ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

23
หลักสูตรศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา (หลักสูตร ใหม .. ๒๕๔๘) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย …………………………………… . ชื่อหลักสูตร .ภาษาไทย : หลักสูตรศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา .ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhist Studies . ชื่อปริญญา .ภาษาไทย ชื่อเต็ม : ศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสนศึกษา) ชื่อยอ : ศน.. (พุทธศาสนศึกษา) .ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies) ชื่อยอ : Ph.D. (Buddhist Studies) . หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย . หลักการและเหตุผล และวัตถุประสงคของหลักสูตร .หลักการและเหตุผล พระพุทธศาสนามีความเปนสากล มีความลุมลึกทางหลักธรรมและหลักปฏิบัติที่สามารถศึกษาได อยางกวางขวาง โดยผานกระบวนการศึกษาเชิงเหตุผลในแงมุมตางๆ อยางเปนระบบ ในรูปแบบของการวิจัยเชิง ประจักษ ประยุกต เผยแผ และเชิงอนุรักษ เปนตน ซึ่งเปนการศึกษาควบคูกันไปทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ และที่สามารถบูรณาการเขากับวิชาการอื่นๆ ที่มีการศึกษาอยูในปจจุบันไดอยางสมดุล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตระหนักถึงวิวัฒนาการของสังคมโลกทีกาวหนาไปอยางไมหยุดยั้ง จึงใหความสําคัญตอการผลิตบัณฑิตที่ทรงความรูและสามารถทางพระพุทธศาสนา ที่สรางสรรคองคความรูใหม เพื่อวิถีชีวิตที่ดีงาม สามารถชี้นําสังคมสูวิถีทางที่ถูกตอง และเสริมสรางสันติสุขแก สังคมโลก โดยอาศัยพุทธธรรมเปนสารัตถะแหงการดํารงชีวิต ดังนั้นจึงเปนการสมควรอยางยิ่งที่จะตองขยาย การศึกษาใหสูงขึ้น

Upload: visvabharati

Post on 26-Dec-2015

53 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร.

TRANSCRIPT

Page 1: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

หลักสูตรศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา (หลักสูตร ใหม พ.ศ. ๒๕๔๘)

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

……………………………………

๑. ชื่อหลักสตูร ๑.๑ ภาษาไทย : หลักสูตรศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา

๑.๒ ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhist Studies

๒. ชื่อปริญญา ๒.๑ ภาษาไทย

ชื่อเต็ม : ศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พุทธศาสนศึกษา)

ชื่อยอ : ศน.ด. (พุทธศาสนศึกษา)

๒.๒ ภาษาอังกฤษ

ชื่อเต็ม : Doctor of Philosophy (Buddhist Studies)

ชื่อยอ : Ph.D. (Buddhist Studies)

๓. หนวยงานที่รับผิดชอบ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

๔. หลักการและเหตุผล และวัตถุประสงคของหลักสูตร ๔.๑ หลักการและเหตุผล พระพุทธศาสนามีความเปนสากล มีความลุมลึกทางหลักธรรมและหลักปฏิบัติที่สามารถศึกษาได

อยางกวางขวาง โดยผานกระบวนการศึกษาเชิงเหตุผลในแงมุมตางๆ อยางเปนระบบ ในรูปแบบของการวจิยัเชิง

ประจักษ ประยุกต เผยแผ และเชิงอนุรักษ เปนตน ซึ่งเปนการศึกษาควบคูกันไปทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ

และที่สามารถบูรณาการเขากับวิชาการอื่นๆ ที่มีการศึกษาอยูในปจจุบันไดอยางสมดุล

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ตระหนักถึงวิวัฒนาการของสังคมโลกที่

กาวหนาไปอยางไมหยุดยั้ง จึงใหความสําคัญตอการผลิตบัณฑิตที่ทรงความรูและสามารถทางพระพุทธศาสนา

ที่สรางสรรคองคความรูใหม เพื่อวิถีชีวิตที่ดีงาม สามารถชี้นําสังคมสูวิถีทางที่ถูกตอง และเสริมสรางสันติสุขแก

สังคมโลก โดยอาศัยพุทธธรรมเปนสารัตถะแหงการดํารงชีวิต ดังนั้นจึงเปนการสมควรอยางยิ่งที่จะตองขยาย

การศึกษาใหสูงข้ึน

Page 2: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๔.๒ วัตถุประสงคของหลักสูตร ๔.๒.๑ เพื่อผลิตศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตที่มีความรูและความเช่ียวชาญทางพระพุทธศาสนา

สามารถถายทอด และบูรณาการกับวิทยาการสมัยใหมไดอยางเปนระบบ

๔.๒.๒ เพื่อสรางองคความรูใหมอันเกิดจากการวิจัย คนควาระดับสูงทางพระพุทธศาสนาโดย

คํานึงถึงความเปนเลิศทางปริยัติและปฏิบัติ

๔.๒.๓ เพื่อผลิตศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตที่มีความสมบูรณดวยความรูและการปฏิบัติตนตาม

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

๔.๒.๔ เพื่อผลิตศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต ใหบริการและช้ีนําแกสถาบันและองคกรตางๆ ใน

