานไดรวมเรียนรูไปดวยกันดังที่เคยปฏิบัติมา มหาวิทยาลัยเท่ียงคืนขอขอบคุณคุณสฤณี อาชวานันทกุล ที่อุทิศตนใหกับกระบวนการใหการศึกษาแกสังคมวงกวาง เปนพลังใหกับการทําความดีเพื่อสังคม และทําใหกระบวนวิชานี้ประสบความสําเร็จเปนอยางดี ในโอกาสนี้ ขอเชิญทานลงทะเบียนเขาชั้นเรียนกระบวนวิชา ทุนนิยมที่มีหัวใจ ทางเลือกใหมแหงการพัฒนา ไดตามอัธยาศัย

มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน อาทิตยที่ 1 มิถุนายน 2551

HCL BACKUP.indd 8HCL BACKUP.indd 8 1/1/70 9:47:47 AM1/1/70 9:47:47 AM

Page 9: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

9

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 9HCL BACKUP.indd 9 1/1/70 9:47:48 AM1/1/70 9:47:48 AM

Page 10: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

10

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

หนังสือเลมนี้เปนการเรียบเรียงบทบรรยายในหัวขอ “ทางเลือกของสังคม: สูกระบวนทัศนใหมแหงการรวมมือกัน” ที่ผูเขียนไดรับเกียรติจากอาจารยนิธิ เอียวศรีวงศ และมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ใหไปบรรยายในวันที่ 7 และ 8 กรกฎาคม 2550 ณ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน เชยีงใหม อาจารยนิธิบอกวาอยากใหมาบรรยายเกี่ยวกับเนื้อหาในหนังสือสองเลมของผูเขียน ไดแก To Think Well Is Good, To Think Right Is Better (เมษายน 2549) และ ตกน้ำไมไหล (เมษายน 2550) ซึ่งสํานักพิมพโอเพนบุคสกรุณารวบรวมและตีพิมพจาก 24 ตอนแรกของคอลัมน ‘คนชายขอบ ’ ในเว็บไซตโอเพนออนไลน (http://www.onopen.com/) โจทยของผูเขียนคือ ทําอยางไรจึงจะเชื่อมรอยเรื่องราวของนักปรัชญา นักคิด นักเศรษฐศาสตร นักเคล่ือนไหว นักธุรกิจ และนักอื่นๆ อีกหลายคน เขาเปน ‘เรื่อง’ เดียวที่สอดคลองกันในทุกมิติบนระนาบเดียวกัน ใหภาพรวมของ ‘โลกใหม’ ที่พวกเขาใฝหา และยกกรณีตัวอยางที่ประสบความสําเร็จแลวในโลกแหงความจริง

คํานํา

HCL BACKUP.indd 10HCL BACKUP.indd 10 1/1/70 9:47:48 AM1/1/70 9:47:48 AM

Page 11: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

11

สฤณี อาชวานันทกุล

ผูเขียนพบวา ไมวาจะแตกตางกันเพียงใด ‘คนชายขอบ’ เหลานี้ลวนมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกัน นั่นคือ ความปรารถนาที่จะเห็นโลกที่ดีกวาเดิมโดยไมตองสละประสิทธิภาพของระบบตลาด โลกที่ผูมีอํานาจในระบอบเศรษฐกิจและการเมืองมีความรับผิดและแสดงความรับผิดชอบ โอบอุมความแตกตางหลากหลายของมนุษย ออนโยนตอธรรมชาต ิและเอื้ออาทรตอผูดอยโอกาสในสังคม กลาวโดยสรุป พวกเขาอยากเห็นโลกท่ีระบอบทุนนิยมมีหัวใจ และเช่ือมั่นวาโลกแบบน้ันอยูไมไกลเกินเอ้ือม เพราะพวกเขากําลังลงแรงเปนสวนเล็กๆ ที่จะชวยสรางโลกใหมใบน้ันแลวดวยสมองและหัวใจของตัวเอง โลกเราปจจุบันมีแนวคิด เทคโนโลยี เคร่ืองมือ และสถาบันใหมๆ มากมายท่ีสงเสริมและสนับสนุนใหปจเจกชนเปนนักเคลื่อนไหวทางสังคมหรือ ‘ผูประกอบการเพ่ือสังคม’ นักธุรกิจใจดีมีแรงจูงใจและ ‘ตัวชวย’ มากข้ึนในการดําเนินธุรกิจอยางรับผิดชอบตอสังคม และนักธุรกิจที่เห็นแกตัวมีขออางนอยลงที่จะทําธุรกิจแบบไมรับผิดชอบ บิล เกตส ใชคําวา ‘ทุนนิยมสรางสรรค’ (creative capitalism) ในการวาดภาพยุคใหมของทุนนิยมที่เขาพยายามผลักดัน แตผูเขียนชอบคําวา ‘ทุนนิยมที่มีหัวใจ’ มากกวา เพราะถาทุนนิยมสรางสรรคนั้นสรางสรรคเพ่ือคนจํานวนหยิบมือเดียว วงจรอุบาทวแหงการ ‘วิ่งแขงไปสูจุดเส่ือม’ (race to the bottom) ที่เปนปญหาใหญของทุนนิยมกระแสหลักในปจจุบัน ก็อาจหวนคืนมาอีกรอบหนึ่ง ผูเขียนเชื่อวา กอนที่ ‘ทุนนิยมท่ีมีหัวใจ’ จะเกิดขึ้นอยางแทจริงในประเทศไทย มีผูรวมอุดมการณมากพอใหเราเรียกวา ‘กระแส’ ที่พัดแรงจนเชื่อมโยงกันเปน ‘ระบบ’ ได คนจํานวนมากพอจะตองมองเห็นปญหาและขอบกพรองของระบอบทุนนิยมกระแสหลักในปจจุบัน เรียกรองใหบริษัทท่ีทําตัว ‘อันธพาล’ และ ‘มักงาย’ ทั้งหลายหยุดรังแกผูดอยโอกาสในสังคม มองเห็นความเช่ือมโยงระหวางชาว

HCL BACKUP.indd 11HCL BACKUP.indd 11 1/1/70 9:47:49 AM1/1/70 9:47:49 AM

Page 12: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

12

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

บานที่อยูตนน้ำกับคนเมืองที่อยูปลายน้ำ ตระหนักในคุณคาของระบบนิเวศ เคารพในภูมิปญญาชาวบานและวัฒนธรรมทองถ่ิน แตไมหลงใหลแบบโรแมนติกไรเดียงสาเสียจนนําภูมิปญญาน้ันมาเช่ือมกับเทคโนโลยีและเคร่ืองมือใหมๆ เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของชาวบานไมได เลิกยึดติดในคานิยมเหลวแหลกท่ีสงเสริมพฤติกรรมหนาไหวหลังหลอก มักงาย เห็นแกตัว และกําจัดทัศนคติคับแคบที่ไมเคารพในความเห็นตาง และ ‘พูด’ มากกวา ‘ทํา’ สําหรับทานผูอานที่สงสัยวา ธุรกิจที่มีหัวใจจะอยูไดอยาง ยั่งยืนในสนามแขงขันจริงหรือ ผูเขียนคิดวาคําตอบข้ึนอยูกับความ เชื่อมั่นในประโยชนของทุนนิยมที่มีหัวใจ และความมุงมั่นที่จะรวมสรางมันขึ้นมา ผูเขียนเองชอบคําพูดของ จอหน แมคคีย (John Mackey) นักธุรกิจผูกอตั้งบริษัท Whole Foods Markets บริษัท คาปลีกผลิตภัณฑเกษตรอินทรียที่ใหญที่สุดในอเมริกา นักธุรกิจคนแรกๆ ที่เชื่อมั่นในคุณคาและความเปนไปไดของระบบทุนนิยมที่มีหัวใจ เขากลาววาทะดานลางน้ีในวงวิวาทะเร่ือง “Rethinking the Social Responsibility of Business” (คิดใหมเรื่องความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม) ระหวางเขากับ มิลตัน ฟรีดแมน (Milton Friedman) นักเศรษฐศาสตรกระแสหลักผูทรงอิทธิพลที่สุดหลังสงครามโลกคร้ังที่สอง และ ที. เจ. ร็อดเจอรส (T. J. Rodgers) กรรมการผูจัดการบริษัท Cypress Semiconductor ในป 2005 ซึ่งทานสามารถอานฉบับเต็มไดจากเว็บไซต http://www.reason.com/news/show/32239.html - “ไอเดียที่ผมกําลังอธิบายอยูนี้จะนําไปสูโมเดลธุรกิจใหมท่ี ยืดหยุนกวาโมเดลธุรกิจแบบแสวงหากําไรสูงสุดที่มันตอสูดวย เพราะมันสงเสริมและใชประโยชนจากแรงจูงใจท่ีมีพลังมากกวาความเห็น แกตัวเพียงอยางเดียว ในที่สุดไอเดียเหลานี้จะมีชัยชนะ ไมใชดวยการหวานลอมปญญาชนและนักเศรษฐศาสตรในการถกเถียง แตดวยการ

HCL BACKUP.indd 12HCL BACKUP.indd 12 1/1/70 9:47:50 AM1/1/70 9:47:50 AM

Page 13: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

13

สฤณี อาชวานันทกุล

เอาชนะในตลาดที่มีการแขงขัน วันหนึ่ง ธุรกิจอยาง Whole Foods ที่ยึดมั่นในโมเดลผูมีสวนไดเสีย เชื่อวาธุรกิจมีเปาหมายอันสูงสง [กวาการทํากําไรสูงสุด] จะเปนผูนําในระบอบเศรษฐกิจ มารอดูกันนะครับ” ทายนี้ ผูเขียนขอขอบคุณอาจารยนิธิ เอียวศรีวงศ และคณาจารยมหาวิทยาลัยเท่ียงคืนทุกทาน ที่ไดใหโอกาสผูเขียนถายทอดและรอยเรียงความคิดของ ‘คนชายขอบ’ ในดวงใจทั้งหลายออกมาเปนเรื่องราวเดียวกัน อาจารยปกปอง จันวิทย ที่ไดกรุณาคิดคําวา ‘ทุนนิยมที่มีหัวใจ’ แทนหัวขอเดิม เมื่อเชิญใหผูเขียนไปบรรยายซ้ำท่ีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในวันที่ 3 ธันวาคม 2550 อาจารยสายชล สัตยานุรักษ ที่ไดกรุณาตรวจทานและแกไขตนฉบับ คุณพิณัฐฐา อรุณทัต และกอปรทิพย อัจฉริยโสภณ ที่ไดกรุณาชวยเรียบเรียงและขยายความบทบรรยายของผูเขียนใหมีความสละสลวยและอานงายกวาบทพูดหลายเทา และคุณภิญโญ ไตรสุริยธรรมา และสมาชิกสํานักพิมพโอเพนบุคสทุกทาน ที่ไดรวมแรงรวมใจทํางานเพ่ือ ‘ทุนนิยมที่มีหัวใจ’ ในประเทศไทย ซึ่งถึงแมวาจะยังเปนสวนเส้ียวเล็กๆ อยู ก็เปนสวนเสี้ยวที่เจิดจาและจรรโลงสังคมในทางที่มิอาจตีคาเปนตัวเงินได ในสปริตของการแบงปน อันเปนองคประกอบสําคัญที่ขาดไมไดของทุนนิยมที่มีหัวใจ ทานผูอานสามารถดาวนโหลดหนังสือเลมนี้ในรูป PDF ภายใตสัญญาอนุญาตแบบครีเอทีฟ คอมมอนส (Creative Commons) ไดที่บล็อกสวนตัวของผูเขียน (http://www.fringer.org/) และเว็บไซตมหาวิทยาลัยเที่ยงคืน (http://www.midnightuniv.org/)

สฤณี อาชวานันทกุล “คนชายขอบ” | www.fringer.org

16 สิงหาคม 2551

HCL BACKUP.indd 13HCL BACKUP.indd 13 1/1/70 9:47:50 AM1/1/70 9:47:50 AM

Page 14: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

14

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ความเขาใจผิดบางประการเก่ียวกับทุนนิยม

มายาคติ และขอเท็จจริง

HCL BACKUP.indd 14HCL BACKUP.indd 14 1/1/70 9:47:51 AM1/1/70 9:47:51 AM

Page 15: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

15

สฤณี อาชวานันทกุล

มหาวิทยาลัยเท่ียงคืน : สวัสดีครับ วันนี้มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน ไดรับเกียรติจากคุณสฤณี อาชวานันทกุล คอลัมนนิสตที่เขียนบทความในเว็บไซตของโอเพนออนไลน (www.onopen.com) และบนเว็บไซตคนชายขอบของคุณสฤณีเอง ซึ่งบทความในเว็บไซตทั้งสองไดมีการ ตีพิมพบางสวนเปนหนังสือแลวดวย โดยในวันน้ีคุณสฤณีจะมาบรรยายเก่ียวกับเร่ืองของ “ทางรอดทุนนิยม: สังคมแหงความรวมมือ” หรือช่ือเต็มวา “ทางรอดของสังคม สูกระบวนทรรศนใหมแหงความรวมมือ” สําหรับการบรรยายในวันน้ีจะใหวิทยากรนําเสนอในลักษณะของการใหความรู หลังจากนั้นจะเปนการสนทนาแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น สฤณ ี : สวัสดีคะ จริงๆ แลววันนี้มาในฐานะนักอานและนักแปลเปนหลักนะคะ และก็ตองขอขอบคุณอาจารยสมเกียรติ และคณาจารยมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนทุกทานเปนอยางสูงที่ไดเชญิมาพูดในวันนี้ จริงๆ

HCL BACKUP.indd 15HCL BACKUP.indd 15 1/1/70 9:47:52 AM1/1/70 9:47:52 AM

Page 16: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

16

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

แลวหัวขอที่อาจารยสมเกียรติบอกคือหัวขอ “ทางรอดทุนนิยม” แตไมไดจะนําเสนอวามันจะรอดไดอยางไร เพราะดูจากแนวโนมแลวคงรอดไดแนๆ แตจะขอนําเสนอในลักษณะที่วามันจะรอดในลักษณะอยางไรที่เรามีความสุขกับมันมากกวาเดิมคะ “ทุนนิยม” เปนคําที่กวางมาก และใชกันในหลายความหมาย หลายลักษณะ เชน นักการเงิน เอ็นจีโอ นักคิดนักปรัชญา ก็อาจจะมองทุนนิยมในความหมายที่แตกตางกันออกไป ปจจุบันเมื่อเราใช คําวา “ทุนนิยม” เราจะมีความเขาใจผิดอะไรบางอยางอยู เนื่องจากเราไดรับอิทธิพลจากเศรษฐศาสตรกับการเงินกระแสหลัก ซึ่งเราคงไดรับรูกันแลววามันเปนแนวคิดที่มีความเขาใจผิดและมีมายาคติแฝงอยู เวลาเราพูดถึงทุนนิยม หลายๆ คนก็จะนึกถึงภาพนายทุนบริษัทยักษใหญเอากระบองไลตีชาวบาน แตในวันนี้จะขอพูดในฐานะคนหนึ่งที่เชื่อมั่นในประโยชนของระบบตลาด ระบบตลาดในนิยามพื้นฐานคือ ระบบท่ีทุกคนมีเสรีภาพในการแลกเปล่ียนซื้อขายอะไรก็ตามท่ีอยากจะซ้ือขาย ซึ่งอาจารย อมาตยา เซ็น1 (Amartya Sen) ไดเคยกลาวถึงเศรษฐกิจระบบตลาดวาเปนสิทธิข้ันพื้นฐานของมนุษยอยางหนึ่งท่ีควรจะเกิดขึ้นได แตจะมีกฎกติกาอะไรมาควบคุมนั้นก็เปนอีกประเด็นหนึ่ง และมีนักคิดอีกทานหนึ่งคือ นาสซิม ตาเล็บ (Nassim Taleb) ซึ่งเปนนักคาตราสารอนุพันธ (derivatives) ทํางานในวอลลสตรีทมาเปนเวลานาน สนใจศึกษาเรื่องสถิติ ไดเขียนหนังสือชื่อ ‘Fooled by Randomness’ แปลเปนภาษาไทยไดวา เราถูกหลอกดวยเรื่องเก่ียวกับโชคชะตาอยางไรบาง เขาบอกวา ในโลกปจจุบัน เหตุผลที่ทําใหคนเขาใจทุนนิยมผิดก็คือ เรามักจะมองเห็นแตคนท่ีชนะ เห็นแตคนท่ีประสบความสําเร็จในระบบตลาด เด็กสมัยนี้ตองการเปนดารากันเยอะก็เพราะเขาเห็นดาราออกทีวีตามชองตางๆ ไดเงินทองมากมาย แตที่เขามองไมเห็นก็คือ ทุกๆ หนึ่งคนที่เปนดารา จะมีอีก

HCL BACKUP.indd 16HCL BACKUP.indd 16 1/1/70 9:47:52 AM1/1/70 9:47:52 AM

Page 17: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

17

สฤณี อาชวานันทกุล

หลายพันหลายหม่ืนคนที่พยายามจะเปนดารา แตไมสําเร็จ ขณะนี้อาจจะทํางานลางจานหรือเปนสาวเสิรฟที่ไหนสักแหง อคตินี้ตามสถิติเรียกวา “sample bias” หรือ “survivor bias” คือจริงๆ แลวจํานวนคนทั้งหมดท่ีอยูในตลาดมีเยอะมาก แตเรามักจะเห็นแคเฉพาะคนสวนนอยเทานั้น เพราะฉะนั้นถาพูดถึงทุนนิยม คนที่เปนแบบอยางของผูเลนในระบบทุนนิยมก็คือพวกแมคาขายสมตํา เด็กปม อาจจะเปนเจาของรานชํา หรือพวกโชหวยที่ เดี๋ยวนี้มารวมตัวกันเพื่อตอสูกับไฮเปอรมารเก็ต คนเหลาน้ีถือวาเปนผูเลนปกติของทุนนิยม แตผูชนะในระบบนี้ก็คือเศรษฐพีันลาน ซึ่งเปนจํานวนที่นอยกวามากๆ ในหนังสือ ตาเล็บกลาวถึงเรื่องปญหา “Black Swan” ซึ่งเปนคําที่ใกลเคียงกับคําวา “sample bias” โดยเขายกตัวอยางวาเมื่อสมัยที่โลกเรายังไมติดตอส่ือสารกันไดขนาดนี้ คนทุกคนไดรับการบอกเลามาวาหานมีแตสีขาวเทานั้น เพราะวาไมมีใครเคยเห็นหานสีดํา จนกระทั่งโลกเรามีการเช่ือมตอกันมากขึ้นถึงไดรับรูวามีหานสีดําอยูบนโลกดวย แปลวาการท่ียังไมเคยมีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นนั้นไมไดแปลวามันจะไมเกิดขึ้น ถายอนไปที่มุมของนักการเงิน ก็คือวิกฤต-การณทางการเงินที่เราไมไดคาดไววามันจะเกิดแตมันก็เกิด ประเด็นที่สอง เปนประเด็นท่ีนักเศรษฐศาสตรและนักการเงินโดยมากตกลงกันไดวา ถาเราจะพูดถึงเฉพาะเร่ืองประสิทธิภาพ และระบบตลาดนําไปสูประสิทธิภาพสูงสุด เพราะวามันเปนระบบท่ีมี ลักษณะจัดการกันเอง หรือที่เรียกวา self-emerging (“ระบบอุบัติ”) เปนระบบที่มีทั้งความวุนวายโกลาหลและระเบียบ เรียกวาเคออดิก (chaordic) ก็คือการผสมผสานระหวาง chaos กับ order ซึ่งแนวคิดที่จะนําเสนอในอันดับตอไปจะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับระบบ chaordic ทั้งส้ิน โดยเราตองทําความเขาใจวาระบบนี้ทํางานอยางไร และจะจัดการอยางไรใหเกิดประโยชนสูงสุด

HCL BACKUP.indd 17HCL BACKUP.indd 17 1/1/70 9:47:53 AM1/1/70 9:47:53 AM

Page 18: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

18

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ระบบที่มองในเรื่องของประสิทธิภาพนั้น ตามทฤษฎีของ อดัม สมิธ (Adam Smith) เราจะดูที่ประสิทธิภาพสูงสุด หรือ optimal result ซึ่งการพิจารณาวาประสิทธิภาพน้ีสูงสุดหรือไมนั้น ก็เกิดจากการท่ี ผูเลนหลายคนตัดสินใจดวยผลประโยชนของตัวเองเปนหลัก อยางที่ทุกทานคงเคยไดยินคําวา “มือที่มองไมเห็น” แตการที่จะเกิด optimal result ไดนั้นก็ตองมีการแขงขันที่เสรีจริงและเปนธรรม หรือ fair competition ไมใชวามีผูเลนคนหนึ่งมาคิดกฎกติกาใหมท่ีเขาขางตัวเองแลวคนอื่นเสียเปรียบ เพราะฉะนั้นผูเลนก็ควรมีคุณธรรม ซึ่งคุณธรรมในที่นี้ไมไดหมายถึงศีลธรรม แตหมายถึงคุณธรรมในแงการเขาใจความหมายของคําวา fair competition เขาใจวากฎกติกาท่ีถูกตองคืออะไร ประเด็นสุดทายท่ีอยากจะพูดถึงก็คือ เวลาท่ีเราพูดถึงความลมเหลวของทุนนิยม หรือความลมเหลวของตลาด หลายครั้งคนจะไมคอยแยกความลมเหลวของสถาบันออกมา วาเกิดจากเร่ืองของระบบ หรือเรื่องของคน เพราะในบางคร้ังปญหาไมไดมาจากระบบ แตมาจากการที่คนเขามาครอบงําแลวก็มีอํานาจมากเกินไป แลวทําใหกลไกไมมีประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นเราสามารถทําใหตลาดทํางานได หากรัฐบาลวางกติกาใหรัดกุมและบังคับใชใหดี เชนกฎหมายปองกันการผูกขาด ก็จะทําใหทุกอยางดีกวานี้ แตหากรัฐบาลไมทํางานอยาง แข็งขัน การแขงขันอยางเสรีก็เกิดไดยาก เพราะผูครอบครองตลาดดั้งเดิมที่มีอํานาจและทรัพยากรอยูแลวก็จะครองตลาดไดตลอดไป และจะพยายามกีดกันไมใหคนอื่นเขามา เมื่อพูดถึงระบบเศรษฐกิจ มีแนวคิดหนึ่งคือ sustainable development ซึ่งถูกกลาวถึงมาหลายสิบปแลว หมายถึงการพัฒนาอยางย่ังยืนที่จัดการทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพ โดยแนวคิดนี้เกิดจากแรงผลักดันของขบวนการดานสิ่งแวดลอมหรือ

HCL BACKUP.indd 18HCL BACKUP.indd 18 1/1/70 9:47:54 AM1/1/70 9:47:54 AM

Page 19: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

19

สฤณี อาชวานันทกุล

green movement คือกลุมที่มองวาทรัพยากรธรรมชาติกําลังเสื่อมโทรมลง ตองการหาวิธีพัฒนา หาผูรับผิดชอบ จึงไดเกิดแนวคิด sustainable development ขึ้นมา ซึ่งก็คือหลักการจัดสรรทรัพยากรอยางเปนธรรมในระดับหน่ึง และจะตองมี social justice ดวย ไมเชนนั้นก็จะไมมีประสิทธิภาพอยางแทจริง เพราะการจัดสรรอาจจะทําใหคนอีก 90 เปอรเซ็นตเดือดรอนก็ได และจะเกิดความขัดแยงขึ้น ดังนั้นเศรษฐกิจแบบน้ีจะทําใหคนเดือดรอนมากขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะถาคนอีก 90 เปอรเซ็นตนั้นไมมี สิทธิหรืออํานาจทางการเมือง ประเด็นที่สําคัญอันดับสองของ sustainable economy ก็คือทรัพยากรท่ีมีวันหมด เชน น้ำมัน เราตองมองวามันเปนตนทุนที่เราตองจาย แมกระทั่งส่ิงที่ในเศรษฐศาสตรกระแสหลักปกติเขาจะมองวาเปนผลกระทบตอภายนอกที่ควบคุมไมได ที่เรียกวา externalities2 ซึ่งเขามองวาไมใชเร่ืองที่เราจะตองไปควบคุมมัน ไมตองไปรับผิดชอบอะไรกับมัน แตแนวคิดนี้กําลังถูกทาทายโดยนักคิดหลายๆ กระแส โดยเฉพาะอยางเชน ถาเราอานงานของนักคิดทานหนึ่งคือ คารล โปลันยี (Karl Polanyi) ที่ไดกลาวถึง externalities วา จริงๆ แลวควรถือเปน internalities เพราะก็เปนสิ่งที่เกิดจากการกระทําของผูเลนในระบบซ่ึงควรจะหาทางปองกันได ควรจะใหรับผิดชอบ อยางเชนการคอรรัปช่ัน ก็จะมีทั้งผูใหสินบนและผูรับสินบน เพราะฉะน้ันก็ไมใชสิ่งที่ควรบอกปดไปวาเปนเรื่องปจจัยภายนอก ถาหากเรามองวาทุกอยางเปน externality หมด ไมวาจะเปนเรื่องของสิ่งแวดลอมหรือเรื่องอ่ืนๆ ตอไปโลกใบนี้ก็คงไมสามารถรองรับมนุษยเราไดอยางแนนอน ประเด็นสุดทายของลักษณะ sustainable economy ก็คือเรื่องความหลากหลายทั้งในแงของโมเดลการพัฒนาประเทศ โมเดลของคานิยม คือ พอเราพูดกันถึงเร่ืองระบบเศรษฐกิจก็จะเห็นวามันแยกออกจากการเมืองไมได มันตองพูดกันใหเขาใจวาวัฒนธรรมที่หลากหลายเขาก็อาจจะอยากมีโมเดลในการพัฒนาของตัวเอง เชนถา

HCL BACKUP.indd 19HCL BACKUP.indd 19 1/1/70 9:47:54 AM1/1/70 9:47:54 AM

Page 20: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

20

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ใครสนใจเร่ืองการรักษาสิ่งแวดลอม ก็คิดถึงประเทศภูฏาน เพราะประเทศน้ีถือเอาการรักษาส่ิงแวดลอมเปนเปาหมายอันดับแรกๆ ของการพัฒนาประเทศ จะเห็นไดวาทั้งสามขอที่ เปนลักษณะของ sustainable economy ก็ไมเชิงเปนกระแสหลักในปจจุบัน ที่โดยรวมตอนนี้ยังเปนทุนนิยมที่มีอเมริกากับยุโรปเปนโตโผ ถาจะมองในภาพรวมตอไปอีกก็คือ เราควรจะมีระบบตลาดท่ีดี ซึ่งทุกคนควรจะมีสิทธิเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนกันอยางเปนธรรม รัฐก็ควรวางกติกาไมใหคนใดคนหนึ่งมาผูกขาดหรือมีอํานาจมากเกินควร หรือเราอาจจะมีวิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจ เชน ปจจุบันเศรษฐกิจอะไรท่ีมีการผูกขาด 100 เปอรเซ็นตโดยรัฐบาล คือประชาชนไมไดมีเสรีภาพในเศรษฐกิจนั้น ก็อาจจะไมมีความยั่งยืนเนื่องจากมันไมมีประสิทธิภาพมากเทากับปลอยใหประชาชนจัดการกันเอง แตหากเราจะเริ่มระบบตลาดแลวรัฐบาลไมวางกลไกดีๆ ในเร่ืองการจัดการดานตางๆ ประชาชนจํานวน มากก็ไมสามารถจะแขงกับใครได เพราะเขาไมมีทรัพยากรที่จะเริ่มตนชีวิตและเริ่มตนในระบบตลาดได มันก็จะกลายเปนลักษณะการผูกขาดโดยกลุมคน ซึ่งเรียกไดหลายอยาง ทั้งทุนนิยมผูกขาด ทุนนิยมสามานย ทุนนิยมพวกพอง ทั้งหมดน้ีคือการท่ีใครคนใดคนหน่ึงมี อํานาจมากๆ และยังสามารถเขาไปแทรกแซงระบบรัฐ และทําใหอํานาจของตัวเองอยูตอไปไดเรื่อยๆ ทําใหมองไดวาประเทศไทยก็ยังไมสามารถที่จะมีระบบทุนนิยมเสรีไดจริง ในทุนนิยมเสรีซึ่งเปนอุดมคติของแนวคิดของเศรษฐศาสตรกระแสหลักนั้น ในโลกนี้ก็ยังคงมีอยูหลายประเทศ โดยดูจากประเทศที่มีระดับการแขงขันในธุรกิจคอนขางสูง มีผูประกอบการรายยอยหรือ SME คอนขางเยอะ และทุกคนก็มีวิถีชีวิตที่ไมไดเดือดรอนขัดสนมาก คนสวนใหญในประเทศไมใชคนจน แตก็มีขอถกเถียงกันวาในระดับ

HCL BACKUP.indd 20HCL BACKUP.indd 20 1/1/70 9:47:55 AM1/1/70 9:47:55 AM

Page 21: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

21

สฤณี อาชวานันทกุล

โลกเราจะสามารถเรียกวาเสรีไดหรือไม หากประเทศใหญๆ อยาง อเมริกาออกไปลงทุนนอกประเทศ ก็แทบจะมีอํานาจผูกขาดใน ประเทศน้ันๆ และยังใชอํานาจของรัฐบาลตนเองกดดันใหประเทศอ่ืนทําตามนโยบายของตน ถึงแมวาบางประเทศจะมีตลาดเสรีแลวก็ตาม ขั้นตอไปถาจะดูวาเสรีจริงหรือไมเสรีจริงน้ันทําไดยากมาก

เพราะการที่จะใหคนมีอํานาจยอมยกอํานาจใหคนอื่นนั้นยาก และในเร่ืองของแนวคิด externality ที่ทําใหนักธุรกิจคิดวาฉันไมจําเปนตองรับผิดชอบในเรื่องของสิ่งแวดลอม สิ่งเหลานี้จะทําใหเกิดความยั่งยืนไดยาก เพราะฉะน้ันมันก็อาจจะสุดแคตรงนี้ และอาจจะถอยหลังกลับไป

HCL BACKUP.indd 21HCL BACKUP.indd 21 1/1/70 9:47:56 AM1/1/70 9:47:56 AM

Page 22: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

22

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ใหม สิ่งที่เราตองทําหากตองการใหมันยั่งยืนจริงๆ ก็ตองมีอะไรที่กาวหนามากกวานี้ มองโลกกวางกวานี้ มองประโยชนสังคมใหมากกวานี้ และส่ิงนี้คือหัวขอในการพูดคุยกัน ขอยกตัวอยางมายาคติของกระแสหลักในเรื่องของ GDP คือมีบางคนบอกวา GDP วัดสุขภาพสังคมได ถาประเทศรวยแลว ประโยชนตางๆ ก็จะไหลสูประชาชนเองโดยอัตโนมัติ รัฐบาลมีหนาที่เพียงแคปกปองผลประโยชนกรรมสิทธิ์สวนบุคคลก็พอ แตในความเปนจริงเราก็เห็นแลววาประเทศที่รวยมากๆ ไมไดแปลวาประชาชนจะมีความสุขเสมอไป องคการสหประชาชาติ หรือ UN ไดนําแนวคิดของ อมาตยา เซ็น ไปสราง Human Development Index ซึ่งมีงานวิจัยมากมายแสดงใหเห็นวามันสามารถช้ีระดับ “ความอยูดีมีสุข” (wellbeing) ของสังคมไดดีกวา GDP หรือผลผลิตมวลรวมประชาชาติ ซึ่งก็คือการเอารายไดของทุกคนมาบวกกัน นักเศรษฐศาสตรชื่อ จอหน เคนส (John M. Keynes) กลาวไววาอยาเพ่ิงไปสนใจเปาหมายระยะยาว เพราะกวาเงินมันจะไหลลงมาถึงคนขางลางอยางเรา ทุกคนก็ตายกันหมดแลว จึงมีแนวคิดทางเลือกวา แทนที่เราจะวัด GDP เรานาจะวัดอะไรที่มันสะทอนตนทุนที่แทจริงของสังคมในการสรางรายไดเหลานั้น ก็คือ Genuine Progress Indicator (GPI) ซึ่งพัฒนาโดยสถาบันวิจัยอิสระชื่อ Redefining Progress (www.rprogress.org/) ปจจุบันมีหลายฝาย (แตยังไมถึงระดับประเทศ) ไดนําตัววัดนี้มาใชแลว อยางเชนเมืองบางเมืองของประเทศแคนาดา โดยหลักการงายๆ ของ GPI นี้คือเอา GDP มากอน แลวดูวาใน GDP นี้มีอะไรบางท่ีเราชอบ ไมชอบ ก็เอามาคิด

เปนตนทุน เชน คาใชจายของตํารวจในการจับผูราย มูลคาความเสื่อม โทรมของส่ิงแวดลอม คากําจัดของเสียจากโรงงาน คาใชจายทางทหาร คากูเงินจากตางประเทศมาใชฟุมเฟอย สิ่งเหลาน้ีเขาเอามาหักออก

HCL BACKUP.indd 22HCL BACKUP.indd 22 1/1/70 9:47:57 AM1/1/70 9:47:57 AM

Page 23: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

23

สฤณี อาชวานันทกุล

จาก GDP ทั้งหมด ตอนที่เกิดปญหา Enron ในอเมริกานั้น ในกระบวนการ ลมละลายของ Enron ตองมีการจางทนาย จางบริษัททางการเงินและ อื่นๆ อีกมากมาย ซึ่งคาจางทั้งหมดเหลานี้รวมกันก็เปนเงินหลายรอยลานเหรียญ ซึ่งถาคิดเปน GDP ก็จะทําให GDP โต แตมันก็ไมควรเปน GDP เพราะในแงของตนทุนทางสังคมแลวมีสิ่งที่ตองจายใหกับความแหลกเหลวของ Enron เพราะฉะน้ันถามองตัวเลขในแงของกําไรสังคมสุทธิจริงๆ ก็ควรจะเอามาลบออก เพราะฉะนั้นเขาก็เอามาคิด Genuine Progress Indicator ใหเห็นวา GPI ต่ำกวา GDP อยูมาก และจะเห็นไดวา อเมริกาเปนประเทศท่ีเสียตนทุนไปเปนจํานวน มากกับอะไรที่สังคมไมชอบ มีแนวคิดที่เรียกวา Pareto Optimal3 คือไมมีกรณีที่คนหนึ่งจะไดประโยชนโดยอีกคนหน่ึงไมเสียประโยชน เชน สมมติวามี บิล เกตส อยูหลายๆ คนในโลก ในขณะเดียวกันก็มีคนที่มีรายไดวันละ 1 เหรียญอยูอีกหลายลานคน ถาเราจะทําใหคนที่มีรายไดวันละ 1 เหรียญมีรายไดเพิ่มเปนวันละ 5 เหรียญ โดยเอาเงินของบิล เกตส มาเฉลี่ย ก็จะทําใหทรัพยสินของบิล เกตส หายไปประมาณรอยละ 0.0001 ของทรัพยสินทั้งหมด เพราะฉะนั้นถาพูดเรื่องประสิทธิภาพสูงสุดอยางเดียวก็จะไมเพียงพออีกตอไปสําหรับความอยูดีมีสุขของสังคมสวนรวม ตัววัดทางเศรษฐศาสตรอีกชนิดหน่ึงคือ Gini Coefficient4 เปนตัววัดความเหล่ือมล้ำทางรายได หากดูจากภาพจะเห็นวาประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำทางรายไดต่ำมากก็คือ ออสเตรเลีย ญี่ปุน และประเทศท้ังหมดในแถบสแกนดิเนเวีย ซึ่งประเทศเหลานี้ใชนโยบายรัฐ

สวัสดิการ สิ่งนี้แสดงใหเห็นวาเกือบทุกประเทศในโลกน้ีใชระบบทุนนิยมเหมือนกันหมด แตในรายละเอียดของทุนนิยมก็มีความแตกตางกันออกไป อยางเชนประเทศไทยก็เปนระบบทุนนิยมสามานย

HCL BACKUP.indd 23HCL BACKUP.indd 23 1/1/70 9:47:58 AM1/1/70 9:47:58 AM

Page 24: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

24

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เพราะมีแตระบบตลาดอยางเดียวโดยไมคอยมีกฎหมายหรือกลไกอยางอื่นมารองรับหรือกํากับดูแลและจัดการไมใหมีใครใชอํานาจผูกขาดหรือเอาเปรียบสังคม

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:World_Map_Gini_coefficient.png

HCL BACKUP.indd 24HCL BACKUP.indd 24 1/1/70 9:48:00 AM1/1/70 9:48:00 AM

Page 25: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

25

สฤณี อาชวานันทกุล

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Gini_since_WWII.gif

สวนกราฟนี้พล็อตใหดูตามปเลยวามีความเปล่ียนแปลงอยางไร จะเห็นไดวาประเทศบราซิลมีความเหล่ือมล้ำทางรายไดเพิ่มขึ้นเยอะมากหลังสงครามโลกคร้ังที่ 2 เปนเหตุผลหนึ่งที่อธิบายวาทําไมตอนนี้บราซิลมีความขัดแยงในสังคมคอนขางรุนแรง

HCL BACKUP.indd 25HCL BACKUP.indd 25 1/1/70 9:48:01 AM1/1/70 9:48:01 AM

Page 26: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

26

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

มีแนวคิดอีกอันหนึ่งซึ่งอาจจะไมใชในทางเศรษฐศาสตรเสียทีเดียว แตก็มีอิทธิพลตอแนวคิดกระแสหลักของเศรษฐศาสตร แนวคิดนั้นคือความเช่ือวามนุษยเขาใจธรรมชาติทุกอยาง เราสามารถควบคุมธรรมชาติได เพราะฉะน้ันเราก็ไมมีอะไรตองกังวล เรามีหนาที่เพียงแตใชเทคโนโลยีใหเกิดประโยชนกับเรามากที่สุด แลวถามีผลกระทบใดๆ เกิดขึ้นก็หาคอยทางจัดการกับมันทีหลัง แตปจจุบันเราก็เห็นแลววา เราไมมีทางชนะธรรมชาติได ทําใหเปนที่มาของแนวคิดใหมๆ เรียกวา “ทุนนิยมธรรมชาติ” คือแทนท่ีเราจะเอาชนะธรรมชาติ ทําไมเราไมพยายามที่จะเรียนจากธรรมชาติ แลวก็เลียนแบบวิธีทํางานของธรรมชาติ รูปนี้เปนรูปที่นํามาจากเว็บไซตสารคดีเมื่อสองเดือนที่ผานมา ที่ลงสกูปเรื่องโลกรอน ซึ่งปจจุบันก็เปนที่ทราบกันแลววาการที่โลกรอนขึ้นนั้นมีสาเหตุหลักเกิดจากนำ้มือมนุษย

ที่มา: http://www.sarakadee.com/web/modules.php?name=Sections&op=viewarticle&artid=686

HCL BACKUP.indd 26HCL BACKUP.indd 26 1/1/70 9:48:03 AM1/1/70 9:48:03 AM

Page 27: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

27

สฤณี อาชวานันทกุล

ถาจะแปลงมายาคติของกระแสหลักออกมาดูในสวนที่เล็กลงมา เชนในแงของบริษัท ก็ดูตัวอยางวา ถาเราคิดวาบริษัททุกบริษัทควรจะตั้งเปาที่ผลตอบแทนของผูถือหุน เพราะทุกบริษัทมีผูถือหุนเปนเจาของ จึงควรทํางานเพ่ือผูถือหุน แลวไมตองไปคิดมากเร่ืองสังคม เพราะวาผูถือหุนเขาก็เปนคนธรรมดา เขาก็ตองคิดเรื่องสังคมอยูแลว เพราะฉะน้ันทุกคนก็คือซีอีโอ หรือพนักงานบริษัท ก็ทํายังไงก็ไดให บริษัทไดกำไรสูงสุดก็พอ แลวสังคมก็จะดีขึ้นเองโดยอัตโนมัติ ทีนี้เราก็เห็นไดแลววามันไมจริง โดยเฉพาะในเรื่องขอมูลจากปญหาระบบการเงินที่ผานมา มีปญหาที่เรียกวา “asymmetric information”5 คือปญหาขอมูลไมเทาเทียมกัน เรื่องนี้ไมใชเรื่องความลมเหลวของตลาดที่ 10 ปมีครั้งเดียว แตเปนความบกพรองของระบบท่ีเกิดข้ึนทุกวันและเกิดข้ึนจริง ดูจากตลาดหุนเราเปนตัวอยาง จะเห็นไดวาเจามือปนหุนแทบไมเคยโดนจับไดเลย ทั้งๆ ที่แทบทุกคนในตลาดรูวาเจามือปนหุนคือใคร ปนหุนยังไง พวกน้ีทําใหระบบทํางานไมดีเทาที่ควร แลวก็ทําใหคนปนหุนไดกําไรไปคนเดียว คนอื่นขาดทุนหมด ทั้งนี้ไมไดมีแตปญหาขอมูลไมเทาเทียมกันระหวางบริษัทกับผูถือหุนเทานั้น ยังมีปญหาระหวางบริษัทเองกับระดับที่เล็กลงมา คือลูกคา คูคา หรือวาสังคม ก็เกิดปญหาขอมูลไมเทาเทียมเชนกัน ยกตัวอยางเชนขนมตางประเทศยี่หอหนึ่งที่ระยะแรกฮือฮากันมาก มีคนมาตอแถวเขาคิวยาวเหยียด จะมีใครทราบไหมวาไอคนท่ีมาเขาคิวซื้อกันยาวเหยียดนั้น จริงๆ แลวเขาจางมาตอคิวใหดูวามีคนซื้อเยอะๆ จะไดสรางกระแสใหคนอ่ืนมาซื้อตาม อันนี้ก็เห็นไดชัดเจนวาบริษัทตางๆ เขามีวิธีการมากมายท่ีจะหลอกลวงผูบริโภค ซึ่งเทคนิคบางอยางก็ซับซอนจนเราไมมีทางรู เชน เวลาเราไปซ้ือสินคาที่มีการรับประกัน 3 เดือน พอซื้อมาครบ 3 เดือนปุบ วันรุงขึ้นมันก็เสียเลย

HCL BACKUP.indd 27HCL BACKUP.indd 27 1/1/70 9:48:06 AM1/1/70 9:48:06 AM

Page 28: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

28

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เพราะท้ังหมดน้ีบริษัทเจาของสินคาเขาออกแบบไวแลว คือจริงๆ แลวถาบริษัทจะหลอกลวงผูบริโภคอยางไรเขาก็ทําไดหลายวิธี นี่ก็เปนตัวอยางหนึ่งของขอมูลไมเทาเทียมกัน นอกจากนี้ หลายบริษัทก็คิดถึงแตเร่ืองผลตอบแทนของผูถือหุน ทํากําไรไดดี แตสงผลกระทบตอผูมีสวนไดเสียกลุมอื่นๆ สวนผูถือหุนก็มีผลประโยชนทับซอน คือไมสนใจวาบริษัทไดกำไรมาอยางไร สนใจแตผลประโยชนที่ตัวเองจะไดรับ โดยเฉพาะบริษัทในตลาดหลักทรัพย หลายๆ คนเลนหุนโดยไมไดสนใจกระทั่งวาบริษัทนี้ประกอบกิจการอะไร สนใจแควาหุนของบริษัทนี้เมื่อสองอาทิตยมันเคยขึ้น 10 เปอรเซ็นต และเดี๋ยวมันก็คงจะขึ้นตอ ไมไดมีความรูสึกในแงของความเปนเจาของเลย เนื่องจากในระยะหลังมีการกระจายหุนใหกับกองทุน และสถาบันหลายๆ แหงมาถือหุนรวมกัน ซึ่งถามองในแงของนักลงทุนก็ถือวาเปนเรื่องที่ดี มีการถวงดุลอํานาจกัน แตขอเสียคือ เจาของแตละคนอาจจะไมมีใครอยากมีสวนรวมในความเปนเจาของ แตจะมุงเนนที่การเก็งกําไรอยางเดียวเทานั้น ก็จะเกิดปญหาตามมา แผนผังตอไปนี้จะแสดงความเหลวแหลกของระบบอเมริกาไดเปนอยางดี อีกแผนผังเอามาจากเว็บชื่อ www.wallstreetfollies.com เปนการแสดงผลประโยชนทับซอนของหลายคดีดังๆ ของอเมริกาเชน Enron, Martha Stewart, TYCO, WorldCom, Merrill Lynch, Deutsche Bank และแบงกใหญๆ ทั้งหลายท่ีตกเปนเปา ก.ล.ต. อเมริกา จะเห็นไดวาทุกคนเก่ียวโยงกันไมทางใดก็ทางหน่ึง คนท่ีเปนโบรกเกอรใหมารธา สจวต ก็เปนเพื่อนสนิทกับคนที่ทํางานใหเมอรริล ลินช ซึ่งเปนคนทําดีลเอ็นรอน

HCL BACKUP.indd 28HCL BACKUP.indd 28 1/1/70 9:48:06 AM1/1/70 9:48:06 AM

Page 29: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

29

สฤณี อาชวานันทกุล

ที่มา: http://wallstreetfollies.com/diagrams.htm

HCL BACKUP.indd 29HCL BACKUP.indd 29 1/1/70 9:48:07 AM1/1/70 9:48:07 AM

Page 30: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

30

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ถาขยับมามองที่ภาคสังคม มีแนวคิดดั้งเดิมที่วา ถาเราเปนนักธุรกิจและเราอยากชวยสังคม เราก็บริจาคเงินใหกับมูลนิธิตางๆ ที่มีอยูทั่วไป แตในความเปนจริงแลวภาคสังคมไมไดตองการแตตัวเงินเพียงอยางเดียว แตยังตองการองคความรูมาพัฒนาสังคมอีกดวย ทั้งนี้ปจจุบันในภาคธุรกิจไดมีการบริหารจัดการความรูกันอยางแพรหลาย หรือท่ีเรียกวา knowledge management ซึ่งรวมถึงการจัดการทรัพยากรมนุษยและจัดการอะไรตางๆ ดวย ประเด็นสุดทายที่อยากจะฝากไวเก่ียวกับเรื่องนี้ก็คือ นักการเงินคือผูที่บริหารเงินไดดีที่สุด ดังนั้นองคกรเพื่อสังคมหรือเอ็นจีโอซึ่งเชี่ยวชาญในเรื่องการชวยเหลือสังคม ก็ควรเนนการชวยเหลือสังคม แตเรื่องการเงินก็ควรใหนักการเงินเขามาชวยบริหารจะดีที่สุด อีกเรื่องที่เปนมายาคติ คือความเชื่อผิดๆ แตเราปฏิบัติกันมานานจนกลายเปนเร่ืองปกติไปแลว ก็คือเรื่องของกรรมสิทธ์ิ ซึ่งเรามักจะเนนกรรมสิทธิ์สวนบุคคล เพราะกรรมสิทธิ์มอบผลประโยชน ถาไมมีใครไดผลประโยชนก็จะไมมีการพัฒนาใดๆ เกิดขึ้น แตตอนนี้มีปญหาวาเร่ืองกรรมสิทธ์ิมันล้ำพรมแดนสวนบุคคลไปเยอะมาก มันเขาไปในพื้นที่สาธารณะ มันเขาไปในสิ่งที่ปกติแลวไมมีใครจดกรรมสิทธิ์ได เชน ดีเอ็นเอยีนพืช ทําไมชาวนาปลูกขาวกันมาแตไหนแตไร อยูมาวันหนึ่งมีคนมาบอกวา ขาวพันธุนี้ฉันจดสิทธิบัตรแลวนะ เพราะฉะนั้นถาอยากปลูก ตอไปตองจายมา 5 เปอรเซ็นต และอีกประเด็นของปญหาเรื่องกรรมสิทธ์ิคือความเขมงวดของระบบลิขสิทธิ์ จะทําอะไรตองขออนุญาต ตองจายเงินกอน ทําใหเปนการปดกั้นความรูในแงของการที่ผูอื่นจะนําไปใชตอยอดความรู สไลดนี้มาจาก แลรี่ เลสสิก (Larry Lessig) ทนายความผูตอสูกับกฎหมายลิขสิทธิ์ของอเมริกามาประมาณ 10 ปแลว ปจจุบันทํางาน

HCL BACKUP.indd 30HCL BACKUP.indd 30 1/1/70 9:48:08 AM1/1/70 9:48:08 AM

Page 31: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

31

สฤณี อาชวานันทกุล

อยูที่สแตนฟอรด ประเด็นของเลสสิกคือ ในสมัยกอนสิ่งตางๆ ในโลกนี้ที่คนสรางข้ึน แลวไดรับการคุมครองโดยกฎหมายลิขสิทธิ์มันเปนเพียงสวนนอยของงานทั้งหมดเทานั้น ในภาพนี้แสดงใหเห็นเปนสีทึบในชองที่มีเคร่ืองหมาย copyright จะเห็นไดวางานสวนใหญเปนงานซ่ึงไมอยูภายใตกฎหมายเลย แตพอมีอินเทอรเน็ตขึ้นมา เวลามีใครโพสตอะไรลงในอินเทอรเน็ตก็ถือวาเปนลิขสิทธิ์ของคนคนน้ันหมด บริษัทตางๆ ก็ฉวยโอกาสวา นี้เปนของของฉันนะ จะเอาไปใชคุณตองจายเงินมากอน จะเห็นไดวาอินเทอรเน็ตทําใหพรมแดนของลิขสิทธิ์ขยายกวางออกไปเรื่อยๆ จนในปจจุบันแทบจะไมมีการสรางสรรคอะไรที่จะไมติดปญหาลิขสิทธิ์เลย