สังคม

๕. กําหนดการเปดสอน ภาคการศึกษาที่ ๑ ปการศึกษา ๒๕๔๘

๖. คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์เขาศึกษา ๖.๑ เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท หรือเทียบเทาจากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภา

มหาวิทยาลัยรับรอง ในกรณีที่จบการศึกษาจากตางประเทศจะตองเปนมหาวิทยาลัยหรือสถาบันที่

ก.พ. รับรองหรือคณะกรรมการประจําบัณฑิตวิทยาลัยเห็นชอบ และคุณสมบัติอ่ืนๆ ซึ่งบัณฑิต

วิทยาลัยจะประกาศใหทราบเปนปๆ ไป

๖.๒ เปนผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท ไดแตมเฉล่ียไมตํ่ากวา ๓.๕๐ จากระบบ ๔ แตม หรือ

เทียบเทา ในกรณีที่ไดเกรดเฉล่ียไมถึงเกณฑที่กําหนด คณะกรรมการบริหารหลักสูตรอาจพิจารณา

รับสมัครไดโดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาการ ประสบการณการทํางาน ความรู และความสามารถ

ทั้งนี้ตองมีแตมเฉล่ียไมตํ่ากวา ๓.๓๐

๖.๓ ผูสมัครตองมีความรูทางดานภาษาบาลีและภาษาอังกฤษ โดยผานการทดสอบตามเกณฑที่

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด

๖.๔ สําหรับผูที่มีคุณสมบัติสามารถศึกษาในแบบ ๑ ได ตองเคยศึกษาในหลักสูตรที่มีการทําวิทยานิพนธ

ในระดับปริญญาโทหรือเทียบเทา ตองเปนผูทํางานในสายวิชาการ เชน อาจารย นักวิชาการ หรือ

นักวิจัยในมหาวิทยาลัย วิทยาลัย หรือสถาบันทางวิชาการอื่นๆ ที่ทําการสอนในระดับปริญญาตรีข้ึน

ไป ตองมีประสบการณในการทํางานในดานวิชาการมาแลวไมนอยกวา ๒ ป ทั้งนี้ตองมีคุณสมบัติ

ตามขอ ๖.๑ ถึง ๖.๓ ดวย

๖.๕ สําหรับผูที่ไมเคยผานการศึกษาทางดานพระพุทธศาสนาและทางดานปรัชญา ตองศึกษารายวิชา

ปรับพื้นฐาน ไมนอยกวา ๑๒ หนวยกิต

๖.๖ ตองไมเคยถูกลงโทษใหพนจากสถานภาพการเปนนักศึกษาจากสถาบันการศึกษา หรือมีบุคลิกภาพ

ที่ไมเหมาะสม

Page 3: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๗. การคัดเลือกผูเขาศึกษา ๗.๑ การพิจารณาคัดเลือกผูเขาศึกษา ใหเปนไปตามคูมือการสมัครเขาศึกษาในบัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ซึ่งจะประกาศใหทราบในแตละปการศึกษา

๗.๒ การพิจารณาเบ้ืองตน แบบ ๑ ๑. ใบสมัคร

๒. เอกสารรับรองความสามารถทางดานภาษาบาลีหรืออังกฤษ

๓. หนังสือรับรองจากอาจารยที่สอนในระดับบัณฑิตศึกษา อยางนอย ๒ ทาน

๔. ตองแสดงผลงานทางวิชาการที่เคยตีพิมพ หรือบทความทางวิชาการตามหัวขอที่

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด

๕. หัวขอและโครงรางวิทยานิพนธโดยสังเขป แบบ ๒ ๑. ใบสมัคร

๒. เอกสารรับรองความสามารถทางดานภาษาบาลีหรืออังกฤษ

๓. หนังสือรับรองจากอาจารยที่สอนในระดับบัณฑิตศึกษา อยางนอย ๒ ทาน

๔. หัวขอและโครงรางวิทยานิพนธโดยสังเขป

๗.๓ พิจารณาจากคะแนนการสอบขอเขียน

๗.๓.๑ ความรูทั่วไป

๗.๓.๒ ภาษาบาลีและภาษาอังกฤษ

๗.๓.๓ วิชาเฉพาะสาขา

๗.๔ พิจารณาจากการสอบสัมภาษณและสอบโครงรางวิทยานิพนธ โดยผูมีสิทธิ์สอบสัมภาษณตอง

สอบผานขอเขียนมาแลว

๘. ระบบการจัดการศึกษา ๘.๑ แบบ ๑

ระบบการศึกษาที่ทําวิทยานิพนธอยางเดียว โดยไมตองเขาเรียนในรายวิชา แตตองเขารวม

สัมมนาทางวิชาการตามที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด ทั้งนี้ใหอยูภายใตการดูแลของคณะกรรมการที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ

๘.๒ แบบ ๒

ระบบศึกษารายวิชาและทําวิทยานิพนธ โดยนักศึกษาตองศึกษารายวิชาซ่ึงมีหนวยกิตไมนอย

กวาที่กําหนดไวในหลักสูตร

Page 4: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๘.๓ บัณฑิตวิทยาลัย ใชระบบการศึกษาแบบหนวยกิต เปนแบบทวิภาค ปการศึกษาหนึ่งๆ แบง

ออกเปน ๒ ภาคการศึกษา แตละภาคการศึกษามีระยะเวลาไมนอยกวา ๑๖ สัปดาห และอาจมี

ภาคฤดูรอนอีก ๑ ภาคการศึกษา โดยมีระยะการศึกษาอีกไมนอยกวา ๖ สัปดาห

๙. ระยะเวลาการศึกษา ๙.๑ นักศึกษาที่ศึกษาแบบ ๑ ตองศึกษาใหสําเร็จการศึกษาไมเกิน ๕ ปการศึกษา

๙.๒ นักศึกษาที่ศึกษา แบบ ๒ ตองสําเร็จการศึกษาไมเกิน ๕ ปการศึกษา ทั้งนี้ตองมีเวลาใน

การศึกษาในรายวิชานั้นๆ ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในแตละภาค

การศึกษา

๙.๓ ในกรณีที่นักศึกษาไมสามารถสําเร็จการศึกษาในหลักสูตรภายในกําหนดเวลาที่กําหนด จะหมด

สภาพนักศึกษา เวนแตไดรับการอนุญาตผอนผันตอเวลาการศึกษาจากคณะกรรมการประจํา

บัณฑิตวิทยาลัย โดยพิจารณาจากความจําเปนและความกาวหนาทางวิชาการตามความ

เห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา

๑๐. การลงทะเบียนเรียน ๑๐.๑ นักศึกษาที่ศึกษา แบบ ๑ ตองลงทะเบียนวิทยานิพนธแตละภาคการศึกษาไมนอยกวา ๙ หนวย

กิต แตไมเกิน ๑๕ หนวยกิต

๑๐.๒ นักศึกษาที่ศึกษา แบบ ๒ ตองลงทะเบียนรายวิชาแตละภาคการศึกษาไมนอยกวา ๖ หนวยกิต

แตไมเกิน ๑๕ หนวยกิต

๑๐.๓ ภาคฤดูรอน นักศึกษาสามารถลงทะเบียนไดไมเกิน ๖ หนวยกิต

๑๐.๔ การลงทะเบียนนั้นตองลงภายในระยะเวลาท่ีบัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

๑๑. การวัดผลและประเมินผล ๑๑.๑ การวัดผลกระทําจากการทดสอบรายวิชาที่นักศึกษาลงทะเบียนในแตละภาคการศึกษา โดยวิธี

ที่เหมาะสมกับรายวิชานั้นๆ

๑๑.๒ การประเมินผลรายวิชากระทําไดโดยใชสัญลักษณซึ่งมีความหมายและแตมประจํา ดังนี้

ผลการศึกษา สัญลกัษณ คาระดับ เกณฑ

ดีเลิศ (Excellent) A ๔.๐๐ เกณฑผานวิชาบังคับและวชิาเอก

ดีมาก (Very Good) B+ ๓.๕๐ เกณฑผานวิชาบังคับและวชิาเอก

ดี (Good) B ๓.๐๐ เกณฑผานวิชาบังคับและวชิาเอก

คอนขางดี (Fairly Good) C+ ๒.๕๐ เกณฑผานวิชาเลือก

พอใช (Fair) C ๒.๐๐ เกณฑผานวิชาเลือก

ตก (Fail) F ๐ ไมผาน

Page 5: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๑.๓ การประเมินผลวิทยานิพนธแบงเปนระดับโดยใชคําวา ดีมาก (Very Good) ดี (Good) ผาน

(Pass) และไมผาน (Fail)

๑๒. การสําเร็จการศึกษา ๑๒.๑ นักศึกษาผูศึกษาระบบการศึกษาแบบ ๑ จะสําเร็จการศึกษาตองผานข้ันตอนดังนี้

๑) สอบผานภาษาตางประเทศอยางนอย ๑ ภาษา ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

กําหนด

๒) ตองสอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ภายใน ๑ ปการศึกษา จึง

จะมีสิทธิ์ในการเสนอขอทําวิทยานิพนธ

๓) สอบผานการประเมินผลวิทยานิพนธ และสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตามที่มหาวิทยาลัย

กําหนด

๔) ผลงานวิทยานิพนธ หรือสวนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพในวารสาร

หรือส่ิงพิมพทางวิชาการที่เปนที่ยอมรับ หรือที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหการรับรอง

๑๒.๒ นักศึกษาผูศึกษาระบบการศึกษาแบบ ๒ จะสําเร็จการศึกษาตองผานข้ันตอนดังนี้

๑) ตองสอบผานภาษาตางประเทศอยางนอย ๑ ภาษา ตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร

กําหนด

๒) ตองสอบผานทุกวิชาครบถวนตามที่กําหนดไวในหลักสูตร และแตมระดับคะแนนเฉล่ียไม

ตํ่ากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แตม

๓) ตองสอบผานการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ภายใน ๑ ปการศึกษา จึง

จะมีสิทธิ์ในการเสนอขอทําวิทยานิพนธ

๔) ตองสอบผานการสอบประมวลความรู (Comprehensive Examination) กอนเสนอสอบ

วิทยานิพนธ

๔) สอบผานการประเมินผลวิทยานิพนธ และสงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตามที่มหาวิทยาลัย

กําหนด

๕) ผลงานวิทยานิพนธหรือสวนหนึ่งของผลงานวิทยานิพนธตองไดรับการตีพิมพในวารสาร

หรือส่ิงพิมพทางวิชาการซึ่งเปนยอมรับหรือที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรใหการรับรอง

๑๓. การเสนอหัวขอและสอบโครงรางวิทยานิพนธ ๑๓.๑ นักศึกษาตองเสนอหัวขอและโครงรางวิทยานิพนธตอคณะกรรมการพิจารณาหัวขอและโครง

รางวิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาอนุมัติ และตองผานการสอบช้ีแจงโครงรางวิทยานิพนธที่เสนอมานั้น

๑๓.๒ นักศึกษาที่ศึกษา แบบ ๑ ตองลงทะเบียนทําวิทยานิพนธหลังจากหัวขอไดรับอนุมัติแลว และใน

แตละภาคการศึกษาสามารถลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน ๑๕ หนวยกิต และมีสิทธิ์เสนอสอบ

วิทยานิพนธ หลังจากที่ไดลงทะเบียนครบ ๖๓ หนวยกิต

Page 6: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๓.๓ นักศึกษาที่ศึกษา แบบ ๒ สามารถลงทะเบียนวิทยานิพนธไดตอเม่ือไดศึกษารายวิชามาแลวไม

นอยกวา ๑๒ หนวยกิต และสามารถมีสิทธิ์เสนอสอบเมื่อสอบผานทุกวิชาแลว โดยไดคาระดับ

เฉล่ียสะสมในรายวิชาไมนอยกวา ๓.๐๐

๑๓.๔ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ ตองประกอบดวยอาจารยผูทรงคุณวุฒิไมนอยกวา ๓ ทาน

โดยเปนที่ปรึกษาวิทยานิพนธ ๑ ทาน ทั้งนี้ตองเปนอาจารยประจํามหาวิทยาลัยอยางนอย ๑ ทาน

๑๓.๕ การสอบวิทยานิพนธตองเสนอผานที่ประชุมสัมมนาทางวิชาการ ที่มีการประกาศลวงหนาในที่

สาธารณะอยางนอย ๒ สัปดาห

๑๓.๖ วิทยานิพนธอาจเขียนเปนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษก็ได ทั้งนี้ข้ึนอยูกับคณะกรรมการบริหาร

หลักสูตรพิจารณาใหความเห็นชอบ

๑๓.๗ รูปแบบและลิขสิทธิ์ของวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามระเบียบของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

มหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๔. อาจารยผูสอน ๑๔.๑ อาจารยประจํา

ท่ี ชื่อ / ฉาย / นามสกุล ตําแหนง / ภาระงาน คุณวุฒ ิ๑ พระเทพวิสุทธิกวี - รองอธิการบดีฝายวิชาการและ

วางแผน - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ - กรรมการสภามหาวิทยาลัย

ป.ธ.๙, ศน.ม., Ph.D. (Philosophy)

๒ พระศรีมงคลเมธี - คณบดีคณะศาสนาและปรัชญา - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ - กรรมการสภาวิชาการ

ป.ธ.๙, ศน.บ., M.A., Ph.D. (Pali and Buddhist Studies)

๓ พระสุทธิสารโสภณ - รองอธิการบดีวิทยาเขตรอยเอ็ด - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

ศน.บ, M.A., Ph.D. (Pali and Buddhist Studies)

๔ พระครูปลัดสัมพิพัฒนวิริยาจารย - คณบดีบัณฑติวิทยาลัย - กรรมการสภาวิชาการ - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

ศน.บ., ศน.ม., M.Phil., Ph.D.(Buddhist Studies)

๕ พระครูธีรสารปริยัติคุณ รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร ศน.บ., M.A., D.Ed. (Education) ๖ พระมหา ผศ.ดร.ประคุณ

คุณธมฺโม - รองคณบดีบณัฑิตวิทยาลัย - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A., Ph.D. (Linguistics)

๗ พระมหา ดร.ไพฑูรย รุจมิิตฺโต - รองอธิการบดี ฝายเผยแผและวิเทศสัมพันธ - กรรมการสภาวิชาการ - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ - อาจารยประจาํบัณฑิตวิทยาลัย

ศน.บ., ศน.ม., M.Phil., Ph.D. (Buddhist Studies)

Page 7: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๘ พระ ดร.อนิลมาน ธมมฺสากิโย อาจารยประจาํคณะสังคมศาสตร มมร

ศน.บ., M.A., Ph.D. (Social Anthropology)

๙ ดร.วศิน อินทสระ - อาจารยพิเศษประจาํ บัณฑิตวิทยาลัย มมร - - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A. (Philosophy) ศน.ด. (กิตติมศักด์ิ)

๑๐ รศ.ชัยวัฒน อตัพัฒน - อาจารยพิเศษประจาํ บัณฑิตวิทยาลัย มมร - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A.(Philosophy)

๑๑ ดร.สุกิจ ชัยมุสิก - อาจารยพิเศษประจาํ บัณฑิตวิทยาลัย มมร - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

B.A.(Hons.), M.A., Ph.D. (Political Science)

๑๒ ดร.สุวิญ รักสัตย - อาจารยพิเศษประจาํ บัณฑิตวิทยาลัย มมร - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ - ประธานสาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา

พธ.บ., M.A., Ph.D. (Buddhist Studies)

๑๔.๒ อาจารยพิเศษ

๑ พระธรรมวิสุทธิกวี - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ - อาจารยใหญฝายกรรมฐาน