HCL BACKUP.indd 31HCL BACKUP.indd 31 1/1/70 9:48:09 AM1/1/70 9:48:09 AM

Page 32: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

32

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เลสสิกยกตัวอยางปญหาเรื่องลิขสิทธิ์เรื่องหนึ่ง คือมีบริษัทสารคดีแหงหนึ่งทําสารคดีเกี่ยวกับเด็กประถม เขาไดไปถายชีวิต ประจําวันและกิจกรรมของเด็กที่โรงเรียน บังเอิญมีฉากหนึ่งเด็กประถมน่ังดูการตูน ‘The Simpsons’ ซึ่งเปนการตูนท่ีไดรับความนิยมมากในอเมริกา ฉากนี้มีอยูประมาณ 4 วินาที แตเจาของ ‘The Simpsons’ ก็เรียกเก็บคาลิขสิทธิ์ที่การตูนของเขาไปปรากฏในสารคดี ทางทีมงานสารคดีก็ไมสามารถจายเงินตรงนี้ได ในที่สุดก็ตองตัดฉากนี้ไป นี่เปนตัวอยางแสดงใหเห็นถึงปญหาความเกินเลยของลิขสิทธิ์ เลสสิกพยายามจะหาทางแกไขกฎหมายลิขสิทธิ์นี้ใหเขมงวดนอยลง ทั้งในเร่ืองของขอบเขต และเรื่องของระยะเวลา ในอดีตกฎหมายลิขสิทธิ์มีไวเพื่อคุมครองผูที่สรางสรรคผลงานใหไดรับคาตอบแทน หรือมีรายไดท่ีพึงไดรับจากสิ่งที่เขาสราง และปองกันปญหาคนอื่นเอาผลงานของเขาไปหากิน กฎหมายด้ังเดิมของอเมริกาจะคุมครองตั้งแตคนสรางผลงานหลังจากเสียชีวิตตอไปอีก 10 ป (ถาจําไมผิด) หลังจากน้ันผลงานนั้นก็จะอยูในพื้นที่สาธารณะ เรียกวา public domain คือใครๆ ก็เอาไปใชได แตกฎหมายลิขสิทธิ์ปจจุบันนี้ระยะเวลาไมใช 10 ปแลว มันขยายไปเรื่อยๆ เนื่องจากไดรับอิทธิพลจาก มิกกี้ เมาส ซึ่งเปนตัวการตูนที่ทําเงินมากที่สุดของวอลท ดิสนีย เมื่อไหรก็ตามที่มิกก้ี เมาส จะหมดอายุ อเมริกาก็จะขยายอายุลิขสิทธิ์ออกไปอีกจนในตอนนี้บวกไปเปน 95 ปแลว ซึ่งกฎหมายนี้เลสสิกเรียกวา Mickey Mouse Extension Act ซึ่งเปนเรื่องที่เหลือเช่ือมาก ถาเปนเกมคอมพิวเตอรนี่ 5 ปก็ลาสมัยแลว 95 ปนี่แทบจะเปนไปไมไดที่ใครจะใชประโยชนจากเกมน้ันๆ ไดอีก

HCL BACKUP.indd 32HCL BACKUP.indd 32 1/1/70 9:48:10 AM1/1/70 9:48:10 AM

Page 33: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

33

สฤณี อาชวานันทกุล

ที่มา: http://www.etcgroup.org/upload/media_element/26/01/badpats.jpg

HCL BACKUP.indd 33HCL BACKUP.indd 33 1/1/70 9:48:10 AM1/1/70 9:48:10 AM

Page 34: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

34

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ตารางนี้แสดงตัวเลขของการจดทะเบียนสิทธิบัตรพันธุพืช และดีเอ็นเอ เนื่องจากปจจุบันมีการคนควาและคนพบยีนใหมๆ บอยมาก และมีบริษัทที่ทุมทุนเปนจํานวนมากในการศึกษาวายีนตัวไหนทําอะไรไดบาง เขาก็พยายามจะจดสิทธิบัตรเน่ืองจากทุมเงินลงไปเยอะ แตในความเปนจริงแลวยีนพวกน้ีมันเปนส่ิงที่ธรรมชาติสรางขึ้น ไมมีเหตุผลท่ีจะตองมีสิทธิบัตร ทั้งหมดน้ีจะเห็นไดวาเราตองมีการเปลี่ยนแปลงไดแลว เพราะคนที่จะรวยก็จะมีอยูเพียงไมกี่คน

HCL BACKUP.indd 34HCL BACKUP.indd 34 1/1/70 9:48:11 AM1/1/70 9:48:11 AM

Page 35: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

35

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 35HCL BACKUP.indd 35 1/1/70 9:48:11 AM1/1/70 9:48:11 AM

Page 36: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

36

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สูกระบวนทัศนใหมแหงการรวมมือกัน

HCL BACKUP.indd 36HCL BACKUP.indd 36 1/1/70 9:48:11 AM1/1/70 9:48:11 AM

Page 37: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

37

สฤณี อาชวานันทกุล

เมื่อเร็วๆ นี้ บิล เกตส (Bill Gates) ผูกอตั้งบริษัทไมโครซอฟท ซึ่งเปนธุรกิจที่หลายคนกลาวหาวาผูกขาดระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร ไดมองเห็นความลมเหลวในระบบของโลกที่จะชวยเหลือเด็กที่เจ็บปวย โดยเฉพาะในทวีปแอฟริกา เขาจึงไดตั้งมูลนิธิชวยเหลือเด็กเหลานี้ บิล เกตส ไดรับเชิญไปพูดในงานรับปริญญาของมหาวิทยาลัยฮารวารด เขาบอกวาเขาเช่ือมั่นวาระบบตลาดจะทํางานในทางท่ีสรางสรรคกวาเดิมได นี่คือความเช่ือมั่น แตมันไมไดเกิดดวยตัวเอง เราก็ตองพยายามบังคับมัน พยายามขยับขยายพรมแดน ทําอะไรใหมันสรางสรรคกวาเดิม ซึ่งเปนปาฐกถาท่ีคอนขางดีมาก ทั้งปาฐกถาน่ีพูดถึงความไมเทาเทียมกันในโลก เขาฝากไววาอยากใหเด็กที่จบฮารวารดไป คิดวาจะทําอยางไรใหความไมเทาเทียมกันที่เกิดขึ้นในโลกมีนอยลงโดยใชพลังของตลาด ดังนั้นคําถามใหญก็คือ ทําอยางไรใหความเปนธรรมในสังคม หรือ social justice เกิดขึ้นไดโดยที่ระบบเศรษฐกิจยังมีประสิทธิภาพอยู จะทําอยางไรใหมันผสมผสานกันได

HCL BACKUP.indd 37HCL BACKUP.indd 37 1/1/70 9:48:12 AM1/1/70 9:48:12 AM

Page 38: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

หลายๆ คนมักจะบอกวาคนสมัยนี้เห็นแกตัว แตบิล เกตส เขามองวา จริงๆ แลวในทุกยุคก็มีทั้งคนเห็นแกตัวและคนมีน้ำใจ ปจจุบันคนมีน้ำใจก็ไมไดนอยลง เพียงแตมีสิ่งกีดขวางท่ีไมใหคนเหลานั้นแสดงความหวงใยออกมา เพราะปจจุบันโลกเรามีความซับซอนมากข้ึน มีอะไรหลายๆ อยางในโลกท่ีมีมากเกินไป เชน เวลาเราเห็นรูปเด็กกําลังจะอดตายในแอฟริกา ไมใชวาเราไมสงสาร แตเรามักจะคิดวามันเปนปญหาใหญมากๆ ที่เกินตัว ไมสามารถจะยื่นมือเขาไปแกไขได ตองอาศัยองคกรใหญๆ เทานั้น ซึ่งจริงๆ แลวมันไมใช เพราะหากคนตัวเล็กๆ หลายคนรวมกันมันก็สามารถจะเปนพลังที่ยิ่งใหญ และสามารถแกปญหาอะไรใหญๆ ได แตทั้งนี้ก็ตองดูดวยวาใครถนัดดานไหน อยางเชน เอ็นจีโอถนัดที่จะทําอะไรเพื่อชวยเหลือสังคม ก็ควรจะมารวมมือกับนักการเงินซ่ึงเช่ียวชาญในการบริหารจัดการการเงิน กิจกรรมที่เกิดขึ้นมันก็จะตอบโจทยไดทั้งเร่ืองของสังคมและเร่ืองของการเงินดวย ขอยกตัวอยางเว็บไซต Ohmynews.com เปนเว็บไซตของเกาหลีใต ซึ่งมีนักขาวประมาณ 2-3 แสนคน นักขาวเหลานี้คือกลุม แมบาน ที่หาเวลาวางคนละช่ัวโมงสองชั่วโมงมาเขียนขาวและสถานการณตางๆ ที่เขาทราบลงไปบนเว็บไซต กลาวกันวาเว็บไซตนี้เปนพลังในการถวงดุล และเปนการตรวจสอบคอรรัปช่ันของนักการเมืองและรัฐบาลที่มีประสิทธิภาพที่สุดในเกาหลีเลยทีเดียว ถาเราเอามาประยุกตใหเห็นภาพในภาษาของธุรกิจ คือจะมีสวนกําไร ขาดทุน แลวก็งบดุล งบดุลก็คือกําไรสินทรัพยและหน้ีสิน ผูถือหุนของบริษัท จากนั้นก็เอามาตีความวาจะทํายังไงใหไมมีการหลอกลวง ไมเอารัดเอาเปรียบ ไมโกง ไมตกแตงตัวเลข และรายไดเกิดขึ้นอยางเปนธรรมเมื่อบริษัทขายของ เวลาคิดตนทุนการขายหากมีการทําความเดือดรอนใหชาวบานหรือสิ่งแวดลอมก็ตองเอามาคิด

HCL BACKUP.indd 38HCL BACKUP.indd 38 1/1/70 9:48:12 AM1/1/70 9:48:12 AM

Page 39: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

เปนตนทุนทันที คาใชจายเกี่ยวกับพนักงานที่เกิดขึ้นก็ตองไมเอาเปรียบลูกจาง ไมหลบเล่ียงกฎหมาย เวลาจะจายภาษีก็ไมโกงภาษีรัฐ สวนในแงของงบดุล ทําอยางไรที่คุณจะไมสรางมูลคาเทียมของสินทรัพย ไมใชวาคุณทําธุรกิจขายเคร่ืองเลนสไลเดอรแตเอาเงินไปเลนหุนอยางเดียว ไมสนใจดูแลความปลอดภัยของคนเลน ในสวนของผูถือหุนก็ตองมีความรูสึกเปนเจาของ มีความรับผิดชอบในตัวบริษัท บริษัททําอะไรก็ตองรวมรับผิดชอบดวย ถาทุกบริษัททําไดอยางน้ีแลวก็จะเกิดผลดีกับสังคมอยางแนนอน

HCL BACKUP.indd 39HCL BACKUP.indd 39 1/1/70 9:48:13 AM1/1/70 9:48:13 AM

Page 40: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

40

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

แนวคิดใหมๆ ที่ประกอบสรางเปนกระบวนทัศนใหม

HCL BACKUP.indd 40HCL BACKUP.indd 40 1/1/70 9:48:13 AM1/1/70 9:48:13 AM

Page 41: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

41

สฤณี อาชวานันทกุล

อินเทอรเน็ตเปนตัวอยางท่ีดีมากๆ เกี่ยวกับเร่ืองการแพรกระจายของแนวคิดใหมๆ ปจจุบันมีคนใชอินเทอรเน็ตทั่วโลก 1.1 พันลานคน สวนในประเทศไทยมีประมาณสิบสามลานคน และจะเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ ระบบ อินเทอรเน็ตนี้คลายคลึงกับระบบตลาดในอุดมคติมากๆ เพราะเปนระบบท่ีเกิดขึ้นเอง ไมมีใครมาจัดการ ถึงแมวาจะมีองคกรหลักๆ ของโลกที่เปนผูกําหนดมาตรฐานในการเขียนเว็บไซต มีบริษัทเทเลคอมใหญๆ ที่เปนเจาของทอเช่ือมตอกัน แตในแงของสังคมอินเทอรเน็ต ไมมีใครกําหนดวาคุณจะสรางอะไรไดหรือไมได คุณอยากทําอะไร อยากสรางอะไรก็ไดเวนเสียแตวาคุณจะอยูในประเทศที่มีการเซ็นเซอรหนักหนอย เว็บไซตอาจจะถูกปดได แตโดยรวมแลวคนท่ีอยูในอิน- เทอรเน็ตมีทัศนคติท่ีคอนขางจะไปในทางเดียวกัน คือทัศนคติที่ชอบการมีสิทธิเสรีภาพในการเช่ือมโยงกัน ชอบเทคโนโลยี เช่ือมั่นในพลังของอินเทอรเน็ต เชื่อมั่นในพลังของเทคโนโลยี เชื่อมั่นวาถาเรามารวมตัวกันทําอะไรสักอยางหน่ึงโดยใชอินเทอรเน็ตเปนส่ือ มันก็จะสามารถ

HCL BACKUP.indd 41HCL BACKUP.indd 41 1/1/70 9:48:14 AM1/1/70 9:48:14 AM

Page 42: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

42

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

กดดันใครก็ตามในโลกแหงความเปนจริงได เพราะฉะนั้นลักษณะของอินเทอรเน็ตก็ถือวาเปนระบบ self-emerging แบบหน่ึง

ที่มา: http://gc.sfc.keio.ac.jp/class/2004_14949/slides/05/17.html

HCL BACKUP.indd 42HCL BACKUP.indd 42 1/1/70 9:48:14 AM1/1/70 9:48:14 AM

Page 43: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

43

สฤณี อาชวานันทกุล

ภาพนี้เปนปกของนิตยสารไทม ซึ่งบอกวา People of the Year ก็คือคุณน่ันแหละ คุณที่อยูในโลกน้ี เทคโนโลยีใหมๆ เชน โทรศัพทมือถือ เอสเอ็มเอส หรือ เอ็มเอสเอ็น คือการทําใหเกิด emergence หรือการอุบัติเอง และทําใหการแพรกระจายของขาวสารเปนไปอยางรวดเร็ว เชนพวกฟอรเวิรดเมล ก็สามารถกระจายไปหลายๆ ประเทศไดภายในเวลาไมกี่วัน เพราะฉะนั้นนี่คือพลังของ อินเทอรเน็ต ซึ่งเปนพลังที่กลไกระดับโลกเขาควบคุมไดยากมาก การอุบัติขึ้นของอินเทอรเน็ตจึงทําใหหลายๆ คนหันกลับมาคิดเก่ียวกับระบอบการเมืองใหม เชน เรื่องประชาธิปไตยทางตรง ซึ่งมีมาตั้งแตสมัยกรีกโบราณแลว ในยุคนั้นคิดวาทุกคนควรจะมีสิทธิในการที่จะกําหนดชะตาชีวิตของตัวเอง แตเมื่อสังคมเร่ิมขยายตัว เร่ิมมีคนมากขึ้นจึงไดมีระบอบผูแทนขึ้นมา ที่เรียกวา Representative Democracy แตปจจุบันนี้อินเทอรเน็ตกําลังทําใหตนทุนในการเขาถึงแหลงขอมูลลดนอยลง การเขาถึงหรือตรวจสอบการทํางานของภาครัฐก็ทําไดงายขึ้น ปจจุบันนี้เมืองที่คอนขางมีหัวกาวหนา เชน ยุโรป สแกน-ดิเนเวีย ก็เร่ิมทําอะไรที่เปน E-Democracy ผานอินเทอรเน็ตกันแลว โดยเร่ิมจากการเลือกต้ังระดับหมูบานกอน เขาใชอินเทอรเน็ตเปนศูนยกลางในการรับสงคะแนนเสียงเลือกตั้ง เรื่องนี้ก็เลยถูกยกเปนประเด็นวาเลิกอางกันไดแลวหรือยังวาประชาธิปไตยทางตรงนั้นไมมีประสิทธิภาพเพราะมีคนจํานวนมาก หากมองในระดับยอมๆ เชน หมูบานหรือตําบล จะเห็นไดวามีหลายๆ ประเด็นที่ไมจําเปนตองใหผูแทนเปนคนตัดสินใจ เชน การควบคุมงบทองถ่ิน เปนไปไดหรือไมที่จะใชประชาธิปไตยทางตรงกับเรื่องนี้

HCL BACKUP.indd 43HCL BACKUP.indd 43 1/1/70 9:48:16 AM1/1/70 9:48:16 AM

Page 44: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

44

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

นอกจากน้ี อินเทอรเน็ตยังทําใหคนเริ่มรูจักวัฒนธรรมหรือ คุณธรรมแบบใหมๆ จะเปนไปไดหรือไม ที่เราจะมีวิธีคิดเก่ียวกับ คุณธรรมแบบใหม ที่รักษาหรือเขาใจความหลากหลายของมนุษย แตในขณะเดียวกันก็ยอมรับในคุณธรรมรวมกัน มีการตกลงกันวา แมวาเรื่องบางเรื่องเราจะมีความเห็นไมตรงกัน แตจะมีบางเรื่องที่เราทั้งหมดจะยอมรับรวมกันในฐานะที่เปน “คุณธรรมสากล” เชนเรื่องสิทธิมนุษยชน หรือเสรีภาพในการทําธุรกรรมแลกเปล่ียนสินคาโดยเสรี ที่อมาตยา เซ็น มองวาเปนสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย มีแนวคิดหนึ่งเรียกวา Cosmopolitanism ของ ควาเม แอน- โธนี อัปไปอาห (Kwame Anthony Appiah) ซึ่งเปนแนวคดิที่พยายามจะไมใหทุกคนในโลกใบน้ีเปนปจเจกชนสุดข้ัว ที่ตางคนตางคิดตางคนตางทําอะไรแบบตัวใครตัวมัน โดยไมสนใจอะไรหรือใครอื่น หรือเปนแบบอีกขั้วหนึ่งก็คือ เปนพวกศาสนาหัวรุนแรงที่ใครไมเห็นดวยก็ระเบิดเขาอยางเดียว คือจะทํายังไงใหมันมีแนวคิดที่เชื่อมเปนทางสายกลางได ซึ่งแนวคิดนี้เปนแนวคิดที่ไดรับความชื่นชอบจากนักทอง อินเทอรเน็ตหลายคนทีเดียว ในแงของภาคธุรกิจ แมจะเกิดแนวคิด sustainable economy มานาน แตก็ไมมีอิทธิพลตอภาคธุรกิจเทาใดนัก ถึงจะมีงานวิจัยของ ธนาคารโลกออกมาเปนระยะๆ แตก็มักจะเนนดานมิติการรักษาส่ิงแวดลอม เปนมิติของ conservation เสียมากกวา จนกระทั่งเมื่อไมนานมานี้จึงเร่ิมมีการพูดถึงบทบาทของภาคธุรกิจในการพัฒนาที่ยั่งยืนวาคืออะไร แลวเราจะเรียกภาคธุรกิจซึ่งสนใจส่ิงแวดลอมและคิดวา สิ่งแวดลอมคือตนทุนที่เราตองคํานึงถึงและรับผิดชอบวาอะไร เริ่มมีคนใชคําวา Natural Capitalism คือ ทุนนิยมธรรมชาติ ซึ่ง พอล ฮอว-เกน (Paul Hawken) บอกไววา สิ่งแวดลอมก็คือตนทุนอันหนึ่ง ดังนั้นตองคิดถึงส่ิงแวดลอมดวยเมื่อเราทําธุรกิจ ถาทําธุรกิจที่ไดผลกําไรดี

HCL BACKUP.indd 44HCL BACKUP.indd 44 1/1/70 9:48:17 AM1/1/70 9:48:17 AM

Page 45: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

45

สฤณี อาชวานันทกุล

แตทําใหสิ่งแวดลอมเสียหายไปมากก็ตองเอาส่ิงแวดลอมท่ีเสียหายไปนั้นมาคิดเปนตนทุนดวย เขายังไดเสนอแนวทางการประเมินการปฏิบัติของภาคธุรกิจที่สนใจเรื่องสิ่งแวดลอม เขาไดประเมินและสังเคราะหออกมาเปนแนวคิดท่ีคอนขางชัดเจนมาก ทําใหเห็นไดวา

ทําแบบน้ีแลวไมใชจะขาดทุนเสมอไป ตัวอยางหน่ึงคือเร่ืองของการจัดโซนอุตสาหกรรม ปญหาของระบบอุตสาหกรรมก็คือเวลาเราผลิตของอะไรอยางหน่ึง จะมีของท่ีกลายเปนของเสียจํานวนมาก เคยมีคนคิดออกมาวาทุกๆ รอยดอลลารของวัตถุดิบที่เราใชในการผลิต มันกลายเปนผลผลิตสุดทายเพียงสองเหรียญเทานั้น ที่เหลือหายไปเปนของเสียระหวางทาง เพราะฉะน้ันเราควรพยายามออกแบบกระบวนการ ผลิตใหไมเกิดหรือเกิดการเสียหายนอยที่สุด

ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Image:Sustainable_development.svg

http://www.housing.gov.za/Content/Housing%20Atlas%2005/document/doc.htm

HCL BACKUP.indd 45HCL BACKUP.indd 45 1/1/70 9:48:17 AM1/1/70 9:48:17 AM

Page 46: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

46

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ผังดานลางเปนตัวอยางของนิเวศอุตสาหกรรม เรียกวา Industrial Ecosystem ในเดนมารก ซึ่งที่เดนมารก นอรเวย สวีเดน ฟนแลนด เปนประเทศที่คอนขางโปรโมทและพัฒนาแนวคิดเรื่องสิ่งแวดลอม เรื่องทุนนิยมธรรมชาติเปนอันดับตนๆ ของโลก เขาคิดเร่ืองพวกน้ีเยอะมาก สวนภาพท่ีเห็นนี้เปน Industrial Ecosystem ที่เมือง Kalundborg ซึ่งเมืองนี้เปนโรงไฟฟา แตมีระบบการผลิตแบบเปนวงจร ไอน้ำจากโรงไฟฟาก็นําไปใชในโรงไฟฟาชีวมวล แลวสมมติวาไดยีสตมาก็นำไปเล้ียงหมูสําหรับชาวนาในบริเวณน้ัน มีการออกแบบใหทุกคนในบริเวณน้ันไดประโยชนและกําจัดของเสียใหเหลือนอยท่ีสุด อะไรที่จะเปนของเสียก็จัดการใหมันไปเปนวัตถุดิบของสิ่งอื่นเพ่ือใหออกมาเปนผลผลิตอีกรูปแบบหนึ่ง

ที่มา: http://newcity.ca/Pages/industrial_ecology.html

HCL BACKUP.indd 46HCL BACKUP.indd 46 1/1/70 9:48:18 AM1/1/70 9:48:18 AM

Page 47: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

47

สฤณี อาชวานันทกุล

วิทยาศาสตรบอกวาเราไมสามารถเอาชนะธรรมชาติได ดังนั้นเราจึงควรหันมาเรียนรูจากธรรมชาติใหไดมากที่สุดจะดีกวา ดังน้ันวิธีหนึ่งที่จะทําใหกระบวนการผลิตของมนุษยเปนมิตรกับสังคมและสิ่งแวดลอมก็คือ สังเกตดูวาธรรมชาติทําอยางไร เพราะธรรมชาติมีกระบวนการผลิตหลายๆ อยางทั้งในพืชและในสัตวที่มีของเสียออกมานอยมากและใชทรัพยากรไดอยางคุมคาที่สุด ปจจุบันมีการออกแบบสาขาใหม เรียกวาการลอกเลียนจากธรรมชาติหรือ Biomimicry ซึ่งเริ่มสอนกันแลวในโรงเรียนออกแบบหลายๆ แหง และมีดีไซเนอรหลายคนที่นําเอาคอนเซ็ปตนี้ไปใชในการออกแบบ เชน เอาโครงสรางของหอยเปาฮ๊ือไปออกแบบเซรามิค เอาโครงสรางของปกคางคาวไปออกแบบไมเทาสําหรับคนพิการ แลวก็มีกาวท่ีทําจากโครงสรางทางเคมีของหอยแมลงภู ทั้งหมดน้ีมาจากแนวคิดวาจะพัฒนาอยางไรไมใหมีของเสีย คือแทนที่จะเปน top-down ก็ดูใหเปน bottom-up คือดูวามีวัสดุอะไรที่จะจัดการใหเปนผลเสียกับธรรมชาตินอยที่สุด และใชประโยชนจากวัสดุเหลานั้นไดอีก ภายใตกระบวนทัศนเรื่องทุนนิยมธรรมชาติ มีแนวความคิดหนึ่งที่เกิดขึ้นเนื่องจากพิจารณาเห็นวา กระบวนการผลิตของมนุษยทําใหสิ้นเปลืองทรัพยากรไปเยอะมาก ถึงแมวาจะมีวิธีการคิดดีอยางไรก็ตาม สุดทายแลวก็มีของเสียออกมาอยูดี ดังนั้นแทนท่ีจะคิดเฉพาะ ในแงของการผลิต ทําไมเราไมเปล่ียนมาคิดในแงของการบริการแทน ยกตัวอยางในประเทศฝรั่งเศส แทนที่บริษัทขายเครื่องทําความรอน จะมุงขายแตเครื่องทําความรอนเพียงอยางเดียว เขาก็คิดออกมาในแงของการบริการ โดยทําสัญญากับลูกคาวาในฤดูหนาวบริษัทจะรับประกันวาอุณหภูมิในหองของคุณจะไมต่ำกวาเทานั้นเทานี้ แลวแตจะตกลงกัน แลวก็มาคิดวิธีการอื่นๆ ที่ไมใชมุงแตจะขายเครื่องทําความรอนอยางเดียว เชน การติดกระจกก็ทําใหอุณหภูมิของหองเพิ่มขึ้นได

HCL BACKUP.indd 47HCL BACKUP.indd 47 1/1/70 9:48:19 AM1/1/70 9:48:19 AM

Page 48: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

48

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ที่มา http://biomimicry.net/

เพราะในความเปนจริงส่ิงที่ลูกคาตองการไมใชเครื่องทําความรอน แตตองการความอบอุนใหกับที่อยูอาศัยตางหาก ไมวาจะใชวิธีใดก็ตาม

HCL BACKUP.indd 48HCL BACKUP.indd 48 1/1/70 9:48:20 AM1/1/70 9:48:20 AM

Page 49: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

49

สฤณี อาชวานันทกุล

ทั้งหมดที่กลาวมานี้คงเห็นกันแลววาการที่ธุรกิจจะหันมาสนใจเร่ืองทุนนิยมธรรมชาติ เรื่องตนทุนทางส่ิงแวดลอม ไมใชเร่ืองลาสมัยหรือไมใชเรื่องที่จะทําใหบริษัทลมละลาย และในดานของผูถือหุนเองก็เริ่มมีกระแส CSR หรือ Corporate Social Responsibility คือกระแสที่บอกวาบริษัทตองมีความรับผิดชอบตอสังคม ในหนังสือเรื่อง ‘Natural Capitalism’ ไดเลาไววา มี CEO ของบริษัทหลายๆ แหงเพิ่งตระหนักไดวาวิธีการผลิตของเขามันทําความเสียหายใหกับธรรมชาติ จึงพยายามหาทางที่จะชดเชย ทั้งนี้การทํา CSR ตองไมใชสักแตวาเปนการทําเพื่อประชาสัมพันธหรือสรางภาพลักษณใหกับบริษัท แตตองเปนการทําเพ่ือประโยชนของสังคมจริงๆ สวนในชารทนี้เพื่อใหเขาใจงายข้ึนในเรื่องของ Corporate Governance หรือธรรมาภิบาล กับเร่ืองของ CSR วาจริงๆ แลวเปนคนละเร่ืองกัน คือธรรมาภิบาลเปนเรื่องของความสัมพันธภายในองคกร กับการจัดการโครงสรางความสัมพันธของบริษัทกับผูถือหุน และ CEO กับผูบริหาร และอาจจะกับสังคมภายนอกดวย แตสวนใหญแลวธรรมาภิบาลจะพูดถึงในแงของกฎหมาย ในแงกลไกของความเปนธรรม เชนทําอยางไรใหขอมูลเทาเทียมกัน ในขณะเดียวกัน CSR จะเนนในเรื่องของทัศนคติ ซึ่งจะใกลเคียงกับเรื่อง Corporate Ethics มากกวา คือเปนเรื่องของคุณธรรมในการดำเนินธุรกิจ แตจะมีบางสวนที่คาบเก่ียวกัน และถาเชื่อในเรื่องนี้จริงๆ ก็ตองเช่ือวาถาทํา CSR ไดจริงๆ ก็จะเพิ่มความสามารถในการแขงขันได เพราะในระยะยาวแลวสังคมและลูกคาก็จะเห็นและตระหนักไดเอง

HCL BACKUP.indd 49HCL BACKUP.indd 49 1/1/70 9:48:22 AM1/1/70 9:48:22 AM

Page 50: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

50

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

แผนภูมิตอไปนี้แสดงใหเห็นผลการสํารวจความตองการของประชาชนท่ีเรียกรองใหบริษัทใหญๆ มีความรับผิดชอบตอสังคมมากขึ้น ประเทศออสเตรเลียเปนประเทศท่ีตื่นตัวในเร่ืองน้ีคอนขางมาก ประชาชน 45 เปอรเซ็นต บอกวาบทบาทที่สําคัญของบริษัทคือการทํา

ใหสังคมดีขึ้น สวนในอเมริกาก็ประมาณ 35 เปอรเซ็นต และไมมีประเทศไหนในโลกท่ีบอกวาบริษัทไมตองมีบทบาทในการชวยเหลือสังคม

HCL BACKUP.indd 50HCL BACKUP.indd 50 1/1/70 9:48:23 AM1/1/70 9:48:23 AM

Page 51: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

51

สฤณี อาชวานันทกุล

หากเราจะวัดวา CSR บริษัทดีหรือไมดีก็ควรจะมีตัวช้ีวัดที่เชื่อถือได แผนภูมิหนาถัดไปตัดมาจากรายงานของบริษัท GlobeScan เปนบริษัทที่ทําวิจัยดาน CSR โดยเฉพาะ เขาไดทําการสํารวจวาคุณคิดวา CSR แปลวาอะไร คนสวนใหญตอบวา fair employee treatment คือการใหความเปนธรรมกับพนักงานของบริษัท สวนอันดับสองตอบวา คือการคุมครองสิ่งแวดลอม อันดับสามตอบวา คือการมีสวนชวยในการสรางงานในระบบและสงเสริมเศรษฐกิจ และอันดับสี่ตอบวา คือการใหบริการและคืนกําไรใหกับสังคม จะเห็นไดวาปจจุบันเริ่มมีแนวคิดที่คอนขางเปนมาตรฐานในระดับหนึ่งวา CSR ควรจะมีอะไรบาง บริษัทที่ทํา CSR ไดดีหมายถึงอะไรและควรจะทําอะไรบาง

คุณคิดวาบทบาทของบริษัทขนาดใหญในสังคมคืออะไร? - The Millennium Poll

ที่มา: http://www.environment.gov.au/settlements/industry/finance/publications/respon-investment.html

HCL BACKUP.indd 51HCL BACKUP.indd 51 1/1/70 9:48:24 AM1/1/70 9:48:24 AM

Page 52: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

52

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สวนแผนภูมินี้แสดงใหเห็น performance ของ CSR จะเห็นวาขณะนี้ยังคอนขางต่ำกวาส่ิงที่สังคมคาดหวัง แปลวายังมีสิ่งที่จะตองทําอีกมากกวาจะไปถึงจุดที่สังคมคาดหวัง ยกตัวอยางที่เห็นงายๆ ในประเทศไทยอยางเชนบางบริษัทที่ทําธุรกิจเกษตร โฆษณาวาตัวเองทํา

ที่มา: http://www.globescan.com/csrm_research_findings.htm

HCL BACKUP.indd 52HCL BACKUP.indd 52 1/1/70 9:48:25 AM1/1/70 9:48:25 AM

Page 53: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

53

สฤณี อาชวานันทกุล

CSR มากมาย แตในขณะเดียวกันปหนึ่งๆ ก็หลอกลวงเกษตรกรรายยอย ทําลายสิ่งแวดลอม ผูกขาดธุรกิจ ยังทําลายสังคมมากกวาดูแลสังคมอยูนั่นเอง เพราะฉะน้ันถาเราบอกวาบริษัทที่ทําประชาสัมพันธวาเขาทํา CSR ดีแลว แตในภาพรวมมันยังไมใช และถาเรายังไปเรียกเขาวาเปนบริษัท CSR ดีเดนก็แปลวาเราตองยอนกลับมาพิจารณาความเขาใจของเราเองดวย ที่มา: http://www.globescan.com/csrm_research_findings.htm

HCL BACKUP.indd 53HCL BACKUP.indd 53 1/1/70 9:48:27 AM1/1/70 9:48:27 AM

Page 54: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

54

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เครื่องมือใหมๆ ที่ใชในภาคปฏิบัต ิ

HCL BACKUP.indd 54HCL BACKUP.indd 54 1/1/70 9:48:28 AM1/1/70 9:48:28 AM

Page 55: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

55

สฤณี อาชวานันทกุล

ที่ผานมาไดพูดถึงเรื่องแนวคิดกันไปแลว ตอนนี้มาพูดถึงเรื่องเครื่องมือกันบาง เครื่องมือหลายๆ ตัวที่เกิดขึ้นเปนทั้งการเอาแนวคิดมาตอ ยอด หรือไมก็เกิดขึ้นเอง เปน self-emergence อยางหนึ่งเหมือนกัน แนวคิดอันหน่ึงที่มีพลังมากและเปนรากฐานของไอเดียหลายๆ อยางคือ ไอเดียเก่ียวกับ open source ซึ่งมาจากการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร เริ่มจากการที่โปรแกรมเมอรคนหนึ่งไดสรางโคด เขียน โปรแกรมหน่ึงขึ้นมาแตอาจจะยังไมสมบูรณดี และยังอาจจะมี bug ดวย แตเขาก็เปดโอกาสใหคนไดดาวนโหลดโปรแกรมของเขาไปใช โดยคนท่ีดาวนโหลดไปก็รับทราบวาโปรแกรมน้ียังไมสมบูรณดี แตหากเจอปญหาอะไรก็ชวยกันแกไขได เปนการโพสตเสรี ซึ่งจริงๆ เกิดขึ้นมานานแลว แตคนที่ทําให open source นี้ดังมากๆ คือ ลินุส ทอร-วอลด (Linus Torwald) ผูกอต้ังบริษัท Linux (ลินุกซ) ซ่ึงมาจากช่ือของเขาบวก Unix ซึ่งเปนชื่อของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอรที่เปน open source ทั้งนี้การที่จะทําใหส่ิงตางๆ เปน open source ไดคือ

HCL BACKUP.indd 55HCL BACKUP.indd 55 1/1/70 9:48:29 AM1/1/70 9:48:29 AM

Page 56: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

56

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

มันตองไมมีลิขสิทธิ์ เพราะมันไมไดเกิดขึ้นมาจากคนคนเดียว อาจจะเปนรอยเปนพันหรือเปนหมื่นคน ไมมีใครมีสิทธิ์ที่จะนํามันไปขายได ดังนั้นจึงมีขอจํากัดวาไมใหขาย เรียกงายๆ วาเปน copyleft (ลิขซาย) คือชวยกันเขียน ชวยกันแกแตหามขาย และถาใครจะเอาไปทําอะไรก็ตองรักษา license นี้ไวเหมือนกัน คือเมื่อตัวเองพัฒนาแลว คนอ่ืนที่มาชวยแกตอก็หามนําไปขายเชนกัน โดยภาพรวมแลว open source เปนกระบวนการอุบัติเอง ที่เปดโอกาสใหใครๆ ลงขันมาชวยกันเขียนชวยกันแกไข แตก็ตองมีระบบควบคุม มีกลุมคนคอยรวบรวมสิ่งที่ทุกคนแกแลวตัดสินวา อันไหนมีประโยชนอันไหนไมมีประโยชน ไมอยางน้ันก็แกกันไปแกกันมาอาจจะแยกวาเดิมก็ได เพราะฉะนั้นถาพูดถึงโมเดลในการทํางานของ open source มันก็จะเปนสองโมเดลมารวมกัน คือ self-organize หรือระบบอุบัติเอง กับสวนที่ใชคนประสานงานหรือ coordination ขอยกตัวอยางของลินุกซซึ่งนาสนใจมาก ลินุกซเปนระบบปฏิบัติการ (operating system) คอมพิวเตอรที่เปน open source มาตั้งแตตน คือตอนน้ี code ของลินุกซก็ยังเปน open source อยู แตหนาที่ของบริษัทลินุกซคือการใหคําปรึกษากับบริษัทตางๆ ที่เอาลินุกซไปใช วาจะเอาระบบนี้ไปทําอะไรใหเกิดประโยชนไดบาง รายไดของเขาเกิดจากการขายบริการ คือการใหคําปรึกษาน่ันเอง ก็จะเห็นวาตรงกันกับแนวคิดของฮอวเกนที่กลาวไปแลวเรื่องการเปลี่ยนแปลงทุกอยางในระบบเศรษฐกิจใหเปน service economy6 ใหเปนการใหบริการและเลิกคิด เรื่องวิธีการผลิต เพราะเราสามารถคิดอะไรไดมากขึ้นถาเรานํามาคิดในแงการใหบริการ แผนภูมิหนาถัดไปแสดงใหเห็นวาระบบของลินุกซเปนระบบอุบัติเอง ไมมีใครมาส่ังวาใครตองทําอะไรบาง ในแตละเดือนเขาสง

HCL BACKUP.indd 56HCL BACKUP.indd 56 1/1/70 9:48:29 AM1/1/70 9:48:29 AM

Page 57: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

57

สฤณี อาชวานันทกุล

ขอมูล สงขอความกันประมาณแปดหมื่นกวาขอความ อันนี้มาจาก งานวิจัยของ MIT จะเห็นวาดานซายนี้เปนฝงของผูใชลินุกซ ตรงกลางเปนผูพัฒนาลินุกซ สวนดานขวาเปนคนที่ทํา extensions หรือคนที่ตอเติมลินุกซ ใหใชทําอยางอื่นได หรือการสรางโปรแกรมใหมๆ จากลินุกซนั่นเอง จะเห็นไดวาทุกๆ คนทํางานดวยกันท้ังหมด คือตางคนตางโพสตกันเขามา ดานของผูใชที่วงกลมแตละวงน้ันหมายถึงเว็บบอรดรุนแรกท่ีอยูในอินเทอรเน็ต เรียกวา Electronic BBS วงกลมวงหนึ่งคือ BBS อันหนึ่ง วงเล็กหมายถึงคนจํานวนนอย วงใหญหมายถึงคนจํานวนมาก ระบบนี้นาทึ่งมากเพราะผลท่ีไดออกมาคือลินุกซ ระบบปฏิบัติการท่ีเสถียรท่ีสุดในโลก เปนระบบท่ีแฮงกนอยมากและดีข้ึนเรื่อยๆ ไมโครซอฟทน้ันเทียบไมติดเลย และท่ีนาท่ึงมากไปกวาก็คือคนที่ทํางานชวยลินุกซ 60 เปอรเซ็นต เปนอาสาสมัคร ไมไดมีคาตอบแทนจากการเขียนโคดแบบ open source ใหลินุกซเลย สวนอีก 40 เปอรเซ็นต ที่เหลือก็คือคนของลินุกซเองที่มีหนาที่พัฒนาลินุกซ

ที่มา:http://ocw.mit.edu/NR/rdonlyres/Sloan-School-of-Management/15-352Spring-2005/308C4BBD-FFBF-45F4-87B8-92C1075F8078/0/karimlakhani_ope.pdf

HCL BACKUP.indd 57HCL BACKUP.indd 57 1/1/70 9:48:30 AM1/1/70 9:48:30 AM

Page 58: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

58

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เมื่อพูดถึงลินุกซแลวก็ตองพูดถึงนวัตกรรมซ่ึงเพิ่งเกิดขึ้นไมนานมานี้ อาจเรียกไดวาเปนพัฒนาการของ open source ก็ได เรียกวา Creative Commons ซึ่งเปนแนวคิดของแลรี่ เลสสิก (Larry Lessig) ผูที่บอกวากฎหมายลิขสิทธ์ิปจจุบันมีปญหาดังท่ีไดกลาวไปแลว เลสสิกบอกวา ทําไมในโลกนี้จะตองมีตัวเลือกแคสงวนลิขสิทธิ์ 100 เปอรเซ็นต กับ public domain คือไมมีลิขสิทธิ์เลย มันนาจะมีความยืดหยุนกวานั้นได เขาจึงคิด Creative Commons ขึ้น มันคือเครื่องมือที่จะควบคุมการใชงานของสิ่งที่คนคิดขึ้นมา โดยมีสวนประกอบอยู 4 อยางที่ปรับเปล่ียนเลือกใชไดคือ Attribution คือชวยใหเครดิตดวยถานําสิ่งนี้ไปใชตอ อีกอันคือ Noncommercial คือหามเอาไปขาย No Derivative Works คือหามเอาไปดัดแปลง และ Share Alike หมายถึงถาจะเอาไปดัดแปลงและนําไปใหคนอื่นใชตอก็ขอใหใช สัญญาอนุญาตเดียวกันนี้ คือเขาตองไมขาย ตองใหเครดิตคนคิดเหมือนกัน

ที่มา: http://cc.in.th/wiki/spectrum-of-rights

HCL BACKUP.indd 58HCL BACKUP.indd 58 1/1/70 9:48:31 AM1/1/70 9:48:31 AM

Page 59: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

59

สฤณี อาชวานันทกุล

ตัวอยางองคประกอบใหมๆ ที่พัฒนาข้ึนมาคือ Developing World Only คือการอนุญาตใหนํางานน้ีไปใชไดเฉพาะในประเทศโลกที่สามเทานั้น ซึ่งองคประกอบน้ีมาจาก คาเมรอน ซินแคลร (Cameron Sinclair)7 สถาปนิกคนหน่ึงซึ่งสรางเว็บไซตท่ีแบงปนแบบบานเพื่อจะเอาไปชวยเหลือคนจนในประเทศโลกที่สามเทานั้น ไมตองการใหคนรวยเอาไปใชโดยไมจายเงิน โดยเขาสามารถตรวจสอบปลายทางของผูดาวนโหลด เชน ถามาจากประเทศแถบยุโรปหรืออเมริกาเขาก็ไมอยากใหดาวนโหลด เมื่อเลสสิกทราบเรื่องเลยคิดสัญญาอนุญาตแบบDeveloping World Only ขึ้นมาเพื่อคุมครองให ทุกอยางที่พูดมาน้ีแสดงใหเห็นวาจริงๆ แลวแนวคิดท่ีพูดมามันเชื่อมตอกันหมด มันตอยอดกันไดหมด และมีความยืดหยุนที่จะปรับเปล่ียนไดตลอดเวลา ดังนั้นในอนาคตก็เ ช่ือวา Creative Commons จะพัฒนาตอไปไดเรื่อยๆ ตามความตองการของคนใช ความนิยมของ open source มีความชัดเจนมาก ยกตัวอยางเชน เว็บเซิรฟเวอร เมื่อทานคลิกเขาไปดูเว็บเซิรฟเวอรจะเห็นวามันทำงานบน Apache ซึ่งเปนซอฟตแวร open source อันหนึ่ง ซึ่งถาดูสวนแบงการตลาด ณ เดือนเมษายน ป 2007 จะพบวาทิ้งหางไมโคร-ซอฟทถึงสองเทาเลยทีเดียว เพราะ Apache เสถียรกวาไมโครซอฟท จนขณะน้ี ไมโครซอฟทตองยอมเปดโคดของตัวเองบางสวนใหเปน open source บางแลว สวนในดานของเว็บบราวเซอร สวนใหญคนที่ใชไมโครซอฟทก็จะยังใช Internet Explorer อยู ขอแนะนําใหลองใช Mozilla Firefox ที่เปนบราวเซอร open source ซึ่งเร็วกวาและทําอะไรไดมากกวา Firefox เกิดเม่ือปลายป 2003 แตปจจุบันมีสวนแบงการตลาดถึง 14 เปอรเซ็นตแลว ปจจุบันไดมีการนําเอาโมเดล open source ไปใชในการทําธุรกิจเยอะมาก เชน เว็บไซต salesforce.com ซึ่งใหบริการ technical

HCL BACKUP.indd 59HCL BACKUP.indd 59 1/1/70 9:48:32 AM1/1/70 9:48:32 AM

Page 60: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

60

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

support เรื่องการจัดการลูกคาสัมพันธ หรือ Customer Relationship Management (CRM) ผานอินเทอรเน็ต ก็ใชซอฟทแวรของ open source ทําใหตนทุนของเขาต่ำกวาที่อื่น เว็บไซต izimi ใหบริการคนมาอัพโหลดวิดีโอหรือหนัง เมื่อมีคนสงไฟลไปเขาก็จะชวยโปรโมท ชวยคอมเมนท และหากตองการขายก็จะมีระบบที่ชวยคิดเรื่องคาลิขสิทธิ์ (royalty) หรือเรื่องอื่นๆ ให เว็บนี้ก็ใช open source เชนเดียวกัน และยังมีเว็บ Magnatune ซึ่งเปนเว็บที่ใหคนสามารถดาวนโหลดเพลงได จะนําไปมิกซหรืออะไรก็ไดทั้งนั้น โดยจะยังไมเก็บเงินจนกวาจะ burn ใสซีดี คิดซีดีละ 5 เหรียญ โดยจะเอากี่เพลงก็ไดแตคิด 5 เหรียญ หรือเราอาจจะสราง playlist ของเราขึ้นมาอันหนึ่ง สมมติวาเปนเพลงอกหัก 300 เพลง เราก็โพสตรายช่ือเพลงทั้งหมดลงไป และทุกๆ คร้ังที่มีคนมาเลือก playlist ของเราไปสรางซีดี เราก็จะไดสวนแบงรายไดจํานวนหน่ึง มีเว็บไซตอีกอันช่ือ jamendo.com เขาอนุญาตใหคนโพสตเพลง แตเพลงทุกเพลงท่ีโพสตจะตองเปน open source หมด คือตองอนุญาตใหคนเอาไปมิกซ หรือเอาไปทําอะไรก็ได เราเขาไปดาวนโหลดฟรีได โดยรายไดของเว็บไซตจะมาจากการรับบริจาคผานอินเทอรเน็ต และจากคาโฆษณา ทั้งหมดนี้เปนตัวอยางวาเราสามารถใช open source มาทําธุรกิจได ซึ่งส่ิงที่ดีที่สุดสําหรับประชาชนอยางเราคือ open source มันทําใหเกิดองคความรูใหมๆ ที่ไมมีพรมแดน เชน วิกิพีเดีย ซึ่งเปนตัวอยางท่ีดีมากของ open source วิกิพีเดียเปน open source แบบไมใหเครดิตดวย คือเปนสารานุกรมที่ใครๆ ก็เขาไปเขียน เขาไปแกไขอะไรก็ได ในตอนแรกก็มีกระแสตอตานมากมายถึงความถูกตองของขอมูลวาจะไปสูบริแทนนิกา ซึ่งมีผูเช่ียวชาญตรวจสอบขอมูลอยูตลอดเวลาไดอยางไร แตตอนนี้วิกิพีเดียก็เปนที่ยอมรับแลววามีขอผิดพลาดใกลเคียงกับบริแทนนิกา หรือเอนไซโคลพีเดียอื่นๆ เหมือนกัน

HCL BACKUP.indd 60HCL BACKUP.indd 60 1/1/70 9:48:33 AM1/1/70 9:48:33 AM

Page 61: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

61

สฤณี อาชวานันทกุล

มี open source อีกมากที่ทําประโยชนใหกับสังคม เชน LibriVox ซึ่งใหอัพโหลดเพลงกับ Podcast คือใหอานหนังสือแลวบันทึกเทป อันนี้เปนประโยชนมากกับคนตาบอด หรือจะเปน MIT OpenCourseWare อันนี้เรียกคราวๆ ไดวาเปน “open source education” คือการศึกษาแบบลิขสิทธ์ิเปด เชน ตอนน้ี MIT ไดอัพโหลดคอรสท้ังคอรสนับรอยไปไวในเว็บ ใหคนดาวนโหลด ไมวาจะเปนหลักสูตร เอกสาร หรือแมกระท่ังวิดีโอของอาจารยตอนกําลังเล็คเชอร การบานหรืออะไรไดทุกอยาง โดยเขาก็ควบคุมวาคอรสไหนที่ไดรับความนิยมมากๆ ก็จะใหดาวนโหลดไดแคบางสวนเทาน้ัน ไมอยางนั้นก็อาจจะไมมีใครไปเรียนที่ MIT เลย เพราะอานเอาเองที่บานหมด นี่คือความยืดหยุนของ open source หรืออยางเว็บ Connexions ก็คลายๆ กัน แตเปนบริการสําหรับอาจารยที่อยากจะสรางคอรสแบบ open source ก็เขาไปที่เว็บน้ี เขาจะมีชุดเคร่ืองมือท่ีจะแปลงหลักสูตรของทานใหเปนลิขสิทธิ์เปดได สวน REVVER นี่ก็คลายๆ izimi คือชวยพวกท่ีอยากทําหนัง สวน Open Democracy ถาเขาไปดูก็จะเจอขอเสนอเกี่ยวกับประชาธิปไตยทางตรงที่ไดพูดไปแลว และมีการแสดงความคิดเห็นจากท่ัวโลกวามันจะเกิดขึ้นไดจริงหรือไม สวน PLoS หรือ Public Library of Science เปนเอ็นไซโคลพิเดียทางวิทยาศาสตรแบบออนไลนที่เขาใจวาหลายๆ คนบอกวาดีที่สุดในโลก สรางขึ้นโดยหองสมุดแหงหนึ่งในวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา และลาสุดเมื่อประมาณเดือนมิถุนายน 2550 BBC ก็ประกาศวาจะเอารายการสารคดีทั้งหมดของเขาที่เคยออก BBC ไปขึ้น YouTube ดวย หนังสือของ E.F. Schumacher ชื่อ ‘Small is Beautiful’ และอีกหลายๆ เลมของเขาไดพูดถึงเรื่องของเทคโนโลยีวา ควรมีทางเลือกตรงกลางระหวางเทคโนโลยีระดับสูงที่ตองใชเม็ดเงินจํานวนมาก กับ

HCL BACKUP.indd 61HCL BACKUP.indd 61 1/1/70 9:48:34 AM1/1/70 9:48:34 AM

Page 62: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

62

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เทคโนโลยีระดับเบื้องตนที่ชาวบานใชกัน คือเปนเทคโนโลยีที่แพงกวาประเทศโลกท่ีสามใชประมาณ 10 เทา แตในขณะเดียวกันก็ถูกกวาเทคโนโลยีที่ใชในประเทศที่พัฒนาแลว และจะตองซื้อหาไดงายและใชไดงายสําหรับคนจนที่ไรการศึกษา สามารถเพิ่มผลิตภาพไดจริงและ