ป.ธ.๙, ศน.บ., M.A. (บาลีสันสกฤต) ศน.ด. (กิตติมศักด์ิ)

๒ พระเทพดิลก - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ - เ ล ข า นุ ก า ร ศู น ย เ ผ ย แ ผพระพุทธศาสนา

ศน.บ., M.A. (บาลีสันสกฤต) ศน.ด. (กิตติมศักด์ิ)

๓ พระเทพโสภณ อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ป.ธ.๙, พธ.บ., M.A., M.Phil., Ph.D. (Philosophy)

๔ รศ.สุวรรณ เพชรนิล อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย ป.ธ.๙, ศน.บ., M.A. (Philosophy) ๕ รศ.สุเชาวน พลอยชุม - อาจารยประจาํ

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - กรรมการสอบวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A. (Philosophy)

๖ ดร.เสนห เดชะวงศ อาจารยประจาํ มหาวิทยาลัยธรุกิจบัณฑิตย - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - กรรมการสอบวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A. Ph.D. (Linguistics)

๗ รศ.สมหมาย เปรมจิตต อาจารยคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

ป.ธ.๙, ศน.บ., M.A., (Buddhist Studies)

Page 8: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๘ รศ.ดร.พรเพ็ญ เพชรสุขศิริ ผอ.หลักสูตรปริญญาเอก สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

M.A., M.Ed., Ph.D. (Criminal Justice)

๙ ผศ.ดร.ปาริชาด สุวรรณบุบผา อาจารยประจํา คณะสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย

AMRS, (Religious Studies) Ph.D. (Systematic Theology)

๑๐ ผศ.ดร.วิทยา ศักยาภินันท - อาจารยคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - กรรมการสอบวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A., Ph.D. (Philosophy)

๑๑ ผศ.ดร. ประเวศ อินทองปาน - อาจารยคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร - อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - กรรมการสอบวิทยานิพนธ

พธ.บ., M.A., Ph.D. (Philosophy)

๑๒ ดร.สมบูรณ วฒันะ อาจารยพิเศษบัณฑิตวิทยาลัย - อาจารยท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ

ศน.บ., M.A., Ph.D. (Philosophy)

๑๔.๓ ผูทรงคุณวุฒิและอาจารยพิเศษประจําหลักสูตร

๑ ศาสตราจารยเกียรติคุณ แสง จันทรงาม ๒ ศาสตราจารยพิเศษ ดร.สุนทร ณ รังษี ๓ ศาสตราจารย ดร.สิทธิ์ บุตรอินทร ๔ ศาสตราจารย ดร.เดือน คําดี ๕ ศาสตราจารยพิเศษจํานงค ทองประเสริฐ ๖ ศาสตราจารย ดร.วิษณุ เครืองาม ๗ ศาสตราจารย ดร. บวรศักด์ิ อุวัณโณ ๘ ศาสตราจารย ดร.จิรโชค วีระสัย ๙ ศาสตราจารย ดร.วิรุณ ต้ังเจริญ ๑๐ ศาสตราจารย ดร.สมบูรณ สุขสําราญ ๑๑ ศาสตราจารย ดร.อมร รักษาสัตย ๑๒ รองศาสตราจารย ดร.พนา ทองมีอาคม ๑๓ นายแพทยบรรพต ตนธีรวงค ๑๕ ศาสตราจารย ดร.จํานงค อติวัฒนสิทธิ์ ๑๖ ศาสตราจารย ปรีชา ชางขวัญยืน ๑๗ ดร.สุชาติ เมืองแกว

Page 9: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๔.๔ อาจารยพิเศษจากตางประเทศ ๑ Dr. Bhikshu Satyapala Head of Department of Buddhist

Studies University of Delhi M.A., M.Phil., Ph.D., (Buddhist Studies)

๒ Prof. K.T.S. Sarao Professor of Buddhist History University of Delhi

M.A., M.Phil., Ph.D., (Buddhist Studies)

๓ Dr. Subhra Pavagadhi Reader University of Delhi

M.A., M.Phil., Ph.D., (Buddhist Studies)

๑๕. จํานวนนักศึกษา จํานวนนักศึกษาปการศึกษา ๒๕๔๘–๒๕๕๒

จํานวนนักศกึษา ปการศึกษา ๒๕๔๘ ๒๕๔๙ ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒

นักศึกษาใหม ๑๕ - ๑๕ - ๑๕ นักศึกษาเกา ๑๕ ๑๕ ๒๕ ๑๕

รวม ๑๕ ๑๕ ๓๐ ๒๕ ๓๐ จบ ๕ ๑๐ ๑๐

๑๖. สถานที่ต้ัง บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วัดบวรนิเวศวิหาร บางลําภู กรุงเทพมหานคร

๑๗. หองสมุด ๑๗.๑ หนังสือสําหรับคนควาทางวิชาการที่เปนภาษาไทย ประมาณ ๒๐,๐๐๐ เลม

๑๗.๒ หนังสือสําหรับคนควาทางวิชาการที่เปนภาษาอังกฤษ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ เลม

๑๗.๓ ฐานขอมูลคอมพิวเตอรที่เปนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ประมาณ ๕๐ รายการ

๑๗.๔ วิทยานิพนธ ประมาณ ๑,๐๐๐ เลม

๑๘. งบประมาณ ๑๘.๑ ไดรับเงินอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

๑๘.๒ ไดรับจากคาหนวยกิตและคาธรรมเนียมการศึกษา

๑๙. โครงสรางหลักสูตร ๑๙.๑ สําหรับผูศึกษา แบบ ๑

หนวยกิตตลอดหลักสูตร ๖๓ หนวยกิต

๑๙.๒ สําหรับผูศึกษา แบบ ๒

หนวยกิตตลอดหลักสูตร ๖๓ หนวยกิต

Page 10: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๐

๑๙.๓ รายละเอียดของโครงสรางหลักสูตร มีดังนี้

โครงสรางหลกัสูตร หนวยกิต แบบ ๑ หนวยกิต แบบ ๒

๑. หมวดวิชาเสริมพื้นฐาน อาจมีการเรียนเสริมโดยไมนับ

หนวยกิต

อาจมีการเรียนเสริมโดยไมนับ

หนวยกิต

๒. หมวดวิชาบังคับ ๙

๓. หมวดวิชาเอก ๑๒

๔. หมวดวิชาเลือก ๖

๕. วิทยานิพนธ ๖๓ ๓๖

รวม ๖๓ ๖๓

๒๐. หลักสูตรการศึกษา แบบ ๑ หลักสูตร แบบ ๑ เปนหลักสูตรที่เนนการวิจัยโดยการทําวิทยานิพนธอยางเดียว ไมตอง

เรียนในรายวิชาที่นับหนวยกิต แตอาจเรียนรายวิชาเสริมไมนับหนวยกิตและตองเขารวมสัมมนา

วิชาการตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนด

วิทยานิพนธนั้นตองมีเนื้อหาและลักษณะตามสาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา

๒๑. เลขรหัสวิชา พ = สาขาพุทธศาสนศึกษา

๒ = เลขในหมวดศาสนา

๐๑ = ลําดับรายวิชา

๒๒. รายวิชาในหลักสูตรแบบ ๒ ๒๒.๑ รายวิชาหมวดเสริมบังคับพื้นฐาน นักศึกษาในหลักสูตรนี้จะตองมีความรูพื้นฐานเกี่ยวกับภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ดังนั้นตองเรียนวิชาเสริมพื้นฐานนี้ในปการศึกษาแรกที่เขาศึกษา

พ ๒๐๑ ภาษาบาลีและภาษาอังกฤษสําหรับการศึกษาพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 201 Pali and English for Buddhist Study

พ ๒๐๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อประโยชนตอ

พระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 202 Information Technology and Communication

for Buddhist Utilization

Page 11: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๑

๒๒.๒ รายวิชาหมวดบังคับ นักศึกษาหลักสูตร แบบ ๒ ตองเรียนรายวิชาจํานวน ๙ หนวยกิต ในรายวิชาตอไปนี้

พ ๒๐๓ สัมมนาสารัตถะพระไตรปฎก ๓ หนวยกิต

B 203 Seminar on the Tipitaka

พ ๒๐๔ ทฤษฎีและปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ๓ หนวยกิต

B 204 Theory and Practice of Buddhist Insight Meditation

พ ๒๐๕ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบูรณาการ ๓ หนวยกิต

B 205 Integrated Research Methodology

๒๒.๓ รายวิชาหมวดวิชาเอก

นักศึกษาหลักสูตร แบบ ๒ ตองเรียนรายวิชาจํานวน ๑๒ หนวยกิต ในรายวิชาตอไปนี้ พ ๒๐๖ การบริหาร การจัดการองคกรทางพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต B 206 Administrative Management of Buddhist Organization พ ๒๐๗ ศึกษาเฉพาะเร่ืองในพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต B 207 Selected Topics on Buddhism พ ๒๐๘ สัมมนาพุทธธรรมประยุกต ๓ หนวยกิต B 208 Seminar on Applied Buddhadhamma พ ๒๐๙ พระพุทธศาสนากับวิถีไทย ๓ หนวยกิต B 209 Buddhism and Thai Way of Life พ ๒๑๐ สัมมนาการจัดการปญหาตามแนวพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต B 210 Seminar on Problems Resolution in Buddhist Approach พ ๒๑๑ การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพุทธศาสตร ๓ หนวยกิต B 211 Sustainable Development in Buddhist Approach พ ๒๑๒ การใชเหตุผลตามแนวพุทธศาสตร ๓ หนวยกิต B 212 Reasoning in Buddhist Approach พ ๒๑๓ สัมมนาพระพุทธศาสนากับโลกาภิวัตน ๓ หนวยกิต B 213 Seminar on Buddhism and Globalization

๒๒.๔ รายวิชาหมวดวิชาเลือก นักศึกษาหลักสูตร แบบ ๒ ตองเลือกเรียนรายวิชาไมนอยกวา ๖ หนวยกิต ในรายวิชาตอไปนี้

พ ๒๑๔ ศึกษาอิสระทางศาสนศาสตร ๓ หนวยกิต

B 214 Independent Study in Religious Sciences

พ ๒๑๕ สัมมนาพระพุทธศาสนากับงานเผยแผ ๓ หนวยกิต

B 215 Seminar on Buddhist Missionary Work

Page 12: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๒

พ ๒๑๖ จิตวิทยาเชิงพุทธศาสตร ๓ หนวยกิต

B 216 Buddhist Psychology

พ ๒๑๗ สัมมนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 217 Seminar on Buddhist Literature