กอใหเกิดความเสียหายตอสังคมและส่ิงแวดลอมนอยที่สุด และจะดียิ่งขึ้นหากชาวบานสามารถสรางเทคโนโลยีนั้นๆ ขึ้นมาไดเองจากทองถิ่นของเขา ทั้งนี้เทคโนโลยีปานกลางที่วา ไมจําเปนจะตองเปนเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยหรือเปนเทคโนโลยีพื้นฐาน ตัวอยางเชน ปจจุบันนี้มีหลายๆ องคกรท่ีขาย LED ซึ่งเปนสารเคมีชนิดหนึ่งที่เปลงแสงได สามารถนํามาใชทดแทนหลอดไฟฟาได และมีความทนทานใชงานไดนานกวาหลอดไฟธรรมดาประมาณ 5 เทา มีตนทุนในการผลิตต่ำมาก ซึ่ง LED นี้ทําใหเกิดมูลนิธิ Light Up the World Foundation ซึ่งมีเปาหมายจะนํา LED เขาไปใชในประเทศกําลังพัฒนาใหไดมากที่สุด นี่เปนตัวอยางหนึ่งของเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม และเขากับคอนเซ็ปตเรื่องของความ ยั่งยืนดวย ในภาพนี้คือตัวอยาง LED รูปทั้งหมดที่เผยแพรนี้อยูภายใตลิขสิทธิ์ของวิกิพีเดีย ใครจะเอาไปใชทําอะไรก็ไดโดยไมตองจายเงินคาลิขสิทธิ์หรือขออนุญาตอีก ในรูปคือแผงพลังงานแสงอาทิตยหรือโซลารเซลล ซึ่งในปจจุบันมีเทคโนโลยีมากมายท่ีจะผลิตโซลารเซลลไดในราคาถูก คาติดตั้งและคาดูแลรักษาต่ำ ภาพดานซายนํามาจากหนังสือเร่ือง ‘Design Like You Give A Damn’ ของคาเมรอน ซินแคลร เรียกวา PlayPump เปนปมน้ำบาดาลที่ออกแบบใหเหมือนของเด็กเลน ตั้งไวในสนามเด็กเลน เม่ือเด็กเขาไปหมุนเลนก็จะเปนการปมน้ำเขาไปเก็บไวในแท็งก ไดประโยชนสองทางคือเด็กไดเลนสนุกโดยไมรูตัววาเขากําลังทํางานอยูดวย

HCL BACKUP.indd 62HCL BACKUP.indd 62 1/1/70 9:48:34 AM1/1/70 9:48:34 AM

Page 63: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

63

สฤณี อาชวานันทกุล

ภาพลางซายก็มาจากหนังสือของซินแคลรเชนกัน เปนบานสําหรับผูลี้ภัย สรางจากถุงทรายกอขึ้นมาเปนบานแลวยึดเขาดวยกันโดยใชตะปู โปรเจ็กตนี้ตั้งใจออกแบบใหกับอิรักซึ่งประชาชนจํานวน มากไรท่ีอยูอาศัย ไอเดียของคนออกแบบคือ ทํายังไงจะใชของที่มีอยูในเขตสงครามมาใชประกอบกันเปนบานได สวนภาพมุมขวาลางคือแล็ปท็อปสําหรับเด็กของ นิโคลัส เนโกรปอนเต (Nicholas Negroponte) ซึ่งสามารถทําไดมากกวาแล็ปท็อปทั่วไป คือแตละเครื่องสามารถเชื่อมตอกันได สามารถคุยกันไดโดยไมตองใชอินเทอร-เน็ต แตใชเทคโนโลยีที่เรียกวา MESH Network ซึ่งหากเครื่องนี้เขามาขายในเมืองไทยและไดรับความนิยม บริษัทโทรคมนาคมใหญๆ อาจจะ

HCL BACKUP.indd 63HCL BACKUP.indd 63 1/1/70 9:48:35 AM1/1/70 9:48:35 AM

Page 64: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

64

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ออกมารองเรียนไดเพราะเปนการตัดชองทางทํามาหากินของเขา สิ่งที่กลาวมาท้ังหมดน้ีสะทอนถึงแนวคิดเร่ือง CSR วาไมใชเปนการคิดกันเองในระดับประชาชนหรือนักธุรกิจเกงๆ เพียงไมกี่คนอีกตอไป แมแตในระดับประเทศก็มีความพยายามจะเช่ือมเขาเปนระบบ เปนกลไกที่จะผลักดันให CSR เกิดขึ้น มีแนวคิดหนึ่งเรียกวา Triple Bottom Line แนวคิดนี้บอกวาบริษัทควรจะทํางานเพื่อผลประโยชนของ “People, Planet and Profit” ซึ่งแตดั้งเดิมบรษิัททํางานโดยคิดถึง profit หรือกําไรเพียงอยางเดียว แตตอนนี้ควรจะคิดถึง planet กับ people ดวย ไมวาจะทําธุรกิจประเภทไหนก็ตาม ในแงของ profit ปจจุบันก็มีกลไกหรือกฎเกณฑพอสมควรในระดับหนึ่งที่จะทําให profit นี้ยั่งยืนและมีการแขงขันที่เปนธรรม มีเสรีภาพ ไมมีการผูกขาด เพราะฉะนั้นเราก็พูดถึงโครงสรางภาษี พูดถึงกฎหมายปองกันการผูกขาด ซึ่งจริงๆ แลวปจจุบันก็มีกฎหมายปองกันการผูกขาดระหวางประเทศ และยังมี UN Anti-Corruption Convention8 ซ่ึงเปนเรื่องเก่ียวของกับการคอรรัปช่ัน และมีหลายประเทศไดลงนามเขารวมแลว นอกจากน้ีเราตองกลาวถึงมาตรฐานบัญชี และมาตรฐานการตรวจสอบบัญชีดวย เพราะสิ่งที่จะวัดกระบวนการดําเนินธุรกิจหรือผลการดําเนินธุรกิจก็คือบัญชี ดังนั้นก็ไมมีประโยชนอะไรถาเราบอกวาความเสียหายทางส่ิงแวดลอมเปนตนทุนในการทําธุรกิจ แตในความเปนจริงแลวมาตรฐานทางบัญชีไมไดระบุเรื่องนี้ไวเลย เพราะฉะนั้นนักบัญชีทั่วโลกควรตกลงกันใหไดเกี่ยวกับการคํานวณตนทุนทางส่ิงแวดลอม รวมถึงการบันทึกลงในบัญชีกําไรขาดทุนของบริษัทดวย ซึ่งขณะนี้ก็เริ่มเปนที่ถกเถียงกันแลวในองคกรอยาง ISO ซ่ึงเปนองคกรที่ใหใบรับรองประสิทธิภาพ และกำลังออกแบบ ISO ใหมๆ ที่สะทอนความจริงใจของบริษัทกับสิ่งแวดลอม

HCL BACKUP.indd 64HCL BACKUP.indd 64 1/1/70 9:48:36 AM1/1/70 9:48:36 AM

Page 65: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

65

สฤณี อาชวานันทกุล

เชน ISO 14000 หรือ ISO ที่สะทอนระดับความรับผิดชอบตอสังคม เชน ISO 26000 ในแงของ planet นั้นมีมาตรฐานอยูแลวคอนขางมากเนื่องจากมีหลายองคกรที่ผลักดันเกี่ยวกับเร่ืองน้ี เชน WWF-Worldwide Life Fund หรือ Johannesburg Action Plan, Rio Declaration, UN Biodiversity Convention ซึ่งพยายามทําขอตกลงเกี่ยวกับการดูแลรักษาความหลากหลายทางชีวภาพของโลกเอาไว บางอันยังไดกําหนดเร่ืองความหลากหลายทางชีวภาพวาตองอยูนอกกรอบของสิทธิบัตรและลิขสิทธ์ิ ดังนั้นในอนาคตหากมีใครมาละเมิดสิทธิบัตรขาวของเรา เราก็นาจะสามารถเอาสนธิสัญญาเหลานี้มาอางไดวาผิดกฎหมาย ในแงของ people ตัวที่เปนสนธิสัญญาหลักที่ทุกคนมักจะอางถึงก็คือ The International Bill of Human Rights ซึ่งมีความชัดเจน ละเอียด เปนที่ยอมรบัในระดับหนึ่ง และทุกประเทศก็รวมลงนาม มีองคกรหนึ่งชื่อ Global Reporting Initiatives หรือ GRI ซึ่งเกิดจากการรวมตัวของบริษัทขนาดใหญประมาณ 20 แหงที่ไดพยายามทําหนาที่รวบรวม Profit Planet และ People ใหเปนระบบเดียวกัน พยายามตั้งหลักเกณฑและมาตรฐานมาวัดบริษัทในเรื่องเหลานี้ โดยวิธีหนึ่งที่จะดูพฤติกรรมของบริษัทก็คือดูที่รายงานประจําป ซึ่งปจจุบันมีการแยกเปน 2 ฉบับคือ Corporate Governance Report เกี่ยวกับธรรมาภิบาล และอีกฉบับคือ CSR Report ก็จะเก่ียวกับ CSR แตทั้งนี้ก็ตองพิจารณาดวยวาใน CSR นั้นมี PR อยูเทาไหร ยกตัวอยางเชน โคก ตราบใดที่ยังมีปญหากับทองถิ่นที่ไปตั้งฐานการผลิต จะวัดไดหรือไมวา CSR โดยภาพรวมเปนอยางไร นี่เปนขอถกเถียงอันหนึ่งของ Triple Bottom Line มีหลายคนบอกวาจริงๆ แลวเปนแนวคิดท่ีดีมาก แตทายที่สุดแลวเราไมสามารถจะประเมินทุกอยางออกมาเปนตัวเลขไดท้ังหมดวาบริษัทนี้ได CSR คะแนนเทาไหร

HCL BACKUP.indd 65HCL BACKUP.indd 65 1/1/70 9:48:37 AM1/1/70 9:48:37 AM

Page 66: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

66

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เพราะบางเรื่องมันไมสามารถจะวัดออกมาเปนตัวเลขได เราอาจจะรูวาเรื่องนี้ไมดียังไง มีผลกระทบอยางไรบาง แตเราก็ไมสามารถตีคาออกมาไดวาดีหรือเลวกวากันยังไง ตัวอยางเชน สมมติวามีบริษัทขายเครื่องคอมพิวเตอรจัดโครงการสอนหนังสือเด็กเปนพันเปนหม่ืนคนตอป แตฮั้วราคากันกับบริษัทคูแขงขายคอมพิวเตอรในราคาแพง ในกรณีนี้เราก็ไมสามารถระบุไดวาประโยชนสุทธิตอสังคมโดยรวมแลวมีมูลคาเทาไร เพราะฉะนั้นก็คงไมไดแปลวาจะตองมีคําตอบแนนอนตายตัววา CSR เรื่องนี้ไดคะแนนเทาไหร แตตราบใดท่ีมีภาพรวม เราก็สามารถบอกไดวาจากทั้งหมดนี้มันมีความดีความเลวอะไรบาง จะเห็นไดวา กระแสเรื่อง CSR มันดีก็จริง แตหากผูถือหุนบริษัทยังใหความสนใจและใหความสําคัญกับการเก็งกําไรเพียงอยางเดียวก็จะไมเกิดผลอะไรเลย สงผลใหขณะนี้มีกระแสอีกอันหนึ่งเรียกวา Socially Responsible Investing (SRI) คือการลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคม ซึ่งตอนนี้เม็ดเงินทั่วโลกของกองทุนที่ลงทุนแบบนี้ (SRI funds) มีประมาณ 3 ลานลานเหรียญ และมีอัตราการเจริญเติบโตประมาณ 15-25 เปอรเซ็นตตอป หลักการของการลงทุนแบบน้ีจะมีสามดานดวยกัน คือมีดานที่เรียกวาการรับผิดชอบ คือการสกรีนบริษัทที่เขาไปลงทุน เรื่องของ shareholder advocacy หรือการเคลื่อนไหวของผูถือหุน เรื่องสุดทายคือเร่ืองการลงทุนเพื่อชุมชน โดยหลักการของการสกรีนเพ่ือลงทุน กองทุนที่รับผิดชอบตอสังคมจะดูมิติของบริษัทท่ีเขาสนใจจะลงทุนแลวก็ใหคะแนน สิ่งแรกดูเรื่องของแอลกอฮอล วาบริษัทนั้นๆ ผลิตเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลบางหรือไม บางกองทุนก็อาจจะยอมลงทุนในบริษัทที่ผลิตแอลกอฮอล แตบริษัทตองมีรายไดจากสวนนี้ไมถึง 10 เปอรเซ็นต จากกิจการทั้งหมด อันดับสองก็ดูวาผลิตบุหร่ีหรือไม อันที่สามดูวามีสวนเก่ียวของกับการพนันหรือเปลา อันที่สี่ดูวามีสวนเก่ียวของกับการคาอาวุธดวยหรือไม

HCL BACKUP.indd 66HCL BACKUP.indd 66 1/1/70 9:48:37 AM1/1/70 9:48:37 AM

Page 67: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

67

สฤณี อาชวานันทกุล

สวนอันที่หาคือดูวาเก่ียวกับการทดลองกับสัตวหรือเปลา ซึ่งขอนี้กําลังเปนประเด็นรอนของหลายๆ ประเทศดวย อันตอไปก็ดูวาสินคาและบริการท่ีผลิตนั้นเปนสินคาและบริการที่เปนประโยชนหรือเปลา ซึ่งขอนี้ก็ขึ้นอยูกับวาเราจะเอาอะไรมาวัด ทั้งน้ีตองอยูที่แตละกองทุนวาจะมองอยางไร อันดับตอไปก็คือเรื่องผลกระทบตอส่ิงแวดลอม โดยดูวาบริษัทนั้นไดทําส่ิงที่เปนผลเสียตอส่ิงแวดลอมขนาดไหน ตอมาก็เปนเรื่องสิทธิมนุษยชน เนื่องจากบริษัทขามชาติที่มีการลงทุนในหลายประเทศทั่วโลก ตองมีการจางแรงงานที่ไมไดเปนสัญชาติเดียวกันกับตนเอง ดังนั้นก็ตองมีเรื่องของสิทธิมนุษยชนเขามาประกอบการตัดสินใจ อันตอไปคือเร่ืองของความสัมพันธระหวางบริษัทกับลูกจางวาเปนอยางไร และอันดับสุดทายคือความเทาเทียมกันของมนุษย เชนบริษัทนี้จางพนักงานสัดสวนชายหญิงเปนอยางไร มีนโยบายกีดกันผูหญิงหรือชนกลุมนอยไมใหเขาทํางานหรือไม ทั้งหมดนี้คือเร่ืองหลักๆ ที่กองทุนแบบ SRI จะใชพิจารณาลงทุน แลวเขาก็จะมีเกณฑเชน สมมติเขาบอกวา จะลงทุนเฉพาะในบริษัทที่ไดคะแนนมากกวา 5 จากคะแนนเต็ม 10 ในทุกๆ ดาน แตตองไดคะแนนไมต่ำกวา 8 ในดานของการทดลองในสัตว ถึงจะเขาไปลงทุน เปนตน เมื่อเขาไปซื้อหุนเสร็จแลว กองทุนแบบ SRI ก็จะมีบทบาทในการควบคุมดูแลวาบริษัทที่เขาไปลงทุนน้ันมีนโยบายตอเน่ืองเปนอยางไร ไมใชกอนเขาไปซื้อหุนก็มีมาตรฐานดี แตหลังจากนั้นกลับแยลง อันนี้ เปนสวนที่ เรียกวา “การเคลื่อนไหวของผูถือหุน” หรือ shareholder advocacy คือเขาจะเขาไปรับรูตลอดเวลาวาบริษัททําอะไรบาง โดยการเขาไปประชุมผูถือหุนทุกคร้ัง หรืออาจจะใหคําแนะนําบริษัทเพื่อไมใหบริษัทนั้นทําอะไรเบี่ยงเบนไปจากเกณฑการลงทุน

ของเขา ความเชื่ออันสุดทายของกองทุนแบบ SRI คือเรื่องของ community investment หรือการคืนกําไรสูสังคม สําหรับขนาดของ

HCL BACKUP.indd 67HCL BACKUP.indd 67 1/1/70 9:48:38 AM1/1/70 9:48:38 AM

Page 68: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

68

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

กองทุนแบบนี้ ถาดูจากตัวเลขกองทุนแบบ SRI ของอเมริกาปจจุบันมีมูลคาประมาณ 1.4 ลานลานเหรียญ และถารวมทั่วโลกก็ประมาณ 3 ลานลานเหรียญซึ่งเปนตัวเลขที่เยอะมากๆ ทีนี้ถาเรามาดูในเร่ืองของผลตอบแทน ที่ตรรกะด้ังเดิมของการเงินบอกไววาบริษัทคงไมสามารถทํากําไรไดหากตองคํานึงถึงมิติตางๆ มากมายขนาดน้ี แตจากท่ีผานมาจะเห็นไดชัดเจนเลยวากองทุนที่ทําเรื่องของ SRI อยางจริงจัง โดยเฉพาะในเรื่องการมีบทบาทของผูถือหุนนั้น ผลตอบแทนของกองทุนเหลานี้ดีกวาหรือเทากับผลตอบแทนของตลาด อีกทั้งยังมีงานวิจัยหลายชิ้นที่สนับสนุนวาบริษัทท่ีตระหนักถึงมิติตางๆ เหลานี้จะเปนการ

ที่มา: http://www.socialfunds.com/news/article.cgi/article1849.html

HCL BACKUP.indd 68HCL BACKUP.indd 68 1/1/70 9:48:38 AM1/1/70 9:48:38 AM

Page 69: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

69

สฤณี อาชวานันทกุล

ทํากําไรใหกับผูถือหุนในระยะยาว แผนภูมิดานซายมือนํามาจาก Wall Street Journal จะเห็นไดวากองทุนแบบ SRI ไมไดทําผลตอบแทนต่ำกวาตลาดเสมอไป แตจากในแผนภูมินี้จะเปรียบเทียบกันไดคอนขางยาก เพราะบางทีระยะเวลา 3 ปอาจจะดีกวา แต 5 ปอาจจะต่ำกวา แตพอ 10 ปก็อาจจะกลับดีขึ้นมาอีก ตารางดานซายเปนตารางชื่อของกองทุนแบบ SRI ที่มีชื่อเสียงหลายกองทุน ซึ่งมีบริษัทช่ือ Morningstar เปนบริษัทที่ทําเรทติ้งของกองทุนเหลานี้ เขาก็ใหเรทติ้ง 5 คือดีที่สุด กับ 4 คือดีรองลงมา ใหกับกองทุนเพื่อสังคมหลายกองทุนไปแลว โดยการใหเรทต้ิงจะดูจากผลตอบแทนเปนหลัก จากท้ังหมดน้ีจะเห็นไดวาประเทศไทยควรมี SRI ไดแลว แตก็จะเกิดปญหาอีกคือ คงจะมีหุนที่สมควรลงทุนเพียงหนึ่งหรือสองตัวเทานั้น อยางไรก็ตามแนวคิดนี้ก็ควรจะมีคนเร่ิมนําไปปฏิบัติ

HCL BACKUP.indd 69HCL BACKUP.indd 69 1/1/70 9:48:39 AM1/1/70 9:48:39 AM

Page 70: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

70

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สถาบันใหมๆ ในกระบวนทัศนใหม

HCL BACKUP.indd 70HCL BACKUP.indd 70 1/1/70 9:48:40 AM1/1/70 9:48:40 AM

Page 71: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

71

สฤณี อาชวานันทกุล

ประเด็นสุดทายที่อยากจะพูดถึงคือในแงของสถาบัน สถาบันในท่ีนี้หมายถึงอะไรก็ตามท่ีใชแนวคิดและเคร่ืองมือใหมๆ ที่ไดพูดถึงไปแลว และก็ทําใหเปนองคกรที่มีเปาหมายในการชวยเหลือสังคมทางใดทางหนึ่ง จากแผนภูมิ (ดูหนาถัดไป) แถวบนคือองคกรเพ่ือสังคม มุมซายคือ Institute of OneWorld Health กอตั้งโดย วิกตอเรีย เฮล (Victoria Hale) เปนเอ็นจีโอท่ีผลิตและวิจัยยาเพ่ือคนจนแหงแรกของโลก ปจจุบันไดจดสิทธิบัตรแลวและกําลังจะแจกจายยาเพื่อรักษาไขกาฬในประเทศอินเดีย องคกรนี้เปนเอ็นจีโอเพื่อสังคมแบบใหมที่ใชโมเดลแบบท่ีเลาใหฟงไปแลว คือไมไดพึ่งพาเงินบริจาคอยางเดียวแตคิดโมเดลธุรกิจใหมขึ้นมาเพ่ือใหอยูไดอยางย่ังยืน โดยหลักๆ แลว เกี่ยวกับเทคโนโลยีระดับปานกลาง เก่ียวกับ open source เพราะกอนที่เขาจะขายยาใหกับคนจนในราคาที่ถูกมากๆ เขาก็ตองมั่นใจกอนวาบริษัทยาอื่นๆ จะไมมาขายคาลิขสิทธิ์ของสูตรยาในราคาแพง ทําใหตนทุนแพงถึงขนาดคนจนซ้ือไมได ดังนั้นเขาจึงใชวิธีเอาสูตรทางเคมีที่มีแนว

HCL BACKUP.indd 71HCL BACKUP.indd 71 1/1/70 9:48:40 AM1/1/70 9:48:40 AM

Page 72: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

72

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

โนมวาจะเปนยาไดแตถูกบริษัทยา “แขวน” ขึ้นหิ้งไมพัฒนาตอ ที่เรียกวา “ยากําพรา” หรือ “เคมีกําพรา” วิธีการนี้ทําใหตนทุนต่ำกวาซื้อยาทั้งสูตรมาจากบริษัทยา แลวเขาก็ไดรับสปอนเซอรจากมูลนิธิของบิล เกตส ซึ่งเปนเศรษฐีกลับใจคนหนึ่ง

อันที่สองคือ KickStart ก็เปนองคกรที่ตอนนี้ขายเครื่องปมน้ำเครื่องสูบน้ำในแอฟริกา ขายไปแลวประมาณ 5 แสนเครื่อง สวนดานขวามือนี้คือ Grameen Bank เปนธนาคารเพื่อคนจนแหงแรกของโลก ที่เปนผูใหกําเนิดแนวคิดไมโครเครดิต แถวที่สองนี้ไมไดเปนองคกรที่ออกไปชวยโดยตรงแตวาเปนองคกรท่ีชวยในวิธีอื่นๆ เชน Participant Productions เปนบริษัทสตูดิโอท่ีผลิตสารคดีเพ่ือสังคม เรื่องท่ีรูจักกันมากที่สุดก็คือ Inconvenient Truth สตูดิโอนี้เกิดจากแนวคิด Skoll Foundation ในแถวลาง ก็คือมูลนิธิของเจฟ สกอลล (Jeff Skoll) ที่เปนผูกอตั้ง eBay ซึ่งเปนเว็บไซตที่ไดรับความนิยมและประสบความ

HCL BACKUP.indd 72HCL BACKUP.indd 72 1/1/70 9:48:41 AM1/1/70 9:48:41 AM

Page 73: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

73

สฤณี อาชวานันทกุล

สําเร็จอยางมาก โดย Participant Productions นี้ทําเฉพาะสารคดีท่ีเกี่ยวกับประเด็นทางสังคม มีโมเดลในการหาเงินมาทําหนังแลวก็รับรายไดที่คอนขางนาสนใจ อันถัดมาคือ TED หรือ “เท็ด” ถาเขาไปดูในเว็บไซต ted.com เปนเว็บไซตหนึ่งที่ดูเหมือนไมมีอะไร แตจริงๆ แลว “เท็ด” เปนการสัมมนาที่ใหนักเทคโนโลยี นักวิทยาศาสตร นักคิด และเอ็นจีโอทั่วโลก หรือคนท่ีเขาคิดวามีไอเดียดีๆ มาแชรขอมูล มาแลกเปลี่ยนความเห็น และทุกปก็จะมีการมอบรางวัล ซึ่งหลายๆ คนที่ไดพูดถึงไปแลวก็ไดรับรางวัล TED นี้และทําใหเปนที่รูจัก รวมทั้งบังเกอร รอย (Bunker Roy) ผูกอตั้งวิทยาลัยเทาเปลาในอินเดียหรือ Barefoot College ก็ไดรับรางวัล TED เชนกัน แถวลางสุดสองแถวน้ีเปนองคกรท่ีอาจจะเรียกวาเปน “ผูนําความเปล่ียนแปลง” คือเขาจะใชคําวา “change enabler” คือคนที่ทําใหมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น อาจจะไมไดขายของโดยตรงแตมีสวนชวยในการผลักดันใหมีการเปลี่ยนแปลง เชน Fair Trade คือการพยายามทําใหผูผลิตรายยอยในประเทศกําลังพัฒนามีชีวิตที่ดีข้ึน โดยขายของย่ีหอนี้โดยตรงใหกับคนซ้ือในประเทศพัฒนาแลว และยังมี GuideStar.org กับ World Business Council ซึ่งก็เปนองคกรที่ทําหนาท่ีตรวจสอบและวัดผล ประเมินการทํางานของเอ็นจีโอตางๆ GuideStar.org ก็เปนองคกรประเมินผลคลายๆ Morningstar ทวาตางกันตรงที่ Morningstar จะประเมินผลตอบแทนของกองทุน แต GuideStar จะประเมินเอ็นจีโอใหญๆ ทั่วโลก วาเอ็นจีโอเหลาน้ันมี เปาหมายอะไร เงินที่ไดไปเอาไปใชตามวัตถุประสงคหรือไม และ ประสบความสําเร็จแคไหน สังคมไดประโยชนขนาดไหน World Business Council for Sustainable Development ก็มีลักษณะคลายกับ Global Reporting Initiatives คือการท่ีนักธุรกิจใหญๆ มาเจอกันแลวรวมตัวกันเปนเคานซิล และพยายามทําธุรกิจโดยการประสานงานกับเอ็นจีโอหรือองคกรเพื่อสังคมอื่นๆ ดวย จากเดิมที่

HCL BACKUP.indd 73HCL BACKUP.indd 73 1/1/70 9:48:42 AM1/1/70 9:48:42 AM

Page 74: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

74

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

นักธุรกิจมักจะสนใจแตการทําธุรกิจ แกปญหากันเองในวงการธุรกิจดวยกันโดยไมสนใจคนอื่น แตตอนนี้ก็เริ่มเห็นกันแลววาการทํางานที่ประสานกับสวนอ่ืนๆ นั้นไดผลดีกวาทํากันเองเฉพาะในหมูนักธุรกิจดวยกัน หัวขอสุดทายเปนเรื่องของขอจํากัดของระบบการเงินที่จะนํามาลงทุนเพื่อสังคม เชน ถาคิดงายๆ วาเราจะตั้ง Grameen Bank หรือธนาคารเพ่ือคนจน โดยสมมติวาเราตองการเงินลงทุน 10 ลานบาท เราก็อาจจะไปขอมาจากมูลนิธิหรือขอเงินกูดอกเบี้ยต่ำจากธนาคาร ซึ่งจะขอ 10 ลานแรกน่ีก็ยากแลว แลวหากเราเอาไปทําแลวมีผลตอบแทนที่ใชได อยากจะขยับขยายออกไปก็ตองเพิ่มเงินทุนสำหรับการเติบโต อาจจะประมาณ 20 ลาน ภาษาการเงินเรียกวา growth capital ปญหาก็คือเราจะหาทุนน้ีจากไหน เพราะในมิติของธุรกิจเพื่อสังคมเราไมสามารถพูดถึงเร่ืองผลตอบแทนท่ีไดจากการลงทุนได และไมสามารถบอกแหลงเงินกูไดวาจะทําใหไดผลตอบแทนก่ีเปอรเซ็นต สวนบทความที่ชื่อ “Nothing Ventured, Nothing Gain” ของ Skoll Centre for Social Entrepreneurship ซึ่งเปนโปรแกรม MBA ที่มีชื่อเสียงมากของ Oxford School of Business โดยเขาจะมีเซ็นเตอรเร่ือง Social Entrepreneurship หรือธุรกิจเพื่อสังคมโดยเฉพาะ และจะมีเอกสาร มีการจัดสัมมนาแลวเชิญนักธุรกิจเพ่ือสังคมมาบรรยาย ประเด็นหลักๆ ก็คือเรื่องการที่เราจะทําอะไรเพื่อสังคมเราก็ตองไปหาเงินทุนมาจากที่ใดที่หนึ่งไมวาจะเปนพี่นองหรือมูลนิธิตางๆ ซึ่งนั่นก็ยากแลวในระดับหนึ่ง แตที่ยากไปกวานั้นคือการขยับขยาย โดยเฉพาะเมื่อจัดต้ังในรูปแบบของมูลนิธิ มูลนิธิทั่วโลกจะมีปญหาตรงท่ีวามันไมสามารถจะแบงแยกเจาของได เพราะมันไมไดเปนรูปแบบที่มีผูถือหุนตามกฎหมาย ดังนั้นก็เลยไมรูจะแบงยังไง เพราะฉะนั้น growth capital ก็เปนปญหาหน่ึงของแวดวงธุรกิจเพื่อสังคม คือไมรูจะหาเงิน

HCL BACKUP.indd 74HCL BACKUP.indd 74 1/1/70 9:48:42 AM1/1/70 9:48:42 AM

Page 75: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

75

สฤณี อาชวานันทกุล

มาจากไหนใหมันเติบโตตอไปได ขยายไปสูเฟสตอไปได ซึ่งเปนหัวขอของงานวิจัยชิ้นนี้ซึ่งพยายามบอกวามันก็พอจะมีวิธีอื่น เชนใชผลิตภัณฑทางการเงินใหมๆ เชน เครื่องมือทางการเงินแบบกึ่งหนี้ กึ่งทุน (hybrid financial instruments) เอามาปรับใหตรงกับความตองการของธุรกิจเพ่ือสังคมและเอ็นจีโอมากขึ้น ตรงนี้ขออธิบายเพิ่มเติมเล็กนอยวา ระหวางความแตกตางของผูประกอบการทางสังคมหรือ social entrepreneur กับเอ็นจีโอก็คือ ธุรกิจเพ่ือสังคมซ่ึงเปนองคกรที่บริหารจัดการแบบธุรกิจ มีกําไรขาดทุน แตมีเปาหมายทางสังคมเปนหลัก สวนเอ็นจีโอคือเพื่อสังคมลวนๆ ไมเกี่ยวของใดๆ กับธุรกิจ ขอสรุปวาท้ังหมดที่พูดมานั้นมีความเช่ือมโยงกันท้ังหมดเลย โดยรวมคือพลังของปจเจกชน แลวก็อินเทอรเน็ตกับ open source วาเกิดขึ้นไดอยางไร

HCL BACKUP.indd 75HCL BACKUP.indd 75 1/1/70 9:48:43 AM1/1/70 9:48:43 AM

Page 76: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

76

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ผูฟง : ผมอยากใหกลับไปท่ีสไลดของความเช่ือมโยงท่ีมี Martha Stewart แตชวยเนนเฉพาะความผิดของ Martha Stewart นาสนใจ สฤณี : (ดูภาพหนา 29 ประกอบ) Martha Stewart คือกลองสีเหลือง ที่ถูกจับเพราะใช insider information คือใชขอมูลภายในขายหุนของ ImClone ซึ่งเปนบริษัทยาแหงหน่ึง บริษัทนี้กําลังย่ืนขอ Approve ยาตัวหน่ึงจาก FDA ซึ่งถาไดรับการอนุมัติแลวจะไดกําไรอยางมหาศาล แต Martha Stewart ไดทราบขาวมากอนวา FDA จะไมอนุมัติยาตัวนี้ เพราะฉะนั้นหุนของบริษัทนี้ก็ตองตกแนๆ เธอเลยใชขาวนี้ไปขายหุนกอนที่ FDA จะประกาศออกมา โดย Sam Waksal ซึ่งเปน CEO ของบริษัท ImClone ก็รูจักกันดีกับนักวิเคราะหหลักทรัพยของ Merrill Lynch ที่ชื่อ Eric Hecht และคุณ Hecht ก็ถูกตรวจสอบอยางหนักวาขอมูลรั่วไปไดอยางไร ผลการตรวจสอบขยายผลไปพบวา Mr.Hecht ไดพยายามจัดทําบทวิเคราะหออกมาวา FDA อาจจะไมใหยาตัวนี้ผาน เพื่อเปนการตบตาวา Martha Stewart ขายหุนหลังจากบทวิเคราะหของเขาออก แตจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต. สหรัฐฯ ก็พบวา Martha Stewart ขายหุนบริษัทนี้กอนที่ FDA จะประกาศ และกอนที่ Hecht จะเผยแพรบทวิเคราะหตัวนี้ จึงถือวาเปนการใชประโยชนจากขอมูลภายใน ดังนั้น Martha ก็เลยถูกปรับและโดนจับเขาคุกไป นี่ก็แสดงใหเห็นวา Merrill Lynch ซึ่งมีสวนชวยตกแตงบัญชีของ Enron ในกรณีของ Martha Stewart ก็เห็นชัดเลยวาพนักงานของเขาพยายามชวย Martha Stewart ใหรอดพนจาก ก.ล.ต. คนทําชารทอันนี้เกงมาก เขาพยายามลิงควาจริงๆ แลวบริษัทของ Martha Stewart ซึ่งก็คือ Omnimedia เปนอาณาจักรของ

เขา วงกลมเหลืองขางบนจะเห็นไดวาคนท่ีตรวจบัญชีให Omnimedia คือ Authur Andersen ซึ่งเปนคนทําบัญชีเดียวกันกับ Enron แตจริงๆ แลว Arthur Andersen ก็ตรวจสอบบัญชใีหบริษัทอื่นๆ จํานวนมาก

HCL BACKUP.indd 76HCL BACKUP.indd 76 1/1/70 9:48:43 AM1/1/70 9:48:43 AM

Page 77: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

77

สฤณี อาชวานันทกุล

ขอพูดถึง Enron อีกเล็กนอย เพราะเปนเหตุการณที่ไมนาจะเกิดขึ้นเลย โดยเรื่องนี้เกิดจากผูสอบบัญชีของ Arthur Andersen หลงคารมของ CFO และ CEO ของ Enron จนยอมเซ็นชื่อรับรองการบุคบัญชีแบบไมถูกตองให คือเขาใหรับรองการบุคบัญชีแบบบันทึกรายไดลวงหนา เชนรายไดที่อีก 5 ปถึงจะไดก็เอามาลงวาเปนรายไดปนี้เลย พวกนักวิเคราะหของบริษัทหลักทรัพยตางๆ หรือแมกระทั่ง Deutsche Bank ซึ่งเปนผูให Enron กูเงิน ก็ไมเคยตั้งคําถามกับ Enron วาบริษัททําเงินจริงหรือเปลาเพราะเห็นวา Arthur Andersen ตรวจบัญชีและเซ็นรับรองแลว มันเลยคลายกับวาทั้งหมดน้ีเปนวัฏจักรของความเช่ือใจกัน ดังนั้นจึงเปนความลมเหลวของระบบ เพราะในความเปนจริงแลวผู เกี่ยวของท้ังหมดน้ีควรจะเปนผูตรวจสอบอิสระท่ีไมมีผลประโยชนเกี่ยวของกับ CEO หรือ CFO ของบริษัท และตองทําหนาที่ของตัวเอง ไมใชคิดวาถาผิดจริง ก็ตองมีคนอ่ืนในระบบตรวจพบแลว ทั้งหมดน้ีจึงทําใหเกิดความลมเหลวข้ึนมา ซึ่งเร่ืองของ Enron นี้ถูกเปดโปงเน่ืองจากมีนักขาวของ BusinessWeek ที่ตั้งคําถามขึ้นมาจากขอสงสัยของนักลงทุนสถาบันคนหนึ่งซ่ึงพิจารณางบของ Enron แลวเกิดความสงสัยในความไมชัดเจนของงบกําไรขาดทุน วารายไดที่เขียนไวมาจากไหนแน จึงเปนชนวนใหนักขาวเอาไปเขียน และชวงน้ันหุนก็ตกพอดี ทําใหมูลคาทรัพยสินที่เคยเอาไปเปนหลักประกันกับธนาคารกลายเปนศูนยหมด ผูฟง : ผมฟงดูแลวก็อยากจะขอแลกเปลี่ยนความเห็น ในความเขาใจของผม คือผมมองแบบนักฟสิกสวากลไกตลาดเปนเหมือนธรรมชาต ิคือที่ไหนก็ตามท่ีมีอุปสงคอุปทานและมีผูเลนหลายคน มันก็จะเกิดตลาดข้ึนเองโดยอัตโนมัติ เพราะถามีอุปสงค ก็จะมีคนจัดซัพพลาย และคนจัดซัพพลายก็มักจะมีหลายคน ทําใหเกิดการแขงขันและเกิดกฎกติกาตามมา แลวเมื่อไหรที่ตัวอุปสงคนี้หมด ระบบอื่นๆ ก็พรอมจะ

HCL BACKUP.indd 77HCL BACKUP.indd 77 1/1/70 9:48:44 AM1/1/70 9:48:44 AM

Page 78: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

78

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ขยายตัวเขามาแทน เหมือนกับฟองสบูที่มีน้ำ ถากลายเปนฟองสบูไปหมด น้ำก็ไมเหลือ ฉะนั้นผมเลยมองวา ทุนนิยมเปนช่ือรวมๆ ของกติกาที่พยายามที่จะใหคนเขาออกตลาดโดยเสรี ทีนี้ผมเลยมองวาสิ่งที่ทําใหระบบอ่ืนที่ไมใชทุนนิยมลม ไมใชเปนแคตัวสินคา แตวาเปนเร่ืองของแรงจูงใจที่จะผลิตและบริโภค ฉะนั้นคําถามที่ธุรกิจเพื่อสังคมจะตองตอบก็คือทําอยางไรใหเกิดแรงจูงใจ เชน ลิขสิทธิ์เปนตัวที่ทําใหเกิดแรงจูงใจ ถาเกิดวาเราปฏิเสธลิขสิทธิ์จะตองมีอะไรบางอยางทำใหเกิดแรงจูงใจ สฤณี : ยกตัวอยางในประเด็นนี้ ถาถามวา open source มันตอบอะไรใหธุรกิจเพื่อสังคม ก็คิดวาโดยนัยแลวเหมือนกับจะบอกวาแรงจูงใจของคนที่จะชวยคนอื่น หรือคนที่จะทําอะไรเพื่อสังคมนั้นมันมีอยูแลว แตจะมีวิธีไหนบางที่จะทําใหแรงจูงใจออกมาในภาคปฏิบัติได อยาง open source นี่เกิดไดเพราะมีคนจํานวนมากที่รวมแรงรวมใจกันทําใหมันเกิดข้ึนและอยูตอไปได อยางเชน Linus Torwald ก็เชื่อมั่นวาถาเปดเปน open source แลวจะไมมีความยุงเหยิง หรือ Jimmy Wales ผูกอต้ังวิกิพีเดีย เขาก็เชื่อมั่นวาถาเปดเปน open source แลวจะมีคนที่อยากจะเขียนอะไรที่เปนประโยชนกับคนอ่ืน มากกวาคนท่ีคอยจองจะเขาไปกอกวนเว็บไซตของเขา เห็นไดชัดเลยวาปจจุบันนี้เราสามารถตอยอดความตั้งใจดีของคนแตละคนออกมาเปนพลังไดคอนขางเยอะกวาสมัยกอนนะคะ ผูฟง : ไมทราบวา ทุนนิยมธรรมชาติ ทุนนิยมกาวหนา หรือวาทุนนิยมสรางสรรค ทั้งหมดน้ีมีสวนไหนพอจะเอามาเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจพอเพียงของบานเราไดบางคะ และขอถามตอเน่ืองวาทุนนิยมกาวหนา และทุนนิยมสรางสรรคนี้จะขยายขอบเขตไปเปนกระแสหลักท่ีครอบงําโลกไดอยางไร โดยวิธีการผานเครื่องมือของ

HCL BACKUP.indd 78HCL BACKUP.indd 78 1/1/70 9:48:45 AM1/1/70 9:48:45 AM

Page 79: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

79

สฤณี อาชวานันทกุล

ชุมชนที่เกิดขึ้นเองในอินเทอรเน็ตอยางท่ีคุณสฤณีพูดมา หรือวามันจะตองไดรับการพัฒนาจากประเทศใหญๆ กอน หรือวามันจะเกิดขึ้นจากการคิดใหมของประเทศเล็กๆ มากกวาประเทศใหญ และจากท่ีฟงมา ดูเหมือนคุณสฤณีจะพูดถึงชุมชนที่เกิดขึ้นเองในโลกอินเทอรเน็ต หรือ open source และส่ิงอื่นๆ ที่มีการจัดต้ังตัวเองในเชิงบวก แตวาจริงๆ แลวมันก็มีความเลวรายอยูในชุมชนที่เกิดขึ้นเองนี้ แลวเราสามารถจะ เปดโปงหรือกําจัดความเลวรายนี้อยางไรบาง มีตัวอยางอะไรที่แสดงใหเห็นวาในที่สุดแลว ชุมชนอินเทอรเน็ตก็ยังมีสิ่งดีๆ ที่ยังมีพลังอยูดวย สฤณี : โดยสวนตัวแลวคิดวาถาเอาหลักพื้นฐานท่ีสุดของเศรษฐกิจพอเพียงคือความพอประมาณ มาเชื่อมโยงกับทุนนิยมธรรมชาติในแนวคิดท่ีวา ถาไมพอประมาณแลวมันจะนําไปสูความวินาศในที่สุด ทุนนิยมธรรมชาติน่ีจริงๆ มันก็ไมไดมีอะไรมากไปกวาการตอ ยอดความคิดเรื่องของความยั่งยืนวาการพัฒนาที่ยั่งยืนมันแปลวาอะไร ทีนี้เรียกวาทุนนิยมธรรมชาติก็เพราะเรารูแลววาถาธรรมชาติมันพังพินาศ ทุนนิยมยั่งยืนไมไดแนๆ แลวธรรมชาติน่ีเปนปจจัยที่สําคัญ มากๆ ระบบนิเวศเปนปจจัยที่ไมพูดถึงไมไดเลย ทีนี้ก็กลับมาโยงที่วา ความพอประมาณคือความยั่งยืนของสังคมของชาติ มันก็พอจะไปกันไดกับทุนนิยมธรรมชาติ แตในรูปธรรมแลวมันยังมีความหางกันมาก เพราะวาทุนนิยมธรรมชาติจะมองจากธรรมชาติเปนหลัก อยางเชนระบบนิเวศอุตสาหกรรม คือการใชทรัพยากรธรรมชาติใหคุมคาที่สุด ใหมีของเสียนอยที่สุด ผูฟง : ขอแลกเปล่ียนนะคะ คือเหมือนกับวาคุณสฤณีจะพูดวา

เศรษฐกิจพอเพียงมันเปนการเรียกรองคุณธรรมและความพอประมาณจากคนตัวเล็กๆ จํานวนมาก ในขณะท่ีทุนนิยมสรางสรรคหรือทุนนิยมกาวหนามันจะไปเริ่มตนที่ระดับบรษิัท หรือตัวระบบทุนนั่นเอง ใชไหม

HCL BACKUP.indd 79HCL BACKUP.indd 79 1/1/70 9:48:45 AM1/1/70 9:48:45 AM

Page 80: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

80

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สฤณี : จริงๆ แลวก็มีทุกระดับนะคะ แตที่ยกตัวอยางของบริษัทก็เพราะวาจะเห็นภาพไดชัดเจน ถาถามวาในระดับบุคคลมีคนท่ีเช่ือมั่นในทุนนิยมธรรมชาติม้ัย ตอนนี้ก็มีแนวคิดที่คํานึงถึงส่ิงแวดลอม เชน carbon footprint คือถาเรารูวาเราทําใหโลกรอนขึ้นปละ 1 ตัน เราก็ควรจะใชพลังงานหรือส่ิงตางๆ ลดนอยลง X ตัน หรือขับรถนอยลง Y กิโลเมตร อันนี้คือทุนนิยมธรรมชาติในระดับบุคคล แตเห็นดวยท่ีวามันดีตรงท่ีมันไมไดพูดถึงเ ร่ืองของคุณธรรม ซึ่งเปนปญหาของเศรษฐกิจพอเพียง เพราะถาเราพูดถึงคําวาพอประมาณ มันจะตีความไดกวางมาก ขึ้นอยูกับวาคุณเปนใคร ฐานะเปนอยางไร มีทัศนคติยังไง ดังนั้นความพอประมาณของแตละคนก็ยอมไมเหมือนกัน เพราะฉะน้ันคิดวาการจะนําไปใชใหเห็นเปนรูปธรรมน้ันเกิดขึ้นไดยากมากๆ ผูฟง : ประเด็นที่วาชุมชนจะสามารถกําจัดความเลวรายของอินเทอร-เน็ตไดอยางไร สฤณี : จริงๆ แลวตอนน้ีเรายังไมสามารถประมวลออกมาไดวาชุมชนอุบัติมันทํางานอยางไรกันแน แตที่แนๆ คือ สวนหน่ึงมันเปนเร่ืองของระบบ ยกตัวอยางวิกิพีเดีย ซึ่งมีบทความเปนลานๆ ชิ้น มันก็ตองมีคนบางสวนที่อยากจะกอกวนทําใหมันผิด แตที่ตอนนี้วิกิพีเดียยังอยูไดเพราะคนสวนใหญไมไดเปนอยางน้ัน วิกิพีเดียมีขอผิดพลาดอยูนอยมากและแกไขไดอยางรวดเร็ว นี่เปนตัววัดอันหนึ่งที่อาจจะแสดงใหเห็นวาคนที่ไดประโยชนจากแหลงขอมูลท่ีเขาไมตองเสียเงินซื้อนั้น เขาอาจจะมีความตั้งใจและจริงใจกวาถาเราจะตองเสียเงินจึงจะไดใชขอมูลนั้น ถาสมมติวิกิพีเดียเก็บเงินกับคนท่ีเขาไปดูขอมูล แรงจูงใจก็จะเปลี่ยนไปหมด ทุกๆ บทความที่คอนขางไดรับความสนใจในวิกิ- พีเดีย ก็จะมีคนที่อุปโลกนตัวเองเปนคนดูแล อันนี้มันก็อาจจะตอบสนองอีโกสวนตัวไดดวยระดับหน่ึง เพราะวิกิพีเดียจะมีสถิติที่คอนขาง

HCL BACKUP.indd 80HCL BACKUP.indd 80 1/1/70 9:48:46 AM1/1/70 9:48:46 AM

Page 81: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

81

สฤณี อาชวานันทกุล

ละเอียด สามารถตรวจสอบไดวาบทความไหนมีคนเอาไปใชอางอิงหรือลิงคกลับมาเยอะท่ีสุด คนท่ีอุปโลกนตัวเองวาเปนคนดูแลก็จะรูสึกวาตองมีความรับผิดชอบกับบทความนั้นๆ ขอดีของชุมชนอุบัติ ซึ่งจริงๆ ไมไดหมายถึงอินเทอรเน็ตเพียงอยางเดียว แตวาในอินเทอรเน็ตนั้น เราสามารถเห็นไดชัดเจนและวัดเปนสถิติได ขอดีของอินเทอรเน็ตคือมันคอนขางจะตรงและยืดหยุนกับนิสัยของมนุษย มองวานิสัยพื้นฐานของคนเราในวันหน่ึงๆ อยากจะทําอะไร แรงจูงใจท่ีจะเขียนลงในวิกิ- พีเดียคืออะไร และมันก็ตอบสนองไดคอนขางดีมาก ซึ่งในแงของธุรกิจที่นําจุดน้ีไปใชประโยชนไดก็อยางเชน Amazon.com ที่เขาขายหนังสือไดเยอะมากเพราะเขามีลูกเลนตรงท่ีใหคนที่ซื้อและอานหนังสือเลมน้ีแลวไปเขียนความคิดเห็นและใหคะแนนได แลวก็ใชซอฟทแวรโยงผลวา คนท่ีซื้อหนังสือเลมนี้ไปแลว เขาซ้ือเลมอ่ืนๆ เลมไหนอีกบาง ทําใหเกิดแรงจูงใจใหคนอื่นซื้อตามกันไปไดอีก ผูฟง : ไมทราบวาการชวยเหลือสังคมอยาง open source จะเกิดขึ้นไดอยางไรในโรงเรียนที่มีการแขงขันสูงมากๆ สฤณี : โดยสวนตัวแลวเชื่อวา ชองทางตางๆ เหลานี้เปนชองทางที่ชวยเติมเต็มมากกวาจะมาทดแทน ดังนั้นบรรยากาศการแขงขันในโรงเรียนก็ยังคงมีอยู และนักเรียนก็คงแขงขันกันสูงมาทุกยุคทุกสมัย แตวาคนที่แขงกันสูงแลวเครียด ก็คิดวาแทนท่ีจะมานั่งเครียดตลอด 24 ชั่วโมงก็เอาเวลาครึ่งชั่วโมงมาทําอะไรแบบน้ี ก็มองวาอันนี้มันเปนวิธีที่จะระบายความเครียด แตที่มีการแขงขันสูงในบางโรงเรียนนั้น สวนหนึ่งนาจะเกิดจากการที่โรงเรียนนั้นรับเด็กเขาเรียนจํานวนนอย และเด็กที่มาสอบก็เกงกันทั้งนั้น ผูฟง : ในฐานะที่ผมอยูในหนวยงานที่เคยสงเสริมเก่ียวกับเรื่องของ

HCL BACKUP.indd 81HCL BACKUP.indd 81 1/1/70 9:48:46 AM1/1/70 9:48:46 AM

Page 82: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

82

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

การใช open source นะครับ อันหนึ่งที่ไมคอยประสบความสําเร็จก็คือ open source ในเรื่องของซอฟทแวร และในดานของ system แมกระทั่งซอฟทแวร presentation ตอนนี้ก็เปน Powerpoint ของ ไมโครซอฟท ซึ่งจริงๆ แลวเราก็ทราบแลววาตัว open source นี่มันดีมากเลย แตอยากใหชวยวิเคราะหวาทําไม open source ในเมืองไทยถึงยังไมคอยมีการพัฒนาเทาที่ควร สฤณี : จะขอวิเคราะหในฐานะของผูใชคนหน่ึง ก็ตองบอกวาอาจจะเปนเพราะความเคยชินสวนหน่ึง คือคนธรรมดาท่ัวไปท่ีใชไมโคร-ซอฟทมาตลอดก็จะเกิดความเคยชินกับสิ่งที่เขาใชกันอยูแลว หรือบางครั้งก็มีขอจํากัดวาถาเราใชโปรแกรมอ่ืนก็อาจจะมีปญหาในการติดตอสื่อสารหรือสงไฟลไปใหคนอ่ืนได เพราะฉะน้ันชุมชนก็เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหการปรับเปล่ียนมาใช open source มันชา ทีนี้ถามองกันในภาครัฐบาลแลว ซึ่งจริงๆ ก็สามารถท่ีจะใช open source ไดเพราะมีคนในหนวยงานเปนจํานวนมาก ถาเราเอาลินุกซมาประยุกตใชคุยกันในองคกรไดก็แทบจะไมตองเสียคาลิขสิทธิ์ใหไมโครซอฟทเลย สรุปไดวาการที่ open source ไมคอยเติบโตในประเทศไทยนาจะเปนเพราะความเคยชินกับระบบเดิม ความไมรู และภาครัฐบาลไมสงเสริมและมองไมเห็นวามันดีกวา ทั้งๆ ที่ประเทศแถบยุโรปหลายประเทศหรือแมกระทั่งเกาหลีใตก็ใช open source ในหนวยงานรัฐหลายๆ แหงแลว ผูฟง : พอดีผมเห็นวิวัฒนาการในการผลิตอันหน่ึง คือเม่ือมีการ แขงขันกันสูงและทําใหเกิดผลกําไรลดลง ฝายผลิตเลยตองพยายามลดคาใชจายดวยการกดคาแรง จายเปนกะ และในยุคปจจุบันยังควบคุมพนักงานดวยวัฒนธรรมท่ีใหทุกคนรวมกันผลิต เวลาขายก็ขายวัฒนธรรมอันนี้ดวย ทีนี้ผมมองวาถาเรามีวิวัฒนาการปลดล็อคผูผลิต ใหผูผลิตสามารถรวมมือกันผลิตไดอยางเสรี โดยมีแรงจูงใจคือเพ่ือให

HCL BACKUP.indd 82HCL BACKUP.indd 82 1/1/70 9:48:47 AM1/1/70 9:48:47 AM

Page 83: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

83

สฤณี อาชวานันทกุล

ทุกอยางดีขึ้น แตมันก็มี 10 คนผลิตแยกกันอยู การผลิตของ 10 คนนั้นก็อาจจะเปนในรูปขององคกรเสมือน อยางเว็บไซตวิกิพีเดีย มาแทนที่ตัวบริษัท สฤณี : แนวโนมหนึ่งที่นาสนใจในวงการธุรกิจขณะน้ีคือ จากเดิมองคกรมักจะมีรูปแบบเปนแนวดิ่ง คือมี CEO อยูบนสุด มี CFO และหัวหนางานระดับตางๆ ลดหล่ันกันเปนช้ันๆ และทุกคนถือวาเปนลูกจางกินเงินเดือนของบริษัท แตขณะนี้ดวยหลายปจจัยทําใหรูปแบบขององคกรกําลังจะเปลี่ยนไปเปนแบบแนวนอน ที่เรียกวา horizontal organization คือมีหัวหนาจํานวนนอย และลูกจางสวนใหญอาจจะไมใชพนักงานประจํา แตเปนฟรีแลนซนั่งทํางานกันท่ีบานแลวสงงานผานระบบอีเมลหรือวิธีอื่นๆ องคกรแบบนี้จะมีความยืดหยุนมากกวา ควบคุมคาใชจายไดงายกวา และพนักงานก็อยากทํางานเพราะไมตองรูสึกถูกผูกมัดวาตองทํางานใหบริษัทนี้เทานั้น แตเขาทํางานใหกับบริษัทอื่นไปในเวลาเดียวกันดวยก็ได แตทั้งนี้ผูนําองคกรแบบแนวนอนน้ีจะตองเปนคนท่ีคอนขางมีความคิดสรางสรรค ใชสมองซีกขวาซึ่งนาจะมีความสนใจหรือจริงใจตอประเด็นทางสังคมมากกวาคนท่ีหัวสี่เหล่ียมหรือใชสมองซีกซายท่ีมักจะคิดเลขเกง แตไมไดสนใจอะไรอยางอื่นเลย และในแวดวง CSR ก็กําลังมองกันอยูวาบริษัทรูปแบบไหนที่ทํา CSR แลวมันดีจริง ผูฟง : ยังติดใจประเด็นเรื่องชุมชนอินเทอรเน็ตที่บอกวามถึีง 1.1 พันลาน เพราะในอนาคตมันจะขยายตัวไปเร่ือยๆ เปนสองหม่ืนลาน หาหมื่นลาน ทีนี้มันเก่ียวกันอยางไรกับประเด็นเร่ืองทุนนิยมสรางสรรคท่ีคุณสฤณีพูดมาแตตน หรือหมายความวาชุมชนอุบัติขึ้นเอง อันนี้จะเปนเงื่อนไขสําคัญในการที่จะทําใหเกิดทุนนิยมสรางสรรคขึ้นได

HCL BACKUP.indd 83HCL BACKUP.indd 83 1/1/70 9:48:48 AM1/1/70 9:48:48 AM

Page 84: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

84

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สฤณี : จริงๆ แลวเชื่อวาชุมชนอุบัติขึ้นเองนี้ก็เปนเงื่อนไขที่สําคัญสวนหนึ่ง ถาเราเชื่อในแนวคิด cosmopolitanism คือคนเราไมไดมีความแตกตางกันมาก และอินเทอรเน็ตก็เปนชองทางท่ีทําใหเราเปนเพื่อนบานกันท่ัวโลก และยิ่งคนรูจักกันทั่วโลกมากเทาไหรก็จะเปนพลังอันหนึ่งที่จะนําไปกดดันสิ่งนั้นๆ ไดโดยอาจจะอยูในฐานะผูบริโภค ตัวอยางเชน Fair Trade ของแตละประเทศ เราอยูเมืองไทยเราอยากซื้อกาแฟยี่หอนี้เพราะเห็นวาเปนแฟรเทรด แตกอนซื้อขอเขาไปดูขอมูลในอินเทอรเน็ตกอนแลวก็พบวาคนเกาหลีใตมาเขียนไววากาแฟยี่หอนี้ไมใชแฟรเทรดจริง คือถามองในฐานะผูบริโภค มันก็มีชองทางที่ทําใหมีการแลกเปล่ียน แตในระดับประเทศกําลังพัฒนาที่อินเทอรเน็ตยังเขาถึงไดนอย ก็นาจะตองมีองคกรที่ทําหนาที่เปนตัวกลางในการรวบรวมและสงตอขอมูลใหกับประชาชนดวย เพราะคนทุกคนในโลกนี้คือมหาอํานาจของโลก มีอิทธิพลที่ทําใหโลกเกิดความเปลี่ยนแปลงได ผูฟง : ดิฉันขอถามในฐานะคนที่ไมคอยมีโอกาสไดใชอินเทอรเน็ตนะคะ คือดูเหมือนกับคุณสฤณีจะบอกวาอีก 10-20 ปขางหนามันจะมีชุมชนแบบใหมเกิดขึ้น และมองไปในเชิงบวกดวย แตทีนี้สงสัยวาชุมชนแบบน้ันมันจะทดแทนความเปนชุมชนแบบเกาไดไหม จะมีการเรียนรูความสัมพันธของคนในชุมชนหรือไม คือชุมชนปกติจะเปนที่ซึ่งกลุมคนซึ่งมีความแตกตางกันมารวมกัน และสามารถยอมรับในความแตกตางของกันและกันได แตชุมชนอินเทอรเน็ตเทาที่ฟงมาคือคนกลุมเดียวกันชอบอะไร และไมชอบอะไรเหมือนๆ กัน ซึ่งถาเปนอยางนั้นจริงๆ จะทําใหความเปนมนุษยของเรามันย่ิงจํากัดลงหรือไม คือแทนที่เราจะขยายความรูสึกเอ้ืออาทร ความรูสึกยอมรับความแตกตาง เราจะมองไมเห็นสิ่งเหลานี้เลยหรือเปลา เพราะเราก็นั่งอยูหนาจอ และเราก็เลือกที่จะไปอยูในสังคมแบบที่เราชอบ ถาไมชอบเราก็ไมทน ปดเคร่ืองหนีไป แตในสถานการณจริงๆ ของชีวิตคนเรามันทําอยางน้ัน

HCL BACKUP.indd 84HCL BACKUP.indd 84 1/1/70 9:48:48 AM1/1/70 9:48:48 AM

Page 85: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

85

สฤณี อาชวานันทกุล

ไมได สฤณี : จริงๆ แลวอินเทอรเน็ตไมไดหมายความวาเปนชุมชนท่ีทุกคนจะชอบอะไรเหมือนกัน เพียงแตวามันทําใหคนที่ชอบอะไรเหมือนๆ กันมาเจอกันไดงายขึ้น จะเปนในแนวทางนั้นมากกวานะคะ มันคงไมใชวาในทายท่ีสุดแลวทุกคนจะคิดเหมือนกันทุกอยาง แตอินเทอร-เน็ตจะชวยระดมไดมากกวา ยิ่งในกรณีที่เราตองการการวิจารณเพื่อใหเกิดพลังอะไรบางอยาง อินเทอรเน็ตก็เปนชองทางที่ชวยใหมันเกิดไดเร็วยิ่งขึ้น แตโดยเนื้อแทแลวมันก็มีบางประเด็นเปนสากลจริงๆ และ กําลังถกเถียงกันในแวดวงมานุษยวิทยารวมทั้งเทคโนโลยี วาอินเทอร-เน็ตมันทําใหความเปนคนนอยลงหรือเปลา ซึ่งในความเปนจริงแลวคนที่นั่งขางหลังจอคอมพิวเตอรก็คือคนนี่แหละ ถาเราทําตัวไมดี เชนไปโพสตวิพากษวิจารณคนอ่ืนๆ ในกระทู สักวันก็คงมีคนอัปเปหิเราออกไปจากเว็บนั้น ถึงแมเราจะพยายามเปล่ียนช่ือล็อกอินหรือส่ิงตางๆ ที่แสดงตัวตนวานี่คือตัวเราก็ตาม แตถาเรายังทําตัวไมดีอยูก็จะไมมีใครยอมรับเราอยูดี วัฒนธรรมในอินเทอรเน็ตมันเปนสิ่งที่วิเคราะหและเขาใจยากพอสมควร เพราะมีความหลากหลายและมีมิติมากมาย อยางเชนขาวสงครามในอิรัก ถาเราดูขาว CNN หรือ BBC จะไมคอยมีรูปของพลเมืองอิรักที่เสียชีวิตมาออกอากาศ แตถาไปดูในเว็บไซตขาวที่มีพลเมืองเปนผูสื่อขาวก็จะเห็นรูปพลเมืองเหลานี้อยูเต็มไปหมด สิ่งสําคัญคือเราจะสามารถแยกแยะขอมูลที่เปนประโยชนออกมาไดอยางไร ดังนั้นมิติที่เขาพยายามพัฒนาก็คือทําอยางไรใหเรารูวาอะไรท่ีดีๆ มันอยูที่ไหนบางในอินเทอรเน็ต ผูฟง : ผมมีความเห็นเสริมอีกเล็กนอย ผมไดรายละเอียดจากภาพยนตรเรื่องหน่ึง คือเม่ือกอนสินคานอย เพราะฉะน้ันคนก็จะมีความสัมพันธโดยตรง เชนสมัยกอนเราปลูกขาวใหผลงามเพื่อให

HCL BACKUP.indd 85HCL BACKUP.indd 85 1/1/70 9:48:49 AM1/1/70 9:48:49 AM

Page 86: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

86

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ครอบครัวของเราไดบริโภคขาวที่หอมอรอย แตปจจุบันสินคาเยอะมากเลย ไมวาเราจะอยูที่ไหนในโลกน้ีเราก็สามารถติดตอคุณได แลวก็บริโภคไปเร่ือยๆ เหมือนกับวาเราอยูครอบโลกเสมือนจริงระหวางสินคา แลววิธีการติดตอระหวางโลกเสมือนจริงกับสินคาคือเราก็เขาไปบริโภค ทีนี้สภาพสังคมมันก็จะเปลี่ยนไป มันจะเกิดชุมชนอีกแบบหน่ึงที่คุณสฤณีไดกลาวมาแลว ผูฟง : ขอเสริมนิดหน่ึงเก่ียวกับอินเทอรเน็ตนะครับ ผมเห็นดวยวาถาเราสามารถมองในเชิงบวกแลวอินเทอรเน็ตก็จะมีประโยชนมากๆ ในสมัยกอนตอนท่ีอินเทอรเน็ตเพ่ิงไดรับความนิยม คนก็จะมองวามีแตเรื่องไมดีๆ เกิดข้ึนในน้ัน แตผานมาหลายปแลวผมเช่ือวาเราทุกคนรูจักอินเทอรเน็ตมากข้ึนแลว มันทําใหทุกอยางเลือกได และเราสามารถใชประโยชนจากอินเทอรเน็ตได ที่เห็นไดชัดคือเรื่องของ เวลาและเร่ืองตางๆ ที่เกินขอจํากัดของมนุษยเรา และนักธุรกิจก็เอา อินเทอรเน็ตมาชวยลดตนทุนไมวาจะเปนคาแรง หรือตนทุนเรื่องอื่นๆ สวนปจจุบันนี้ผมเองอยูในวงการการศึกษา ก็พบวาอินเทอรเน็ตนี่มีประโยชนจริงๆ เปนการยอยทุกอยางลงมา ผูฟง : ผมขอถาม แตเปนเร่ืองท่ีไมเก่ียวกับท่ีคุณสฤณีบรรยายมานะครับ คืออยากจะเรียนถามวา นักเศรษฐศาสตรกระแสหลักออกมาบอกวา GDP ปนี้ 3.3, 3.5 หรือมันมีทีทาดีขึ้น อาจจะเพิ่มเปน 4 เปอรเซ็นตหรืออะไรก็ตาม คําถามคือวา ทําไมมันตองดีขึ้นทุกป มันเปนศูนยไดไหม แตอาจจะไมติดลบ แลวถาเปนศูนยได คําอธิบายของมันคืออะไร และคุณภาพชีวิตของเราจะตกตำ่ลงหรือไม สฤณี : ถามองในแงดีก็คือการท่ีเราใช GDP เปนตัววัดก็เพราะอยางนอยมันเปนเคร่ืองชี้วัดไดในระดับหน่ึง ถาเราไมไดคิดวาสถานการณ

HCL BACKUP.indd 86HCL BACKUP.indd 86 1/1/70 9:48:50 AM1/1/70 9:48:50 AM

Page 87: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

87

สฤณี อาชวานันทกุล

มันแยขนาดวาทุกๆ 1 เปอรเซ็นตที่ GDP เพิ่มขึ้นนั้นเราไมไดอะไรเลย มีแตเศรษฐีไมกี่คนเทาน้ันที่ไดจากตรงน้ี แตหากเรามองวา GDP ก็มีสวนเกี่ยวของกับเรา มันก็พอจะใชเปนเครื่องชี้วัดได และถาอยากจะใหเมืองไทยใชตัว Genuine Progress Indicator (GPI) เปนตัวช้ีวัดตอนน้ีก็คงจะติดลบไปแลวนะคะ ทั้งนี้ถาเราพยายามเขาใจเศรษฐ- ศาสตรกระแสหลัก และเราใชองคประกอบอยางอ่ืนมาพิจารณาดวย เชนความเหล่ือมล้ำของรายได ก็จะมีขอมูลเร่ืองคาสัมประสิทธ์ิความเหลื่อมล้ำมาเกี่ยวของ มีขอความหนึ่งของ Simon Kuznets เปนนักเศรษฐศาสตรที่คิดวิธีวัด GDP วัด National Income Account วาคํานวณอยางไร เขารูสึกวาพอเขาคิดขึ้นมาแลวทุกคนก็เอาตัวน้ีไปใชโดยไมดูอยางอื่นอีกเลย เขาบอกวา “Welfare of the nation can scarcely be inferred from the measurement of national income” และเขาบอกอีกวา “The goal for more growth should specify of what and for what” คือจะดูแคนี้ไมได ตองดูดวยวาการเติบโตท่ีมากขึ้นนี้เพื่ออะไร และเปนของอะไร ซึ่งอันน้ีสําคัญกวาท่ีจะมองวา GDP มันโตก่ีเปอรเซ็นต แตในความเปนจริงแลวมันก็มีนัยที่เปนความสําคัญของ GDP เชนถาบอกวาปหนา GDP เมืองไทยจะโตศูนยเปอรเซ็นต อันดับแรกทุกคนก็จะเก็บเงิน พยายามไมใชเงิน ภาคธุรกิจก็ไมมีการลงทุน เพราะคิดวาถึงลงทุนไปแลวก็ขายของไมไดอยูดี นักลงทุนตางประเทศก็ไมมาลงทุนในเมืองไทยเพราะเห็นวามันศูนยเปอรเซ็นต มันไมมีศักยภาพแลว เพราะฉะน้ัน GDP มันก็มีผลกับเศรษฐกิจจริงๆ คะ แตถามวาถา GDP เปนศูนยแลวทุกคนมีความเปนอยูดีขึ้น มีความสุขมากข้ึน อยางน้ีก็เปนไปไดคะ และตอนน้ีระบบของโลกก็ไปผูกกับ GDP เยอะมากแลว มันมีผลตอการตัดสินใจทางธุรกิจดวย แตตอนน้ี GPI ก็เริ่มมีคนนํามาใชแลวนะคะ ถาใครสนใจจะลองคํานวณ GPI ของประเทศไทยก็ดูรายละเอียดในเว็บไซตของ GPI (http://www.

HCL BACKUP.indd 87HCL BACKUP.indd 87 1/1/70 9:48:51 AM1/1/70 9:48:51 AM

Page 88: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

88

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

rprogress.org/) ไดคะ ผูฟง : แลวตอนน้ีที่มีกระแสเล็กๆ เรื่อง GNH มีตัวอยางที่ประเทศ ภูฏาน เขาวัดกันอยางไร อางอิงจากอะไรคะ สฤณี : มีหลายวิธีดวยกัน ภูฏานเองกําลังพัฒนาดัชนี GNH ของ ตัวเองอยู หลักการกวางๆ ของวิธีวัดความสุขที่คอนขางเปนสากลก็คือเขาเอา Human Development Index ที่อมาตยา เซ็น เคยใหอิทธิพลการวัด ซึ่งประกอบไปดวย อัตราการรูหนังสือของประชากร อัตราการเขาถึงน้ำด่ืม อัตราการเกิดการตาย เปอรเซ็นตของปาที่ยังเหลืออยู และมาใหน้ำหนักวาจะใหน้ำหนักในแตละขอแคไหน รวมท้ังเรื่องความเหลื่อมล้ำทางรายไดหรือ Gini Coefficient ก็เปนตัวหนึ่ง คือถาปไหนความเหลื่อมล้ำทางรายไดมีมากข้ึนก็จะมีผลกระทบตอ GNH คือความสุขมันลดลง แตทั้งนี้มันก็ไมไดนํามาช้ีวัดไดงายๆ เพราะยังมีมิติทางวัฒนธรรม เชนคนไทยอาจจะมีความสุขถามีรถเบนซขับ แตคนกรีนแลนดอาจจะไมชอบขับรถเบนซ ซึ่งในรายละเอียดแลวคงทําใหมันเปนเกณฑที่เช่ือถืออะไรไมได เชนถาคนไทยไดคุยโทรศัพทมือถือวันละสองชั่วโมงจะมีความสุข หรือสง SMS แลวจะมีความสุข ก็ตองเอาปริมาณการสง SMS มาใชคํานวณดวย ผูฟง : เพ่ือความยุติธรรม ตอนน้ีประเทศไทยก็กําลังจะมีการวัดคาความอยูดีมีสุข อยางเร่ืองโทรศัพทมือถือ ความสุขของคนไทยก็คงเปนครอบครัวที่มีสุขภาพดี ไมทะเลาะเบาะแวง ซึ่งเขาก็จะมีตัวช้ีเยอะพอสมควร ผูฟง : ผมคิดวาสวนเว็บไซตตางๆ มันคือกระบวนการท่ีสราง Common Property ในรูปแบบชุมชนแบบใหม อันจะนําไปสูสมาชิก

HCL BACKUP.indd 88HCL BACKUP.indd 88 1/1/70 9:48:51 AM1/1/70 9:48:51 AM

Page 89: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

89

สฤณี อาชวานันทกุล

หรือความสัมพันธระหวางสมาชิกของชุมชนในอีกรูปแบบหนึ่ง ในขณะที่ชุมชนแบบเดิมใหความอบอุน แตชุมชนแบบน้ีจะใหทั้งความอบอุนในระดับหนึ่งและใหเสรีภาพดวย มันคงแปลกๆ ถาหากวาเราโหยหา ความอบอุนแบบเดิมที่ไมมีเสรีภาพ ผมคิดวาสิ่งที่นาสนใจก็คือ ถาหากเราพูดถึงทางรอดทุนนิยมหรือกฎหมายอื่นๆ จะรองรับตรงนี้อยางไร เพราะเทาที่ดูแลวเหมือนจะเปนการตอสูเพื่อสถาปนา Common Property สฤณี : อันนี้คงตองยกยอดไปคราวหนา ซึ่งจะพูดเรื่องโครงการ Campfire ของซิมบับเวคะ เพราะอันนั้นคือตัวอยางของการจัดการสิทธิชุมชนที่ไมใชสิทธิเชิงเดี่ยว อันนั้นคือการจัดการ Common Property และในตอนนี้เราก็มี UN ซึ่งเขาก็พยายามกดดันใหทุกคนไปเซ็นอะไรกับเขาอยูเรื่อยๆ สฤณี : สําหรับการบรรยายคร้ังหนาจะเปนกรณศีึกษาเก่ียวกับแนวคิดตางๆ เหลาน้ี เปนกรณีศึกษาซ่ึงเชื่อวามีความสําเร็จและวัดได และใชประโยชนจากแนวคิดพวกน้ีเยอะ ตัวอยางก็มี Grameen Bank, Benetech, Campfire, แลวก็ DualCurrency เปนระบบเงินตราแบบใหม อันน้ีก็คอนขางจะนาสนใจเพราะเจาของคอนเซ็ปตเขาบอกวาการแขงขันมันดีก็จริง แตถามากไปก็ไมดี มาดูกันวาทําไมเขาถึงบอกวาถามากเกินไปจะเปนผลเสียกับระบบทุนนิยมนะคะ

HCL BACKUP.indd 89HCL BACKUP.indd 89 1/1/70 9:48:53 AM1/1/70 9:48:53 AM

Page 90: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

90

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

1 Amartya Sen นักเศรษฐศาสตรชาวอินเดีย ชาวเอเชียคนแรกที่ไดรับรางวัลโนเบล

สาขาเศรษฐศาสตร ในป 2541 จากงานวิจัยและงานเขียนอันโดดเดนดานเศรษฐศาสตร

สวัสดิการ เขาเปนนักเศรษฐศาสตรคนแรกๆ ของโลก ที่ใสมิติของศีลธรรม (ethics)

เขาไปในทฤษฎีเศรษฐศาสตร ทําใหเศรษฐศาสตรมีความออนโยน และมีมนุษยธรรมมากขึ้น 2 Externalities หรือผลกระทบภายนอก คือผลกระทบทั้งแงบวกและลบที่เกิดขึ้นตอสังคมหรือบุคคลที่สาม และมักไมถูกนับเปนตนทุนภายใน ผลกระทบภายนอกแงบวก เชน โรงงานตัดถนนเขาสูโรงงาน ทําใหชาวบานไดใชผลประโยชนจากถนนดวย สวนผลกระทบภายนอกแงลบ เชน โรงงานปลอยน้ำเสียลงแมน้ำ ทําใหแมน้ำเนาเสีย โดยท่ีโรงงานไมตองเสียตนทุนคาบําบัดน้ำเสียกอน 3 Pareto Optimum ภาวะที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในทางเศรษฐศาสตร กลาวคือ ไมมีผูใดสามารถ “ดีขึ้น” กวานี้ได โดยไมมีผูใด “แยลง” อีกแลว 4 Gini Coefficient เปนหนวยวัดความไมเทาเทียมในการกระจายรายไดหรือความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ มีคาอยูระหวาง 0 ถึง 1 ยิ่งมีคามากจะยิ่งแสดงถึงความไมเทาเทียมที่มากขึ้น 5 Asymmetric information หมายถึง ความไมเทาเทียมกันของการรับรูขอมูลระหวางสองฝาย กลาวคือถาฝายหน่ึงมีขอมูลมากกวาอีกฝายหน่ึง ฝายท่ีมีขอมูลมากกวาก็จะมีอํานาจในการตอรองมากกวาอีกฝาย 6 Service Economy คือระบบเศรษฐกิจที่แปรรูปสิ่งที่ผูบริโภคซื้อ จาก “สินคา” ใหกลายเปน “บริการ” ใหมากที่สุดเทาที่จะทําได ดวยการหันมาเนนสิ่งที่ผูบริโภคตองการจริงๆ โดยไมตองตั้งสมมติฐานวาจะตองผลิต “ของ” ขึ้นมาตอบสนองความตองการนั้นๆ 7 Cameron Sinclair สถาปนิกชาวอังกฤษ ผูกอตั้งองคกรการกุศลสถาปตยกรรมเพ่ือมนุษยธรรม (Architecture for Humanity: AFH) รวมกับ เพื่อนสถาปนิกชื่อ Kate Stohr (เคธ สตอร) ซึ่งเปนองคกรที่ตองการสนับสนุนใหคนใชวิชาชีพสถาปตยกรรมในการแกปญหาวิกฤตตางๆ ของโลก เชน ปญหาผูไรที่อยูอาศัยจากภัยธรรมชาติหรือภัยสงคราม ปญหาสลัมเสื่อมโทรม ปญหาขาดแคลนน้ำดื่มที่สะอาด ดวยการนําเสนอบริการดานการออกแบบใหกับชุมชนที่ตองการโดยไมคิดคาใชจาย 8 UN Anti-Corruption Convention คือการประชุมวาดวยการตอตานการฉอราษฎรบัง-หลวงของสํานักงานองคการสหประชาชาติ วาดวยยาเสพติดและอาชญากรรม (the UN

Office on Drugs and Crime :UNODC) ซึ่งจัดขึ้นระหวางวันที่ 28 มกราคม ถึง 1 กุมภาพันธ 2551 ที่เกาะบาหลีประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งการประชุมคร้ังนี้จะเนนย้ำเรื่อง

ความโปรงใสในการระดมทุนของพรรคการเมือง การรณรงคหาเสียงเลือกต้ังและการ

ฟนฟูสนิทรัพย โดยมีผูแทนจาก 140 ประเทศที่รวมลงนามในอนุสัญญาตอตานการฉอ-ราษฎรบังหลวงเขารวมหารือ และอีก 107 ประเทศที่ใหสัตยาบันตอตานการคอรรัปชั่น

HCL BACKUP.indd 90HCL BACKUP.indd 90 1/1/70 9:48:53 AM1/1/70 9:48:53 AM

Page 91: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

91

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 91HCL BACKUP.indd 91 1/1/70 9:48:54 AM1/1/70 9:48:54 AM

Page 92: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

92

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ทางเลือกของสังคม (2): กรณีศึกษา

HCL BACKUP.indd 92HCL BACKUP.indd 92 1/1/70 9:48:54 AM1/1/70 9:48:54 AM

Page 93: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

93

สฤณี อาชวานันทกุล

สฤณี : เน่ืองจากเร่ืองท่ีจะพูดในวันนี้คอนขางจะหลากหลาย เพราะฉะนั้นทางที่ดีจะพูดหัวขอละ 10-15 นาที แลวจะเปดใหทุกทานแลกเปลี่ยนความเห็นหรือซักถามอีก 10-15 นาที เม่ือหมดคําถามแลวจึงจะพูดถึงหัวขออื่นตอไป วันนี้มีเอกสารแจกดวย เอกสารชุดแรกเปนกรณีศึกษา 4 กรณีที่จะพูดถึงอยางละเอียดในวันน้ี1 แลวก็มีไฟลที่เปนการแนะนําธนาคารเพื่อคนจนที่ปลอยสินเชื่อขนาดเล็กมากๆ (Microcredit) ชื่อธนาคารกรามีน (Grameen Bank) ที่ธนาคารกรามีนจัดทําขึ้นเองเพื่ออธิบายใหคนเขาใจโมเดลธุรกิจของธนาคารกรามีน2 เร่ืองธนาคารกรามีนนี้จะอธิบายเปนเรื่องสุดทาย เพราะเขาใจวาทุกทานในที่นี้คงคุนเคยที่สุดแลว หลังจากที่ ยูนุส3 ไดรางวัลโนเบล ก็มีหลายๆ คนที่เขียนถึง ออกทีวี เปนขาวหลายคร้ัง แตกรณีศึกษาอื่นๆ อีกหลายเรื่องยังไมคอยมีใครพูดถึงมากนักในเมืองไทย แลวถาใครท่ีสนใจติดตามอานคอลัมนในโอเพนออนไลน ฟงวันนี้จบแลวก็เลิกอานคอลัมนไปไดอีก

HCL BACKUP.indd 93HCL BACKUP.indd 93 1/1/70 9:48:54 AM1/1/70 9:48:54 AM

Page 94: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

94

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

หลายเดือน เพราะความต้ังใจคือจะพยายามทยอยเขียนถึงคนท่ีเปนเจาของแนวคิดเหลานี้ 1) กรมธรรมประกันอากาศ (Weather Insurance) ขออนุญาตเร่ิมดวยหัวขอแรก เปนกรณีศึกษาเก่ียวกับการใชผลิตภัณฑที่อาจจะมองวามาจากโลกแหงการเงินซึ่งไมมีอะไรเกี่ยวกับเนื่องกับคนจนเลย แตที่จริงจะมีสวนในการชวยเหลือเกษตรกรรายยอย นั่นก็คือ weather insurance หรือกรมธรรมประกันภัยอากาศ แตกอนที่จะคุยกันถึงเรื่องกรมธรรมประกันภัย เราควรจะมาคุยกันกอนวาความเส่ียงในการเพาะปลูกของเกษตรกรน้ันมีอะไรบาง แลวทําไมเขาจึงควรจะสนใจผลิตภัณฑตัวนี้ คือหลักๆ แลวความเส่ียงในการทําการเกษตรที่มาจากสภาพอากาศ มี 3 ประเด็นใหญๆ

HCL BACKUP.indd 94HCL BACKUP.indd 94 1/1/70 9:48:55 AM1/1/70 9:48:55 AM

Page 95: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

95

สฤณี อาชวานันทกุล

จากภาพจะเห็นกรณีตรงกลางที่เรียกวา High Proba- bility และ Low Consequence คือการท่ีเกษตรกรคาดหวังวาอากาศในฤดูเพาะปลูกปนี้นาจะมีความใกลเคียงกับประสบการณที่ผานมา คือในอดีตเขาเริ่มปลูกตอนชวงนี้ และฝนก็จะตกในชวงเวลาตามที่เคยตก และเขาก็จะไดผลผลิตตามความตองการในชวงเวลาท่ีตองการ ซึ่งหากเปนอยางนี้เกษตรกรก็จะสามารถคาดเดาไดในระดับหน่ึงวาเขาจะไดกําไรขาดทุนเทาไหร สวนทางซายสุดในภาพคือ Low Proba- bility แต High Consequence คือฝนตกนอยกวาปกติหรือเกิดภัยแลงจนทําใหไมสามารถเก็บเก่ียวผลผลิตไดเลย เกษตรกรก็อาจจะลมละลายหากมีการกูเงินมาใชในการเพาะปลูก สวนทางดานขวาสุดของภาพสไลดคือกรณีที่ฝนตกมากเกินไปจนทําใหเกิดน้ำทวม ผลที่เกิดขึ้นกับเกษตรกรก็ใกลเคียงกัน คือเขาอาจตองลมละลาย เนื่องจากไมไดผลผลิตตามท่ีตองการ ถามองในแงสถิติคือ Low Probability เหมือนกัน ทีนี้หลายๆ ทานก็คงทราบวาในปจจุบันมีทั้งปญหาสิ่งแวด- ลอม และปญหาโลกรอน ซึ่งทําใหเวลาเราดูสถิติของปริมาณน้ำฝนหรืออากาศโดยรวม มันก็ดูไดยากขึ้นเพราะวาความเสี่ยงมันมากขึ้น ที่เราเคยคิดวาความนาจะเปนในการเกิดภัยแลงหรือการเกิดน้ำทวมในบริเวณใดบริเวณหน่ึง สมมติเราเคยคิดวามันแค 1 เปอรเซ็นตเทานั้นเอง แตเดี๋ยวนี้มันอาจจะไมใชแลว อันนี้ยังไมนับปญหาที่เกิดขึ้นจากน้ำมือคน เชน เวลาฝนตกมากๆ แลวแทนที่จะปลอยใหน้ำทวมกรุงเทพฯ 10 เซ็นติเมตร คนตางจังหวัดจะไดไมเดือดรอน เราก็กลับกันไมใหน้ำทวมกรุงเทพฯ แลวก็ใหมันไปทวมตางจังหวัด ทวมที่นาเขาเสียหายหมด นั่นเปนปจจัยที่ทําใหเราคิดความนาจะเปนไดยากขึ้น เทาที่พูดมาอยางคราวๆ นี้ โดยหลักๆ ก็คือมีความเสี่ยงจากสภาพอากาศที่แบงออกไดเปน 3 รูปแบบ ทีนี้ถามองในแงของธุรกิจ ผลผลิตคือผลกําไรหรือรายไดจากการขายสินคา คําถามคือจะทํายังไง

HCL BACKUP.indd 95HCL BACKUP.indd 95 1/1/70 9:48:56 AM1/1/70 9:48:56 AM

Page 96: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

96

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ใหไดกําไร นักธุรกิจที่มองกราฟนี้ก็ตองพยายามซื้อผลิตภัณฑปองกันและบริหารความเส่ียงหลายๆ อยางเพ่ือจะทําใหสภาวะ Low Proba- bility เกิดขึ้นนอยสุดหรือไมมีเลย ในกรณีที่เปนนักธุรกิจเขาก็อาจจะซื้อประกัน แตถาเปนเกษตรกรรายยอยจะมีชองทางอะไรใหเขาบาง เนื่องจากพัฒนาการของโลกการเงินและโลกของธุรกิจประกันภัย จึงทําใหมีผลิตภัณฑทางการเงินชนิดใหมที่เรียกวา weather insurance เกิดข้ึน คิดคนโดยกลุมที่มีชื่อวา Commodity Risk Management Group ซึ่งเปนการรวมตัวกันของนักเศรษฐศาสตร และนักการเงินจํานวนหนึ่ง โดยกลุมนี้เปนกลุมหนึ่งในธนาคารโลก (World Bank) ที่ทําหนาที่คิดคนนวัตกรรมใหมๆ ที่จะชวยเกษตรกรในประเทศกําลังพัฒนา เมื่อเรารูแลววาความเสี่ยงของเกษตรกรขึ้นอยูกับดินฟาอากาศคอนขางมาก แลวถาเกิดมันมีผลิตภัณฑทางการเงินอะไรที่จะชวยบรรเทาหรือลดความเส่ียงใหแกเกษตรกร มันก็นาจะดี หากปไหนที่เกิดภัยแลงหรือน้ำทวมแลวไมไดผลผลิตตามที่ตองการ เขาก็สามารถเรียกรองสิทธิในการรับเงินประกัน ทําใหมีรายไดท่ีมั่นคงมากขึ้น ซึ่งที่ผานมาก็มีคนคิดการประกันในภาคเกษตรกรรมมาหลายอยาง หลักๆ ที่ใชมีอยูสองชนิด เรียกวา Multi Peril Crop Insurance กับ Name Peril Crop Insurance ซึ่งจะแตกตางกันตรงที่ Multi Peril นั้นไมวาความเสียหายจะเกิดขึ้นเพราะเหตุใดก็ตามก็สามารถไปเรียกรองสิทธิในการรับเงินประกันได แตวาตองตีราคาคาความเสียหายน้ันๆ และพิสูจนใหไดกอนวาขาวในนาเสียหายจริง สวน Name Peril จะเจาะจงวาความเสียหายน้ันจะตองมาจากถูกแมลงทําลาย เขาจะไมรับ

ผิดชอบหากเกิดความเสียหายจากสภาพดินฟาอากาศ ปญหาของกรมธรรมแบบดั้งเดิมนี้คือมันพิสูจนไดยากวา

HCL BACKUP.indd 96HCL BACKUP.indd 96 1/1/70 9:48:57 AM1/1/70 9:48:57 AM

Page 97: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

97

สฤณี อาชวานันทกุล

มูลคาความเสียหายคิดเปนเทาไหรกันแน และสาเหตุความเสียหายมาจากอะไร คือเขาตองมั่นใจวาเกิดความเสียหายจริงๆ ไมใชวาเกษตรกรทําลายเอง จะตองเปนความเสียหายที่เราไมมีสวนรูเห็น โดยจะมีเจาหนาที่บริษัทประกันหรือจากธนาคารโลก หรือใครก็ตามที่เปนเจาของกรมธรรมมาประเมิน แลวยังไมนับรวมปญหาที่ทางเศรษฐ- ศาสตรเรียกวา Moral Hazard คือปญหาที่พฤติกรรมของเราจะเปลี่ยนไปเม่ือเราไปทําขอตกลงอะไรอยางหน่ึง เชนเราไปทําประกันสุขภาพเกี่ยวกับโรคมะเร็ง จากเดิมเราสูบบุหรี่วันหนึ่งนอยมาก แตเมื่อเราไปทําประกันแลวเราเปลี่ยนเปนสูบวันละ 10 ซองเลยเพราะถือวาเรามีประกันแลว สวนในแงของเกษตรกรอาจจะเกิดปญหาท่ีวาเมื่อไปทําประกันไวแลวเขาก็อาจจะไมไดดูแลพืชผลของเขาเทาที่ควร เพราะถาเสียหายก็ไปเรียกรองเงินประกันได ปญหาอีกอันหนึ่งภาษาเศรษฐศาสตรเรียกวา Adverse Selection คลายๆ กันคือทําใหลูกคามีแนวโนมเปลี่ยนพฤติกรรมกอนทําประกัน เชน เราไปโฆษณาวาเรามีบริการรับประกันความเสียหายจากการปลูกขาวเจา เกษตรกรก็หันมาปลูกขาวเจากันหมดเลย ถึงแมวาพื้นที่แถบนั้นอาจจะไมมีความเหมาะสมท่ีจะปลูกขาวเจาเลยก็ตาม เพราะเขาคิดวายังไงก็ยังดีกวาปลูกอยางอ่ืนที่ไมมีการประกันมารองรับ ถาใชกรมธรรมแบบเดิมจะแกปญหาทั้งสองประการน้ีไดยากมาก สวนปญหาอีกอยางหนึ่งที่สําคัญคือเรื่องตนทุนของบริษัทประกันหรือภาครัฐท่ีจะรับทําประกันแบบนี้ เนื่องจากมีคาใชจายสูง ไมวาจะเปนเร่ืองของการตรวจสอบคํานวณมูลคาความเสียหาย หรือการบริหารจัดการตางๆ ซึ่งมีคาใชจายสูง และเราก็ทราบกันดีวาในโลกธุรกิจคาใชจายเหลานี้ในท่ีสุดก็จะถูกผลักไปใหผูบริโภคหรือผูเอาประกัน ดังนั้นเบี้ยประกันของกรมธรรมแบบน้ีจะคอนขางแพง

HCL BACKUP.indd 97HCL BACKUP.indd 97 1/1/70 9:48:57 AM1/1/70 9:48:57 AM

Page 98: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

98

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เมื่อประมาณ 10 ปที่แลวเราไดคิดเปลี่ยนวิธีจากเดิมที่ทําประกันบนพื้นฐานของความเสียหายของผลผลิต มาเปนการวัดจากดรรชนีหรือคาอะไรก็ตามที่วัดไดจริง เปนวัตถุประสงคและมีความเกี่ยวโยงกับความเสียหาย อยางเชนปริมาณน้ำฝน คือถาเราเก็บสถิติยอนหลังไดวาถาปริมาณน้ำฝนเทานี้ ผลผลิตที่ออกมาจะประมาณเทา-ไหร หรือพืชผลจะเกิดความเสียหายเมื่อปริมาณน้ำฝนเปนเทาไหร คือถาเรารูความเชื่อมโยงนั้นได เราก็จะสามารถบอกไดวาดรรชนีน้ำฝนที่เราถือวาปกติในฤดูเพาะปลูก ที่นาจะทําใหผลิตผลออกมาปกติคือเทา-ไหร เราก็นํามาออกแบบกรมธรรมแบบใหมท่ีใชดรรชนีเปนพื้นฐานได สวนดรรชนีอางอิงอาจจะใชอุณหภูมิ ระดับน้ำในแมน้ำ หรืออื่น ๆ ก็ได ดังนั้นการทําประกันโดยมีดรรชนีอางอิงจะทําไดงายกวาแบบเดิมมาก เพราะสามารถตรวจสอบหรือประเมินไดและมีความโปรงใส ไมตองมาเถียงกันวาเคร่ืองมือวัดความเสียหายเท่ียงตรงขนาดไหน และดรรชนีก็เปนขอมูลสาธารณะ (public information) อยูแลว เชน อุณหภูมิเราก็ตรวจสอบไดจากสถานีอุตุนิยมวิทยาหรือเว็บไซตอยาง weatherunderground.com โดยไมจําเปนตองพึ่งพิงขอมูลจาก เจาหนาท่ีของบริษัทประกันเพียงอยางเดียว ดังนั้นเราก็นาจะนําหลักการนี้มาใชทําประกันใหกับเกษตรกรรายยอยได คือสรางดรรชนนี้ำฝนขึ้นมากอน โดยพิจารณาจากปริมาณน้ำฝนในอดีตเพ่ือจะดูวาปริมาณน้ำฝนโดยปกติแลวควรเปนเทาไหร หากปไหนฝนตกต่ำกวาดรรชนีนั้น เราก็จายเงินใหกับเกษตรกรตามสูตรที่ไดตกลงกันไว ไมตองไปวัดวาใครเสียหายหรือไมเสียหายอยางไร ซึ่งในระยะเร่ิมแรกควรจะเร่ิมจากเกษตรกรรายยอยสวนที่มีทุนรอนนอยมากๆ กอน โดยอาจจะดําเนินการผานกองทุนหรือสหกรณซึ่งมีการรวมตัวของชาวบานระดับหนึ่งอยูแลว เพราะฉะน้ันบทบาทของรัฐบาลก็คือทําประชาสัมพันธเผยแพรความรูในเรื่องนี้ใหแกเกษตรกร

HCL BACKUP.indd 98HCL BACKUP.indd 98 1/1/70 9:48:58 AM1/1/70 9:48:58 AM

Page 99: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

99

สฤณี อาชวานันทกุล

ตารางนี้เปนการเปรียบเทียบในลักษณะอธิบายถึงการประกันราคาสินคา ซึ่งรัฐบาลใชมาตรการน้ีมายาวนานและเกิดปญหามากมาย รวมถึงปญหา Adverse Selection และ Moral Hazard ที่ไดอธิบายไปแลว แตปญหาใหญที่เกิดขึ้นจากการใชระบบประกันราคาสินคาคือ ผูที่ไดรับประโยชนจากการประกัน ไดแกโรงสีหรือคนกลาง ไมใชเกษตรกรรายยอย เพราะเกษตรกรจะไดราคาตามท่ีโรงสีรับซื้ออีกท ีเพราะฉะนั้น จะเห็นไดวามาตรการรัฐที่ผานมาในเมืองไทยไมไดชวยเกษตรกรรายยอยมากเทากับชวยพอคาคนกลาง แตถาใชกรมธรรมแบบใหมนี้มันจะลงไปถึงเกษตรกรรายยอยโดยตรง

HCL BACKUP.indd 99HCL BACKUP.indd 99 1/1/70 9:48:58 AM1/1/70 9:48:58 AM

Page 100: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

100

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ขอดีของโลกาภิวัตนตอโลกการเงินอยางหนึ่งก็คือ มันทําใหระบบการเงินทั่วโลก ตลาดเงินกับตลาดทุนเช่ือมถึงกันไดหมด นั่นหมายความวาตลาดประกันภัยก็เชื่อมถึงกันดวย เพราะฉะนั้นถามองวาพื้นที่เพาะปลูกท่ัวโลกคือตลาดของกรมธรรมประกันภัย ก็มีความเปนไปไดนอยมากท่ีจะเกิดภัยแลงหรือน้ำทวมพรอมๆ กันทั่วโลก ดังนั้นแมจะมีบริเวณที่ประสบปญหาที่บริษัทประกันตองจายเงิน แตบริษัทประกันก็สามารถทํากําไรในพ้ืนที่อื่นๆ ที่ไมประสบปญหาได แบบน้ีก็จะเห็นไดวายังมีชองทางท่ีบริษัทประกันจะไดกําไรอีกมาก แลวการกระจายความเส่ียงก็คือหลักการปกติของธุรกิจประกันภัย ตราบใดที่พื้นที่ตางๆ ไมประสบปญหาพรอมๆ กัน บริษัทประกันก็อยูไดแบบมีกําไรอยูแลว ฉะน้ันจึงนาสนใจตอนท่ีธนาคารโลกทําโครงการทดลอง4 ซึ่งเร่ิมเมื่อประมาณ 3 ปที่แลว ก็มีบริษัทประกันหลายรายแจงความจํานงวาสนใจที่จะทําประกันแบบน้ี ปจจุบันตลาดของการประกันเกี่ยวกับผลผลิตทางการเกษตรท่ัวโลกมีมูลคากวา 7,000 ลานเหรียญสหรัฐ นี่คือตลาดที่ยังเปนประกันแบบเดิม แลวยังโตขึ้นเรื่อยๆ ดวย แต สวนใหญจะอยูในอเมริกาเหนือประมาณ 58 เปอรเซ็นต ซึ่งจริงๆ ไมคอยสมเหตุสมผลเลย เพราะเกษตรกรทางอเมริกาเหนือคอนขางมีฐานะดีอยูแลว ไมไดตองการผลิตภัณฑประกันประเภทน้ีเทากับเกษตรกรในประเทศดอยพัฒนา นี่ก็แสดงใหเห็นวายังมีความตองการผลิตภัณฑตัวนี้อีกมาก แลวถาหากเราสามารถทําประกันตัวนี้กับเกษตรกรรายยอยได มันจะชวยไดอีกมากจริงๆ

HCL BACKUP.indd 100HCL BACKUP.indd 100 1/1/70 9:48:59 AM1/1/70 9:48:59 AM

Page 101: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

101

สฤณี อาชวานันทกุล

ภาพน้ีเปนกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศมาลาวีซ่ึงอยูในทวีปแอฟริกา ซึ่งธนาคารโลกไดเขาไปทําโครงการที่นี่และมีบริษัทประกันเขารวมพอสมควร เขาทําประกันภัยแลงโดยวัดปริมาณน้ำฝนออกมาเปนดรรชนี และใชดรรชนีนี้มาพิจารณาวาเขาจะจายเงินชดเชยหรือ ไมจาย ในภาพน้ี จุด trigger คือ 45 มิลลิเมตร ถาฝนตกเทากับ 45 มิลลิเมตรหรือมากกวา บริษัทประกันก็ไมตองจายเงินใหกับเกษตรกร แตถาฝนตกนอยกวาจุด trigger บริษัทก็ตองเร่ิมจายเงินประกันจนถึง

เพดานสูงสุดท่ีไดกําหนดไวแลววาเขาจะจายสูงสุดเปนจํานวนเทานี้ เพราะฉะนั้นจะเห็นไดวาผลิตภัณฑทางการเงินนั้นมีขอดีอยูที่ความ ยืดหยุน สามารถปรับใชใหตรงกับความตองการของเราได เชนถาเรา

ที่ มา : h t tp : / /www. fo rumfor the fu tu re .o rg .uk /docs /page /52 /493 /4%20 William%20Dick.pdf

HCL BACKUP.indd 101HCL BACKUP.indd 101 1/1/70 9:49:00 AM1/1/70 9:49:00 AM

Page 102: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

102

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

จะเอาของมาลาวีมาใชกับการเพาะปลูกขาวโพดที่จังหวัดเพชรบูรณ ซึ่งจังหวัดเพชรบูรณไมไดเจอเพียงแคภัยแลง แตเขายังประสบปญหาฝนตกน้ำทวมดวย เราก็สามารถออกแบบผลิตภัณฑใหมี trigger เพิ่มอีกตัวหนึ่ง คือถาฝนตกเกินจุดหนึ่งแปลวาน้ำทวม เพราะฉะนั้นก็ตองมีการจายเงินใหผูทําประกันดวย ถาพูดในภาษาการเงินก็เหมือนกับการขายออปชั่นดรรชนีตราสารอนุพันธตัวหน่ึง วิธีการทําดรรชนีของธนาคารโลกน้ันเขาจะศึกษาคอนขางละเอียด ไปดูวาปฏิทินการเพาะปลูกขาวโพดของมาลาวีมันมีชวงการปลูกอยางไร มีกี่ชวง เพราะการเพาะปลูกแตละชวงก็มีระดับผลผลิตตอปริมาณน้ำฝนและความเส่ียงไมเทากัน เชน ชวงท่ีตนขาวโพดยังเล็ก น้ำฝนปริมาณ 10 มม. ก็ทําใหขาวโพดตายแลว เพราะฉะนั้นถาจะประกันตอนน้ี ก็ตองใชดรรชนีที่ตางจากตอนขาวโพดโต ความทาทายของโครงการแบบน้ีคือตองตกลงกันใหไดวาตรงไหนคือความปกติของการผลิต

HCL BACKUP.indd 102HCL BACKUP.indd 102 1/1/70 9:49:01 AM1/1/70 9:49:01 AM

Page 103: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

103

สฤณี อาชวานันทกุล

ในประสบการณของธนาคารโลกท่ีเขาไดทํามาหลายประเทศแลว เชน อินเดีย นิคารากัว มาลาวี ยูเครน เปนตน ทั้งในระดับ micro คือใชสําหรับเจาของที่นารายยอย โดยทําประกันผานสถาบันการเงินระดับทองถ่ิน ถาเปนของไทยก็เชน สหกรณหรือกองทุนหมูบาน และในระดับ meso ซึ่งจะใหญกวาไมโครเล็กนอย คือไปทําประกันความเสี่ยงแบบนี้ ให กับสถาบันการเงินระดับภาคที่ปลอยเงินกู ใหกับเกษตรกรในอินเดีย สวนอีกระดับคือระดับ macro คือทํากับระดับประเทศ ไปคุยกับภาครัฐบาลของแตละประเทศวาความตองการของผลิตภัณฑตัวนี้ในประเทศของเขาเปนอยางไร และใหรัฐบาลเปนผูมาทําประกันกับธนาคารโลก รวมท้ังรับความเส่ียงท้ังหมดแทนเกษตรกร อันนี้เริ่มทําแลวในเอธิโอเปย มาลาวี และเม็กซิโก

จากตารางน้ีเห็นไดชัดวา ระดับไมโครประสบความสําเร็จที่สุด สวนที่เหลือนั้นยังเร็วเกินไปที่จะวัดวามันสําเร็จหรือไมสําเร็จและมีปญหาอะไรบาง และยังพบวามีบริษัทประกันเอกชนที่สนใจมาเขารวม