พ ๒๑๘ สัมมนาการบริหารการคณะสงฆไทย ๓ หนวยกิต

B 218 Seminar on Thai Sangha Administration

พ ๒๑๙ ศาสตรการตีความแนวพุทธศาสน ๓ หนวยกิต

B 219 Buddhist Hermeneutics

พ ๒๒๐ พระพุทธศาสนากับการเมือง ๓ หนวยกิต

B 220 Buddhism and Politics

พ ๒๒๑ การใชภาษาบาลีเพื่องานวิจัย ๓ หนวยกิต

B 221 Pali for Research

พ ๒๒๒ การใชภาษาอังกฤษเพื่อการวิจัย ๓ หนวยกิต

B 222 English for Research

พ ๒๒๓ พระพุทธศาสนากับสังคมเศรษฐกิจ ๓ หนวยกิต

B 223 Buddhism and Socio-Economy

พ ๒๒๔ พระพุทธศาสนากับศิลปวัฒนธรรม ๓ หนวยกิต

B 224 Buddhism Arts and Culture

๒๒.๕ วิทยานิพนธ นักศึกษาตองลงทะเบียนวิทยานิพนธไมนอยกวา ๖๓ หนวยกิตในแบบ ๑ และไมนอยกวา

๓๖ หนวยกิตในแบบ ๒

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ (แบบ ๑) ๖๓ หนวยกิต

B 225 Thesis

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ (แบบ ๒) ๓๖ หนวยกิต

B 225 Thesis

๒๓. แผนการสอน ๒๓.๑ แบบ ๑

ชั้นปที่ ๑ ภาคการศึกษา

๑ รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๑

Page 13: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๓

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๒

รวม ๑๒

ชั้นปที่ ๑ รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๑

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๒ ภาคการศึกษา

รวม ๑๒

ชั้นปที่ ๒ รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๑

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๒ ภาคการศึกษา

รวม ๑๒

ชั้นปที่ ๒ รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๑

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๒ ภาคการศึกษา

รวม ๑๒

ชั้นปที่ ๓

รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต แบบ ๑

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๕ ภาคการศึกษา

๑ รวม ๑๕

๒๓.๒ แผนการศึกษา แบบ ๒

ชั้นปที่ ๑

รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต แบบ ๒

ภาคการศึกษา ๑ วิชาเสริมบงัคับพื้นฐาน

Page 14: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๔

พ ๒๐๑ ภาษาบาลีและภาษาอังกฤษสําหรับการศึกษาพระพุทธศาสนา

๓๒๑๖๐๕ เปรียบเทียบคําสอนพระพุทธศาสนา เถรวาทและมหายาน *

*(วิชาปรับพืน้ฐานสําหรับผูไมไดจบทางดานพทุธศาสนา หรือพทุธศาสนาและปรัชญา)

(๓)

(๓)

วิชาหมวดบังคับ พ ๒๐๓ สัมมนาสารัตถะพระไตรปฎก พ ๒๐๔ ทฤษฎีและการปฏิบัติวิปสสนา

กัมมัฏฐาน วิชาหมวดวิชาเอก พ ๒๐๗ ศึกษาเฉพาะเรื่องในพระพุทธศาสนา

เชิงพฒันาการ

๓ ๓ ๓

รวม ๙

ชั้นปที่ ๑ รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๒ วิชาเสริมบงัคับพื้นฐาน

ภาคการศึกษา ๒

พ ๒๐๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อประโยชนตอพระพทุธศาสนา

๑๓๒๑๑๐๑ พุทธปรัชญาในพระสุตตันตปฎก* (*วิชาปรับพื้นฐานสําหรับผูไมไดจบทางดานพทุธ

ศาสนา หรือพทุธศาสนาและปรัชญา)

(๓)

(๓)

Page 15: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๕

วิชาหมวดบังคับ พ ๒๐๕ ระเบียบวิธวีิจยัเชิงบูรณาการ

วิชาหมวดวิชาเอก พ ๒๐๖ การบริหาร การจัดการองคกรทาง

พระพทุธศาสนา พ ๒๐๗ การศึกษาเฉพาะเร่ืองในพระพุทธศาสนา

๓ ๓ ๓

รวม ๙

ชั้นปที่ ๒

ภาคการศึกษา รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต แบบ ๒

รายวชิาหมวดวิชาเอก

๑ พ ๒๑๑ การพัฒนาที่ยัง่ยืนตามแนว

พุทธศาสตร

๑๓๒๑๖๐๖ สัมมนาประวติัและพัฒนาการของ

พระพทุธศาสนา*

(*วิชาปรับพืน้ฐานสําหรับผูไมไดจบทางดานพทุธ

ศาสนา หรือพทุธศาสนาและปรัชญา) รายวชิาหมวดวิชาเลือก

พ ๒๑๔ สัมมนาพระพทุธศาสนากับงานเผยแผ

(๓)