HCL BACKUP.indd 103HCL BACKUP.indd 103 1/1/70 9:49:02 AM1/1/70 9:49:02 AM

Page 104: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

104

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

โครงการจํานวนมากพอสมควร โดยเฉพาะในประเทศอินเดีย และมีความพยายามที่จะตอยอดดรรชนีตัวนี้เพื่อนําไปใชกับความเสี่ยงที่รุนแรงกวานี้และยังไมไดครอบคลุมไปถึง เชน พายุไซโคลน พายุไตฝุน เปนตน ทีนี้ถาถามวาทําไมบริษัทประกันจะสนใจกรมธรรมแบบน้ี ก็อยางที่เรียนใหทราบแลววาถาตลาดสามารถเชื่อมถึงกันไดท่ัวโลกก็ไมมีทางที่เขาจะขาดทุน เพราะถึงเขาจะเสียเงินใหกับประเทศหนึ่ง แตก็จะไดเงินจากอีกประเทศหนึ่งอยูดี อีกทั้งปจจุบันนี้ยังมีบริษัทท่ีเรียกวา Re-Insurer หรือบริษัทประกันภัยตอ คือบริษัทท่ีทําธุรกรรมกับบริษัทประกันอีกตอหน่ึง ยกตัวอยางเชนบริษัทประกันไปรับทํากรมธรรมใหเกษตรกร ความเสี่ยงก็จะไปตกอยูกับบริษัทประกัน บริษัทประกันก็อาจจะเอาความเสี่ยงนี้ผองถายหรือกระจายใหกับคนอื่น เขาก็ไปคุยกับบริษัทประกันภัยตอ ซึ่งบริษัทพวกน้ีจะรูจักกันทั่วโลกและมีความเชี่ยวชาญในการลิดรอน ลดทอน หรือปองกันความเสี่ยงโดยใชตลาดเงิน ตลาดทุน คือพยายามขายความเสี่ยงออกไปเปนผลิตภัณฑการเงินใหนักลงทุนที่สนใจซื้อผลิตภัณฑเหลานี้ เพราะในโลกของการเงินน้ันมีแนวคิดพื้นฐานวาถาความเส่ียงสูง ผลตอบแทนก็จะสูงไปดวย ดังนั้นก็มีความเปนไปไดท่ีจะมีนักลงทุนหลายรายท่ีรับความเส่ียงไหว เขาก็จะซ้ือความเส่ียงของผลิตภัณฑเหลานี้ไป ทําใหความเสี่ยงจริงๆ ของบริษัทประกันลดนอยลง

HCL BACKUP.indd 104HCL BACKUP.indd 104 1/1/70 9:49:03 AM1/1/70 9:49:03 AM

Page 105: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

105

สฤณี อาชวานันทกุล

แผนภูมินี้เปนโครงสรางที่แสดงใหเห็นการสงผานความเสี่ยงไปใหบริษัทประกันภัยตอ โดยเกษตรกรจะทํากรมธรรมนี้ผานสหกรณหรือกองทุนกอน หรืออาจทํากรมธรรมตรงกับหนวยงานรัฐบาล หรือ ธนาคารเพื่อการเกษตรฯ หรือบริษัทประกัน ทั้งนี้แลวแตจะตกลงกัน แลวหนวยงานรัฐหรือคนออกประกันก็จะไปทําสัญญาเพื่อผองถายความเส่ียงใหกับบริษัทประกันภัยตอ และบริษัทเหลาน้ีก็จะเอาไปจัดการเอง

HCL BACKUP.indd 105HCL BACKUP.indd 105 1/1/70 9:49:03 AM1/1/70 9:49:03 AM

Page 106: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

106

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สไลดดานบนเปนรายชื่อประเทศท่ีธนาคารโลกกําลังชวยพัฒนากรมธรรมอยู จะเห็นวามีหลากหลายต้ังแตละตินอเมริกา แอฟริกา ไปจนถึงอินเดีย สําหรับในประเทศไทยเคยมีโครงการนํารองอยูสองโครงการ โครงการแรกเปนโครงการชดเชยภัยแลงท่ีจังหวัดเพชรบูรณ เมื่อป 2548 โดยชดเชยความเสียหายเกี่ยวกับตนขาวโดยใชดรรชนีปริมาณน้ำฝนซ่ึงวัดที่สถานีอุตุนิยมวิทยาที่ตกลงรวมกัน สวนอีกโครงการหน่ึงเปนกรมธรรมชดเชยกรณีน้ำทวมท่ีจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งถือเปนนวัตกรรมเลยทีเดียว เพราะเปนแหงแรกที่ทํากรมธรรมน้ำทวม แตอันที่จริงก็ยังถือวาเปนแคโครงการนํารองอยู ยังไมไดทําจริงๆ แตไปวัดสถิติระยะเวลาที่น้ำทวมและกําหนดวาขาวโพดซึ่งเปนพืชที่ไดรับความคุมครองของโครงการนี้ปลูกอยูในบริเวณใดบาง

HCL BACKUP.indd 106HCL BACKUP.indd 106 1/1/70 9:49:04 AM1/1/70 9:49:04 AM

Page 107: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

107

สฤณี อาชวานันทกุล

สวนคาดรรชนีกําหนดกันแลววาจะใชภาพถายดาวเทียมทางอากาศเพื่อดูวาน้ำทวมแตละคร้ังกินระยะเวลานานกี่วัน เพื่อจะเอามาดูวาถาเกินระดับไหนจึงจะเรียกวาผิดปกติและเรียกเงินจากการประกันได เขาแบงพื้นที่เพาะปลูกหลักๆ ออกเปนสามพื้นที่ คือพื้นที่ที่มีความเสี่ยงตอน้ำทวมสูงมากเรียกวา High Risk พื้นที่ที่มีความเสี่ยงรองลงมาเรียกวา Medium Risk สวนพื้นที่ที่มีความเส่ียงนอยเรียกวา Low Risk ซึ่งตัวแปรเหลานี้จะมีผลตอมูลคาของการทําประกันดวย ทั้งนี้ก็ขึ้นอยูกับการตอรองดวย ยกตัวอยางเชน ถาบริษัทประกันบอกวาถาจะทําประกันกับเขาจะตองจายเงินปละ 10,000 บาท แตทีนี้เงินจํานวนนี้มันคอนขางมากเกินไปสําหรับเกษตรกรรายยอย ก็เปนหนาท่ีของภาครัฐท่ีจะตองเขามาชวยรองรับความเส่ียง หรือใหเงินอุดหนุน (subsidize) ในสวนนี้ เพราะฉะน้ันขอดีคือ พอเปนการเงิน เปนตัวเลขออกมาแลวมันจะสามารถตอรองกันได และไมมีปญหาเรื่องการวัดมูลคาความเสียหายของผลผลิตดวย เพราะเราใชดรรชนีที่สามารถวัดออกมาเปนตัวเลขไดจริง สวนความคืบหนาของทั้งสองโครงการนี้ไมแนใจเหมือนกันวาเกิดอะไรข้ึน อยากทราบเหมือนกัน เพราะวามีการลงนามในขอตกลงเบื้องตน (Memorandum of Understanding หรือ MOU)5 แลวระหวางธนาคารโลกกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดมีการจางบริษัททําการศึกษา แลวเขาก็บอกวาป 2549 จะดําเนินการทดสอบระบบ แตไมทราบวาขณะนี้มีความคืบหนาอยางไรบาง ทุกอยางอาจจะหยุดเพราะเรามีการเปล่ียนแปลงทางดานการเมืองก็ได แตในแงแนวคิดอยากใหโครงการแบบน้ีเกิดขึ้น เพราะเปนแนวคิดที่คอนขางจะทันสมัย เปนการใชประโยชนจากการเชื่อมตอของระบบการเงินใหเปนประโยชนตอเกษตรกรรายยอยดวย คือไมมีเหตุผลเลยวาคนที่ไดประโยชนจากการปองกันความเส่ียงตางๆ จะตองเปนนักธุรกิจเพียงอยางเดียว

HCL BACKUP.indd 107HCL BACKUP.indd 107 1/1/70 9:49:05 AM1/1/70 9:49:05 AM

Page 108: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

108

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สฤณี : ไมทราบวามีใครมีขอซักถามเก่ียวกับเร่ืองกรมธรรมประกันภัยอากาศหรือเปลาคะ ผูฟง : มีความเชื่อมโยงระหวางความเสียหายที่แทจริงของผลิตผลกับเงินประกันหรือไมครับ สฤณี : ไมมีเลยคะอาจารย มันขึ้นอยูกับดรรชนีอยางเดียว ไมมีความเกี่ยวกันเลย ยกตัวอยางเชน ถาเราจะใชปริมาณน้ำฝนมาเปนดรรชนีนั้น ขั้นตอนแรกจะตองทําโมเดลข้ึนมาเพื่อจะดูวาในอดีตที่ผานมาปริมาณน้ำฝนระดับไหนทําใหเกิดผลผลิตที่ถือวา “ปกติ” แลวระดับไหนที่ผลผลิตเริ่มเกิดความเสียหาย เพราะฉะนั้นถาเราตกลงกันไดวามูลคาที่เราถือวาขั้นต่ำ-ขั้นสูงอยูที่ระดับไหน หลังจากนั้นมันก็เปนเรื่องของการตอรองวาบริษัทประกันภัยจะรับความเส่ียงไดมากนอยแคไหน ผูฟง : ไมทราบวาเงินประกันจะไหลไปถึงมือเกษตรกรไดอยางไร ผานกลไกอะไร อยากทราบวาฝายสหกรณนั้นจะทําหนาที่สงเงินถึงตัวเกษตรกรเปนคนๆ เลยหรือคะ สฤณี : ใชคะ ถึงตัวเกษตรกรเปนคนๆ เลย คือมันแลวแตจะตกลงกันนะคะ เทาที่ทราบคือโครงการนํารองนี้เขาทําผาน ธกส. โดย ธกส. จะเปนผูเอาประกันหรือผูรับผลประโยชน สวนเกษตรกรก็ทําสัญญากับ ธกส. อีกทอดหนึ่ง และหากมีการเคลมประกัน ทาง ธกส. ก็จะเปนผูจายใหเกษตรกรอีกทีหนึ่ง อาจจะเขาบัญชีหรืออะไรก็แลวแต แตในหลักการจริงๆ นี่ก็ทํากับเกษตรกรโดยตรงไดเลย เพียงแตวาอาจจะมีปญหาเรื่องความลาชาหรือความไมสะดวกในการคํานวณ แตถาเราคิดวาระบบเราก็มี เชน เกษตรกรทุกคนมีบัญชีกับ ธกส. อยูแลวและเกษตรกรทุกคนก็มีความสนใจท่ีจะเปนผูเอาประกันโดยตรงก็ทําได

HCL BACKUP.indd 108HCL BACKUP.indd 108 1/1/70 9:49:06 AM1/1/70 9:49:06 AM

Page 109: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

109

สฤณี อาชวานันทกุล

เชนกัน คือถาเราคิดวาคาใชจายในการตรวจสอบดูแลมันไมไดสูงมาก มันก็สามารถทําเปนรายยอยๆ ไดคะ แตคอนเซ็ปตที่เขาคิดกัน สวนใหญเขามักจะมองวาควรจะมีสหกรณหรืออะไรก็ตามมารับความเสี่ยงแทนเกษตรกรอีกทีหนึ่ง เพื่อปองกันกรณีที่เกษตรกรอาจถูกหลอกได ผูฟง : สงสัยวาโครงการแบบน้ีจะชวยเหลือเกษตรกรรายยอยในประเทศไทยท่ีไมไดผลิตเชิงพาณิชยไดอยางเต็มที่หรือไม คือหมายความวาจริงๆ แลวเกษตรกรรายยอยในประเทศไทยเขาก็มีการประกันความเส่ียงใหกับตนเองหลายอยาง เชน ปลูกพืชหลายประเภท สงลูกสาวไปเปนโสเภณี อะไรก็แลวแต... ทีนี้ชีวิตของเกษตรกรรายยอยแบบไทย จริงๆ โครงการนี้จะชวยไดสักเทาไหร เพราะเขาไมไดอยูในตลาดเต็มที่ สฤณี : อันนี้ถาดูตามหลักการจริงๆ แลวก็ไมมีอะไรท่ีบอกวาใชไมไดนะคะ ถาจะมีอาจจะมีประเด็นในเรื่องสเกล (scale) อยางเดียว เชนถาเขาบอกวาขั้นต่ำเราตองมีพื้นที่ 10 ไรตอพืชหน่ึงชนิดจึงจะรับทําประกัน เกษตรกรท่ีเขาปลูกพืชหลายๆ อยาง เขาก็อาจจะตองมารวมตัวกันเพ่ือใหพื้นที่ปลูกพืชชนิดนี้ของเขารวมกันได 10 ไร แตจริงๆ แลวโดยหลักการมันก็ทําไดทุกอยางเพราะมันไมไดยึดโยงที่ราคาผลผลิต หรือจํานวนผลผลิต แตดทูี่ดรรชนีอยางเดียวเทานั้น ผูฟง : เร่ืองท่ีสภาพอากาศโลกเปล่ียนมันคงมีผลตอปริมาณน้ำฝน เปนไปไดไหมคะท่ีตัวทริกเกอรหรือดรรชนีวัดปริมาณน้ำฝน ตารางการชดเชยตางๆ หรือวธิีคํานวณจะเปลี่ยนแปลงไปหมด สฤณี : มันก็คงตองเปลี่ยนไปเรื่อยๆ ตามสภาวะอากาศคะ เพราะตัวดรรชนีเหลานี้ก็ตองมีการวัดกนัตลอด แตขอดีของมันก็คือไมวาอากาศ

HCL BACKUP.indd 109HCL BACKUP.indd 109 1/1/70 9:49:07 AM1/1/70 9:49:07 AM

Page 110: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

110

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

จะเลวรายลงอยางไรก็ตาม มันคงเปนเรื่องยากที่จะแยลงพรอมๆ กันหมดทุกพื้นที่ในโลก อีกอยางเราพูดในแงของบริษัทประกันภัยระดับโลกนะคะ ซึ่งก็คงมีนโยบายประกันแบบน้ีในหลายๆ พื้นที่อยูแลว เพราะฉะนั้นที่อาจารยพูดมันก็คือกระบวนการ ทุกปก็ตองมีการทบทวนแลวดูวา ดรรชนีขึ้นต่ำมันตองปรับหรือไม ในแงแรงจูงใจของบริษัทประกันภัยยังไงคิดวามันก็ยังมีสูงอยู ตัวอยางหน่ึงที่เห็นไดชัดคือ กรณีวินาศกรรมตึก World Trade Center หลังจากนั้นก็มีความตองการท่ีจะทําประกันภัยจากการกอการรายและมีบริษัทประกันหลายแหงที่รับทําประกันภัยแบบนี้ ก็แสดงใหเห็นวาเขาเห็นวามีความเปนไปไดนอยที่จะเกิดการกอการรายพรอมกันทีเดียว 20 ประเทศ แตถายอนไปเม่ือ 20 ปที่แลวจะทําแบบน้ีไดยาก เพราะระบบการเงินและตลาดประกันภัยตางๆ มันยังไมไดเชื่อมโยงกันเหมือนในปจจุบัน บริษัทประกันภัยสวนใหญก็หาวิธีปองกันความเส่ียงดวยการลงทุนอะไรเล็กๆ ในประเทศของตนเอง ซึ่งถามองในแงนี้แลวสําหรับประเทศไทยก็ยังคอนขางมีความลาหลังเพราะกฎหมายปจจุบันยังไมอนุญาตใหบริษัทประกันภัยของเราลงทุนในอะไรไดมากนัก ยังกลัววาจะบริหารไมเปน อันนี้ก็เขาใจได คือสวนใหญเขาจะอยากใหทําแคฝากธนาคารหรือซื้อพันธบัตรรัฐบาล สวนบริษัทประกันภัยที่กลาไปซ้ือหุนบางบริษัทก็ซื้อแบบไมคอยรูเรื่อง ผูฟง : ตลาดการเงินที่คุณสฤณีพูดถึงหมายความวายังไงครับ หมายความวาสามารถท่ีจะใหตลาดตางประเทศชวย ธกส. ประกันไดหรือครับ

สฤณี : ใชคะ ตลาดการเงินท่ีเชื่อมถึงกันหมายความวา สมมติวาบริษัทประกันทํากรมธรรมใหกับเมืองไทยแลว เขาก็สามารถเอาสัญญาไปขาย ไปหั่นขายตอ ไปประกันความเส่ียงตอไดทันทีในตลาด

HCL BACKUP.indd 110HCL BACKUP.indd 110 1/1/70 9:49:07 AM1/1/70 9:49:07 AM

Page 111: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

111

สฤณี อาชวานันทกุล

อังกฤษ หรืออเมริกา อะไรก็แลวแต และอาจจะมีนักลงทุนญี่ปุนเขามาซื้อตอในทันที เพราะในแงของระบบแลวมันเชื่อมกันจริงๆ

HCL BACKUP.indd 111HCL BACKUP.indd 111 1/1/70 9:49:08 AM1/1/70 9:49:08 AM

Page 112: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

112

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

2) DualCurrency System

HCL BACKUP.indd 112HCL BACKUP.indd 112 1/1/70 9:49:08 AM1/1/70 9:49:08 AM

Page 113: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

113

สฤณี อาชวานันทกุล

ขอพูดถึงกรณีศึกษาอีกกรณีหนึ่ง คือบริษัทชื่อ DualCurrency System จดทะเบียนที่รัฐมินเนสโซตาในอเมริกา บริษัทนี้ประดิษฐสิ่งที่เขาเรียกวาระบบเงินตราแบบใหม และไดจดสิทธิบัตรไปเรียบรอยแลว มีสิทธิบัตร (patent) คุมครองเรียบรอยแลว ผูกอตั้งบริษัทนี้ชื่อโจล โฮดรอฟ (Joel Hodroff) เขาบอกวาชวง 40 – 50 ปที่ผานมา อเมริกามีเทคโนโลยีท่ีพัฒนาขึ้นมากมายที่ชวยใหใชแรงงานคนนอยลง ใชพลังงานนอยลง และใชตนทุนนอยลง ในขณะที่ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น พูดงายๆ ก็คือผลิตภาพเพิ่มมากขึ้น แตสิ่งเหลานี้ไมไดทําใหคุณภาพชีวิตของคนดีขึ้น หรือคนมีความสุขมากขึ้น เขาตั้งคําถามวาผลิตภาพ (productivity) ที่มากขึ้นนี้ มันหาย

ไปไหน คําตอบของเขาคือ ปญหาในสหรัฐอเมริกาและประเทศในยุโรปหลายประเทศน้ัน เมื่อผลิตสินคาหรือบริการลนเกินตลาด ก็จะมองไมคอยเห็นวามันลน เพราะสิ่งที่ลนมันอยูในรูปแบบอื่นที่ไมใชในรูปของ

HCL BACKUP.indd 113HCL BACKUP.indd 113 1/1/70 9:49:09 AM1/1/70 9:49:09 AM

Page 114: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

114

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สินคาที่จับตองได เชนรายการสะสมไมลของสายการบินตางๆ ถาเราใชบริการสายการบินเขาก็จะใหแตมสะสมไมลเพ่ือใหเราใชบินฟรีในภายหลังได แตในปหน่ึงๆ ก็จะมีคนท่ีไมไดใชแตมสะสมไมลนี้เยอะมาก เนื่องจากวาบริษัททุกบริษัทก็พยายามแขงกัน แขงกันผลิตสินคา แขงกันลดแลกแจกแถม อีกตัวอยางหนึ่งคือรานอาหาร ในทางเศรษฐศาสตรบอกวา รานอาหารที่มีโตะอยู 20 โตะ แตมีคนกินแค 2 โตะ เขาเรียก 18 โตะที่เหลือวาศักยภาพสวนเกินหรือ excess capacity คือรองรับความตองการไดอีก 18 โตะแตคนไมไปกิน ในขณะที่ทางรานก็ยังตองจายเงินใหกับพนักงานเสิรฟ ในมุมมองของโฮดรอฟ เขาก็บอกวาระบบ ตลาดไมไดมีประสิทธิภาพจริงอยางที่เราคิด เพราะถามีประสิทธิภาพจริงจะไมมีอะไรลนเกินแบบนี้ เขามองวาปญหาแบบนี้เกิดจากมีการแขงขันมากเกินไป แนวคิดทางเศรษฐศาสตรบอกวาตองมีการแขงขัน แตถาแขงขันกันมากไปก็ไมดี เชน บริษัทลงทุนมากเกินไปในการประชาสัมพันธสินคา ลดแลกแจกแถมจนทําใหกําไรของแตละบริษัทลดนอยลงไปเร่ือยๆ และพอกําไรนอยลงก็ทําแบบเดิมไปอีกจนกําไรนอยลงไปอีก มันก็จะเกิดสภาวะที่เรียกวา excess capacity ขึ้นมา ทีนี้เขาไดยกตัวอยางหนึ่งคอนขางดีมาก บอกวานวัตกรรมใหมๆ ในธุรกิจที่ผูบริโภคไดประโยชนนั้น หลายกรณีท่ีไมไดเกิดจากการแขงขันมากเกินไป แตเกิดจากความรวมมือกัน เชน กรณีของระบบวีซา ซึ่งเราอาจจะรูจักวาเปนบัตรเครดิต ใชซื้อของ แตวีซาเร่ิมจากระบบตัดบัญชีท่ีหลายธนาคารตกลงใชรวมกัน ในสมัยกอนทุกธนาคารจะมีระบบของตัวเอง ไมใหคนอื่นมาใช อยางถาเราถือบัตรเอทีเอ็มของธนาคารไหนและตองการเงินสดก็ตองไปกดที่ตูของธนาคาร

เจาของบัตร ไมสามารถเอาไปกดท่ีตูธนาคารอ่ืนได

HCL BACKUP.indd 114HCL BACKUP.indd 114 1/1/70 9:49:09 AM1/1/70 9:49:09 AM

Page 115: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

115

สฤณี อาชวานันทกุล

เมื่อระบบธนาคารพัฒนาข้ึนมาถึงจุดหนึ่ง วีซาก็เสนอวาทําไมไมใชบริการจากเขา เขาจะทําระบบ settlement ตัดบัญชีใหกับทุกธนาคาร เพราะเร่ืองน้ีเปนเร่ืองของการปฏิบัติการ เปนสิ่งที่ผูบริโภค ไมจําเปนตองรู สวนธนาคารก็ควรเนนหนาท่ีใหบริการลูกคา และถาทุกธนาคารใชระบบน้ีรวมกันจะทําใหตนทุนของแตละธนาคารถูกลง เพราะแทนท่ีแตละธนาคารจะตองไปพัฒนาและบํารุงรักษาระบบของตัวเอง ก็จายเงินใหวีซาไปพัฒนาแทน จะไดลดปญหาการพัฒนา ซ้ำซอนที่ในภาษาเศรษฐศาสตรเรียกวา การประหยัดจากขนาด (economy of scale) หลังจากน้ันก็ทําใหประชาชนไดประโยชนอีกดวย

เพราะเม่ือตนทุนของธนาคารต่ำลง ธนาคารก็ไมตองแขงขันกันอยางบาเลือดเหมือนแตกอน ทีนี้โฮดรอฟก็บอกวาเรานาจะทําแบบน้ีกับเศรษฐกิจโดยรวมเหมือนกัน คือเรานาจะลองมองอีกมุมหน่ึงวามีอะไร

ที่มา: http://www.dualcurrency.com/files/wpcomplete.pdf

HCL BACKUP.indd 115HCL BACKUP.indd 115 1/1/70 9:49:10 AM1/1/70 9:49:10 AM

Page 116: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

116

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ที่จะรวมมือกันไดบางเพ่ือใหผูบริโภคและระบบเศรษฐกิจไดประโยชน สวนสังคมจะไดประโยชนอยางไรจะอธิบายตอไป เขาบอกวาในเมื่อตอนน้ีมันมี excess capacity ในระบบเศรษฐกิจ เชน แตมสะสมไมลที่ไมไดใช หรืออยางในเมืองไทย ก็เชนบัตรเติมเงินที่ยังใชไมหมด แตบริษัทกลับไมยอมใหแลกคืนเปนเงิน เขาจึงไดคิดระบบซ่ึงจะคํานวณส่ิงที่ไมใชเงินของทุกๆ บริษัทเลย เชน ประเมินวาแตมสะสมไมลหรือบัตรเติมเงินท่ีมูลคายังไมหมดน้ี มันมีมูลคาที่ตีเปนราคาไดเทาไหร ทั้งนี้ เขาไมไดตีคาเปนจํานวนเงนิ แตตีเปนมูลคาในสกุลเงินใหม แลวเขาก็จะเปนผูเก็บมูลคาน้ีไวให แลวในแตละเดือนเขาก็จะจัดใหมีการทําธุรกรรมเกิดขึ้น เพื่อจะโยกยายส่ิงที่เราไมไดใชนี้ไปใหคนอื่น แลกกับสิ่งที่เราตองการจากคนอื่น ยกตัวอยางเชน พอล มีแตมสะสมไมลของสายการบินนอรทเวสตเหลืออยูประมาณ 10,000 ไมล แอน มีชั่วโมงบริการฟตเนสของวายเอ็มซีเอเหลืออยู เพราะจายรายเดือนไปแลว และมีสิทธิใชบริการ 10 ชั่วโมง แตแอนใชไปแค 2 ชั่วโมงเทานั้น เบธ มีคูปองการศึกษาสําหรับนักเรียนเหลืออยูในบัญชีของมหาวิทยาลัยมินเนสโซตา คิดเปนเงิน 200 เหรียญ มารค มีคูปองลดราคาของรานเบอรเกอรคิง ที่ยังไมไดใชอีกหลายใบ คิดเปนเงิน 50 เหรียญ

HCL BACKUP.indd 116HCL BACKUP.indd 116 1/1/70 9:49:11 AM1/1/70 9:49:11 AM

Page 117: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

117

สฤณี อาชวานันทกุล

ถาหากมีระบบแลกเปล่ียนกลาง เบธที่มีคูปองการศึกษา เกิดอยากนั่งเครื่องบินขึ้นมา สวนพอลมีแตมสะสมไมลที่ไมไดใช เกิดอยากไปเรียนหนังสือที่มหาวิทยาลัย พวกเขาก็สามารถแลกเปลี่ยนกันไดเลยโดยไมตองใชเงิน มารคกับแอนก็เชนกัน เพราะตางฝายตางมีสิ่งที่อีกคนหนึ่งตองการอยูแลว นี่มันก็คือระบบแลกเปล่ียนที่ไมไดมีเงินเปนตัวกลาง แตกลับใชส่ิงที่มีมูลคาซึ่งแตละคนมีเหลือใช ซึ่งลวนแตเปนมูลคาลนเกิน เปนตัวกลางสรางประโยชนใหกับทุกฝาย คุณโฮดรอฟเขาจะไปทําสัญญากับบริษัทเอกชน เชน North- west หรือทําสัญญากับรานอาหารที่มีโตะวางอยูตลอดเวลา และทําสัญญาวาทุกคนจะยอมใหขอมูลเขามาอยูในโกดังกลางเสมือนจริง (virtual warehouse) ของเขา เขาจะเปนผูคํานวณวาลูกคาของคนเหลานี้แตละคนจะไดอะไรเปนจํานวนแคไหน และยังไมหยุดอยูแคนั้น

ที่มา: http://www.dualcurrency.com/files/wpcomplete.pdf

HCL BACKUP.indd 117HCL BACKUP.indd 117 1/1/70 9:49:11 AM1/1/70 9:49:11 AM

Page 118: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

118

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เขายังไปทําสัญญากับนายจางดวย อยางท่ีเคยคุยกันไปวาปจจุบันบางบริษัทจะสรางแรงจูงใจใหพนักงานทํา CSR6 โดยใหพนักงานไปทํากิจกรรมเพ่ือสังคม เชน ใหไปสอนหนังสือเด็ก แตบริษัทจะไมไดใหแรงจูงใจเปนเงิน แตอาจจะบอกวาใหชวยบริษัทหนอย หรือไมก็บังคับไปเลย ในสวนของ DualCurrency เม่ือบริษัทเหลานี้ยอมเปนสวนหนึ่งของระบบ เมื่อบริษัทสงพนักงานไปทํากิจกรรมเพื่อสังคมอะไร บริษัท DualCurrency ก็จะใหผลตอบแทนจูงใจพนักงานเปนส่ิงตางๆ ที่มีมูลคาแตไมใชเงิน เชน แตมสะสมไมลหรืออะไรเหลานี้แทน โดยเขาจะแปลงสิ่งที่มีมูลคาทุกอยางใหอยูในรูป Business Dollar เปนเหมือนสกุลเงินใหมอันหนึ่งซึ่งใชแทนมูลคาของส่ิงตางๆ ที่ลนเกินอยูในระบบ ถาเราจะบอกวาเดี๋ยวนี้หาอาสาสมัครที่จะมาทํากิจกรรมเพื่อสังคมยาก เพราะทุกคนก็ยอมอยากไดสิ่งตอบแทน วิธีการน้ีก็จะชวยแกปญหาไดมาก เราก็ใหผลตอบแทนคนเหลานี้เปน Business Dollar เชน มูลคาบัตรเติมเงินหรืออะไรก็ได ก็จะแกปญหาขาดแคลนอาสาสมัครได ทั้งนี้จะเห็นไดวาเปนวิธีการใชประโยชนจากส่ิงท่ีตลาดมีศักยภาพผลิตออกมาจนลนเกินความตองการ นี่คือวิธีคิดหลักๆ ของ DualCurrency ซึ่งเขาก็ไดทําโครงการนํารองไปแลวที่มินเนสโซตา และขอดีคือคุณโฮดรอฟเขาพยายามกําหนดเปาหมายเชิงสังคมกอน เชน นํามูลคาที่วานี้ไปเปนส่ิงจูงใจใหกับอาสาสมัครเพ่ือใหไปทําสาธารณประโยชนตางๆ อีกอยางคือไมมีฝายใดเสียประโยชนเลยเพราะเราใชประโยชนจากศักยภาพท่ีลนเกินอยูแลว บริษัทไดประโยชนเพราะพนักงานมีแรงจูงใจในการทํา CSR ซึ่งสรางภาพ

ลักษณที่ดีใหกับบริษัท พนักงานไดประโยชนเพราะอยางนอยการออกไปทํากิจกรรมเพื่อสังคมตางๆ ก็ไดผลตอบแทน แมวาจะไมไดอยูในรูปตัวเงิน แตก็สามารถนําไปใชประโยชนได ไมตองถูกบังคับเหมือนเกา

HCL BACKUP.indd 118HCL BACKUP.indd 118 1/1/70 9:49:12 AM1/1/70 9:49:12 AM

Page 119: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

119

สฤณี อาชวานันทกุล

สังคมเองก็ไดประโยชนเพราะอยางนอยก็มีคนไปชวยกิจกรรมเพ่ือสังคมมากข้ึน สวนบริษัท DualCurrency จะไดประโยชนเพราะเขาไดคาคอมมิสชั่นจํานวนหน่ึงจากธุรกรรมท่ีเกิดขึ้น ลักษณะเดียวกับวีซาที่ไดคาคอมมิสชั่นทุกคร้ังที่พวกคุณจายเงินซื้อของ จะเห็นไดวา เมื่อไหรที่เราซื้อเงินสด อาจมีขอเสนอลดราคาให 3 เปอรเซ็นต นั่นเปนเพราะวา 3 เปอรเซ็นตเปนสวนท่ีไมตองนําไปจายใหวีซา จึงลดใหได มันก็คือแนวคิดคลายๆ กัน ผูฟง : ผมเคยอานเจอนานมาแลวนะครับวามันมีอะไรที่คลายๆ แบบน้ีแตจําชื่อเรียกไมได เชน แทนท่ีเราจะรอรัฐบาลออกพันธบัตร ทุกคนมีสิทธิ์ออกพันธบัตรของตนเอง หรือ ผมเปดรานซอมมอเตอรไซคแตไมมีคนมาซอมกับผมในชวงนี้ พอผมอยากกินกลวยแขก ผมเลยไปซื้อกลวยแขกแลวก็เซ็นไว รานกลวยแขกก็ไดขายของ ตอมาเมื่อรานกลวยแขกตองการจะมาซอมมอเตอรไซค ผมก็จะซอมใหเปนการตอบแทนโดยไมตองจายเปนเงินกัน สฤณี : ใชคะ อันนี้ก็เปนแนวคิดเดียวกัน อยางเบี้ยกุดชุมก็เปนตัวอยางได ถึงแมวาจะไมคอยเหมือนเพราะมันคือเงินอยางหนึ่งที่ชุมชนตกลงรวมกันวาจะใช แตนี่ก็คือความพยายามในลักษณะที่จะไดไมตองพึ่งพาระบบเงินตราเพียงอยางเดียว แตวายังไมไดเปนระบบอยางจริงจัง มันมีตัวอยางเยอะแยะในหลายชุมชน แตของคุณโฮดรอฟ เขาพยายามที่จะทําใหเปนระบบและนํามาใชกับคนทั้งโลกได ผูฟง : ระบบนี้ดูเหมือนกับผูที่ไดรับประโยชนมากที่สุดคือพวกบริษัท เหมือนเปนโปรโมชั่นหรือกลยุทธสงเสริมการขายของแตละบริษัทอยูแลว เชน สะสมคูปองครบสิบใบแลวนําไปแลกเส้ือยืดไดหรือสิ่งของอื่นๆ ที่มีโลโกของบริษัท มันจะไมยิ่งทําใหเกิดการแขงขันท่ีสูงขึ้น

HCL BACKUP.indd 119HCL BACKUP.indd 119 1/1/70 9:49:12 AM1/1/70 9:49:12 AM

Page 120: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

120

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

หรือคะ สฤณี : อันที่จริงแลว ระบบน้ีคือระบบท่ีอนุญาตใหคนทําการแลกเปล่ียนกันนะคะ ถาถามวาระบบมันทําอะไร ก็คือทําใหบริษัทที่ยังไงก็ออกคูปองหรือมีโปรโมชั่นอยูแลว อยางนอยมีคนมาใชคูปองเหลานั้น ไมใหเสียเปลาไป สวนคําถามท่ีสงสัยวามันจะไมทําใหบริษัทตางๆ ยิ่งโหมโฆษณามากข้ึนอีกหรือ มันก็เปนไปไดนะคะ เพียงแตตองถามวาถาบริษัทโหมโฆษณาหรือแจกคูปองเพิ่มไป ก็ไมมีอะไรจะมาการันตีวาจะมีคนมาใชบริการสินคาของเขามากข้ึนกวาเดิม แลวเขาก็ตองคํานึงถึงตนทุนที่เพิ่มขึ้นดวยใชมั้ยคะ เพราะทุกอยางที่ทํายอมตองเสียตนทุน หลักๆ คือระบบนี้เปนความพยายามที่จะกําจัดสวนเกินที่ไดลงทุนไปแลว เสียคาใชจายไปแลวมากกวา เชน โปรแกรมสะสมไมลมันออกมาแลว บัตรเติมเงินก็ออกมาแลว แตลูกคาไมไดใชหรือใชไมหมดเอง ในแงของบริษัทตนทุนพวกนี้มันเปนคาใชจายไปหมดแลว เพียงแตวารายไดมันไดกลับมาไมเต็มมากกวา ผูฟง : ในประเทศไทยจะนํามาประยุกตใชไดอยางไรบาง เพราะเราไมรูวาสวนเกินนี้เปนจํานวนเทาไหร ตองทําวิจัยหรือไม สฤณี : โดยปกติแลวตัวบริษัทเองเขาจะมีระบบการวัดของเขาอยูแลว เพราะเขาก็ไมอยากใหมันเกิดปญหาขึ้นมา อยางในเมืองไทยเทาที่เห็นตอนนี้คือเครือขายจิตอาสา ซึ่งเขารับบริจาคบัตรเติมเงินที่ไมไดใช ผูฟง : แลวอยางโครงการของการบินไทยที่โฆษณาวาใหเราคืนไมลสะสมท่ีไมไดใช แลวเขาจะเอาไปตีเปนเงินแลวเอาไปชวยคนอื่นละคะ สฤณี : อันนี้ก็เปนลักษณะเดียวกันคะ เพียงแตเราตองเชื่อไดวาการ

HCL BACKUP.indd 120HCL BACKUP.indd 120 1/1/70 9:49:13 AM1/1/70 9:49:13 AM

Page 121: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

121

สฤณี อาชวานันทกุล

บินไทยเขาจะนําไปใชประโยชนในแนวทางที่เราเห็นดวย คือโดยทั่วไปแลวมันเปนแบบบนลงลางตลอดเลย ในขณะท่ีระบบอยางน้ีมันก็คอนขางจะเสรีกวาเพราะตรงกับจุดประสงคของเราเลย ผูฟง : แลวในกรณีที่บัตรหมดอายุละคะ สฤณี : เขาก็มีวิธีคิดคํานวณ ใชเทคนิคแปลงทุกอยางใหเปนมูลคาออกมาไดคะ ซึ่งแลวแตมุมมองของบริษัทที่เขาไปทําสัญญาดวยวาจะตัดบัญชีกันยังไงนะคะ ผูฟง : ถาระบบมันเปนอยางนี้ คนก็จะเขามาอยูในระบบที่มีคนกลางจัดการให แลวบริษัทเล็กๆ ที่ไมสามารถเขาหรือไมคิดจะเขาสูระบบนี้จะอยูกันไดอยางไรคะ สฤณี : คือระบบน้ีมันชวยกําจัดสวนเกิน สําหรับบริษัทเล็กๆ ถาเขาเชื่อวาธุรกิจของเขามันไปไดดีอยูแลว เขาก็ไมจําเปนตองมีโปรโมช่ันลดแลกแจกแถมอยูแลว ผูฟง : ผูบริโภคก็จะถูกปนพฤติกรรมการบริโภคไปอีกแบบหน่ึง ก็คือถาไมมีลดแลกแจกแถม ก็ไมอยากจะอุดหนุน ไมอยากจะซื้อ แลวมันจะมีผลกระทบตอบริษัทเล็กๆ ที่ไมสามารถลดแลกแจกแถมและเขาสูระบบตัวกลางอยางนี้ไดหรือเปลา สฤณี : คือ หน่ึงในคําโฆษณาระบบของเขาคือ มัน scale ได ดังนั้นสิ่งที่ยากที่สุดและใชเงินมากท่ีสุดก็คือการพัฒนาระบบ ทีนี้ถาระบบมั่นคงแลวก็ไมนาเปนเร่ืองยากท่ีบริษัทเล็กๆ จะสามารถเขามาตรงน้ีได จริงๆ แลวที่อาจารยถามมีสองประเด็นนะคะ คือ บรษิัทเล็กบริษัทนอย

HCL BACKUP.indd 121HCL BACKUP.indd 121 1/1/70 9:49:14 AM1/1/70 9:49:14 AM

Page 122: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

122

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

จะเขามาไดไหม และจะทําใหผูบริโภคมีพฤติกรรมบริโภคแตสินคาหรือบริการที่มีการลดแลกแจกแถมหรือไม ประเด็นแรก ขอยกตัวอยางระบบการรับเครดิตการดผานทางเว็บไซตที่เคยคิดกันวาเปนไปไดยากเพราะใชตนทุนสูง แต Paypal (http://www.paypal.com/) ก็พิสูจนใหเห็นแลววาเมื่อเราพัฒนาระบบไดดีแลว ทุกคนก็สามารถเขามาใชระบบไดโดยที่ตนทุนตอหนวยต่ำมาก ทําใหสามารถเขาถึงบริษัทเล็กๆ ที่อยูปลายแถว ที่ในภาษาธุรกิจเรียกวา long tail ได สวนเร่ืองที่วาผูบริโภคจะหันมาบริโภคแตสินคาท่ีมีการลดแลกแจกแถมหรือไม อันนี้ก็ไมแนใจนะคะ คือสมมติวาเรามีไมลสะสมหรือคูปองท่ีไมไดใช เราก็อาจมีหลายเหตุผลท่ีไมไดใชมัน และระบบน้ีมันทําใหเราสามารถเอาสิ่งที่เราไมไดใชไปแลกกับคนที่ตองการใชมันจริงๆ ได แตวาระบบนี้จะทําใหความตองการใชเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นไดหรือไมนี้ไมแนใจนะคะ มันเปนการจัดการใหเกิดการแลกเปลี่ยนมากกวาคะ ผูฟง : คืออันนี้มันแกปญหาของผลิตภัณฑที่ไมไดใช แตไมไดแกปญหาการแขงขันกันมากเกินไป ไมไดแกปญหา excess productivity หรืออะไรแบบนี้ สฤณี : มันไมไดทําใหลดการผลิตลงคะ แตทําใหสิ่งที่เคยผลิตออกมาแลวแตยังไมไดใช ถูกนํามาใชมากขึ้น ความหวังของระบบนี้คืออยางนอยการที่ยอมมาเปนสวนหนึ่งของระบบ มันเปนการแสดงความจริงใจวาจะรวมมือกับคนอื่น เชน Northwest ก็ยอมวาไมลสะสมของเขาจะกลายมาเปนแฮมเบอรเกอรของเบอรเกอรคิงได แลวถามีคนใชคูปองพวกนี้แลวบริษัทอาจจะมีกําไรดีขึ้น ทําใหการแขงขันไมรุนแรงเหมือนแตกอนซ่ึงคอนขางเปนความหวังในอุดมคตินะคะ แตเขามอง

HCL BACKUP.indd 122HCL BACKUP.indd 122 1/1/70 9:49:15 AM1/1/70 9:49:15 AM

Page 123: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

123

สฤณี อาชวานันทกุล

ปญหาตอนน้ีวามีการแขงขันกันผลิตมากเกินไปโดยไมสนใจวาคนจะบริโภคหรือไม ผูผลิตไมหันมารวมมือกันเลยและสงผลใหแตละบริษัทก็ไดกําไรนอยลงเร่ือยๆ เพราะฉะน้ันนี่ถือวาไดไปกระตุนใหคนใชผลผลิตสวนเกินเหลานี้ ผูฟง : Northwest ก็คงไมมีวันจะไปแขงกับแฮมเบอรเกอร แตตองแขงกับสายการบินอื่นๆ ตอไปเรื่อยๆ ใชไหมครับ สฤณี : ใชคะ แตพอเขาคิดวาเมื่อทุกคนมีความสุขเพิ่มมากขึ้นและ excess capacity หายไปก็นาจะทําใหอะไรๆ ดีขึ้น ก็ไมรูวาจริงไหมเพราะตองแลวแตบริษัทดวย ผูฟง : ระบบใหมนี้คอนขางจะเปนดิจิตอลมาก แลวคนท่ีเปนอนาล็อกจะทํายังไง ยกตัวอยางงายๆ เวลาเราจะไปเชารถ บริษัทเขาก็มีเงื่อนไขวาตองใชบัตรเครดิตเทานั้น แตเราก็ไมอยากใชบัตรเครดิต อยากจะใชเงินสด แตทําไมเขาถึงไมรับ ซึ่งปจจุบันนี้ยังมีคนที่เปน อนาล็อกอยูคร่ึงคอนโลก ถาเรานําระบบนี้มาใชก็เทากับวาตัดคน เหลานี้ออกไปเลยรึเปลาคะ สฤณี : ในความเปนจริงแลวบริษัทนาจะรับเงินสดอยูแลวนะคะ เพราะบัตรเครดิตกวาจะตัดเงินไดตองชาไปอีกประมาณ 3 วัน บริษัทนั้นอาจไมคอยฉลาดเทาไหรหรือไมก็มีเหตุผลอยางอื่น แตในฐานะผูบริโภคเราไมจําเปนตองรูวาระบบเหลาน้ีทํางานอยางไร เปนดิจิตอลแคไหน อยางวีซาเราก็ไมเคยรูวาเขาตัดระบบ settlement กันอยางไร เรารูแตวาถาเราถือบัตรเอทีเอ็มธนาคารกสิกร เราก็สามารถไปกดเงินจากตู เอทีเอ็มจากธนาคารอะไรก็ได ถาเรานําระบบนี้มาใชเราก็จะรูเลยวาตอนน้ีมีเงินในบัญชีเหลือกี่บาท มี Business Dollar หรือ Business

HCL BACKUP.indd 123HCL BACKUP.indd 123 1/1/70 9:49:15 AM1/1/70 9:49:15 AM

Page 124: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

124

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

Baht เหลืออยูเทาไหร ผูฟง : บริษัทเชารถอาจจะไมไดโง เพียงแตเปนเรื่องของการตรวจสอบขอมูลหรือเปลาวาถาคุณเอารถไปแลวไปกอความเสียหายอะไร ถาใชบัตรเครดิตก็จะมีฐานขอมูล ซึ่งเขาจะตามไดหมด แลวอยางต๋ัวเครื่อง-บินเดี๋ยวนี้ก็ใชบัตรเครดิตจองผานทางอินเทอรเน็ต สฤณี : แตถาเปนอยางน้ันแสดงวาบริษัทบัตรเครดิตตองขายขอมูลนั้น ใหกับบริษัทรถอีกทีหนึ่ง ไมเชนนั้นบริษัทรถคงไมมีขอมูลไปทําอะไร กรณีนี้ตอบยาก แลวมันก็จริงอยูที่การพัฒนาเครื่องมือตางๆ เหมือนกดดันใหทุกคนตองเปนดิจิตอล แตไมไดเกิดจากตัวระบบ Dual- Currency ถาเร่ืองระบบน้ี กลไกของมันไมไดออกแบบมาเพ่ือทําใหสินคาราคาถูกลง เพียงแตนาจะสามารถระบาย excess capacity ตางๆ ที่เกิดขึ้นได แลวทําใหบริษัทมีผลประกอบการท่ีดีขึ้น แคตองการทํายังไงใหเกิดการแลกเปลี่ยนมูลคาของสิ่งที่มันไมไดสามารถแลกเปลี่ยนกันไดมากอน โดยไมสนใจวาซื้อมาจากไหนและอยางไร จะผานอินเทอรเน็ตหรือไมผานคะ

HCL BACKUP.indd 124HCL BACKUP.indd 124 1/1/70 9:49:16 AM1/1/70 9:49:16 AM

Page 125: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

125

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 125HCL BACKUP.indd 125 1/1/70 9:49:17 AM1/1/70 9:49:17 AM

Page 126: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

126

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

3) บริษัท Benetech

HCL BACKUP.indd 126HCL BACKUP.indd 126 1/1/70 9:49:17 AM1/1/70 9:49:17 AM

Page 127: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

127

สฤณี อาชวานันทกุล

ตัวอยางถัดไปเปนธุรกิจเพ่ือสังคมช่ือ Benetech กอตั้งโดย จิม ฟรุคเตอรแมน (Jim Fruchterman) ที่จบมาทางดานวิศวกรรมคอมพิวเตอร โดยเขาเร่ิมตนจากการผลิตเคร่ืองสแกนหนังสือเพ่ือคนตาบอด ซึ่งเปนเครื่องที่สแกนตัวหนังสือใหเปนไฟลเสียง แทนที่จะตองหาคนเพ่ือมาอานหนังสือใหคนตาบอด ก็สามารถใชเคร่ืองน้ีแปลงออกมาเปนเสียงไดเลย เคร่ืองสแกนหนังสือนี้สามารถสแกนเสียงไดกวา 12 ภาษา แลวเขาก็ขายไปไดแลวในกวา 60 ประเทศ มีลูกคา 35,000 ราย ซึ่งรวมทั้งหองสมุดดวย ดังนั้นคนที่ไดประโยชนจริงๆ อาจมีเปนแสนราย เขานำรายไดจากตรงน้ีประมาณ 110 ลานบาท มาตั้งบริษัท Benetech ตั้งมาไดไมถึง 10 ป เขาคิดวาทํายังไงถึงจะเอากําไรจากการขายเคร่ืองสแกนมาทําธุรกิจเพ่ือสังคมได ดังนั้นเขาจึงเร่ิมตั้งเว็บไซต bookshare.org ทําหนาที่เผยแพรไฟลเสียงของหนังสือตางๆ ที่สแกนผานเคร่ืองสแกนของเขา ใหคนดาวนโหลดได ซึ่งตอนนี้ก็กลาย

HCL BACKUP.indd 127HCL BACKUP.indd 127 1/1/70 9:49:17 AM1/1/70 9:49:17 AM

Page 128: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

128

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เปนศูนยรวมหนังสือดิจิตอลท่ีใหญที่สุดในโลกแลว มีหนังสือประมาณ 32,850 เลม และวารสารอ่ืนๆ อีกประมาณ 50 ฉบับ นอกจากนั้นยังมีคนมาเพิ่มเรื่องใหมๆ เขาไปอยูเรื่อยๆ ทั้งหมดนี้ใหคนดาวนโหลดไดฟรีไมวาจะเปนไฟลเสียงหรือเอกสารที่เปนตัวอักษรธรรมดาหรืออักษรเบรลลก็ได แลวเว็บไซตเขาก็มีอาสาสมัครซ่ึงสวนใหญเปนคนตาบอดที่ใชเครื่องสแกนน้ีแลวประทับใจ อาสาสมัครเหลานี้มาชวยสแกนหนังสือและอัพโหลดลงเว็บไซต และจะมีเร่ืองราวของอาสาสมัครมาเขียนเลาในเว็บไซตใหอาน เชน มีอาสาสมัครคนตาบอดบางคน ที่ใชเวลาวันละช่ัวโมง เพื่อที่จะสแกนหนังสือลงในบุคแชร ตอนนี้ทํามา 10 ป ก็สแกนไป 3 พันกวาเลมแลว เปนตน นี่ก็เปนตัวอยางของการใชประโยชนจากอินเทอรเน็ต อาจจะทําวันละนิด แตเม่ือเวลาผานไปก็ถือวาไดผลงานที่นาทึ่งเหมือนกัน เม่ือไปดูที่โมเดลธุรกิจของเขาจะพบวา เนื่องจาก Benetech เปนบริษัทเก่ียวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร เขาจึงพยายามทําโครงการเพื่อสังคมที่เก่ียวเนื่องกับเทคโนโลยีดวย โดยเขาจะใหการอุดหนุนแนวความคิดดีๆ ที่มีประโยชนและเขากันไดกับนโยบายของ Benetech โดยเปดรับความคิดเห็นจากคนท่ัวโลก แลวมีกระบวนการคัดเลือกจากคณะกรรมการ ซึ่งเขาเรียกโมเดลน้ีวาเปนการประสานระหวางความตองการของสังคมของเทคโนโลยีแลวก็ความยั่งยืนเปนสิ่งที่ Benetech ถือวาเปนการตอบแทนใหกับมนุษยชาติ

HCL BACKUP.indd 128HCL BACKUP.indd 128 1/1/70 9:49:18 AM1/1/70 9:49:18 AM

Page 129: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

129

สฤณี อาชวานันทกุล

นอกเหนือจาก bookshare.org แลว เขายังไดไปเปดเว็บไซตชื่อ Route66 ซึ่งเปนเว็บไซตสอนภาษาอังกฤษใหกับคนทั่วโลก เพราะยังมีคนมากมายท่ีอานเขียนภาษาอังกฤษไมได แลวการเรียนการสอน

ที่ใชสื่อปกติ เชน พวกหนังสือ อาจทําใหเรียนรูไดชา แตหากใชวิธีสอนกันตัวตอตัวก็ตองใชทรัพยากรมากเกินไป ดังนั้นเว็บไซตนี้จึงใชสื่อการสอนแนวใหมท่ีทําใหผูสนใจภาษาอังกฤษเขาใจไดงายขึ้น และมีสิ่ง

ที่มา: http://www.benetech.org/about/business_model.shtml

HCL BACKUP.indd 129HCL BACKUP.indd 129 1/1/70 9:49:18 AM1/1/70 9:49:18 AM

Page 130: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

130

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เชื่อมโยงกันระหวางผูสอนและผูเรียน คือผูเรียนสามารถอัดไฟลเขาไปและผูสอนจะคอมเมนตใหวาเปนอยางไรบาง มันก็เปนความพยายามของเขาที่จะสอนหนังสือ ซึ่งงายโดยเฉพาะสําหรับคนแกที่ยังไมรูหนังสือ ฉะนั้นทุกอยางก็จะอานงาย

HCL BACKUP.indd 130HCL BACKUP.indd 130 1/1/70 9:49:20 AM1/1/70 9:49:20 AM

Page 131: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

131

สฤณี อาชวานันทกุล

อีกโครงการหน่ึงของเขาเปนระบบท่ีเรียกวา Martus เปนระบบซอฟตแวรและฮารดแวรรวมกันที่ชวยเอ็นจีโอดานสิทธิมนุษย-ชนเก็บขอมูล เพ่ือนําไปจัดระเบียบและเผยแพรขอมูลเก่ียวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนไปยังคนทั่วโลก โดยจะมีเซิรฟเวอร (server) กลางที่ทุกคนเขาไปใชได สวนหนาเว็บไซตก็จะใหคนเขาไปใสขอมูลได พูดงายๆ คือเหมือนเว็บไซตของกรมตํารวจ ที่เมื่อตองการจับคนรายก็จะประกาศผานเว็บไซตสงขอมูลไปถึงสถานีตํารวจทุกแหง ตํารวจทุกคนที่อยูในระบบก็จะทราบเหมือนกันหมดวาตอนนี้ตองการตัวใครบาง สําหรับระบบนี้เอ็นจีโอทั่วโลกก็จะใชระบบคอมพิวเตอร (platform) เดียวกันในการแชรขอมูลและติดตามการเคล่ือนไหวของการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่สําคัญคือไมตองเสียเงินคาเว็บไซตและคาเซิรฟเวอรเพราะทาง Benetech ใชเซิรฟเวอรของเขาเอง และดวยความท่ีมันเปนเซิรฟเวอรกลางจึงไมมีขออางทางกฎหมายใดๆ มาส่ังปดได ไมเหมือนกระทรวงไอซีทีของไทย ที่สั่งปดเว็บไซตตางๆ ได หนึ่งในคุณสมบัติที่ทําใหซอฟตแวรนี้ดีมาก คือมันเปนโอเพนซอรส (Open Source) จึงทําใหระบบมีการพัฒนาแกไขใหดีขึ้นไปเรื่อยๆ ซึ่งตอนนี้มีใชแลวใน 13 ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย แตไมแนใจวามีองคกรไหนบางที่ใชอยู ที่พูดมาน้ีเปนโครงการหลักๆ ที่ Benetech ทําและประสบความสําเร็จอยางดี นอกจากนั้นเขายังมีโครงการที่อยูในแผนอีกมากมาย เชน โครงการคิดคนระบบตรวจจับกับระเบิดแบบใหม เพราะเขาเล็งเห็นวาปจจุบันปญหากับระเบิดยังทําใหคนในแถบประเทศกําลังพัฒนาเสียชีวิตกันอยูเรื่อยๆ ระบบน้ีเปนระบบท่ีใชคอมพิวเตอรเขามาชวยตรวจจับกับระเบิด และจะผลิตในราคาถูกเพื่อใหทุกประเทศ สามารถนําไปใชได ถาใครเขาไปในเว็บไซตของ Benetech จะเห็นลิงคไปยัง

HCL BACKUP.indd 131HCL BACKUP.indd 131 1/1/70 9:49:21 AM1/1/70 9:49:21 AM

Page 132: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

132

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ปาฐกถาของฟรุคเตอรแมน ซึ่งเขาเปนคนท่ีพูดเกงมาก ไมเพียงแตเฉพาะเร่ืองของ Benetech และยังเปนคนท่ีคิดคนโมเดลใหมๆ เกี่ยวกับแนวคิดดานเอ็นจีโออยูเสมออีกดวย ที่จริง ในเอกสารช่ือ “Nothing Ventured, Nothing Gained”7

มีไอเดียของฟรุคเตอรแมนอยูในนั่นดวย คือ เขาเสนอวาปจจุบันในโลกของการเงินไมไดมีแคหุนกับทุนอีกตอไป แตมันมีอะไรมากกวาน้ันอีกมาก วิธีหนึ่งที่จะใชประโยชนจากภาคการเงินมาชวยเอ็นจีโอ ไดมากก็คือ แทนท่ีจะสนับสนุนเงินทุนใหเอ็นจีโอ ซึ่งจะติดกฎหมายเก่ียวกับมูลนิธิ ก็ใหเปนเงินกูที่มีระยะเวลานานมากๆ แทน แลว ดอกเบี้ยก็ไมตองจายเรื่อยๆ แตใหจายทีเดียว ในอีก 10 ปขางหนา หรือแลวแตระยะเวลาที่ตกลงกัน เขาผลักดันใหมีการใชเคร่ืองมือเหลานี้ เพราะคนพบวา กฎหมายของอเมริการะบุใหธนาคารที่ปลอยเงินกูในลักษณะน้ี ไดสิทธิพิเศษไมตองกันสํารองในจํานวนมากเทาเดิม เพราะฉะนั้นถาภาครัฐบาลมีความจริงใจที่จะชวยเหลือสังคมและภาคธนาคารเขาใจในจุดประสงคของภาครัฐ ก็จะชวยทําใหสังคมดีขึ้นได ผูฟง : Benetech จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยหรือเปลาคะ สฤณี : ตัว Benetech จดทะเบียนเปนมูลนิธิ โดยเงินทุนสวนใหญมาจากบริษัทของฟรุคเตอรแมนท่ีไดกําไรจากการขายเคร่ืองสแกนคะ องคกรเพ่ือสังคมแหงแรกที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยอาจจะเปนธนาคารกรามีน (Grameen Bank) มีหลายคนคิดกันเลนๆ วาถา Benetech มาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแลวจะเปนอยางไร

HCL BACKUP.indd 132HCL BACKUP.indd 132 1/1/70 9:49:22 AM1/1/70 9:49:22 AM

Page 133: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

133

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 133HCL BACKUP.indd 133 1/1/70 9:49:22 AM1/1/70 9:49:22 AM

Page 134: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

134

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

4) โครงการ Campfire ในประเทศซิมบับเว

HCL BACKUP.indd 134HCL BACKUP.indd 134 1/1/70 9:49:22 AM1/1/70 9:49:22 AM

Page 135: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

135

สฤณี อาชวานันทกุล

เรื่องตอไปเปนเร่ืองโครงการช่ือ แคมปไฟเออร (CAMPFIRE) ขอออกตัวกอนวาไมคอยเชี่ยวชาญเรื่องนี้มากนักถาเปรียบเทียบกับเรื่องอื่นๆ ที่ไดพูดไปแลว ดังนั้นถาใครมีความรูเรื่องสิทธิชุมชมหรือกฎหมายเชิงเดี่ยว กฎหมายเชิงซอน แลวชวยพูดก็จะยินดีมาก ถึงแมวาไดพยายามอานงานของอาจารยอานันท กาญจนพันธ เรื่อง “วัฒนธรรมทางเศรษฐกิจ” ในเศรษฐกิจไรวัฒนธรรม (“Economic Culture” In An Un-Cultured Economy) ซึ่งทานก็เขียนอธิบายไวมากเกี่ยวกับสิทธิชุมชนและกฎหมายเชิงเดี่ยววามันไมดีอยางไร แตก็ ไมแนใจวาสรุปออกมาไดดีรึเปลา กอนอื่นจะขอเกริ่นเกี่ยวกับเรื่องซิมบับเว ซึ่งเปนประเทศในทวีปแอฟริกา รายไดสวนใหญมาจากการใหนักลาสัตวเขาไปลาสัตว เพราะประเทศของเขายังมีสัตวปาหายากอยูเปนจํานวนมากและสภาพปายังอุดมสมบูรณ ในซิมบับเวมีประชากร 5 ลานกวาคน ซึ่งกวาคร่ึง

HCL BACKUP.indd 135HCL BACKUP.indd 135 1/1/70 9:49:23 AM1/1/70 9:49:23 AM

Page 136: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

136

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ของประเทศอยูในพื้นที่ชุมชนหรือ communal land ที่อยูกันมาตั้งแตดั้งเดิม โดยไมมีโฉนดหรือเอกสารสิทธิ์ ซึ่งที่ผานมาก็มีปจจัยหลายอยางท่ีทําใหประชาชนท่ีอยูในพ้ืนที่เหลาน้ีสามารถบริหารจัดการทรัพยากรไดในระดับหนึ่ง เน่ืองจากโดยวัฒนธรรมของเขาจะอยูกันเปนเผา แตละเผาจะมีโทเท็ม (totem) ซึ่งก็คือไมแกะสลักที่มีหัวเปนรูปสัตว ที่มีรูปสัตวคนละชนิดกัน และแตละเผาจะไมลาสัตวที่เปนสัญลักษณของเผาตนเอง เพราะถือวาฟาดินจะลงโทษ สิ่งนี้เปนอํานาจในเชิงวัฒนธรรมที่มีพลังมาก ทําใหประเทศซิมบับเวคอนขางมีความสมดุลเร่ืองสายพันธุสัตวปาและจํานวนสัตวปา

HCL BACKUP.indd 136HCL BACKUP.indd 136 1/1/70 9:49:23 AM1/1/70 9:49:23 AM

Page 137: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

137

สฤณี อาชวานันทกุล

จนกระทั่งเมื่อประมาณ 20 ปที่แลว ซิมบับเวก็เริ่มกลัววาสัตวปาของตนเองจะสูญพันธุ เลยทําคลายๆ กับอีกหลายๆ ประเทศคือ จัดพื้นท่ีอุทยานแหงชาติขึ้นมา ซึ่งขณะน้ีมีประมาณ 12 เปอรเซ็นตของประเทศ โดยหามลาสัตวหรือเก็บของปาในบริเวณนี้ แตพื้นที่อุทยานบางสวนก็ไปทับซอนกบัพื้นที่ชุมชนดั้งเดิมที่มีประชาชนอาศัยอยู คนที่อยูในชุมชนก็ไมสามารถลาสัตวได ทําใหเกิดปญหาสัตวปามากเกินไป ไมสมดุลเหมือนแตกอนแลว อยางเชนในป 1900 มีชางอยู 4,000 เชือก แตพอป 1990 มีถึง 64,000 เชือกทีเดียว และบางครั้งชางก็ไปทําลายเหยียบย่ำพืชผลของชาวบานทําใหเกิดความเสียหาย แตชาวบานก็ไมสามารถทําอะไรไดเนื่องจากการฆาชางเปนเรื่องผิดกฎหมาย อีกทั้งยังมีปญหาดานสายพันธุ เนื่องจากสัตวในครอบครัวเดียวกันผสมพันธุกันเองทําใหลูกหลานท่ีเกิดมาดอยกวารุนพอแม ดวยเหตุเหลานี้ทําใหเกิดความขัดแยงท่ีคอนขางรุนแรงระหวางชาวบานและรัฐบาล ทําใหชาวบานรูสึกวาสัตวปาเหลาน้ันไมใชทรัพยากรของเขาแตเปนส่ิงที่นารําคาญและกอความเสียหาย รัฐบาลแอฟริกันจึงไดริ เริ่มโครงการ Communal Area Management Program for Indigenous Resource หรือ CAMPFIRE ขึ้นเมื่อ 20 กวาปที่แลว ประมาณป 1980 ใครที่คิดวาคนแอฟริกาดอย พัฒนาคิดอะไรเองไมเปน ก็อยากบอกวาโครงการนี้เปนโครงการที่ ประสบความสําเร็จมาก ขนาดท่ีธนาคารโลกและคนอ่ืนๆ ตองขอไปศึกษา โครงการน้ีเขาพยายามจะทําใหเกิดสมดุลระหวางสัตวปาและชุมชน เขามีแนวคิดวาสิ่งเหลานี้จะเกิดขึ้นไมได ถาหากชาวบานไมมีสวนไดสวนเสียหรือไมไดอะไรเลยจากการทําพ้ืนที่อุทยานแหงชาติ เปาหมายหลักของเขาขอหนึ่งคือใหชาวบานไดมีสิทธิ์ในการบริหารจัดการพ้ืนที่ชุมชนของเขาเอง บริหารจัดการระบบนิเวศนดวยตัวเอง

HCL BACKUP.indd 137HCL BACKUP.indd 137 1/1/70 9:49:25 AM1/1/70 9:49:25 AM

Page 138: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

138

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

พยายามทําใหชาวบานมองวาสัตวสงวนเปนทรัพยากรของเขา ไมไดเปนตัวนารําคาญ เขาจึงใหสิทธิ์ชาวบานบริหารจัดการพื้นที่ที่อยูในเขตอุทยานดวย เพราะระบบจริงๆ ไมไดแบงแยกวาพื้นที่บริเวณน้ีจะตองเปนของใครเพราะมันเปนพ้ืนที่นิเวศบริเวณเดียวกัน โดยรัฐบาลไดใหสิทธิ์ชาวบานไปบริหารจัดการภายในกรอบท่ีไดตกลงกันไว เชน ปญหาชางเยอะเกินไป เขาก็แกดวยการสัมปทานใหนักทองเที่ยวเขาไปลาสัตวปาได แตทั้งนี้ตองอยูภายใตการดูแลอยางเขมงวด คือตองมีชาวซิมบับเวไปลาสัตวกับนักทองเที่ยวดวยเพ่ือดูแลไมใหระบบนิเวศนถูกทําลายจนเสียสมดุล โครงการดังกลาวนี้ทํารายไดใหแกชาวบาน ซึ่งรายได 90 เปอรเซ็นตของชาวบานก็มาจากการใหสัมปทานนี้

ปจจุบันการทองเที่ยวแบบนี้ก็เปนที่ยอมรับกันกวางขวางเพราะถือวาเปน eco-tourism หรือการทองเที่ยวเชิงนิเวศแหงแรกๆ

HCL BACKUP.indd 138HCL BACKUP.indd 138 1/1/70 9:49:26 AM1/1/70 9:49:26 AM

Page 139: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

139

สฤณี อาชวานันทกุล

ของโลก ที่ทําไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะการทองเที่ยวแบบนี้ ไมตองลงทุนสรางโรงแรมหาดาวใหนักทองเที่ยว คนที่ตองการลาสัตวเขาเอาอุปกรณมาเอง ไมสรางตนทุนใหกับชาวบาน อีกทั้งการ เปล่ียนแปลงท่ีจะเกิดข้ึนก็มีโอกาสนอยมาก นอกจากชางจะตายไป

ตามจํานวนที่ไดตกลงกันไวเร็วกวาที่คาดการณ นอกจากการสัมปทานลาสัตวแลวยังมีการขายสัตวปาและของปาตามโควตาที่ตกลงกันไวแลวระหวางชาวบานกับรัฐบาล ซึ่งการทองเที่ยวแบบใหคนไปลาสัตวนี้จะแตกตางจากการทองเท่ียวแบบเดิม อยางเชน ถาเราตองการไปดูซาฟารี เราก็จองทัวรของบริษัททัวรไทยแลวไปท่ีแอฟริกา ชาวแอฟ- ริกันก็แทบจะไมไดอะไรเลยเพราะคนท่ีไดคือบริษัททัวรไทย CAMPFIRE ซึ่งประกอบดวยเจาหนาท่ีจากศูนยกลางหรือ เจาหนาที่รักษาพันธุปาจากทองถิ่น เขาก็มาชวยกันคิดวาจะนําเงิน รายไดที่ชาวบานแบงให 20 เปอรเซ็นต จากรายไดแตละคร้ังของพวกเขาไปทําอะไรบาง CAMPFIRE นําเงินสวนหน่ึงไปจัดโปรแกรมทอง-เที่ยวเชิงนิเวศ ใหชาวบานเปนไกดพานักทองเท่ียวไปดูนก ทัวรน้ำพุรอนหรือสํารวจถ้ำใหมๆ และชาวบานก็ไดรับเงินโดยตรงในฐานะไกด ในที่สุดก็อนุญาตใหขายชิ้นสวนของสัตวที่ลมไดใหแกนักทองเที่ยวดวย วิธีจัดการคือใหแตละหมูบานจัดต้ัง Wildlife Committee ขึ้นมาเหมือนกับเปนสภาชาวบานที่เก่ียวของกับสัตวปา คณะกรรมการน้ีก็มีหนาที่นับจํานวนสัตวแตละประเภทในพื้นที่ของตนวามีจํานวน เทาไหร เพศอะไรบางเพื่อเก็บเปนฐานขอมูล และชวยรัฐดูแลไมใหมีคนมาลักลอบฆาสัตว ในขณะเดียวกันทางภาครัฐจะจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ (workshop) เพื่อใหความรูกับชาวบานเหลานี้ดวย ในแตละปคณะ

กรรมการก็จะมาตกลงกันวาในปนี้จะใหโควตาลาสัตวแตละประเภทเปนจํานวนเทาไหร โดยพิจารณาจากศักยภาพแตละปวามีการเปล่ียนแปลงไปมากนอยแคไหน โครงการน้ียังไดรับความชวยเหลือ

HCL BACKUP.indd 139HCL BACKUP.indd 139 1/1/70 9:49:27 AM1/1/70 9:49:27 AM

Page 140: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

140

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

จาก World Wildlife Fund ดวย เพราะ World Wildlife Fund จะมีภาพถายทางดาวเทียมและเฮลิคอปเตอรซ่ึงเปนประโยชนอยางมากในการนับจํานวนสัตวในพื้นที่ เพ่ือใหแนใจวาจะไดรับความรวมมือจากบริษัททัวรทองถ่ิน เขาออกมาเปนกฎวาเจาของบริษัททัวรแตละบริษัทตองย่ืนขออนุมัติสัมปทานการลาสัตวเปนรายๆ ไป และบริษัทนั้นๆ จะตองสงขอมูลอยางละเอียดเปนหลักฐานวาปที่ผานมาไดลาอะไรไปแลวบาง ตรงตามที่ตกลงกันไวหรือไม ไมใชวาขอสัมปทานลาชางแตกลับไปลาควายแทน แสดงใหเห็นวาเขาก็มีกระบวนการตรวจสอบท่ีคอนขางรัดกุมพอสมควร สวนการใชเงินรายไดจากสวนนี้เขาจะมีสภามณฑลเรียกวา District Council ซึ่งมาจากการเลือกต้ัง ถาเปรียบเทียบกับในประเทศไทยอาจจะเปนระดับตําบล สภานี้จะเปนผูเก็บรายไดจากโครงการนี้ทั้งหมดโดยไมไดสงใหกับรัฐบาลเลย และรายได 80 เปอรเซ็นต จะคืนไปใหชาวบานในพื้นที่โครงการ อีก 20 เปอรเซ็นต ที่เหลือทางสภาฯ ก็จะเก็บไวเปนคาใชจายในการจัดทัวรและฝกอบรมเจาหนาที่ ภายหลังจากการกอตั้งโครงการเม่ือตนป 1990 เพียงปเดียวก็มีมณฑล 26 แหงเขารวม และมีรายไดถึง 1.4 ลานเหรียญ ซึ่งสําหรับประเทศซิมบับเวแลวถือวาสูงมาก ถาเทียบเปนเงินไทยก็เกือบ 40 ลานบาท คนที่มีสวนรวมกับโครงการนี้โดยประมาณแลวมีจํานวนถึง 250,000 คนทีเดียว ปไหนท่ีรายไดดีมากๆ เขาก็จะเอาไปพัฒนาชุมชน สรางบอบาดาล สรางโรงเรียน ซื้อส่ือการเรียนการสอน จางไกดทัวรเพิ่มถาไกดในทองถิ่นมีไมเพียงพอ แตถาปไหนรายไดไมดีเขาก็มักจะนําไปซื้อเสบียงอาหารไวรองรับภาวะวิกฤต ถาเขาไปหาใน Google จะพบรายงานวิจัยเก่ียวกับโครงการ CAMPFIRE เยอะมากๆ โดยเฉพาะจาก World Bank, IMF, UN World Wildlife Fund เนื่องจากเปนกรณีศึกษาท่ีคอนขางนาสนใจ

HCL BACKUP.indd 140HCL BACKUP.indd 140 1/1/70 9:49:28 AM1/1/70 9:49:28 AM

Page 141: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

141

สฤณี อาชวานันทกุล

เพราะมันทําใหเกิดสมดุลหรืออยางนอยก็ใกลเคียงภาวะสมดุลท่ีชาวบานไมทะเลาะกับภาครัฐ ในขณะเดียวกันก็เกิดภาวะสมดุลในระบบนิเวศอีกดวย ทั้งนี้ก็ตองรอดูตอไปวาจะรักษาความสําเร็จนี้ไวไดหรือไม เพราะมีคนต้ังขอสังเกตไววาที่ตอนน้ีสําเร็จไดก็เพราะยังมีสัตวปาอยูเยอะ แตถาสถานการณเปล่ียนไป คือสัตวปาเริ่มหายากแลว โครงการจะสามารถปรับเปล่ียนไปในทิศทางไหน ใหยังคงรักษาความสมดุลสําหรับทุกฝายไวได ผูฟง : ดิฉันคิดวาโครงการลักษณะน้ีใชกับประเทศไทยไมไดหรอกคะ เพราะคนไทยยังยอมรับไมได สวนตัวดิฉันเองรูสึกวาสิ่งที่สําคัญคือ ตัวฉันตองอยูจริงหรือ พอเราตองการรายได มนุษยก็กลายเปนตัวตั้ง มนุษยตองอยู โดยพรอมจะฆาอะไรก็ไดจริงหรือ สฤณี : จริงๆ แลวไมไดมองวามนุษยตองอยูหรือเปนตัวตั้ง แตโครงการในลักษณะน้ีคือความพยายามท่ีจะทําใหชาวบานมีรายไดท่ียั่งยืน พยายามที่จะใหทุกคนอยูรอด ชุมชนมีรายไดและในขณะเดียวกันก็ไมทําลายสัตวปา และสัตวปาก็ไมมาทําลายพืชผลของคุณ เกิดความสมดุลกันเปนลักษณะนี้มากกวา พยายามทําใหกระบวนการสราง รายไดมันอยูภายใตกติกาที่ไมเปนภัยในระยะยาว โดยเขาแสดงใหเห็นวากอนที่ชาวบานจะมีรายได ตนปก็ตองกําหนดโควตาของสัตวปา ตองมีขอมูลเรื่องความสมบูรณของระบบนิเวศในปนั้นๆ จึงจะกําหนดโควตาและราคาได ดังนั้นถาทุกคนมีแรงจูงใจที่จะมาตกลงกันวาจะอยูภายในกติกาน้ีรวมกัน มันจะขับเคลื่อนใหทุกอยางไปไดดวยตัวของมันเอง สิ่งหนึ่งที่ทําใหหลายๆ คนเกิดความทึ่งเวลาไดทราบเรื่องโครงการนี้ในซิมบับเว คือสงสัยวาทําไมมันถึงไมลมเหลว ทําไมถึงไมมีใครฆาชางทีเดียว 10 เชือกโดยไมสนใจสัมปทาน ทั้งหมดเปนการบริหารที่สามารถจูงใจชาวบานใหทําตามได

HCL BACKUP.indd 141HCL BACKUP.indd 141 1/1/70 9:49:29 AM1/1/70 9:49:29 AM

Page 142: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

142

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ผูฟง : อยางกรณีของ DualCurrency เปนระบบที่เกิดจากจุดตีบตันของทุนนิยม ซึ่งเปนจุดที่คนสํานึกอยางปราศจากขอสงสัยแลววาไมมีใครสามารถไดรับผลประโยชนคนเดียวในตลาดได คนอื่นตองมีสวนในผลประโยชนนี้ดวย และมันเปนวิธีแก เปนนวัตกรรมท้ังสองกรณี คือทํายังไงก็ไดใหทุกคนได ไมมีใครเสีย อยางนั้นหรือเปลา สฤณี : ถาจะมองอยางนั้นก็ไดนะคะ คือมันจะกลับไปสูคําถามที่วาถามันไม win-win8 ก็ยอมมีคนใดคนหนึ่งเสียประโยชน แลวถามีคนใดคนหนึ่งเสียประโยชน ก็อยูที่วาถาคนท่ีเสียประโยชนเขามีอํานาจมากพอ ก็อาจจะทําใหระบบพังไปอีก ดังนั้นถามองในแงนั้นมันก็อาจจะไมได win แบบที่ทุกคนไดมากๆ เทากัน แตอยางนอยแตละคนก็สามารถตอบตนเองไดวาเขาไดอะไรบางนะคะ ผูฟง : แตชางไมไดอะไร (หัวเราะ) สฤณี : อันนี้เห็นดวยคะ (หัวเราะ) คือเราก็ตองเลือกวาจะเอาชาง หรือจะยายออกไปจากพ้ืนที่แลวใหชางอยูแทน ผูฟง : ซิมบับเวเคยเปนอาณานิคมมากอนหรือเปลา และกรณีกอนที่จะมีโครงการ CAMPFIRE ซิมบับเวเปนประชาธิปไตยมากแคไหน ตอนนี้มีชุมชนที่ไมเห็นดวยบางไหม และมีแหลงเงินทุนหรือโครงการอื่นๆ ของ World Bank บางหรือไมที่เขามาสนับสนุนชุมชน สฤณี : สองคําถามแรกตอบไมไดคะ เพราะไมทราบ สวนเร่ือง

ประชาธิปไตยก็ไมแนใจเหมือนกันคะ ทราบแตวามีการเลือกตั้ง แตมีการเลือกต้ังก็ไมคอยบอกอะไรเทาไหรใชไหมคะ แตอยางนอยก็ไมไดมีการฆาฟนกันเหมือนในซูดาน หรือในรวันดา

HCL BACKUP.indd 142HCL BACKUP.indd 142 1/1/70 9:49:29 AM1/1/70 9:49:29 AM

Page 143: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

143

สฤณี อาชวานันทกุล

สวนเร่ืองวามีชุมชนท่ีไมเห็นดวยหรือไม ก็มีนะคะ เยอะเหมือนกัน แตไมคอยมีใครไปวิเคราะหวาทําไมถึงไมเขารวมกับโครงการ เพราะโครงการนี้เปนโครงการตามความสมัครใจ ใครไมรวมก็ไมเปนไร แตถาใครสนใจก็มาน่ังคุยกันวาจะดําเนินการอยางไร ชุมชนที่ไมเห็นดวยเขาใจวาเขาอาจจะคิดวามีรายไดไมคุมคากับการเสียเวลามานั่งนับสัตว นั่งคิดโควตาอะไรแบบน้ี สวนเรื่อง World Bank เขาไมไดใหเงินนะคะ โครงการนี้คิดและดําเนินการโดยคนซิมบับเวทั้งหมด ถึงแมจะจางผูเชี่ยวชาญดานรักษาพันธุสัตวปามาใหคําปรึกษาแตก็ไมไดมาจาก World Bank ผูฟง : ทําไม World Wildlife Fund จึงไมเขามาจัดการตอตานเรื่องท่ีชุมชนนี้ฆาสัตว สฤณี : เขาใจวา World Wildlife Fund เขาไมไดมีเปาหมายท่ีการอนุรักษสัตว 100 เปอรเซ็นต แบบที่ไมตองการใหมีสัตวตายเลย แตจะมีเปาหมายสรางความสมดุลในระบบนิเวศ ถามีสัตวพันธุไหนที่ขยายพันธุจนทะลุไปเปน 10 เทา เขาก็คงไมไดไปวาอะไรถาจะฆามันไปบาง จะเปนแบบนี้มากกวาคะ ผูฟง : เมื่อสักครูเราพูดถึงประเด็นเรื่องผลิตภาพสวนเกิน ทีนี้อยางชางเหลือน้ีมันจะเปนไปไดไหมท่ีจะแลกกับประเทศท่ีชางขาดแคลนแตมีเงินเหลือ แลวก็มีการแลกเปล่ียนอะไรกันตามแตตกลง สฤณี : ก็เปนความคิดที่ดีและนาจะทําไดนะคะ เพียงแตวาชาวบานในเขตที่ชางเหลือก็อาจจะไมพอใจหรืออาจจะหวงชางในเขตของเขา ผูฟง : ประเด็นของผมอาจจะไมสําคัญเทาไหรนะครับ คือเมื่อ 2-3

HCL BACKUP.indd 143HCL BACKUP.indd 143 1/1/70 9:49:30 AM1/1/70 9:49:30 AM

Page 144: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

144

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เดือนที่แลวในเนชั่นแนลจีโอกราฟฟค ฉบับภาษาไทยมีบทความที่เขาเขาไปศึกษาเกี่ยวกับการอนุรักษสัตวปาในแอฟริกา เขาบอกวาสภาพของประเทศในทวีปแอฟริกาหลายประเทศ ปจจุบันมีกองกําลังหลาย กองกําลังที่สูรับกันอยู และบางแหงเขาก็ทําการลาสัตวเพื่อจับสงสวน

สัตว เอางาไปขายเศรษฐีหรืออะไรแบบนี้เพื่อหาเงินไปสูรบ แลวเขาก็มีรัฐบาลกลางที่เปรียบเสมือนกองกําลังที่ใหญกวากองกําลังอื่นๆ โดยรัฐบาลกลางก็ไดรับเงินสนับสนุนจากอเมริกาเพื่อตอตานการกอการราย ทีนี้เอ็นจีโอตางประเทศเขาก็มาทําการตกลงกับรัฐบาลกลางและไปจางเจาหนาที่รักษาปาที่เปนเอ็นจีโอฝร่ัง เจาหนาที่พวกนี้ไมไดรับเงินจากรัฐบาลกลาง เขาจะประจําอยูในอุทยานเหมือนเปนกองกําลังกองหนึ่ง หากกองกําลังอื่นๆ ไมวาจะเปนตางชาติหรือประเทศเดียวกันเขามาลาสัตวก็จะมีการยิงกันทันที ตามกฎหมายกองน้ีจะไมยิงกอน แตในทางปฏิบัติใครเจอกอนคนนั้นก็ยิงกอน ชาวบานก็บอกวามายิงคนแตไมไดมายิงสัตว ผูฟง : ในซิมบับเวยังมีวัฒนธรรมเผาหลงเหลืออยูหรือเปลา สฤณี : ไมแนใจเทาไหร แตคิดวายังมีอยูนะคะ วัฒนธรรมเผาของซิมบับเวแตกอนคอนขางแข็งแรง แตปญหาเกิดขึ้นเมื่อมีอุทยานแหงชาติแลวหามฆาสัตวทุกชนิด เหมือนกับวาจารีตของเผาที่มีโทเท็ม (totem) เปนหลักการสําคัญมันชวยอะไรไมได แตตอนที่มีโทเท็มอยางนอยเผาเราไมฆาชางแตเผาอื่นก็ยังฆา พอมีอุทยานแหงชาติก็หามทุกคนฆาสัตวทุกชนิด คราวนี้เลยเกิดปญหาความไมสมดุลในระบบนิเวศขึ้นมา

HCL BACKUP.indd 144HCL BACKUP.indd 144 1/1/70 9:49:30 AM1/1/70 9:49:30 AM

Page 145: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

145

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 145HCL BACKUP.indd 145 1/1/70 9:49:31 AM1/1/70 9:49:31 AM

Page 146: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

146

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ธนาคารกรามีน (Grameen Bank)

HCL BACKUP.indd 146HCL BACKUP.indd 146 1/1/70 9:49:31 AM1/1/70 9:49:31 AM

Page 147: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

147

สฤณี อาชวานันทกุล

กรณีศึกษาสุดทายท่ีจะพูดก็คือธนาคารกรามีนหรือกรามีนแบงก ซึ่งหลายคนคงคุนเคยระดับหนึ่ง จากความโดงดังของมูฮัมหมัด ยูนุส เลยไมอยากจะเลาซ้ำ แตจะขอนําเสนอแนวการพัฒนาขั้นตอนตอไปของ กรามีนแบงก และความเชื่อมโยงระหวางกรามีนแบงกกับโครงการอื่น หากใครสนใจก็ขอใหเขาไปดูรายละเอียดที่เว็บของกรามีนที่ http://www.grameen-info.org กรามีนแบงกกอตั้งโดย มูฮัมหมัด ยูนุส เปนธนาคารที่ตั้งขึ้นมาสําหรับคนจนท่ีไมมีหลักประกัน ในความเปนจริงแลวการท่ีใหเงินกูโดยไมมีหลักประกันก็ถือเปนนวัตกรรมใหมของธนาคารแลว เพราะการไมเรียกหลักประกันถือวามีความเสี่ยงสูงมาก ถามองจากมุมมองของเจาหน้ีคืออาจจะไมไดเงินคืนเลย เพราะหากมีหลักประกันแลวถาลูกหนี้ไมมีเงินใชหนี้ อยางนอยธนาคารก็ยังมีหลักประกันเอาไปแปลงเปนเงินได เม่ือกรามีนแบงกบอกวาผูกูเงินไมตองมีหลักประกันก็สามารถ

HCL BACKUP.indd 147HCL BACKUP.indd 147 1/1/70 9:49:31 AM1/1/70 9:49:31 AM

Page 148: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

148

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

กูเงินได ก็แปลวาจะตองทําใหเจาหน้ีมีความม่ันใจ มีความเช่ือมั่นวาเงินที่ ใหกู ไปนั้นจะไมสูญ ขอสมมติของยูนุสคือ คนจนทุกคนมีศักยภาพและไมอยากเบ้ียวหน้ี คนจนท่ีมากูเงินกับเขาไมมีใครท่ีตั้งใจจะเบี้ยว เพราะถาเบี้ยวก็หมายความวาตองกลับไปกูนอกระบบท่ีมี ดอกเบ้ียแพงมาก ดังนั้นไมมีหรอกลูกหน้ีที่ไมดี เพราะฉะน้ันกรณีที่ลูกหนี้คืนเงินไมได อาจจะหมายความวาเขาอาจจะยังไมไดดึงศักยภาพของเขาออกมาอยางเต็มที่ หรือเขายังไมรูวาจะจัดการเอาเงินไปทําอะไร หรือเอาไปทําอะไรที่มันเส่ียงเกินไป แตไมไดมาจากวาเขาตั้งใจจะเบ้ียวเจาหนี้ ทางแกไขก็คือ เวลากรามีนแบงกใหเงินกูกับลูกหนี้ไปแลว ก็ตองคอยติดตามดูแลลูกหนี้ เปนรายๆ ไป คือตองเขาถึงครอบครัวของลูกหนี้จริงๆ ตองเปนที่ปรึกษาทางการเงินใหกับเขา ให คําปรึกษาวาจะเอาเงินไปทําอะไรไดบาง ธนาคารที่คอนขางชํานาญเรื่องเอสเอ็มอีหรือสินเชื่อผูประกอบการรายยอยอยางธนาคารกสิกรไทย ซึ่งมีสวนแบงตลาด (market share) สินเชื่อรายยอย 20-30 เปอรเซ็นต เขาคอนขาง ประสบความสําเร็จ เพราะเขามีทีมธุรกิจไปใหความรูแกลูกหนี้ เชน ถาลูกหนี้กูเงินไปทําเชนรานกวยเตี๋ยว เขาก็จะใหคําแนะนําตั้งแตการเลือกทําเล การลงบัญชีหรืออะไรตางๆ ที่จําเปนเกี่ยวกับการดําเนินธุรกิจ ซึ่งตัวธนาคารเองเขาก็อุนใจวาลูกหนี้สามารถเอาเงินมาคืนเขาได กรามีนแบงกก็เปนลักษณะเดียวกัน แตตองมีความพยายามมากกวากรณีเอสเอ็มอีหลายเทา เพราะลูกหนี้สวนใหญของเขาคือคนจนที่อยูในชนบท ปจจัยหนึ่งที่ทําใหยูนุสประสบความสําเร็จ เนื่องจากในระยะ

แรกที่ยังไมไดตั้งธนาคารอยางเปนทางการ เปนแคโมเดลนํารอง คือเขาใหลูกศิษยลูกหาของเขามาเปนเจาหนาที่สินเชื่อและใหออกไปใหคําแนะนําแกลูกหนี้ตามหมูบานตางๆ เหมือนเปนพ่ีเลี้ยงของลูกหนี้

HCL BACKUP.indd 148HCL BACKUP.indd 148 1/1/70 9:49:32 AM1/1/70 9:49:32 AM

Page 149: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

149

สฤณี อาชวานันทกุล

แตวิธีการน้ีอาจจะไมสามารถนํามาใชไดกับทุกธนาคาร เชนถาธนาคารกรุงเทพจะสงพนักงานสินเชื่อ หรือ Relationship Manager ที่ไดเงินเดือนเดือนละหาหมื่นออกไปหาชาวบานทุกๆ สัปดาหก็อาจะทําไมได เพราะจะทําใหตนทุนสูงเกินไป ถากลับไปมองกรามีนแบงก เขาทําไดเพราะมีฐานตนทุนต่ำเพราะระยะแรกเขาไดเงินกูดอกเบี้ยต่ำมาจากรัฐบาล รัฐบาลใหความชวยเหลือและยังใหเงินลงทุนดวย หลังจากนั้นเขาก็คอยๆ เปลี่ยน แปลงดวยการใหลูกหน้ีเขาซ้ือหุนคืนจากรัฐบาล จนในปจจุบันเขาสามารถโฆษณาไดแลววาธนาคารของเขาเปนธนาคารของคนจน ซึ่งมีคนจนเปนเจาของและมีสาขาท่ัวประเทศ เพราะลูกหน้ีของกรามีนแบงกถือหุน 93 เปอรเซ็นต หุนสวนที่เหลืออีก 7 เปอรเซ็นต เปนของรัฐบาลและองคกรอ่ืนๆ ยูนุสยังบอกอีกวาเงินที่ไดรับจากรางวัลโนเบลสวนหน่ึงจะเอาไปทําธุรกิจเพ่ือสังคมทางดานนมและอาหารสําหรับเด็กแรกเกิด และจะกันไวบางสวนสําหรับการสงเสริมโมเดลน้ีในประเทศอื่นๆ เนื่องจากการใหเงินกูของกรามีนแบงกไมมีหลักประกัน ปจจัยสําคัญที่จะทําใหเจาหนี้เชื่อมั่นวาจะเขาจะไดรับเงินคืนนอกจากการเปนพี่เลี้ยงใหคําปรึกษาแลว อีกสวนหน่ึงก็คือตองมีโครงสรางที่ชวยลดความเสี่ยงของธนาคารในแงของลูกหนี้ดวย วิธีการคือ ถาจะกูเงินจากกรามีนแบงก เขาจะใหหาคนมาค้ำประกันอีก 4 คน ซึ่งอาจเปนเพ่ือนบาน รวมกับคนที่ตองการจะกูเปน 5 คน เปนการสรางกลุมขึ้นมา ใชโครงสรางทางวัฒนธรรมมาจัดการ ถาคนหน่ึงเกิดเบ้ียวไมยอมคืนเงินขึ้นมา จะถูกมองวานาขายหนา สวนเพื่อนๆ ที่เหลือในกลุมก็อาจตองชวยจายแทนไปกอน ลูกหน้ีจะถูกชุมชนลงโทษโดยอัตโนมัติ จึงตองรีบหาเงินมาคืน เปนวิธีที่ลดความเสี่ยงของธนาคารลงไปไดบาง อีกทั้งโครงสรางในการชําระคืนเงินกูใหธนาคารก็คอนขางที่จะ

HCL BACKUP.indd 149HCL BACKUP.indd 149 1/1/70 9:49:32 AM1/1/70 9:49:32 AM

Page 150: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

150

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

เอื้อตอวิถีชีวิตของคนจน เชน สมมติวาเงินตน 10,000 บาท เมื่อถึงเวลาคืนก็คืนทุกสัปดาห สัปดาหละ 10 บาท คือเขาแบงการจายเงินออกเปนหนวยที่ยอยจนทําใหรูสึกวาเปนเงินจํานวนนอย แตในขณะเดียวกันถาธนาคารพาณิชยอื่นๆ จะเก็บเงินจากลูกหน้ีทุกสัปดาห สัปดาหละ 10 บาทคงทําใหตนทุนสูงมาก ตองหาวิธีการบริหารจัดการตนทุน อยางในเมืองไทย อาจจะใหบุรุษไปรษณียเปนคนไปเก็บเงิน เพราะตองไปสงจดหมายทุกวันอยูแลว เปนตน เพราะฉะน้ันก็ตอง คํานึงถงึการบริหารจัดการตนทุนพวกนี้ดวย ระบบของกรามีนแบงกจะแบงเปนสาขา แตละสาขาประกอบไปดวย 60 ศูนย (center) แตละศูนยประกอบดวยลูกหนี้ 8 กลุม และเขาจะเรียกลูกหน้ีของเขาวาเปน “สมาชิก” ไมใชคําวา “ลูกหนี้” เพื่อสรางความรูสึกที่ดี ปจจุบันมีสมาชิกครอบครัวกรามีนอยู 5 ลานคนทั่วประเทศ สมาชิกทุกคนมีสวนเปนเจาของเน่ืองจากเปนผูถือหุน กระจายกันไปตามสัดสวนเงินกูจากทั้งหมด 93 เปอรเซ็นต ดังนั้นเมื่อทุกคนรูสึกเปนเจาของ เขาคงไมอยากเบ้ียวหน้ีสถาบันท่ีเขาเองมีสวนรวมเปนเจาของ สมาชิกทุกคนยังสามารถเลือกผูแทนของตนเองมาเปนกรรมการทั้งหมด 9 คน ที่เหลืออีก 3 คนเปนคนจากรัฐบาล ยูนุสเปนกรรมการผูจัดการของธนาคารซ่ึงจริงๆ แลวเหมือนเปนกรรมการผูจัดการกิตติมศักดิ์ เขาแบงชนิดของเงินกูออกเปน 3 แบบ คือ basic loan หรือเงินกูทั่วไป housing loan เอาไปตอเติมบาน และ higher education loan เพ่ือการศึกษา เขาพยายามแบงใหงายไมซับซอน เหมือนระบบธนาคารปจจุบันที่จะมีเงินกูสะสมทรัพย คิดดอกเบ้ียแบบขั้นบันไดหรืออะไรที่มันยุงยาก ระบบเดี๋ยวนี้อยาวาแตคนทั่วไปเลย แมแตนักการเงินก็ยังงง ตองคิดไปนานมากถึงจะรูวาตกลงทั้งหมดตองจายดอกเบ้ียเทาไร จริงๆ แลว ในประเทศท่ีพัฒนาแลวหลายประเทศจะมีกฎหมายกําหนดเลยวาเวลาธนาคารโฆษณาพวกบัตรเครดิตหรือ

HCL BACKUP.indd 150HCL BACKUP.indd 150 1/1/70 9:49:33 AM1/1/70 9:49:33 AM

Page 151: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

151

สฤณี อาชวานันทกุล

ผลิตภัณฑทางการเงินตางๆ จะตองระบุเลยวา ดอกเบี้ยที่แทจริงที่ลูกคาตองจายทั้งหมดคืออัตราเทาไร อันน้ีเปนกฎหมายท่ีเมืองไทยก็ควรจะมี ไมอยางนั้นเราก็จะไมรูเลยวาความหมายของดอกเบี้ย 0 เปอรเซ็นต 3 เดือนแรกนี้ จริงๆ มันคือ 25 เปอรเซ็นตตอป อะไรอยางนี้เปนตน ถึงแมวาเขาจะเช่ือมั่นวาสมาชิกมีความต้ังใจท่ีจะไมเบี้ยวหนี้ อีกทั้งยังมีระบบและโครงสรางตางๆ ที่ชวยเหลือสมาชิกใหชําระหนี้คืนเขาได แตก็ยังมีความเปนไปไดที่จะมีปญหาเนื่องจากวิถีชีวิตของคนจนจะมีความเส่ียงสูง เพราะฉะน้ันระบบกรามีนจึงมีความยืดหยุนสูงตามไปดวย เชน ถาลูกหน้ีชั้นดีที่ชําระเงินมาตลอดไมเคยผิดนัด แตพอถึงชวงหนึ่งประสบปญหาน้ำทวมทําใหไมสามารถชําระหนี้ได ซึ่งถาเปนระบบธนาคารปกติเมื่อเกิดกรณีลูกหนี้ผิดนัดจะตองถูกชารจเพิ่มเขาไปอีก ทั้งๆ ที่ไมมีเงินมาชําระอยูแลว เมื่อโดนบวกเพ่ิมเขาไปอีก เขาจะเอาเงินมาชําระไดอยางไร แตระบบธนาคารท่ัวไปเขาตองทําเนื่องจากเขาเห็นวาลูกหน้ีคนนั้นอาจจะไมมีความสามารถในการชําระหนี้อีกตอไป เขาก็กลัวเงินจะสูญจึงตองใหลูกหน้ีรีบมาชําระโดยเร็วที่สุด

HCL BACKUP.indd 151HCL BACKUP.indd 151 1/1/70 9:49:34 AM1/1/70 9:49:34 AM

Page 152: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

152

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

แตในระบบของกรามีนแบงคเขาจะพยายามคิดในแงดี หากลูกหน้ีผิดนัดเขาจะไมบอกวาเปนหน้ีเสีย แตเขาจะยืดอายุการชําระหน้ีออกไปโดยอัตโนมัติ เรียกวา detour ซึ่งมีที่มาจาก Microcredit Highway คําวา Highway ของเขาหมายความถึง basic loan เหมือนเวลาที่คุณอยูบนถนนสายหลัก ถาเจออุปสรรคอะไรคุณก็อาจจะ detour หรือออมไปอีกทาง คือออกมาจากระบบกอนแลวคอยกลับเขาไปใหม วิธีหนึ่งคือหากลูกหน้ีของกรามีนแบงคผิดนัดเขาจะหยุดคิดดอกเบ้ียทันที หรืออีกวิธีหนึ่งจะเปลี่ยนจาก Basic Loan เปน Flexible Loan เชน จากเดิมชําระเงินทุก 7 วัน ก็อาจจะขอยืดเปนทุก 14 วัน หรือตามแตจะตกลงกันจนกวาจะชําระหน้ีไดหมด

HCL BACKUP.indd 152HCL BACKUP.indd 152 1/1/70 9:49:34 AM1/1/70 9:49:34 AM

Page 153: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

153

สฤณี อาชวานันทกุล

ภาพน้ีคือส่ิงที่กรามีนแบงกพยายามส่ือเพ่ือแสดงใหเห็นวาเขาชวยคนจนจริงๆ ในการสรางตัวสรางอาชีพ ไมใชใหกูเงินไปซื้อของแลวจบกันไป สวนภาพนี้เปนโครงการพิเศษตางๆ เชนโครงการเกี่ยวกับเครื่องมือทําการเกษตร โครงการ Grameen Phone เชน คนกูเงินไปซื้อโทรศัพทมือถือไปใหบริการโทรศัพทสาธารณะประจําชุมชน เปนตน

HCL BACKUP.indd 153HCL BACKUP.indd 153 1/1/70 9:49:35 AM1/1/70 9:49:35 AM

Page 154: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

154

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ภาพนี้เปนโครงการ Housing Loan ใหคนกูไปสรางบาน โดยเขาก็จะมีเจาหนาที่จากธนาคารมาตรวจสอบวาเอาไปสรางบานจริงหรือไม สวนภาพน้ีเปนโครงการสินเช่ือเพ่ือการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัยขึ้นไป แตคนที่จะขอสินเช่ือเพื่อการศึกษาจะตองเคยเปน

HCL BACKUP.indd 154HCL BACKUP.indd 154 1/1/70 9:49:37 AM1/1/70 9:49:37 AM

Page 155: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

155

สฤณี อาชวานันทกุล

สมาชิกในแบบ Basic Loan อยูแลว เพราะเขาไมตองการปลอยสินเชื่อใหกับคนที่ไมจําเปนตองใชจึงพยายามสกรีนลูกคาใหเปนระบบ สวนประกอบหลักๆ ที่ทําใหกรามีนแบงคประสบความสําเร็จ ประการแรกคือเขาเนนที่คนจนอยางเดียว ซึ่งคนจนนี้ก็แบงออกเปนหลายระดับและตัวยูนุสเองสมัยเปนนักเศรษฐศาสตรเขาก็ไดทําการสํารวจแลววาคนจนจริงๆ เปนยังไง มีหรือไมมีอะไรบาง และเขาก็เนนไปยังกลุมคนที่จนจริงๆ เทานั้น ประการที่สองคือการใหลูกหนี้รวมตัวกันเปนกลุมในการกูเงิน ประการที่สามคือเง่ือนไขตางๆ ของเงินกูตรงกับความตองการและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนจนท่ีสุด ประการท่ีสี่คือเขามีการบริหารจัดการท่ีดี ประการท่ีหาคือตัวสินเช่ือมีความหลากหลายพอที่จะตอบสนองความตองการหลักๆ ของคนจนได สิ่งที่ยูนุสภูมิใจมากคือเขาพยายามที่จะทําใหคนจนหลุดพนจากความจนไดอยางแทจริง ไมใชสิ้นสุดแคการชําระหน้ีทั้งหมดแลวก็จบ เขาก็พยายามท่ีจะวัดวาชวยคนจนไปไดเทาไหรแลวดวยส่ิงที่เรียกวา “คําปฏิญาณตน 16 ขอ” (16 Decisions)9 เปนเกณฑวัดวาถาเราจะบอกวาหลุดพนจากความจนมันแปลวาอะไร ซึ่งเปนส่ิงที่ลูกหนี้รวมกัน

HCL BACKUP.indd 155HCL BACKUP.indd 155 1/1/70 9:49:38 AM1/1/70 9:49:38 AM

Page 156: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

156

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

คิดวา 16 ขอนี้มีอะไรบาง เมื่อเราเขาไปเปนสมาชิกของกรามีนแบงกเราก็จะตองยอมรับวาเห็นดวยกับ “คําปฏิญาณตน 16 ขอ” นี้ จะเห็นไดวากรามีนแบงกพยายามที่จะเปนองคกรสําหรับชุมชนท่ีจะทําใหชุมชนพัฒนาข้ึน เขามีวิสัยทัศนที่จะทําใหมันแตกตางจากธนาคารทั่วไป เลยมีคําพูดลักษณะวา “เรายอมรับหลักการของ กรามีนแบงก” ทั้งหมด 16 ขอ ขอแรกประกอบไปดวย ความมีวินัย ความสามัคคี ความกลา-หาญ และความขยันขันแข็ง10 โปรดสังเกตวาเขาไมไดกําหนดวาตองเปนลูกหนี้ที่ดีเลย ซึ่งก็เขาใจไดวา ถาคุณมีคุณสมบัติครบทั้ง 4 ขอนี้ คุณก็นาจะคืนเงินกูไดแนนอน ขอสองเนนวาเม่ือเรามีความเปนอยูที่ดีขึ้นแลว ก็ควรจะมอบกลับคืนใหกับครอบครัวของเรา แลวขอ 3 จะไมอยูในบานที่ทรุดโทรมและจะพยายามใชความสามารถและเงินที่หามาไดมาพัฒนาบานใหมั่นคงแข็งแรง ขอ 4 จะตองปลูกผักไวกินเองแลวขายสวนท่ีเหลือเพ่ือหารายได และในชวงเวลาเพาะปลูก เราก็จะตอง

HCL BACKUP.indd 156HCL BACKUP.indd 156 1/1/70 9:49:39 AM1/1/70 9:49:39 AM

Page 157: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

157

สฤณี อาชวานันทกุล

ทําการเพาะปลูก ฯลฯ ถาอานและทําตามครบ 16 ขอ คงคืนเงินเขาไดอยางไมมีปญหา เนื่องจากในบังคลาเทศมีปญหาประชากรมากเกินไปเชนเดียวกับในอินเดีย เขาจึงตองกําหนดใหมีขอ 5 การคุมกําเนิดเพื่อทําใหครอบครัวมีขนาดไมใหญเกินไป ขอ 6 รักษาสุขภาพของคนในบาน ขอ 7 ใหความสําคัญกับการศึกษาของลูกหลาน ทําทุกอยางเพื่อใหเกิดความม่ันใจที่จะมีเงินมาจายเพื่อการศึกษา โดยอาจจะรวมถึงการกูเงินเพ่ือการศึกษาของกรามีนแบงกดวย ขอ 8 การรักษาสุขภาพของลูกหลานและทําใหสิ่งแวดลอมสะอาด ขอ 9 จะสรางและใชสวมที่ถูกสุขลักษณะ (สวมท่ีถูกสุขลักษณะน้ีเปนเกณฑอันหน่ึงที่ยูนุสใชวัดวา คนจนน้ันสามารถยกระดับตัวเองจากความยากจนไดหรือยัง) ขอ 10 ตมน้ำกอนด่ืมและพยายามทําใหน้ำบริสุทธิ์ที่สุดเทาที่จะทําได ขอ 11 การไมใหและไมรับสินสอด ซึ่งเปนปญหาหลักของประเทศอินเดียและบังคลาเทศ เนื่องจากในสองประเทศนี้ฝายหญิงจะตองเปนผูใหสินสอดฝายชาย ถาฝายชายเรียกไปมาก แลวฝายหญิงไมมีให พอแตงงานกันไปแลวฝายชายก็มักทํารายรางกายผูหญิง เพื่อแกแคนเรื่องสินสอด บางก็ตบตี บางก็เอาน้ำรอนสาด ก็ทําใหเกิดปญหา อีกอยางหน่ึงกรามีนแบงกจะใหสินเช่ือแกผูหญิงเปนหลักดวย เขาจึงพยายามจะลดปญหาในเรื่องนี้ลง ขอ 12 คือจะไมทําใหเกิดความอยุติธรรมในสังคม และไมยอมใหใครมาทําอะไรไมเปนธรรมกับเรา ขอ 13 เมื่อมีรายไดเพิ่มขึ้นแลวชุมชนจะลงทุนรวมกันเพื่อยกระดบัฐานะของชุมชน ขอ 14 ตองชวยเหลือซึ่งกันและกัน ขอ 15 ชุมชนลูกหน้ีหรือศูนยทั้งหมดจะรวมมือกันชวยเหลือซ่ึงกันและกันเม่ือลูกหน้ีในชุมชนอ่ืนเกิดปญหา และขอสุดทายคือ การมีสวนรวมในกิจกรรมทางสังคมรวมกัน ทั้งหมด

น้ีคือขอตกลงกอนการเปนสมาชิกหรือเปนลูกหนี้ของกรามีนแบงก

HCL BACKUP.indd 157HCL BACKUP.indd 157 1/1/70 9:49:41 AM1/1/70 9:49:41 AM

Page 158: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

158

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ปจจัยหนึ่งที่สําคัญตอการยกระดับฐานะของคนจนก็คือ การออมเงิน ฉะน้ันขอสําคัญขอหน่ึงที่เปนขอกําหนดของกรามีนแบงก คือ ผูกูทุกคนจะตองมีการฝากเงินกับเขาดวยเพราะเปนการบังคับใหสรางวินัยดานการเงินและวัดผลไดแบบงายที่สุด โดยเขามีผลิตภัณฑดานเงินฝากที่หลากหลาย ทั้ง pension หรือเงินบํานาญ fixed deposit หรือเงินฝากประจํา และ seven-year deposit หรือเงินฝาก 7 ป ผูฝากเงินแบบนี้จะไดดอกเบี้ยคงที่ไปเลย 7 ป และหากใครมีเงินฝากเกินอัตราท่ีตกลงกันเขาก็จะใหดอกเบี้ยพิเศษเพื่อเปนการจูงใจใหคนออมเงินอีกดวย แตเปนเรื่องนาเศราที่ประเทศไทยยังไมมีอะไรแบบน้ี และยังมีสวนตางกวางมากระหวางดอกเบี้ยเงินกูกับดอกเบี้ยเงินฝาก เพราะประเทศท่ีระบบการเงินเขามีประสิทธิภาพดีนั้นสวนตางของดอกเบ้ียไมควรจะเกิน 2 เปอรเซ็นต ดังนั้นถาดอกเบ้ียเงินกูเฉลี่ยอยูที่ 7 เปอรเซ็นต ดอกเบี้ยเงินฝากเฉล่ียก็ควรจะอยูที่ 5 เปอรเซ็นต แตธนาคารในประเทศไทยฐานลูกคาประมาณ 40 เปอรเซ็นต เปนลูกคาเงินฝากออมทรัพยซึ่งดอกเบี้ยอยูที่ประมาณ 0.75 เปอรเซ็นต จะเห็นไดวาธนาคารคอนขางไดเปรียบมากเนื่องจากเขาปลอยเงินกูประมาณ 7 เปอรเซ็นต กวา นี่อาจเปนเพราะแบงกชาติหรือธนาคารแหงประเทศไทยออนขอใหธนาคารพาณิชยเกินไป จริงๆ ควรจะตองเรียกธนาคารตางๆ มาคุยกันแลว วาทําไมดอกเบ้ียถึงตางกันมากขนาดน้ี อาจจะเปนเคร่ืองสะทอนวาระบบธนาคารไทยยังลาหลังอยู ทีนี้หันกลับมาดูกรามีนแบงก มีระบบเงินฝาก 7 ป แลวก็ยังมีนวัตกรรมที่นาสนใจอื่นๆ อีก เชน Monthly Profit Schemes ก็คือการแบงรายไดสวนหนึ่งจากเงินกูที่กูเงินไปลงทุนมาฝากธนาคาร แลวถาเกิดฝากเกินอัตราท่ีตกลงกัน เขาก็จะใหดอกเบ้ียพิเศษ สรางแรงจูงใจใหคนออมเงินมากขึ้นดังที่ไดพูดไปแลว

HCL BACKUP.indd 158HCL BACKUP.indd 158 1/1/70 9:49:41 AM1/1/70 9:49:41 AM

Page 159: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

159

สฤณี อาชวานันทกุล

หลังจากท่ีกรามีนแบงกตั้งขึ้นเมื่อป 1983 ก็มีบริษัทธุรกิจตางๆ ที่อยูในเครือของกรามีนแบงกอีกมากมาย ซึ่งสวนมากเกิดจากการท่ีลูกหน้ีหลายกลุมมีความตองการท่ีจะทําธุรกิจ เมื่อรวมตัวกันไดจํานวนหนึ่ง ธนาคารก็ชวยจัดตั้งบริษัทเพื่อชวยเหลือลูกหนี้ใหชําระคืนเงินกูไดงายขึ้นอีกแรงหนึ่ง เชน โรงงานทอผา Grameen Cybernet ที่ใหบริการดานอินเทอรเน็ต Grameen Phone ใหลูกหนี้ซื้อโทรศัพทในราคาถูก Grameen Knitwear ขายเสื้อผาสิ่งทอ Grameen Software แลวก็มี Grameen IT Park Ltd. บริษัททั้งหมดนี้ตั้งขึ้นมาโดยมีวัตถุประสงคเพื่อประกอบธุรกิจไมไดเปนมูลนธิิ แตเปนธุรกิจที่มุงหวังกําไรใหคุมทุนเพื่อใหลูกหน้ีของเขานําเงินมาใชหนี้ไดเทานั้น ในขณะเดียวกันกรามีนแบงกก็มีสวนที่ทําเพื่อสังคมจริงๆ เชน Grameen Trust ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใหคําปรึกษาแนะนําทางดานการเงินแกคนที่จะนําโมเดลนี้ไปใชในประเทศอ่ืนๆ นอกจากนี้ก็มีมูลนิธิกรามีนดานการเกษตร ดานการประมง เพื่อใหคําปรึกษาแกลูกหนี้ที่จะ

HCL BACKUP.indd 159HCL BACKUP.indd 159 1/1/70 9:49:42 AM1/1/70 9:49:42 AM

Page 160: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

160

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ประกอบอาชีพดานการเกษตรและการประมง การที่เขาทํากิจกรรมเพื่อชวยเหลือสังคมนี้เขาก็แบงแยกชัดเจนระหวางคนที่ทํางานดานชวยเหลือสังคมกับเจาหนาที่ฝายสินเช่ือ ตอนนี้ก็เริ่มดําเนินการ Grameen Fund หรือกองทุนกรามีน เปนกองทุนที่ลงทุนในธุรกิจเกิดใหมที่ดําเนินงานโดยลูกหนี้ของกรามีนแบงกซึ่งอยูในฐานะที่สามารถประกอบธุรกิจไดดวยตัวเองแลว ก็มาเจรจากับกองทุนกรามีนใหรวมทุนดวยเปนลักษณะการรวมทุนแบบ private equity สมัยใหม กลาวคือ กองทุนกรามีนก็ใสเงินลงทุนสวนหนึ่ง ลูกหนี้ก็ใสลงไปอีกสวนหนึ่ง แลวยังมี Grameen Telecom ใหบริการโทรศัพทในชนบทที่หางไกล มีการริเริ่มดานพลังงานทดแทนโดยตั้งเอ็นจีโอขึ้นมาชื่อ Grameen Shakti บริษัทสุดทายชื่อ Grameen Business Promotion Services กอต้ังเมื่อป 2001 จะเห็นไดวากรามีนไมไดมีไวชวยเหลือคนจนเทานั้น แตยังมีธุรกิจที่ตอยอดออกไปอีกหลายอยาง และความสนใจของคุณ ยูนุสมีความหลากหลายมาก เขาพัฒนาธุรกิจเหลานี้ขึ้นมาจากการที่เขาปลอยสินเชื่อแลวก็คุยกับลูกหน้ีของเขา ดูวามีธุรกิจอะไรที่นาสนใจ นาจะเปนประโยชนก็ใหทุนไปทํา ลูกหนี้รุนแรกคือคนจน เปนคนจนจริงๆ พอผานไปสัก 10 ป บางคนก็ไมจนแลว พอไมจน เขาก็ชอบกรามีนไมอยากไปกูที่สถาบันการเงินอื่นแลว อยากจะเปนลูกคาตอไปเร่ือยๆ ประเด็นหลักๆ ที่กระทบตอการทํางานของกรามีนแบงกอันแรกคือเรื่องของนโยบายรัฐ เนื่องจากในระยะแรกรัฐบาลไมใหความสนับสนุนอะไรยูนุสเลย แตพอเขาดําเนินการไปไดดีรัฐบาลก็มาขอถือหุนและเอาเครดิตไป ยูนุสจึงมีมุมมองวาหากรัฐบาลมีความจริงใจก็ สามารถดําเนินนโยบายแบบของรัฐบาลไดเลยโดยไมตองมาชุบมือเปบ เพราะตัวกรามีนแบงกเองก็อยูไดดวยตัวเองแลว แตเมื่อประมาณ 2 ปที่แลว (ค.ศ. 2006) ยูนุสไดขายพันธบัตรเอาเงินมาจายคืนเงินกู

HCL BACKUP.indd 160HCL BACKUP.indd 160 1/1/70 9:49:43 AM1/1/70 9:49:43 AM

Page 161: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

161

สฤณี อาชวานันทกุล

ดอกเบี้ยต่ำที่กูจากรัฐบาลไปเกือบหมด เพราะฉะน้ันก็สามารถยืนไดดวยขาของตนเองจริงๆ และสามารถวิพากษวิจารณรัฐบาลไดอยางเต็มท่ี อีกประเด็นหน่ึงคือยูนุสเร่ิมหันมามองเร่ืองเทคโนโลยีเหมาะสม เทคโนโลยีปานกลางที่จะเพิ่มผลิตภาพของคนจน เขาเริ่มกอตั้งสถาบันที่จะศึกษาเร่ืองเหลาน้ี เชน การใชพลังงานแสงอาทิตยในหมูบาน การใหความรูเก่ียวกับการใชคอมพิวเตอรแกชาวบาน เปนตน ผูฟง : ยูนุสกับทางราชการมีความสัมพันธกันอยางไร โตตอบ ขัดแยง หรือมีความรวมมือกันอยางไรบาง สฤณี : ไมแนใจวาเขามีความสัมพันธในระดับทางการกับเจาหนาที่ทองถิ่นขนาดไหนนะคะ เพียงแตโมเดลของเขาสวนใหญจะไมพึ่งพารัฐบาล เพราะเขาไมคอยชอบใจระบบรัฐบาลมาตั้งแตตนที่ไมคอยใหการสนับสนุนเขาเทาไหร เขามองวาหากรัฐบาลใหความชวยเหลือเขามาตั้งแตตนคงจะทําไดดีกวานี้มาก ผูฟง : ตอนนี้ยูนุสจะเลนการเมือง แลวเขานาจะเปนนายกรัฐมนตรีแนๆ ทีนี้ปรัชญาการเมืองหรืออะไรตางๆ นาจะไดรับผลกระทบ ถา ยูนุสมาเปนเจาหนาที่ของรัฐเสียเอง สฤณี : จริงๆ แลวระบบของเขามันไมไดไปกินผลประโยชนของคนอื่นนะคะ มันคอนขางจะอยูไดดวยตัวของมันเอง แลวก็ไมไดเปนระบบท่ีไปทําใหคนที่ไมเกี่ยวของตองเดือดรอนเพิ่มขึ้น โดยสวนตัวคิดวาถาเขาไดเปนนายกรัฐมนตรีเขาก็นาจะใชโมเดลของเขาตอไป แลวก็อาจจะไปแกกฎหมายเพ่ือที่จะเอ้ือใหเกิดโครงสรางอยางน้ีไดงายข้ึน ดังนั้นก็ไมนาจะเกิดความขัดแยง หรือนําไปสูการเปลี่ยนแปลงโมเดลของ กรามีนแบงก ถาจะเกิดความขัดแยงก็นาจะเกิดจากคนอ่ืนที่ไดรับ

HCL BACKUP.indd 161HCL BACKUP.indd 161 1/1/70 9:49:43 AM1/1/70 9:49:43 AM

Page 162: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

162

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ผลกระทบมากกวา เชน เก็บภาษีในสิ่งที่ไมเคยเรียกเก็บ เปนตน ผูฟง : เคยไปอานเก่ียวกับไมโครเครดิตจากที่อื่น เขาบอกวาระบบที่ใหกํานันผูใหญบานเปนนายหนาระหวางแบงกกับลูกบานยังคงเปนระบบที่ดีกวา เพราะตัวระบบของมันดีกวาตรงท่ีลูกหน้ีก็เปนหน้ีนอกระบบไปเลย และชาวบานไมตองลงทนุ 2 ขั้น ที่นาแปลกใจคือวาสัดสวนของไมโครเครดิตแบบนี้กับหน้ีนอกระบบในหมูบานคอนขางจะคงที่ เพราะการกูหนี้นอกระบบบางครั้งเกิดจากระบบอุปถัมภ ถึงแมวาระบบของ กรามีนจะดีกวาแตเขาก็ไมกูกับกรามีนเพราะวาเขาตองกลับไปกูหนี้นอกระบบอยูดีถาชําระคืนไมได สฤณี : ขอเพิ่มเติมเล็กนอย ถาดูในไฮเวยของเขาจะเห็นวาหนี้นอกระบบก็จะมีฟงกชันในแบบของมัน คือเปนหนี้ที่เกิดขึ้นเพราะคนไมมีทางเลือกแลว เงินท่ีไดมาจะเปนลักษณะท่ีเรียกวา bridge loan คือสรางสะพานชั่วคราวในระยะส้ันเพื่อใหสามารถผานจุดลำบากไปได แตหลังจากนั้นถาจะเขามาในระบบกรามีนตอก็จะเปนประโยชน ถึงแมวาเราจะไมอยากเห็นหนี้นอกระบบ แตอยางไรก็ตามมันก็คงตองมีอยูดวย และถึงแมวาหนี้นอกระบบจะมีดอกเบี้ยที่สูงถึง 50-60 เปอรเซ็นต ก็เพราะเขาไมรูวาคนกูจะจายคืนไดแคไหน เพราะเขาไมไดเปนสถาบัน ไมไดมีระบบบริหารความเส่ียงเหมือนแบงกทั่วไป ผูฟง : ลองจินตนาการดูนะคะวา สมมติเอาโมเดลน้ีมาใสในหมูบานที่ยากจนที่สุดในประเทศไทย แตในหมูบานน้ีมีคนท่ีไปทํางานเปนกรรมกรกอสรางในตัวจังหวัด หรือลูกสาวไปทํางานรานอาหาร คือมันไมไดมีลักษณะเปนชุมชนแบบดั้งเดิมแลว การที่เราจะเอาการใหกูแบบไมโครเครดิตของกรามีนไปใชกับหมูบานลักษณะนี้จะใชไดหรือไมคะ เนื่องจากการท่ีระบบของกรามีนไดผลดีเปนเพราะมันมีระบบ

HCL BACKUP.indd 162HCL BACKUP.indd 162 1/1/70 9:49:44 AM1/1/70 9:49:44 AM

Page 163: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

163

สฤณี อาชวานันทกุล

วัฒนธรรมที่ควบคุมอยูแลว สฤณี : คิดวาการท่ีลูกหนี้ของกรามีนสวนมากเปนแมบาน หรือรูจักกันในหมูบาน เปนชุมชน มันเปนปจจัยหน่ึงที่ทําใหเกิดการดูแลกันเอง แลวยังชวยลดความเส่ียงของเจาหนี้ ถาเกิดกรณีที่ชุมชนไมไดมีลักษณะแบบน้ีอีกแลว โมเดลน้ีก็จะเกิดยากหรือวาไมไดเกิดในรูปแบบเดิม เชนลูกหนี้ตองไปหาเพื่อนมาเพิ่มอีก 4 คน แตถา 4 คนนี้อยูกันคนละจังหวัดมันก็ไมไดเกิดประโยชนกับตัวเจาหนี้ เพราะฉะนั้นก็ตองมีการพลิกแพลงเชน แทนที่จะบอกวา 5 คน ก็อาจะกําหนดใหเอาญาติหรือคนใดคนหน่ึงที่เรารูแนๆ วาเขาอยูที่ไหน เพื่อใหสะดวกในการติดตามหนี้ในภายหลัง หรืออาจจะใชวิธีใหคอมมิสช่ันกับคนใดคนหนึ่งใหชวยดูแลกลุมลูกหนี้ คือทําอยางไรก็ไดใหรูวาลูกหนี้อยูที่ไหน ทําอะไรอยู และใชเงินอยางไร ผูฟง : อยากขอยกกรณีหนึ่งใหฟง คือเพื่อนผมไปทําวิจัยที่จังหวัดสงขลาที่หมูบานมุสลิม ซึ่งขณะนั้นเกิดวิกฤตวาผลไมตางๆ ขายไมไดเลยเน่ืองจากไดรับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจ ก็มีบานหลังหน่ึงเขาไปซ้ือเคร่ืองซักผาแบบหยอดเหรียญเพ่ือใหบริการกับคนหนุมสาวท่ีไมมีเวลาซักผา ชวงแรกๆ ก็ทํารายไดดีแตภายหลังก็มีบานอ่ืนๆ ซื้อเคร่ืองซักผาแบบหยอดเหรียญแบบน้ีบาง ทําใหรายไดที่ไดรับนอยลง ในกรณีนี้ถาเปนกรามีนแบงกจะทํายังไงครับ สฤณี : ถาเปนกรามีนแบงก คิดวาในกรณีนี้เขานาจะแนะนำไมใหคนที่สองมาซ้ือเคร่ืองซกัผาไปทําธุรกิจแบบเดียวกันคะ ผูฟง : คือมันไมมีอุปสงคอื่นในหมูบาน ทําใหบางคนเร่ิมไปทําอะไรท่ีผิดกฎหมาย ซ่ึงธุรกิจเหลานี้มักจะรายไดดี แลวก็เอาเงินไปสรางบาน

HCL BACKUP.indd 163HCL BACKUP.indd 163 1/1/70 9:49:45 AM1/1/70 9:49:45 AM

Page 164: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

164

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ดีๆ แลวคนอื่นเห็นก็เลยทําตามอยาง แลวก็ทําใหธุรกิจที่ผิดกฎหมายขยายตัวไปอีก ผูฟง : ผมสงสัยเร่ืองความเปนไปไดของกรามีนแบงก เนื่องจากเปนการดําเนินการกับสังคมท่ียากจนมากๆ ดังนั้นเม่ือนํามาใชกับสังคมท่ีไมไดยากจนขนาดน้ัน เขาก็ไมไดนําเงินไปซ้ือวัวหรืออุปกรณการเกษตร แตอาจจะนําไปซื้ออะไรท่ียิ่งใหญกวานั้นเล็กนอย เพราะฉะนั้นเมื่อถึงเวลาติดตามดูแลลูกหนี้ก็ตองใชผูดูแลที่มีความรูมากขึ้น ซึ่งตองใชตนทุนที่มากขึ้นตามไปดวย แลวกรามีนแบงกจะสามารถทําไดหรือ สฤณี : ตามความคิดของตัวเองนะคะ คิดวาในอนาคตรัฐบาลควรจะใหทุกคนที่จบปริญญาตรีและปริญญาโทดานบริหารธุรกิจจะตองใชเวลาอยางนอยหน่ึงเดือนเปน financial consultant ใหกับชาวบานคะ ผูฟง : ออกแนวลัทธิเหมาเลยนะครับ สฤณี : เปนการใหคําแนะนํามากกวาคะ เพราะในเม่ือเรื่องนี้ตองใชความเช่ียวชาญในระดับหน่ึง คนท่ีควรจะมาทําก็ควรเปนบัณฑิตที่จบบริหารธุรกิจทั้งปริญญาตรีและปริญญาโท ถาเขาไปทํางานในบริษัทหลักทรัพยจะไดรับเงินเดือนหลายหม่ืน เราตองมีความเช่ือในระบบการศึกษาของเราวาบัณฑิตที่จบดานนี้มาจะสามารถใหคําแนะนํากับชาวบานไดนะคะ อีกประเด็นหนึ่งที่ขออนุญาตเสริม คือเคยไปคุยกับอาจารยปทมาวดี ซูซูกิ ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร วาในเมืองไทยยังไมเคยมีโมเดลกรามีนอยางจริงจัง สาเหตุสวนหน่ึงอาจจะเปนเพราะเราไมไดยากจนขนาดน้ัน แตถามองในแงของสัจจะออมทรัพย หรือกองทุนอยางครูชบ11 มันก็ไมคอยเห็นตัวอยางที่ประสบผลสําเร็จใน

HCL BACKUP.indd 164HCL BACKUP.indd 164 1/1/70 9:49:46 AM1/1/70 9:49:46 AM

Page 165: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

165

สฤณี อาชวานันทกุล

ภาคอีสานหรือภาคเหนือท่ียากจนกวาภาคใต คือตัวอยางท่ีเห็นสวนมากจะมาจากทางภาคใต ซึ่งอาจารยปทมาวดีบอกวาเหตุผลหลักคือคนทางภาคใตรายไดเขาคอนขางแนนอน คือทําสวนยางพาราหรือทําอะไรอยูกับที่ ทําใหสามารถบริหารได แตคนอีสานหรือคนเหนือเขามีการยายถิ่นกันตลอดเวลาทําใหรายไดไมมั่นคง มันเลยมีความยากในการบริหารเน่ืองจากเม่ือไมไดอยูเปนหลักแหลงแลวรายไดก็ไมแนนอน ก็อาจจะเปนปญหาหน่ึง ผูฟง : จากท่ีเราไดพูดกันมาท้ังหมดเก่ียวกับโลกอินเทอรเน็ตซึ่งมันคอนขางมีดานบวกเยอะและมันดูเปนอนาคตมากๆ ดิฉันคิดวาโลก อินเทอรเน็ตโดยตัวของมันเองแลวก็มีกรอบทางวัฒนธรรมอันหนึ่ง เชน การที่เราอานอีเมลฉบับหนึ่งแลวสงตอใหคนอื่นๆ มันจะบอกคุณวาอะไรคือความดีอะไรคือความไมดี คือความดีมันจะถูกนิยามอยูบนกรอบวัฒนธรรมของโลกอินเทอรเน็ต แลวกรอบพวกน้ีก็แพรขามประเทศไปดวยซ้ำ แตดิฉันกลับสงสัยวากรอบวัฒนธรรมที่มันอยูบนอินเทอรเน็ตนี้ จริงๆ แลวพอมันเริ่มกาวหนาอยางมากในโลกตะวันตก วัฒนธรรมเหลาน้ัน ซึ่งคุณรูสึกวามันเปนเสรีภาพ แตจริงๆ แลวมันเปนเสรีภาพหรือไม หรือวามันถูกมองจากการมองของผูที่สรางมันขึ้นมา แลวเมื่อคุณอยูใกลมันมากๆ คุณก็จะซึมซาบเอาการมองแบบน้ันเขามา อยางเชน กรณีเรื่องชาง ซึ่งดิฉันเห็นวาไมสามารถทําไดในประเทศไทยเพราะเรารับไมไดเรื่องการฆาชางแบบนั้นเพื่อการกีฬา เพราะเราไดรับอิทธิพลจากพุทธศาสนา ซึ่งหากเราไดรับอิทธิพลจากอินเทอรเน็ตมากขึ้นเร่ือยๆ ก็จะทําใหกรอบวัฒนธรรมซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของแตละชุมชนจางลงไปเรื่อยๆ ทําใหเราตองมาระมัดระวังวา วัฒนธรรม อินเทอรเน็ตซึ่งมีความทันสมัย แสดงออกถึงการมีสิทธิมนุษยชนน้ัน จริงๆ แลวมันคือส่ิงที่เราอยากจะไดจริงๆ หรือไม

HCL BACKUP.indd 165HCL BACKUP.indd 165 1/1/70 9:49:47 AM1/1/70 9:49:47 AM

Page 166: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

166

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

สฤณี : จริงๆ ก็เขาใจความกังวลในเร่ืองน้ีนะคะ และคิดวามันอาจจะเปนสถานการณที่แยลงในแงของความหลากหลายทางวัฒนธรรม แลวมันเปนเรื่องยากมากท่ีจะวิเคราะหวัฒนธรรมอินเทอรเน็ต เนื่องจากมันเปนระบบอุบัติเอง คือเวลาเรา forward อีเมลกัน มันไมไดมีคําอธิบายวาถาเปนเมลแบบน้ี คุณฟอรเวิรดได หรือไมได มันจะมีสิ่งที่เรียกวา “netiquette” ก็คือมารยาทอินเทอรเน็ต ซึ่งไมไดมีใครมาเขียนวามีอะไรและตองทําอะไรบาง แตมันเปนผลพวงจากส่ิงที่แตละบุคคลทํากันมา และอยางนอยที่สุดคือ มันเปนสิ่งที่ไมจําเปนวาเราตองทําตาม เรียกไดวามีเสรีภาพในระดับหนึ่ง เชน ถาเราไมอยากทําอะไรตามมารยาทของการใชอินเทอรเน็ต เราก็ปดมันไปหรอืไมสนใจมันก็ได โดยสวนตัวแลวคิดวาโดยธรรมชาติของอินเทอรเน็ตแลวมันไมสามารถจะวางแผนไดหนึ่งตอหน่ึงจากวัฒนธรรมในโลกจริงเพราะวามันก็เปนลักษณะชุมชนที่ทุกคนมารวมกันจริงๆ และทําอะไรก็ไดที่อยากทํา ผูฟง : แบบนี้หมายความวา คนเรามีสิทธิจะทําอะไรก็ไดอยางที่อยากทํา ซึ่งในความเปนจริงแลวมันไมมี คุณอยากทําหรือไมอยากทําอะไรมันขึ้นอยูกับวาคุณมีวัฒนธรรมอยางไรดวย สฤณี : ใชคะ เพียงแตวาอาจจะมีประเด็นบางอยาง เชนเราเปนคนไทย แตอัตลักษณของเราบนอินเทอรเน็ตก็อาจไมไดมีความเปนไทยหรือนิยามตัวเราวาเปนไทย เพราะอินเทอรเน็ตเปนพื้นที่เสมือน เชน คนท่ีเขียนเว็บไซตใหโหลดเกมก็อาจจะไมไดสื่ออัตลักษณของเขาก็เปนได เพราะฉะน้ันจึงเปนประเด็นท่ีคนอยาง ควาเม อัปไปอาห (Kwame Anthony Appiah) พยายามพูดเรื่อง Cosmopolitanism หรือ

แนวคิดท่ีพยายามหาความลงตัวระหวางอัตลักษณที่หลากหลาย คือเขาบอกวาคนคนหนึ่ง จริงๆ แลวก็เปนทั้งพลเมืองโลก และเปนพลเมืองของชุมชนตัวเองในเวลาเดียวกัน จะทํายังไงไมใหอัตลักษณ

HCL BACKUP.indd 166HCL BACKUP.indd 166 1/1/70 9:49:47 AM1/1/70 9:49:47 AM

Page 167: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

167

สฤณี อาชวานันทกุล

ตางๆ เหลานี้นําไปสูความขัดแยง แลวก็ทําใหเรายอมรับและอยูกับมันได ก็ขอแนะนําหนังสือ Emergence: The Connected Life of Ants โดยสตีเฟน จอหนสัน (Stephen Johnson) ซึ่งอายุยังไมถึง 30 ปเลยนะคะ เขาศึกษาสังคมที่เปน chaordic คือมีทั้ง chaos และ order วามีลักษณะเปนอยางไร ในโลกอินเทอรเน็ตทําไมถึงเปนสังคมแบบนี้ แลวสังคมแบบนี้มันเปน order ที่เกิดขึ้นแคชั่วครั้งชั่วคราว ที่ดับหายไปแลวก็เกิดขึ้นมาใหมตรงไหนสักที่หนึ่ง มีความสับสนและความ ซับซอนสูง มันจะนําไปสูผลลัพธเชิงบวกหรือเปน positive outcome ไดอยางไร หนังสือนี้เปนหน่ึงในงานศึกษารุนแรกๆ ที่พยายามผนวกความคิดตางๆ เขามา และหลังจากน้ีคงมีการศึกษาเร่ือง emergence ไปเร่ือยๆ ผูฟง : ผมอยากจะถามเรื่องธนาคารกรามีน วาทําไมตองใหออกมาเปนรูปแบบของบริษัทหลายๆ บริษัทดวยครับ แลวมีบริษัทที่ไม ประสบความสําเร็จบางหรือไมครับ สฤณี : ก็มีบางอันท่ีไมคอยดีนะคะ เพราะแตละบริษัทที่เปนลูกหลานของกรามีนแบงกก็มีชุดผูบริหารที่มีความเปนเอกเทศในระดับหน่ึง สวนสาเหตุท่ีเขาตองแยกเปนหลายบริษัทก็เนื่องจากวาเปนการจํากัดความเสี่ยงใหอยูแคบริษัทลูก เพราะเมื่อเราตั้งบริษัทขึ้นมาขายสินคาอันหนึ่งก็ควรเปนสินคาที่เรามีความถนัดมากที่สุด แลวถาเราทําธุรกิจที่ไมคอยถนัดรวมอยูในบริษัทเดียวกันอาจจะทําใหเกิดปญหาพาใหสวนท่ีดีอยูแลวตองแยลงไปดวย และการแยกบริษัทยังทําใหเกิดความชัดเจนวาทําธุรกิจนี้มีผลประกอบการเปนอยางไร ดังนั้นกรามีนแบงกตั้งขึ้นมาเพ่ือเปนธนาคารท่ีใหสินเช่ือกับรายยอย เมื่อเขาจะทําอะไรท่ีไมใชเปนธนาคาร เขาก็ควรจะไปต้ังบริษัทหรือองคกรขึ้นมาตางหาก เพ่ือใหเกิดความชัดเจนวากําไรหรือขาดทุนสวนนี้เปนธุรกิจที่เก่ียวกับ

HCL BACKUP.indd 167HCL BACKUP.indd 167 1/1/70 9:49:48 AM1/1/70 9:49:48 AM

Page 168: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

168

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

อะไร และทําใหการติดตามผลมีความสะดวกงายดายขึ้น ผูฟง : ผมอยากทราบความคืบหนาของธนาคารขอทานที่ Grameen จะทํานะครับ สฤณี : ไมแนใจวาไปถึงไหนแลวนะคะ แตคิดวายังทําอยู เขาเคยพูดวาถาเกิดจํานวนขอทานที่มาเปนลูกหนี้เขามีถึงระดับหนึ่งแลวก็จะเปดตัวธนาคารนี้ แตปจจุบันไมทราบแนชัดเหมือนกันคะวาเปนอยางไร แลว ผูฟง : ขอถามความเห็นวาธนาคารขอทานน้ีจะเหมาะกับประเทศไทยไหมครับ สฤณี : ตองขอถามกลับนะคะวา อาจารยคิดวาในประเทศไทยคนอยากจะซื้อของจากขอทานหรือไมคะ ผูฟง : คือมันมีประเด็นที่คอนขางซับซอนเนื่องจากขอทานในปจจุบัน เปนขอทานนําเขา ไมไดเปนขอทานที่เปนขอทานจริงๆ เหมือนเมื่อกอน สฤณี : ใชคะ คือแนวคิดตอนท่ียูนุสปลอยสินเช่ือใหกับขอทาน เขาก็บอกวาขอทานก็มานั่งอยูแลวทุกวัน ก็นาจะน่ังขายของไปดวยเพราะไมไดใชแรงอะไรมากมายมีแคกระบะขายของวางอยูตรงหนา แต สําหรับประเทศไทยก็ตองยอนกลับไปมองวา ถาผูบริโภคจะซื้ออะไรที่ขอทานเอามาขาย สินคานั้นจะเปนอะไรดีเราถึงจะซื้อ และอีกประเด็นหนึ่งอันนี้มาจากความรูสึกสวนตัวนะคะ คือไมอยากสงเสริมขอทานเพราะเขาก็อาจจะถูกทํารายทารุณเนื่องจากเปนขอทานนําเขา หรือ

HCL BACKUP.indd 168HCL BACKUP.indd 168 1/1/70 9:49:49 AM1/1/70 9:49:49 AM

Page 169: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

169

สฤณี อาชวานันทกุล

บางทีจะใหเงินเขาก็แอบสงสัยวาตาบอดหรือพิการจริงรึเปลา อันนี้อาจจะเปนการมองคนในแงรายนะคะ แตนี่ขนาดเราจะใหเงินเรายังไมแนใจ แลวเราจะซ้ือของเขาไดยังไง แตถาอาจารยคิดวามันมีระบบที่ทําใหเกิดความเช่ือมั่นวาเขาเปนขอทานจริงๆ และชีวิตลําบากจริงๆ ก็คงมีทางที่โครงการน้ีจะเกิดขึ้นไดคะ ผูฟง : ประมวลภาพท้ังหมดจากท่ีไดฟงมาสองวัน เรื่องมหาอํานาจใหมในระบบอุบัติเอง ชุมชนอินเทอรเน็ตอะไรทั้งหลาย หรือวาทุนนิยมสรางสรรคหรือทุนนิยมกาวหนา สงสัยวามันเปนภาพท่ีมันไดรวมเอาโลกมุสลิม หรือวัฒนธรรมมุสลิมเขามาบางหรือไม เนื่องจากในเคสทั้งหมดท่ีกลาวมา ดูเหมือนกรามีนแบงกจะมีประเด็นเชิงวัฒนธรรมศาสนาที่เปนสวนหลักที่ทําใหประสบความสําเร็จ แตที่ภาพใหญที่สุดก็เปนเร่ืองมหาอํานาจใหมในชุมชนอินเทอรเน็ต ถามีโลกมุสลิมอยูดวย มีระบบคิดมุสลิมอยูในมหาอํานาจใหมอันนี้หรือไม สฤณี : ถาไมมีอินเทอรเน็ต สื่อมุสลิมอยาง Aljazeera ก็คงมีคนรูจักนอยมาก หรืออาจจะขึ้นอยูกับวาในโลกมุสลิมมีตัวแทนหรือวามีใคร เปนตัวแทนเขาในโลกนั้น เปนสัดสวนที่สมควรหรือวาพอมั้ย ขอดีของอินเทอรเน็ตคือ ความนิยมในโลกจริงไมใชอุปสรรคเลย โดยสวนตัวตอนน้ีใน Favorite Bookmark ที่ตั้งไวก็มี Aljazeera มี BBC มีสื่อปจเจกชนอีกสองสามอันซ่ึงมันก็สามารถสลับสับเปล่ียนกันไดเลย สําหรับคนคนหน่ึงแลวตนทุนในการเขาถึงก็เทากันหมดเลยไมวาจะเปนสื่อไหนก็ตาม เพราะฉะน้ันประเด็นที่วา BBC เปนบริษัทยักษใหญของอังกฤษ ในขณะที่ Aljazeera เปนเพียงสถานีเล็กๆ ของโลกมุสลิม ก็ไมไดทําใหคนมีอคติกับเรื่องพวกน้ี อยางเชนถาเราอยากจะรูเรื่องสงครามอิรัก เชื่อวาหลายๆ คนก็ไมติดตามผานสื่ออเมริกันอีกตอไป แตเขาจะไปอานพวก Aljazeera หรือเว็บไซตทางมุสลิมแทนเพราะ

HCL BACKUP.indd 169HCL BACKUP.indd 169 1/1/70 9:49:49 AM1/1/70 9:49:49 AM

Page 170: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

170

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

ขอมูลมากกวาและมีความเปนกลางมากกวา มัน เปน ส่ิ งที่ ค อนข า งตอบไดยากเพราะคง ข้ึนอ ยู กับวิวัฒนาการและมีใครที่จะทําอะไรตอไปหรือไม แตขอดีคืออินเทอรเน็ตมันมีตนทุนในการเขาถึงต่ำมากๆ นะคะ ขอโฆษณานิดหนึ่งวาตอนนี้มีคอลัมนที่เขียนลงหนังสือพิมพประชาชาติธุรกิจ ชื่อ “ลองคลื่นโลกา-ภิวัตน” ซึ่งพยายามเลาเร่ืองนาสนใจอยางกรมธรรมอากาศ และก็กําลังจะเขียนเร่ืองการเงินของมุสลิม เนื่องจากปจจุบันชาวมุสลิมหลายลานคนยังไมเขาถึงโลกของการเงินเพราะเขาติดกฎเกณฑเง่ือนไขมากมายในคัมภีรอัลกุรอาน คือเขาไมสามารถกูเงินแบบธรรมดาได รับดอกเบี้ยก็ไมได ในขณะเดียวกันโลกการเงินก็มีการแขงขันท่ีรุนแรงมากข้ึน ธนาคารตางๆ เริ่มผลิตสินคา Islamic Finance และมีการต้ังธนาคารอิสลามขึ้นในหลายๆ ประเทศ ประเทศมาเลเซียก็ประกาศตัววาจะเปนศูนยกลางของโลกในดาน Islamic Finance นะคะ มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน : ตอนน้ีก็สมควรแกเวลาแลวนะครับ ในนามของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนก็ขอขอบพระคุณคุณสฤณีเปนอยางยิ่งนานๆ คร้ังมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจะไดมีอะไรท่ีเปนอุดมคติท่ีวางอยู บนฐานของตัวเลขท่ีเปนจริง ถือวาเปนบรรยากาศใหมๆ ของมหาวิทยาลัยเที่ยงคืนจากหลายๆ ปที่ผานมาครับ ตองขอขอบพระคุณอีกครั้ง

HCL BACKUP.indd 170HCL BACKUP.indd 170 1/1/70 9:49:50 AM1/1/70 9:49:50 AM

Page 171: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

171

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 171HCL BACKUP.indd 171 1/1/70 9:49:51 AM1/1/70 9:49:51 AM

Page 172: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

172

ทุนนิยมที่มีหัวใจ

1 ดาวนโหลดไดจาก http://www.fringer.org/?page_id=231 2 ดาวนโหลดไดจาก http://www.fringer.org/?page_id=231 3 มูฮัมหมัด ยูนุส ผูกอตั้งธนาคารกรามีน “ธนาคารเพ่ือคนจน” หรือไมโครเครดิตแหง

แรกในโลก ไดรับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพในป ค.ศ. 2006 4 Pilot project คือ “โครงการทดลอง” ที่ทดลองทําในชวงสั้นๆ กอนที่จะขยายผลเปนโครงการอยางเปนทางการ 5 Memorandum of Understanding (MOU) คือ บันทึกความเขาใจหรือขอตกลงเบื้องตนระหวางสองฝาย 6 Corporate Social responsibility (CSR) คือ ความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร 7 ดาวนโหลดไดจาก http://www.benetech.org/about/downloads/Nothing VenturedFINAL.pdf 8 Win-Win Situation คือ สถานการณที่ไดประโยชนทั้งสองฝาย 9 อานรายละเอียดไดที่ http://www.grameen-info.org/bank/the16.html 10 “We shall follow and advance the four principles of Grameen Bank --- Discipline, Unity, Courage and Hard work – in all walks of our lives.” 11 ครูชบ ยอดแกว เปนครูภูมิปญญาไทยและนักเศรษฐศาสตรชุมชน ผูสนับสนุนแนวคิด “กองทุนสัจจะวันละบาท” เพื่อสรางสวัสดิการชุมชน

HCL BACKUP.indd 172HCL BACKUP.indd 172 1/1/70 9:49:51 AM1/1/70 9:49:51 AM

Page 173: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

173

สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 173HCL BACKUP.indd 173 1/1/70 9:49:51 AM1/1/70 9:49:51 AM

Page 174: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

อภิธานศัพท

HCL BACKUP.indd 174HCL BACKUP.indd 174 1/1/70 9:49:51 AM1/1/70 9:49:51 AM

Page 175: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ระบบท่ีเกิดข้ึนเอง / ระบบอุบัติ (self-emerging system) ระบบท่ีเกิดขึ้นเอง (self-emerging system หรือ “ระบบอุบัติ”) เปนระบบที่เกิดจากคนจํานวนมากรวมกันสราง จนไมอาจระบุไดวาเปนผลงานของกลุมบุคคลใดกลุมบุคคลหน่ึง เสมือนหน่ึงวาเปนระบบที่เกิดขึ้นดวยตัวเอง ระบบที่มีลักษณะเชนนี้มีหลายประเภท ยกตัวอยางเชน ระบบตลาดท่ีเกิดจากการทําธุรกรรมกันระหวางคนจํานวนมาก มีทิศทางท่ีไมแนนอน มีความวุนวายโกลาหล หรือเคออดิก (chaordic) ไมมีปจเจกบุคคลใดบุคคลหนึ่งสามารถกำหนดทิศทางได ระบบท่ีเกิดขึ้นเองจะมีลักษณะจัดการกันเอง (self-organize) ดวย แตระบบเชนนี้ก็อาจนําไปสูประสิทธิภาพสูงสุดได โดยที่เราตองพยายามทําความเขาใจกระบวนการทํางานของระบบ และหาวิธี

จัดการใหเกิดประโยชนสูงสุด ซอฟตแวรรหัสเปด (open source) เปนตัวอยางหนึ่งของระบบท่ีเกิดข้ึนเองและจัดการตัวเอง เนื่องจากมีผูใชงานและผูพัฒนา

HCL BACKUP.indd 175HCL BACKUP.indd 175 1/1/70 9:49:52 AM1/1/70 9:49:52 AM

Page 176: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ซอฟตแวรจํานวนมาก ทุกคนเขามาใช แกไข ดัดแปลง และตอยอดซอฟตแวรนี้อยางอิสระ ทําใหซอฟตแวรไดรับการพัฒนาใหกลายเปนซอฟตแวรที่ทันสมัย ปลอดภัย กอใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดแกผูใชทุกคนไดในที่สุด การพัฒนาอยางย่ังยืน (sustainable development) การพัฒนาอยางยั่งยืน (sustainable development) เปนแนวคิดท่ีรุดหนาไปอยางรวดเร็วตั้งแตทศวรรษ 1980 โดยรายงานช่ือ “อนาคตรวมของเรา” (Our Common Future) หรือที่ เรียกวา ”Brundtland Report” ไดใหนิยาม “การพัฒนาที่ยั่งยืน” ไววา หมายถึง วิถีการพัฒนาที่สามารถตอบสนองความตองการของคนรุนปจจุบัน โดยไมลิดรอนความสามารถในการตอบสนองความตองการของคน รุนหลัง เปาหมายสูงสุดของแนวคิดน้ีอยูที่การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรโลก โดยยังสามารถรักษาระดับการใชทรัพยากรธรรมชาติ ของมนุษยไมใหเกินศักยภาพการผลิตของธรรมชาติ และมุงเนนความสมดุลระหวางส่ิงแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ แทนที่จะยึดเปาหมายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเปนหลักเหมือนวิถีการพัฒนาทั่วไป แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนที่มีหลากหลายกระแส มีลักษณะสําคัญรวมกันอยูหลายประการ อาทิ 1. อยูภายใตแนวคิดของความเทาเทียมกัน (equity) และความยุติธรรม (fairness) เพราะมองวาในโลกท่ีเช่ือมโยงถึงกัน ผลกระทบจากการกระทําโดยไมคํานึงถึงผูอื่นของเราอาจสงผลรายแรงตอผูอื่นและตัวเราเองในอนาคตก็เปนได ดังนั้น เราจึงควรคํานึงถึงความเทาเทียมและยุติธรรมตอผูอ่ืนดวย เชน ประเทศแตละประเทศควรได รับโอกาสในการพัฒนาตัวเองบนพ้ืนฐานของคุณคาทางวัฒนธรรมและสังคมของตัวเอง โดยไมถูกเบียดเบียนจากประเทศอ่ืนๆ หรือการปกปองสิทธิมนุษยชนข้ันพ้ืนฐานของคนท่ีไมมีสิทธิออกเสียง

HCL BACKUP.indd 176HCL BACKUP.indd 176 1/1/70 9:49:52 AM1/1/70 9:49:52 AM

Page 177: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

เปนตน 2. มีมุมมองในระยะยาว ภายใตหลักความรอบคอบ (precau- tionary principle) เชน ชนเผาอินเดียนแดงในอเมริกามีการวางแผนระยะยาวโดยคํานึงถึงผลกระทบตอคนอีกเจ็ดรุนในอนาคต แตอยางนอยหากเพียงแคคํานึงถึงคนอีกรุนหนึ่งคือรุนตอไปเทานั้น ก็จะทําใหคนทุกรุนไดรับการดูแลอยางแนนอน นอกจากน้ัน หากมีกิจกรรมใดที่อาจเพิ่มอันตรายตอสิ่งแวดลอมหรือสุขภาพของมนุษยในอนาคต คนรุนปจจุบันก็ตองดําเนินมาตรการปองกันและแกไขปญหานั้นดวย 3. การคิดเปนระบบ (systems thinking) ซึ่งจำตองอาศัยความเขาใจในความเชื่อมโยงและสมดุลระหวางสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และสังคม เน่ืองจากเราเปนเพียงสวนเส้ียวเดียวของระบบธรรมชาติที่ยิ่งใหญ การคิดเปนระบบทําใหเขาใจไดวา โลกมีระบบยอยๆ มากมายซึ่งมีปฏิสัมพันธกัน ผาน “หวงโซตอบกลับ (feedback loop)” ที่บอกวาเหตุการณเล็กๆ บางอยางอาจจะกอผลกระทบขนาดใหญท่ีไมสามารถพยากรณได นอกจากน้ันยังใหคํานึงดวยวาทรัพยากรธรรมชาติมีอยูอยางจํากัด เราจึงไมควรนําทรัพยากรธรรมชาติมาใชในอัตราท่ีสูงกวาความสามารถในการผลิตทรัพยากรทดแทน และไมควรท้ิงมันมากกวาอัตราที่ธรรมชาติจะสามารถดูดซับกลับเขาไปในระบบได ดัชนีชี้วัดระดับการพัฒนาของมนุษย (Human Development Index: HPI) ดัชนีชี้วัดระดับการพัฒนาของมนุษย (Human Development Index: HDI) เปนดัชนีชี้วัดระดับการพัฒนาท่ีนับรวมเอาตัวแปรตางๆ เชน การคาดการณอายุขัย , ความรูหนังสือ , ระดับการศึกษา , มาตรฐานชีวิตความเปนอยู และผลิตภัณฑมวลรวมตอหัวเขามาพิจารณาดวย เพ่ือที่จะจัดกลุมประเทศตางๆ ใหอยูในกลุมประเทศดอยพัฒนา, ประเทศกําลังพัฒนา หรือประเทศพัฒนาแลวได นอกจาก

HCL BACKUP.indd 177HCL BACKUP.indd 177 1/1/70 9:49:53 AM1/1/70 9:49:53 AM

Page 178: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

นั้นยังใชวัดผลกระทบของนโยบายเศรษฐกิจตอคุณภาพชีวิตไดอีกดวย ดัชนีนี้ไดรับอิทธิพลจากงานของ อมาตยา เซน (Amartya Sen) นักเศรษฐศาสตรชาวอินเดียเจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร โดยผูพัฒนาหลักคือ มาหบุบ อุล ฮัก (Mahbub ul Haq) นักเศรษฐศาสตรชาวปากีสถาน และเซอร ริชารด โจลล่ี (Sir Richard Jolly) ดัชนีนี้ถูกใชครั้งแรกในรายงานระดับการพัฒนามนุษย (Human Development Report) ในโครงการการพัฒนาขององคการสหประชาชาติ (UNDP) โดย อมาตยา เซน ไดอธิบายวา การช้ีวัดระดับการพัฒนาดวยตัวแปรดาน GDP เพียงอยางเดียวเปนวิธีที่หยาบกระดาง การชี้วัดดวยดัชนี HDI จะชวยใหเขาใจความหลากหลายและปรับปรุงการพัฒนาใหมุงสู “การพัฒนามนุษย” ไดดีขึ้น ดัชนีวัดความกาวหนาที่แทจริง (Genuine Progress Indicator: GPI) “ดัชนีวัดความกาวหนาที่แทจริง” (Genuine Progress Indicator: GPI) คือแนวคิดท่ีไดรับอิทธิพลจากแนวคิด “เศรษฐกิจ สีเขียว” และ “เศรษฐศาสตรสวัสดิการ” และถูกเสนอใหนํามาใชวัดอัตราการเจริญเติบโตของประเทศแทนการวัดผลิตภัณฑมวลรวม (Gross Domestic Product: GDP) GPI คือความพยายามหน่ึงที่จะวัดระดับสวัสดิการหรือระดับความอยูดีมีสุขของประชาชน โดยตั้งตนจาก GDP ลบดวย “ตนทุน” ในการไดมาซ่ึงความเจริญทางเศรษฐกิจ ความแตกตางระหวาง GDP กับ GPI อยูในเรื่องวิธีวัดรายไดรวม และกําไรสุทธิ (กําไรสุทธิคือราย

ไดรวมหักดวยตนทุน) กลาวคือ GPI จะเปนศูนยเมื่อตนทุนทางการเงินของอาชญากรรมและมลพิษมีคาเทากับผลประโยชนทางการเงินจากการผลิตสินคาและบริการ หากปจจัยอื่นๆ มีคาคงท่ี ซึ่งการวัดใน

HCL BACKUP.indd 178HCL BACKUP.indd 178 1/1/70 9:49:53 AM1/1/70 9:49:53 AM

Page 179: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ลักษณะนี้ทําใหตองคํานึงถึงปจจัยอ่ืนๆ เชน สังคมและสิ่งแวดลอม นอกเหนือจากปจจัยดานการเงินเพียงอยางเดียว ลักษณะพิเศษของ GPI คือสามารถเลือกนําตัวแปรที่คิดวาสงผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคมอ่ืน นอกเหนือจากปจจัยเร่ืองรายได มาหักออกจาก GDP ปกติได ตัวแปรเหลาน้ันก็มีหลายอยาง เชน ตนทุนดานการเสื่อมสลายของทรัพยากร, ตนทุนจากปญหาอาชญา- กรรม, ตนทุนจากการเส่ือมสลายของช้ันบรรยากาศ, ตนทุนจากปญหาครอบครัวแตกแยก, ตนทุนจากมลพิษทางอากาศ น้ำและเสียง และการสูญสลายของท่ีดินทํากินและแมน้ำลําคลอง เปนตน นอกจากน้ันยังมีผลการศึกษามากมายที่ยืนยันวาในประเทศท่ีพัฒนาแลว การที่ประชาชนมีฐานะดี ไมไดแปลวาเขาเหลานั้นมีความสุข ดังนั้นการใชดัชนีชี้วัดท่ีคํานึงถึงเร่ืองอ่ืนๆ นอกเหนือจากเงิน จะทําใหเขาใจสภาพความเปนอยูและสภาพจิตใจที่แทจริงของประชาชนในแตละประเทศไดดีขึ้นกวาเดิม เอ็นรอน (Enron) เอ็นรอน (Enron) เปนบริษัทคาพลังงานช้ันนําของโลก ในป พ.ศ. 2543 เคยติดอันดับที่ 7 ของบริษัทที่ใหญที่สุดในโลกใน Fortune 500 โดยมียอดขายปละ 101,000 ลานเหรียญดอลลารอเมริกัน (USD) (คร่ึงหนึ่งของ GDP ประเทศไทย) ผูบริหารระดับสูงคือนาย เคนเน็ธ เลย (Kenneth Lay) รวมมือกับนาย เจฟฟรีย สกิลลิ่ง (Jeffrey Skilling) CEO ของบริษัท ฉอฉลสรางหลักฐานปลอมบัญชีบริษัทใหมียอดกระแสเงินสดถึง 3 พันลานเหรียญสหรัฐ และมีกําไร 1 พันลานเหรียญ ทั้งที่ความจริงแลวมียอดกระแสเงินสดเพียง 153 ลานเหรียญเทานั้น บัญชีของเอ็นรอนมีกลไกการซอนภาระหน้ีสินมหาศาล และหลังจากตกแตงบัญชีบริษัทแลว นายเลยและนายสกิลลิ่งก็แอบขายหุน

HCL BACKUP.indd 179HCL BACKUP.indd 179 1/1/70 9:49:54 AM1/1/70 9:49:54 AM

Page 180: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ของตนเองเอาเงินเขากระเปา นอกจากนี้ยังรวมมือกับบริษัทท่ีปรึกษาทางดานบัญชียักษใหญ Arthur Andersen ตกแตงบัญชีหลอกลวงวาบริษัทมีกําไร กอนที่ราคาหุนจะตกจาก 90 เหรียญเหลือเพียงหุนละ 15 เซนต เมื่อขอมูลปรากฏแกสาธารณะวาบริษัทขาดทุนและใกลจะลมละลาย ในเดือนธันวาคม ป พ.ศ.2544 การลมละลายของเอ็นรอนสงผลใหผูถือหุนสูญเสียเงินกวา 60,000 ลานเหรียญ ลูกจางบริษัทที่ไดหุนแทนเงินตอบแทนหลังเกษียณอายุตองสูญเงินกวา 2,000 ลานเหรียญ และลูกจางกวา 5,600 คนตองตกงาน นายเลยถูกศาลตัดสินวาผิดในคดีหลอกลวงผูถือหุนและลูกจาง และอีก 6 คดีซึ่งมีโทษจําคุกสูงสุด 165 ป สวนนายสกิลลิ่งถูกตัดสินวาผิดใน 28 คดี ซึ่งมีโทษจําคุกสูงสุด 185 ป นับวาเปนการตัดสินคดีฉอโกงที่ใหญที่สุดครั้งหนึ่งในประวัติศาสตรอเมริกา จนกระทั่งมีผูเปรียบเทียบกรณีการฉอโกงของบริษัทเอ็นรอนวา เปนเหตุการณ 9/11 ของตลาดการเงิน การลมละลายของเอ็นรอน แสดงใหเห็นถึงความลมเหลวของระบบธรรมาภิบาล ขาดความรับผิดชอบตอผูถือหุนและสังคมของบริษัทยักษใหญท่ีไดรับความเช่ือถือจากท่ัวโลก สงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขนานใหญในระบบการกํากับดูแล (regulatory system) ใหเขมแข็งและจริงจังมากข้ึน และระบบกฎหมายมลรัฐที่เรียกรองให ผูบริหารระดับสูงของบริษัทเอกชนแสดงงบการเงินที่ตรงกับความ เปนจริง รวมทั้งเพิ่มบทบาทความรับผิดใหกับหัวหนาเจาหนาที่บริหาร หัวหนาเจาหนาท่ีการเงิน กรรมการบริษัท และผูสอบบัญชีของบริษัทใหมากขึ้น เพราะสิ่งสําคัญที่บริษัทควรมีคือ จริยธรรมทางธุรกิจ สวนผลพลอยไดจากการกวาดลางการฉอโกงของเอ็นรอนคร้ังนี้ คือการลงโทษ CEO ที่ฉอโกงของบริษัทตางๆ อีกกวา 10 บริษัท และการปฏิรูปโครงสรางการกํากับดูแลใหเขมแข็งขึ้น

HCL BACKUP.indd 180HCL BACKUP.indd 180 1/1/70 9:49:55 AM1/1/70 9:49:55 AM

Page 181: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ทุนนิยมธรรมชาติ (Natural Capitalism) ทุนนิยมธรรมชาติ (Natural Capitalism) คือกระบวนทัศนใหมที่สังเคราะหโดย พอล ฮอวเกน (Paul Hawken) เจาของรานเครื่องมือทําสวนที่ผันตัวมาเปนนักเคลื่อนไหวดานสิ่งแวดลอม โดยกระบวนทัศนนี้มีสาระสําคัญแตกตางไปจากกระบวนทัศนแบบทุนนิยมอุตสาหกรรมเดิม ที่มองวา “เงินสามารถซ้ือไดทุกอยาง” และ “ตลาดเสรีดีที่สุดสําหรับมนุษย” โดยมองทุนวามีแค 3 ชนิดคือทุนมนุษย เงินทุน และสินคาทุนเทานั้น ไมเคยสนใจ “ทุนธรรมชาติ” มากอน สวนหนึ่งเนื่องมาจากระบบทุนนิยมที่เติบโตอยางกาวกระโดดในยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมที่ทรัพยากรธรรมชาติที่ดูเหมือนจะไมมีวันหมดส้ิน สวนความสมดุลของระบบนิเวศก็ดูยิ่งใหญเกินกวาจะถูกทําลายดวยน้ำมือมนุษยได คนสวนใหญเพ่ิงจะมาตระหนักวา สิ่งแวดลอมเปนหนึ่งใน “ตนทุน” ของการพัฒนาที่มองไมเห็นแตหลีกเลี่ยงไมไดที่จะตอง “ใช” เมื่อไมนานมานี้เอง ฮอวเคนเช่ือวามนุษยสามารถสรางโลกท่ีนาอยูกวาเดิมไดดวยระดับเทคโนโลยีปจจุบัน สวนความเช่ือที่วา นักธุรกิจไมมีวันสนใจเรื่องสิ่งแวดลอม จะไมเปนความจริงอีกตอไป เพราะ “เทคโนโลยีสีเขียว” สมัยใหมไมเพียงแต “สะอาด” กวาเดิมเทานั้น แตยังใหผลตอบแทนทางธุรกิจที่สูงกวาเทคโนโลยีเดิมอีกดวย ฮอวเคนเสนอวา หากเราเปลี่ยนความคิดใหม เอา “ทุนธรรมชาติ” เปนตัวตั้งในฐานะทุนที่สําคัญที่สุดในการดํารงชีวิต กระบวนทัศนแบบ “ทุนนิยมธรรมชาติ” ที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะสําคัญๆ ดังตอไปนี้: 1. สิ่งแวดลอมไมไดเปนเพียงตนทุนระดับรองในการผลิต หากเปนระบบอันซับซอนที่หุมหอ หลอเลี้ยง และรักษาเศรษฐกิจทั้งโลก ดังนั้น ขอจํากัดที่แทจริงในการพัฒนาเศรษฐกิจคือ ความอุดม-สมบูรณของ “ทุนธรรมชาติ” โดยเฉพาะระบบนิเวศตางๆ ที่ไมสามารถ

HCL BACKUP.indd 181HCL BACKUP.indd 181 1/1/70 9:49:55 AM1/1/70 9:49:55 AM

Page 182: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ทดแทนไดและยังไมมีมูลคาตลาด 2. ระบบธุรกิจที่ถูกออกแบบมาไมดี อัตราการเติบโตของประชากร และพฤติกรรมการบริโภคแบบทิ้งขวาง เปนสาเหตุหลักของการบั่นทอนทุนธรรมชาติ ปญหาทั้งสามขอนี้ตองไดรับการแกไขเพื่อสรางเศรษฐกิจยั่งยืน (sustainable economy) 3. ความกาวหนาทางเศรษฐกิจเกิดข้ึนไดดีที่สุดในระบบตลาดเสรีที่เปนประชาธิปไตย ตั้งแตขั้นตอนการผลิต จนถึงกระบวนการ จําหนายสินคา เปนระบบที่ใหความสําคัญกับทุนทุกชนิด ไดแก ทุนมนุษย ทุนที่เปนตัวเงิน ทุนที่มนุษยผลิต และทุนธรรมชาติ 4. กุญแจสําคัญที่จะนําไปสูการใชแรงงาน เงิน และสิ่งแวดลอมใหกอเกิดประโยชนสูงสุดคือ การเพิ่มประสิทธิภาพของการใชทรัพยากรอยางกาวกระโดด 5. วิธีที่ดีที่สุดในการเพ่ิมมาตรฐานความเปนอยูของมนุษย คือการปรับปรุงคุณภาพของบริการตางๆ ที่มนุษยตองการ (คือเนน “คุณคา”) ไมใชสักแตเพิ่ม “มูลคา” รวมของบริการเหลานั้น 6. ความยั่งยืนทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ขึ้นอยูกับการแกไขปญหาความเหล่ือมล้ำของรายไดและฐานะ ในระดับโลก 7. สิ่งที่จะสรางบรรยากาศท่ีดีที่สุดในระยะยาวสําหรับการคาขายคือระบบธรรมาภิบาลแบบประชาธิปไตย ซึ่งแปลวาตองตั้งอยูบนความตองการของประชาชน ไมใชความตองการของภาคธุรกิจ กลยุทธหรือหลักการในการใช “ทุนนิยมธรรมชาติ” อยางไดผลในโลกแหงความเปนจริง มี 4 ประการ ไดแก 1. การเพิ่มประสิทธิภาพในการใชทรัพยากร หลักการของกลยุทธนี้คือ ทําอยางไรใหกระบวนการผลิตแตละขั้นตอนสามารถทํางานหรือใหผลผลิตเทาเดิมโดยใชวัตถุดิบและพลังงานนอยลง 2. การเปล่ียนไปสู “เศรษฐกิจบริการ” (service economy)

HCL BACKUP.indd 182HCL BACKUP.indd 182 1/1/70 9:49:56 AM1/1/70 9:49:56 AM

Page 183: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ซึ่งเปนระบบเศรษฐกิจที่แปรรูปสิ่งที่ผูบริโภคซื้อ จาก “สินคา” ใหกลายเปน “บริการ” ใหมากท่ีสุดเทาที่จะทําได ดวยการหันมาเนนประโยชนที่ผูบริโภคไดรับจากบริการแตละชนิด สงผลใหลูกคาไดรับความพอใจมากขึ้น ประสิทธิภาพของบริการดีขึ้น เนื่องจากตองพัฒนาวิธีการบริการใหโดนใจลูกคา และทายท่ีสุดทุนธรรมชาติก็ถูกใชอยางส้ิน-เปลืองนอยลง “เศรษฐกิจบริการ” นี้เปนแนวคิดท่ีทําใหทุกฝายไดประโยชน หรือ “win-win situation” เพียงแคเปลี่ยนมุมมองแบบเล็ก-นอยแตลึกซึ้ง จาก “สินคา” มาเปน “บริการ” ที่สินคานั้นเคยนําเสนอ เทานี้ก็เปนการ “ปลดล็อค” ขอจํากัดที่เคยยึดติดอยูกับตัวสินคา เปดความคิดสรางสรรคของบริษัทตางๆ ใหโลดแลนไดอยางเสรี และสามารถแขงขันกันอยางเปนธรรม 3. การลอกเลียนแบบธรรมชาติ (biomimicry) ใหเกิดการหมุนเวียนทรัพยากรและเกิดของเสียนอยท่ีสุด วิธีการน้ีกําลังเปนท่ีแพรหลายมากขึ้นเร่ือยๆ ในแวดวงตางๆ โดยเฉพาะเภสัชกรรม เกษตรกรรม อุตสาหกรรม และสถาปตยกรรม 4. การลงทุนในทุนธรรมชาติ เนื่องจากทุนธรรมชาติกําลัง รอยหรอลงเร่ือยๆ จึงตองลงทุนในทุนธรรมชาติเพื่อใหมีพอท่ีจะรองรับการเติบโตของประชากรโลกได นวัตกรรมดานเทคโนโลยีใหมๆ กําลังชวย “คืนทุน” ใหกับธรรมชาติ ดวยตนทุนที่ต่ำและตั้งอยูบนหลักการ “ปราศจากของเสีย” (zero waste) ชวยใหขยะของโลกลดลง Mickey Mouse Extension Act สตีมโบท วิลลี่ (Steamboat Willie) เปนตัวการตูนที่สรางขึ้นโดย วอลท ดิสนีย ในป พ.ศ.2471 โดยเขาไดดัดแปลงตัวการตูนนี้จากภาพยนตรเรื่อง สตีมโบท บิล (Steamboat Bill) ของบัสเตอร คีตัน ที่ฉายในปเดียวกัน นําเอามาตอเติมสรางสรรคเรื่องราว ผสมกับนิทานของพี่นองตระกูลกริมม ใหออกมาเปนเรื่องราวดัดแปลงใหมๆ

HCL BACKUP.indd 183HCL BACKUP.indd 183 1/1/70 9:49:56 AM1/1/70 9:49:56 AM

Page 184: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ตัวละครสตีมโบท วิลล่ี ถูกเปล่ียนชื่อเปน มิกกี้เมาส (Mickey Mouse) ที่สรางชื่อเสียงใหกับ วอลท ดิสนีย และสรางอาณาจักรดิสนียใหยิ่งใหญจนถึงทุกวันนี้ ในสมัยน้ัน ดิสนียสามารถดัดแปลงทุกอยางไดโดยอิสระ เนื่องจากวัฒนธรรมสมัยนั้นดํารงอยูใน “พื้นที่สาธารณะ” ที่ทุกคนสามารถนําไปใชสอยและสรางสรรคไดโดยอิสระ แตปจจุบันมีกฎหมายคุมครองลิขสิทธ์ิมิกกี้เมาสใหกับดิสนีย ไมมีใครละเมิดลิขสิทธ์ินั้นได ภายใตกฎหมายที่ขยายระยะเวลาความคุมครองมิกกี้เมาสออกไปเรื่อยๆ ที่เรียกกันทั่วไปวา กฎหมายคุมครองมิกก้ีเมาส (Mickey Mouse Protection Act) โดยการขยายลิขสิทธิ์ครั้งลาสุดภายใตกฎหมายชื่อ Sonny Bono Copyright Term Extension Act ทําใหความคุมครองลิขสิทธิ์มิกก้ีเมาสไดขยายระยะเวลาตอไปอีกเปน 95 ป และดูเหมือนวาจะขยายตอออกไปอีกเรื่อยๆ นั่นหมายความวาแมเราจะเคยมีวัฒนธรรมที่ทุกคนสามารถใชมรดกจากอดีตในการสรรคสรางงานใหมๆ แตยุคนั้นไดสิ้นสุดลงแลว คําวา “พื้นที่สาธารณะ” แทบจะไมมีความหมายใดๆ อีกตอไป เพราะตอนน้ีแมแตวัฒนธรรมเองก็มีเจาของแลว ความเปนธรรมทางสังคม (social justice) ความเปนธรรมทางสังคม (social justice) คือแนวคิดที่วาดวยความเปนธรรมในทุกมิติของสังคม มิใชเพียงแคมิติทางดานกฎหมายเทานั้น ซึ่งความเปนธรรมทางสังคมในตัวของมันเอง ก็ตีความไดหลายความหมาย อาจหมายถึงการปฏิบัติตอกันอยาง เปนธรรม หรือการแบงปนกันอยางเปนธรรมก็ได ประเด็นเร่ืองความ

เปนธรรมทางสังคมนั้น เปนทั้งปญหาทางปรัชญาและมีความสําคัญในมิติตางๆ เชน การเมือง ศาสนา และสังคม ปจเจกบุคคลอาจตองการอยูในสังคมที่มีความเปนธรรมท้ังนั้น อยางไรก็ดีแตละคนอาจมี

HCL BACKUP.indd 184HCL BACKUP.indd 184 1/1/70 9:49:57 AM1/1/70 9:49:57 AM

Page 185: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

อุดมการณเก่ียวกับ “ความเปนธรรมในสังคม” ที่แตกตางกัน คําวา “ความเปนธรรมทางสังคม” มักถูกมองวาอยูภายใตอุดมการณทางการเมืองท่ีเอียงซาย มองวาเปนเรื่องความเทาเทียมกันทางเศรษฐกิจ ซึ่งจะเก่ียวโยงไปถึงนโยบายการกระจายรายไดและทรัพยสินและการเก็บภาษีอัตรากาวหนา ความเปนธรรมทางสังคมอาจไมไดมาควบคูกับประสิทธิภาพสูงสุด อยางไรก็ดีฝายขวาเช่ือวาความเปนธรรมทางสังคมหมายถึง ความเทาเทียมของโอกาสในการเขาถึงตลาด ดังนั้นจึงสนับสนุนระบบตลาดเสรี อยางไรก็ตามท้ังสองฝายตางก็ใหความสําคัญกับประเด็นความเปนธรรมทางสังคมในแงของ นิติรัฐ สิทธิมนุษยชน และตาขายสวัสดิการสังคม หลากหลายนิยม (Cosmopolitanism) แนวคิด “หลากหลายนิยม” (Cosmopolitanism) มาจากรากศัพทคําวา Kosmopolites ที่แปลวา พลเมืองโลก เปนแนวคิดที่วาดวยสังคมภายใตจริยธรรมสากล มีการยอมรับความหลากหลายทางดาน ศีลธรรม, ปรัชญา, สังคมเศรษฐกิจและการเมือง แนวคิดนี้มีรากฐานมากจากกรีกโบราณ สวนนักคิดสมัยใหมของสํานักนี้ที่มีชื่อเสียงไดแกอัปไปอาห ผูเชื่อวาเมื่อใดก็ตามที่สังคมเรียกรองใหสมาชิกแสดงความภักดีตออัตลักษณของกลุมโดยไรขอกังขา และบังคับใหดําเนินชีวิตตามแบบแผนที่กําหนดอยางเครงครัด อัตลักษณแบบนี้จะสุมเสี่ยงตอการนําสังคมไปสูภาวะไรความยุติธรรมและความรุนแรง ดังนั้นส่ิงที่เราตองการที่สุดในยุคนี้ไมใชอัตลักษณที่เครงครัด หากแตเปน “จริยธรรมสากล” (ethical universal) ที่ขามพนความแตกแยกทางสังคม และเชื่อมความแตกตางระหวางวัฒนธรรม จริยธรรมสากลตั้งอยูบนพื้นฐานของความมีเหตุมีผล ที่ยอมรับวาความเชื่อและพฤติกรรมของมนุษยยอมแตกตางกันได โดย

HCL BACKUP.indd 185HCL BACKUP.indd 185 1/1/70 9:49:57 AM1/1/70 9:49:57 AM

Page 186: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ไมทําใหความแตกตางหลากหลายกลายเปนปฏิปกษตอกัน อัปไปอาหเชื่อวา การยอมรับความแตกตางจะนํามนุษยชาติไปสูสังคมแบบ “มนุษยนิยม” ที่ยืดหยุนและปรับเปล่ียนไดตามสถานการณ ในขณะเดียวกันก็มีจุดยืนที่เด็ดเดี่ยวและแข็งแกรงพอที่จะประณามความโหด-รายทั้งหลายในโลก นอกจากน้ัน เขาเชื่อวามนุษยควรวางตัวเปน “นักหลากหลายนิยม” (Cosmopolitan) ผูแสวงหาสมดุลระหวางความเปนมนุษยเหมือนกัน กับความเคารพในความแตกตางหลากหลาย ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม ความรับผิดชอบของธุรกิจตอสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) หมายถึง แนวคิดที่วาบริษัทควรแสดงความรับผิดตอผูมีสวนไดสวนเสียกลุมตางๆ ที่ไดรับผลกระทบจากการดําเนินธุรกิจของบริษัทโดยสมัครใจ ซึ่งอาจแบงเปน 8 กลุมหลัก ไดแก ผูบริโภค ผูถือหุน พนักงาน คูคา (supplier) ชุมชน รัฐ สังคม และส่ิงแวดลอม โดยอาจแสดงออกดวยการทําโครงการตางๆ ซึ่งอาจทําไดในทุกๆ มิติ ไมวาจะเปน ชุมชน สิ่งแวดลอม สิทธิมนุษยชน สิทธิแรงงาน ฯลฯ การทําซีเอสอารไมมี “เสนชัย” ที่เปนรูปธรรม แตเปนเรื่องของกระบวนการเปลี่ยนแปลงและปรับปรุงตัวเองของบริษัทที่ไมมีวันสิ้นสุดมากกวา ในยุคนี้ นอกเหนือจากการเรียกรองเร่ืองประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลจากบริษัทแลว กระแสความตองการของสังคมที่อยากเห็นบริษัททําซีเอสอารก็เพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ สวนหนึ่งเนื่องจากแนวคิดนี้ สอดคลองกับกระแสการแกปญหา “โลกรอน” ที่กําลังมาแรง แตยังมีขอถกเถียงกันอยูมากทีเดียววาการท่ีบริษัทตางๆ มีแนวโนมทําซีเอสอาร

มากขึ้นนั้น ทําเพื่อรับผิดชอบตอสังคมจริงๆ หรือเพียงตองการโฆษณาประชาสัมพันธและสรางภาพลักษณที่ดีใหกับบริษัทเทานั้น การประเมินซีเอสอารของบริษัทจึงควรประเมินผานพฤติกรรมของ

HCL BACKUP.indd 186HCL BACKUP.indd 186 1/1/70 9:49:58 AM1/1/70 9:49:58 AM

Page 187: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

บริษัทในภาพรวมและคุณภาพของกิจกรรมซีเอสอาร พิจารณาวามีแนวคิดความรับผิดสะทอนอยูในพันธกิจ เปาหมายในการทําธุรกิจ หรือกลยุทธของบริษัทหรือไม ไมใชพิจารณาแคเพียงกิจกรรมท่ีบริษัทโฆษณาประชาสัมพันธเทานั้น อยางไรก็ตาม บริษัทตางๆ ก็ควรทําซีเอสอารอยางพอเหมาะพอดี หากบริษัทใชเงินทําซีเอสอารมากจนลิดรอนความสามารถในการทําธุรกิจปกติของบริษัท จนถึงขั้นตองลดขนาดกิจการ ไลคนงานออก เพื่อความอยูรอด ก็มิอาจเรียกไดวามีความรับผิดชอบตอสังคม ซอฟตแวรรหัสเปด / ซอฟตแวรโอเพนซอรส (open source software) ซอฟตแวรรหัสเปดหรือซอฟตแวรโอเพนซอรส (open source software) คือซอฟตแวรที่อนุญาตใหผูใชซอฟตแวรนั้นๆ มีเสรีภาพในการใชงาน เผยแพร และแกไขดัดแปลงโปรแกรม โดยเปดเผยโคด (source code) ของโปรแกรมใหกับคนทั่วไป โอเพนซอรสเกิดจากการรวมตัวของนักพัฒนาซอฟตแวรมืออาชีพ ที่ตองการทําลายขอจํากัดในการใชและปรับปรุงซอฟตแวรของบริษัทเจาของลิขสิทธ์ิที่เก็บคาใชจายสูงมากในการใชซอฟตแวร อยางไรก็ตามมิใชวาซอฟตแวรโอเพนซอรสจะไมมีลิขสิทธิ์ เพียงแตเจาของลิขสิทธิ์อนุญาตใหผู ใชนําซอฟตแวรไปใชไดตามเงื่อนไขตางๆ ที่มีอิสระมากกวาสัญญาอนุญาตทั่วไปเทานั้น ซอฟตแวรโอเพนซอรสหลายตัวมีคุณภาพและความปลอดภัยมากกวาซอฟตแวรเชิงพาณิชยและไดรับการยอมรับอยางแพรหลาย มีผูใชงานทั่วโลก เนื่องจากการเปดเผยซอรสโคด ทําใหไมสามารถสรางรูรั่วเพ่ือแสวงหาประโยชนจากโปรแกรมได และนักพัฒนาโปรแกรมก็ยังสามารถคอยตรวจสอบชองโหวของซอฟตแวรไดอยูเสมอ นอกจากนั้นยังลดคาใชจายเร่ืองลิขสิทธิ์ สวนการพัฒนาโปรแกรมก็ทําไดเร็ว

HCL BACKUP.indd 187HCL BACKUP.indd 187 1/1/70 9:49:58 AM1/1/70 9:49:58 AM

Page 188: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

และเหมาะกับการใชงานมากขึ้น เนื่องจากไมตองรอการพัฒนาโปรแกรมจากบริษัทเจาของลิขสิทธิ์ ลิขซาย (copyleft) ลิขซาย (copyleft) หมายถึงชุดสัญญาอนุญาตของทรัพยสินทางปญญาประเภทตางๆ โดยเฉพาะ ซอฟตแวรคอมพิวเตอร เพลง ศิลปะ เอกสาร งานออกแบบ ซึ่งมอบเสรีภาพใหทุกคน สามารถ คัดลอก ดัดแปลง ปรับปรุงและจําหนายไดโดยไมสงวนลิขสิทธิ์ (public domain) อยางไรก็ตาม มีเงื่อนไขวาตองยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ ในงานที่แกไขดัดแปลงมาจากงานลักษณะนี้ นอกจากนั้นยังอาจให เจาของลิขซายกําหนดขอจํากัดหรือเง่ือนไขทางลิขสิทธิ์บางประการได และในสวนของผูนําไปใชก็ตองปฏิบัติตามเงื่อนไข แนวคิดลิขซาย เกิดขึ้นจาก ริชารด สตอลแมน โปรแกรมเมอรผูพัฒนาโปรแกรมแปลภาษา Lisp เพื่อลอและตอตานจุดประสงคในการคุมครองทรัพยสินทางปญญาตางๆ ของลิขสิทธิ์ (copyright) ที่ จํากัดมิใหลอกเลียนทรัพยสินทางปญญาโดยไมไดรับอนุญาตจากเจาของ หากตองการนําผลงานเหลานั้นไปดัดแปลงอาจตองจายเงินใหกับเจาของลิขสิทธิ์ ซ่ึงนั่นทําใหการตอยอดความรูและการนําไปใชมีขอจํากัด ครีเอทีฟคอมมอนส (Creative Commons) ครีเอทีฟคอมมอนส (Creative Commons: CC) หรืองานสรางสรรคเสรี หมายถึงชุดสัญญาอนุญาตช่ือเดียวกัน และองคกรไมแสวงหากําไรชื่อเดียวกันที่กอตั้งโดย แลร่ี เลสสิก (Larry Lessig) ซึ่งปจจุบันบริหารงานโดย โจอิชิ อิโต (Joichi Ito) ทํากิจกรรมท่ีวาดวยการขยายรูปแบบของความคุมครองทรัพยสินทางปญญาใหมีความหลากหลาย ตอบสนองความตองการของเจาของผลงานมากขึ้น โดย

HCL BACKUP.indd 188HCL BACKUP.indd 188 1/1/70 9:49:59 AM1/1/70 9:49:59 AM

Page 189: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

ตั้งอยูบนความเชื่อวา ระบบลิขสิทธ์ิที่ “ดี” นั้น ไมใชระบบที่ปกปองคุมครองเจาของลิขสิทธ์ิเพียงอยางเดียว แตเปนระบบท่ีสราง “สมดุล” ระหวางการคุมครองสิทธิของเจาของลิขสิทธิ์ และการสงเสริมใหคนนํางานชิ้นนั้นไปใชเพื่อสรางสรรคงานใหมๆ ชวยใหผูสรางงานสามารถปกปองลิขสิทธิ์ของตนเอง แตในขณะเดียวกันก็อนุญาตใหคนอ่ืนใชงานชิ้นนั้นภายใตเงื่อนไขที่ผูสรางเปนคนกําหนดเอง แตเดิมการคุมครองทรัพยสินทางปญญาจะมีเพียงแค 2 ประเภท คือ ใหมีลิขสิทธ์ิคุมครอง 100 เปอรเซ็นต (copyright) กับ ไมมีลิขสิทธิ์ (public domain) เทานั้น แตครีเอทีฟคอมมอนส ไดขยายรูปแบบของการคุมครองใหหลากหลายข้ึน โดยมีหลักการหลักคือ “ยอมรับสิทธิของผูสราง” (Attribution), “ไมใชเพื่อการคา” (Noncom- mercial), “ไมแกไขตนฉบับ” (No Derivative Works), และ “ใชสัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน” (Share Alike) ตัวอยางเชน 1. สัญญาอนุญาตประเภทแสดงที่มา ไมใชเพื่อการคา และไมแกไขตนฉบับ (by-nc-nd) เปนสัญญาที่อนุญาตใหผูอื่นเผยแพรงานของเจาของผลงานได ตราบใดที่เขาใหเครดิตแกเจาของผลงานในฐานะผูสรางตนฉบับและลิงคกลับไปที่สัญญาอนุญาตของเจาของ แตไมอนุญาตใหนําไปใชเพื่อการคาและดัดแปลงแกไขไมวาดวยวิธีใด 2. สัญญาอนุญาตประเภทแสดงที่มา ไมใชเพื่อการคา และอนุญาตแบบเดียวกัน (by-nc-sa) เปนสัญญาที่อนุญาตใหผูอื่นแกไข ดัดแปลง ตอยอดได ตราบใดท่ีไมนําไปใชเพ่ือการคา โดยตองใหเครดิตแกเจาของผลงานในฐานะผูสรางตนฉบับ และตองเผยแพรงานที่ดัดแปลงไปแลวนั้น ภายใตสัญญาอนุญาตประเภทเดียวกัน 3. สัญญาอนุญาตประเภทแสดงท่ีมา และไมใชเพื่อการคา (by-nc) เปนสัญญาท่ีอนุญาตใหแกไข ดัดแปลง ตอยอดได ตราบใดท่ีไมนําไปใชเพ่ือการคา โดยตองใหเครดิตแกเจาของผลงานในฐานะผูสรางตนฉบับ แตตองไมเผยแพรงานท่ีดัดแปลงไปแลวนั้น ภายใต

HCL BACKUP.indd 189HCL BACKUP.indd 189 1/1/70 9:50:00 AM1/1/70 9:50:00 AM

Page 190: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

สัญญาอนุญาตประเภทเดียวกัน 4. สัญญาอนุญาตประเภทแสดงท่ีมา และไมแกไขตนฉบับ (by-nd) เปนสัญญาท่ีอนุญาตใหผูอื่นนําผลงานไปเผยแพร ไมวาเพื่อจุดประสงคอะไร ตราบใดท่ีใหเครดิตแกเจาของผลงานในฐานะผูสรางตนฉบับ และไมมีการแกไข ดัดแปลงหรือตอเติมไมวากรณีใดๆ 5. สัญญาอนุญาตประเภทแสดงท่ีมา และอนุญาตแบบเดียวกัน (by-sa) เปนสัญญาท่ีอนุญาตใหแกไข ดัดแปลง และตอยอดผลงานได ไมวาจะเพ่ือจุดประสงคใด ตราบใดที่ใหเครดิตแกเจาของผลงานในฐานะผูสรางตนฉบับ และเผยแพรผลงานท่ีดัดแปลงนั้นภายใตสัญญาอนุญาตประเภทเดียวกัน 6. สัญญาอนุญาตประเภทแสดงท่ีมา (by) เปนสัญญาท่ีอนุญาตใหแกไข ดัดแปลง ตอยอดผลงานได ไมวาจุดประสงคใด ตราบใดท่ีใหเครดิตแกเจาของผลงานในฐานะผูสรางตนฉบับ นอกจากนั้นยังมีสัญญาอนุญาตแบบอื่นๆ ที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น เชน สัญญาอนุญาตแบบ Sampling+ ที่อนุญาตใหผูอื่นนําบางสวนของผลงานไปสรางงานใหม ไมวาดวยจุดประสงคใด, คําอุทิศงานสูสาธารณะ ใหเจาของผลงานสละลิขสิทธิ์ทั้งหมดของตนเองไปสูสาธารณะ, ลิขสิทธิ์ของผูริเริ่ม ใหเจาของผลงานอุทิศงานสูสาธารณะไดเม่ือเวลาผานไปแลว 14 หรือ 28 ป, สัญญาอนุญาตแบงปนดนตรี สําหรับนักดนตรีท่ีตองการแบงปนงานดนตรีกับแฟนเพลง, สัญญาอนุญาตสําหรับประเทศกําลังพัฒนา ที่อนุญาตใหผูนําผลงานไปใชมีเสรีภาพมากข้ึน หากเขาอาศัยอยูในประเทศกําลังพัฒนา และ สัญญาอนุญาตประเภท GNU GPL และ GNU LGPL สําหรับคนที่ตองการใชสัญญาอนุญาตกับซอฟตแวร ปจจุบันมีงานสรางสรรคนับลานๆ ชิ้นที่ใชสัญญาอนุญาตแบบครีเอทีฟคอมมอนส และนับวันก็มีแตจะย่ิงเพิ่มจํานวนข้ึนเรื่อยๆ เพราะครีเอทีฟคอมมอนสมีประโยชนชัดเจนมากสําหรับผูสรางงานที่

HCL BACKUP.indd 190HCL BACKUP.indd 190 1/1/70 9:50:00 AM1/1/70 9:50:00 AM

Page 191: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

เชื่อมั่นในพลังของการรวมมือกัน และ “ตอยอด” ความคิดสรางสรรคในอดีตออกไปเปนงานใหมๆ อานรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่เว็บไซตครีเอทีฟคอมมอนสประเทศไทย – http://cc.in.th/ ทริปเปลบอททอมไลน (Triple Bottom Line: TBL) ทริปเปลบอททอมไลน (Triple Bottom Line: TBL) เปนแนวคิดที่ขยายการวัดเปาหมายความสําเร็จและคุณคาขององคกร, เศรษฐกิจ, สิ่งแวดลอม และสังคม ซ่ึงแตเดิมสนใจแคกําไร (Profit) มาสนใจเร่ืองมนุษย (People) และโลก (Planet) หรืออีกนัยหน่ึงคือใหความสําคัญกับส่ิงแวดลอม สังคม และแสดงความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดสวนเสียมากขึ้น แนวคิดนี้มักถูกเชื่อมโยงกับเปาหมายความสําเร็จของการพัฒนาท่ียั่งยืน มนุษย (People) หรือทุนมนุษย เปนแนวคิดท่ีเนนเร่ืองการ ดําเนินธุรกิจที่เปนธรรมตอแรงงาน ชุมชน และทองถิ่นที่ธุรกิจน้ันไปตั้งอยู ไมขูดรีดหรือกออันตรายกับแรงงานและคนในชุมชนนั้นๆ ในขณะเดียวกันก็ตองทํากําไรใหกับผูถือหุนดวย นอกจากนั้นตองดําเนินการคาที่เปนธรรม (Fair Trade) ที่มีเงื่อนไขหลักไดแก ผูคาตองรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรในระดับราคาท่ีเหมาะสมที่ทําใหเกษตรกรสามารถมีชีวิตอยูที่ดีระดับหนึ่งได, ไมกดขี่แรงงาน และมีโครงสรางการบริหารที่เปนประชาธิปไตย,ไมใชแรงงานเด็ก, สนับสนุนใหมีการปรับปรุงสภาพแวดลอมในการทํางาน และฝกทักษะแรงงานหรือเกษตรกรอยางสม่ำเสมอ, ใชกระบวนการผลิตที่ชวยอนุรักษสิ่งแวดลอม เชน ไมใชสารเคมีตองหามในการผลิต ธุรกิจ TBL ควร “คืนกําไร” ใหกับชุมชน อาจทําไดโดย สรางความเขมแข็งในชุมชนทองถ่ิน สรางโครงสรางพื้นฐาน เชน สาธารณสุข หรือโรงเรียนใหเด็กๆ ซึ่งกิจกรรมเหลาน้ีสามารถประเมินไดดวยการใชเคร่ืองมือใหมๆ เชน การทํารายงานภายใตชุดหลัก

HCL BACKUP.indd 191HCL BACKUP.indd 191 1/1/70 9:50:01 AM1/1/70 9:50:01 AM

Page 192: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

เกณฑของ โกลบอล รีพอรตต้ิง อินนิชิเอทีฟ (Global Reporting Initiatives: GRI) เพื่อวัดวาบริษัทหรือธุรกิจนั้นมีความรับผิดชอบตอสังคมมากนอยเพียงใด โลก (Planet) หรือทุนธรรมชาติ หมายรวมถึงการดําเนินธุรกิจที่สนับสนุนความยั่งยืนและความหลากหลายของสิ่งแวดลอม บริษัทตองผลิตโดยใชทรัพยากรและกอใหเกิดผลกระทบนอยท่ีสุดเทาที่เปนไปได มีการใชนโยบายรีไซเคิล หมุนเวียนการใช ลดสารพิษ ฯลฯ เพื่อรักษาสิ่งแวดลอมและความหลากหลายทางชีวภาพใหมากที่สุด กําไร (Profit) ในแงนี้หมายถึงกําไรทางเศรษฐศาสตร กลาวคือหักตนทุนทั้งที่มองเห็นและมองไมเห็นออกไปแลว จึงเรียกไดวาเปนกําไรที่แทจริง ซึ่งแนนอนวาบริษัทก็ยอมตองการกําไร แตธุรกิจ TBL จะไมไดมีเปาหมายอยูที่กําไรสูงสุดเพียงอยางเดียว หากยังคํานึงถึง “ประโยชน” และ “ตนทุน” ทางสังคมและสิ่งแวดลอมจากการทําธุรกิจของตนอีกดวย โกลบอล รีพอรติ้ง อินนิชิเอทีฟ โกลบอล รีพอรติ้ง อินนิชิเอทีฟ (Global Reporting Initiative: GRI) เปนองคกรที่กอตั้งโดยองคกรไมแสวงหากําไรชื่อ Coalition for Environmentally Responsible Economies: CERES และ สถาบัน Tellus ดวยความสนับสนุนของโครงการส่ิงแวดลอมแหงสหประชาชาติ (United Nations Environment Programme: UNEP) ในป พ.ศ. 2540 GRI ทําหนาที่ประเมินและจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของธุรกิจตางๆ วาไดใหความสําคัญและมีกิจกรรมเกี่ยวกับเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมมากนอยเพียงใด กลาวคือรวบรวมผลงานเร่ือง กําไร มนุษย และโลก (Profit, People, Planet) ไวภายใตกรอบการประเมินและกรอบการเปดเผยขอมูลชุดเดียวกัน ปจจุบันมีบริษัทตางๆ

HCL BACKUP.indd 192HCL BACKUP.indd 192 1/1/70 9:50:02 AM1/1/70 9:50:02 AM

Page 193: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

มากกวา 1,000 บริษัท ในกวา 60 ประเทศท่ีใชชุดหลักเกณฑของ GRI ในการรายงานของตัวเอง สวนใหญจะทํารายงานแยกเปน 2 ฉบับ คือ Corporate Governance Report (CGR) รายงานเก่ียวกับธรรมาภิบาลในบริษัท และ CSR Report รายงานเกี่ยวกับความรับผิด (accountability) ตอสังคม เกณฑ GRI ชวยใหบริษัทตางๆ ประเมินแนวทางการพัฒนา จัดการ และเพิ่มประสิทธิภาพอยางยั่งยืน และทําใหผูสังเกตการณสามารถเปรียบเทียบผลงานระหวางบริษัทได การลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคม (Socially Responsible Investing: SRI) การลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคม (Socially Responsible Investing: SRI) คือแนวทางลงทุนของกองทุนที่รับผิดชอบตอสังคม (socially responsible fund) ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการของนักลงทุนที่มีจิตสํานึกทางสังคม กองทุนแบบน้ีมีเปาหมายท่ีการเลือกลงทุนในบริษัทที่ผานหลักเกณฑวามีความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม มากกวาบริษัทที่ใหผลตอบแทนสูงสุด แนวคิดการลงทุนที่รับผิดชอบตอสังคมน้ันมีมานานแลว แต เอมี ดอมินี (Amy Domini) ผูกอตั้งบริษัทจัดการกองทุนเพื่อสังคมช่ือ Domini Social Investments เปนผูผลักดันกระแสการลงทุนเพื่อสังคมใหเปนทางเลือกที่นาสนใจสําหรับนักลงทุนหมูมาก โดยในป พ.ศ.2533 ดอมินีและเพื่อนรวมงานอีกสองคนคิดคนดัชนีหุนชื่อ “ดัชนีสังคม ดอมินี 400” ขึ้นมาเพื่อใชเปนตัววัดผลงานของพอรตหุนที่ลงทุนเฉพาะในบริษัทที่ “เปนมิตร” กับสิ่งแวดลอมและสังคม บริษัทที่เปนสมาชิกของดัชนีนี้ตองผานเกณฑการลงทุนอันเครงครัดกวา 140 เกณฑ เชน เงินคาปรับน้ำเสียที่จายใหรัฐ ความหลากหลายทางเพศและเชื้อชาติในทีมผูบริหารระดับสูง สถิติการรีไซเคิลวัสดุเหลือใช ฯลฯ วิธีการของกองทุนที่รับผิดชอบตอสังคม คือ การใช “เงินทุน”

HCL BACKUP.indd 193HCL BACKUP.indd 193 1/1/70 9:50:02 AM1/1/70 9:50:02 AM

Page 194: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

เปนเครื่องมือเขาไปสรางอํานาจในการตั้งคําถาม ชี้ประเด็น และกลาวโทษบริษัทในประเด็นดานสังคมและสิ่งแวดลอม เพื่อ “งัดขอ” กับบริษัทตางๆ ใหรับผิดชอบตอสังคมมากข้ึน ซึ่งมักจะไดผลอยางคอนขางรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เพราะบริษัทตางๆ ตองพยายามเอาใจผูถือหุนใหมากที่สุด เปาหมายหลักของนักลงทุนเพื่อสังคม คือการมีสวนรวมในการสรางระบบเศรษฐกิจที่เปนธรรมและย่ังยืนมากยิ่งขึ้น โดยท่ัวไปคนอาจเขาใจวา กองทุนที่รับผิดชอบตอสังคมยอมไดรับผลตอบแทนต่ำกวากองทุนปกติ เพราะไมไดกําหนดใหผลตอบแทนสูงสุดเปนเปาหมาย แตกองทุนของดอมินีไมเพียงแตมีผลการดําเนินงานที่ดีเทานั้น หากยังเปนหนึ่งในกองทุนจํานวนนอยกวา 30 เปอรเซ็นตของกองทุนรวมทั่วทั้งอเมริกา ที่ใหผลตอบแทนตอนักลงทุนโดยเฉล่ียไดทัดเทียมกับดัชนี Standard & Poor’s 500 (เรียกยอๆ วา “S&P 500 index” เปนดัชนีวัดผลการดําเนินงานของหุนที่ใชกันแพรหลายที่สุดในอเมริกา ประกอบดวยหุน 500 ตัวที่มีมูลคาตลาด (market cap) สูงสุดในอเมริกา และเปนผูนําในธุรกิจตางๆ) ในรอบกวา 15 ปที่ผานมา หลักฐานชิ้นนี้แสดงใหเห็นวา บริษัทที่ประพฤติตน “เปนมิตร” กับสังคมนั้น ไมเพียงแตจะสามารถแขงขันไดในสนามประลองธุรกิจอยางมั่นคงเทานั้น แตยังสามารถนําสงผลตอบแทนใหกับผูถือหุนในอัตราที่ไมนอยหนาคูแขงรายอื่นอีกดวย กองทุนที่รับผิดชอบตอสังคมไมไดลงทุนแตเฉพาะในบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหุนเพียงอยางเดียว แตยังใชรูปแบบการลงทุนอื่นๆ ที่นาสนใจ เชน การลงทุนเพ่ือพัฒนาชุมชน (community development investment) ซึ่งเปนวิธีหน่ึงที่สามารถตอบสนองความตองการของผูดอยโอกาสในสังคม โดยจะลงทุนในรูปของเงินกู หรือเงินฝากที่สถาบันการเงินเพ่ือชุมชน มาตรการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อชุมชนมักสงผลโดยตรงอยางชัดเจน ดวยการสรางบานราคาถูก สรางงาน สงเสริมสวัสดิการสาธารณสุข การลงทุนเหลานี้มักไดรับความ

HCL BACKUP.indd 194HCL BACKUP.indd 194 1/1/70 9:50:03 AM1/1/70 9:50:03 AM

Page 195: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

รวมมืออยางดีจากชุมชน เพราะโครงการพัฒนาที่ชุมชนเปนเจาของยอมพยายามหาเงินทุนมาขยับขยายโครงการเอง การลงทุนเพ่ือพัฒนาชุมชนจึงนับเปนแนวทางการลงทุนที่นาสนใจอยางยิ่ง ในยุคที่เรากําลังเขาสูสถานการณโลกอันสลับซับซอนกวาเดิม ผูประกอบการทางสังคม (social entrepreneurs) ผูประกอบการทางสังคม (social entrepreneurs) คือ นักธุรกิจหรือปจเจกชนผูมีจิตสาธารณะที่เลือกเดิน “ทางสายกลาง” ระหวางนักธุรกิจและเอ็นจีโอแบบด้ังเดิม ที่ใชประโยชนจากชุดความรูจากโลกธุรกิจที่ประชาชนท่ัวไปเขาไมถึง ในการคิดคน พัฒนา และลงมือดําเนินกิจการท่ีมุงเนนการแกปญหาสังคมและสิ่งแวดลอมอยางย่ังยืนและคุมคาเมื่อเทียบกับตนทุน กลาวคือ ธุรกิจตองการกําไร ใหธุรกิจอยูไดโดยไมตองพึ่งเงินบริจาค แตการทําธุรกิจเพื่อสังคมตางจากการทําธุรกิจทั่วไปเพราะเปาหมายไมไดอยูที่ “การทํากําไรสูงสุด” หากแตอยูที่ “ผลตอบแทนทางสังคมสูงสุด” (maximized social return) ตางหาก เนื่องจาก “ผลตอบแทนทางสังคม” เปนนามธรรมที่วัดคาไมไดชัดเจน การลงทุนเพื่อสังคมจึงยาก ทาทาย และประสบความเสี่ยงท่ีจะประสบความลมเหลวมากกวาการลงทุนธรรมดา ดังนั้นจึงตองใชความคิดริเร่ิม ความกลาหาญ ความเสียสละ ความคิดสรางสรรค ความเช่ียวชาญ ความเช่ือมั่นในศักยภาพของผูยากไร ตลอดจน ความอดทนของผูประกอบการทางสังคมสูงกวาการทําธุรกิจปกติ ทําใหมีผูประกอบการทางสังคมนอยรายที่ประสบความสําเร็จ และบรรดาผูที่ประสบความสําเร็จทั้งหลายก็ลวนแตไดสรางกระบวนทัศนและวิธีการดําเนินธุรกิจแบบใหมๆ ที่พลิกตําราธุรกิจกระแสหลักจากหนามือเปนหลังมือทั้งสิ้น

HCL BACKUP.indd 195HCL BACKUP.indd 195 1/1/70 9:50:03 AM1/1/70 9:50:03 AM

Page 196: ทุนนิยมที่มีหัวใจ: ทางเลือกใหม่แห่งการพัฒนา โดย สฤณี อาชวานันทกุล

HCL BACKUP.indd 196HCL BACKUP.indd 196 1/1/70 9:50:04 AM1/1/70 9:50:04 AM