รวม ๖

ชั้นปที่ ๒

ภาคการศึกษา รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต แบบ ๒

รายวชิาหมวดวิชาเลือก

๒ พ ๒๒๐ พระพทุธศาสนากับการเมือง ๓

Page 16: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๖

วิทยานิพนธ พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ

๑๒

รวม ๑๕

ชั้นปที่ ๓ ภาคการศึกษา รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๒

วิทยานิพนธ

๑ พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๒

รวม ๑๒

ชั้นปที่ ๓ ภาคการศึกษา รหัสวิชาและรายวชิา จําหนวยหนวยกิต

แบบ ๒

วิทยานิพนธ

๒ พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ ๑๒

รวม ๑๒

๒๔. แนวสังเขปรายวิชา ๒๔.๑ รายวิชาหมวดเสริมพื้นฐาน

พ ๒๐๑ ภาษาบาลีและภาษาอังกฤษสําหรับการศึกษาพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 201 Pāli and English for Buddhist Study 3 units

ศึกษาภาษาบาลีและภาษาอังกฤษเพื่อทักษะในภาษาทั้งสอง สามารถอธิบายคําส่ัง

สอนทางพระพุทธศาสนาเชิงวิชาการ สนองงานดานการเผยแผและวิจัย และนําเสนอผลการวิจัยที่เกี่ยวกับ

พระพุทธศาสนาได

Page 17: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๗

พ ๒๐๒ เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพื่อประโยชน

ตอพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 202 Information Technology and Communication

for Buddhist Utilization 3 units

รูจักใชระบบฐานขอมูลทางวิชาการในเว็ปไซต การใชเคร่ืองมือทางเทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสารเพื่อศึกษา คนควา วิจัย และเผยแผพระพุทธศาสนา สามารถสรางโฮมเพจ

(Homepage) และนําเสนอผลการคนควา วิจัย ทางเทคโนโลยีสารสนเทศได ๒๔.๒ หมวดวิชาบังคับ

พ ๒๐๓ สัมมนาสารัตถะพระไตรปฎก ๓ หนวยกิต

B 203 Seminar on the Tipiţaka 3 units

สัมมนาเร่ืองและประเด็นที่เปนคําส่ังสอนหลักในพระวินัยปฎก พระสุตตันตปฎก และ

พระอภิธรรมปฎก นักศึกษา โดยความเห็นชอบของอาจารยประจําวิชา นําเสนอหัวขอและประเด็นศึกษาพรอม

โครงรางรายงานที่เปนสาระสําคัญ และองคประกอบแหงความรูในพระไตรปฎก จัดทําประมวลผลการศึกษาเชิง

วิเคราะห นําเสนอที่ประชุมสัมมนา เพื่อแสดงใหเห็นถึงภูมิรู และองคความรูในพระไตรปฎก

พ ๒๐๔ ทฤษฎีและปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐาน ๓ หนวยกิต

B 204 Theory and Practice of Buddhist Insight Meditation 3 units

ทฤษฎีและปฏิบัติวิปสสนากัมมัฏฐานตามแนววิสุทธิมรรคและมหาสติปฏฐานสูตร

สามารถบูรณาการทฤษฎีและปฏิบัติ ตามเงื่อนไข เวลา และสถานที่ ที่บัณฑิตวิทยาลัยกําหนด

พ ๒๐๕ ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบูรณาการ ๓ หนวยกิต

B 205 Integrated Research Methodology 3 units

ศึกษาหลักการ วัตถุประสงค และระเบียบวิธีการวิจัย เนนวิธีวิจัยเชิงพุทธ ทั้งดาน

ปริมาณและคุณภาพ ทั้งวิจัยพื้นฐานและวิจัยประยุกต ที่สอดคลองกับหลักการทางพระพุทธศาสนา รวมทั้ง

วิธีการศึกษาวิเคราะหศาสนาในรูปแบบตางๆ (Methodology in Religious Studies) เปนวิธีวิจัยที่ครอบคลุม

ผสมผสานสหวิทยาการสาขาอ่ืนๆ ซึ่งมีพระพุทธศาสนาเปนหลัก นักศึกษาตองเสนอโครงรางเพื่อการวิจัยไม

นอยกวา ๓ ประเด็น ทั้งสามารถนําผลการวิจัยไปประยุกตใชได

Page 18: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๘

๒๔.๓ รายวิชาหมวดวิชาเอก นักศึกษาหลักสูตร แบบ ๒ จะตองเรียนในรายวิชาตอไปนี้ จํานวน ๑๒ หนวยกิต ดังมีรายวิชา

ตอไปนี้

พ ๒๐๖ การบริหาร การจัดการองคกรทางพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 206 Administrative Management of Buddhist Organization 3 units

การบริหาร การจัดการองคกรทางพระพุทธศาสนาตามองคประกอบทาง

พระพุทธศาสนา คือ ศาสดา คําสอน บุคลากร ศาสนสมบัติ และพิธีกรรม รวมทั้งศาสนสถาน การศึกษา การ

สาธารณูปการ และการตรวจสอบ ประเมินคา โดยสรางความเช่ือมโยงบูรณาการทุกดานใหสัมพันธกับสังคม

ของบรรพชิตและคฤหัสถ เพื่อประโยชนสูงสุดแกการบริหาร การจัดการองคกรในพระพุทธศาสนา รวมทั้งความ

เคล่ือนไหวขององคกรที่เกิดข้ึน และสัมพันธกับองคกรอ่ืนในปจจุบัน มุงเนนการบริหารจัดการในระบบธรรมาภิ

บาลและธรรมาธิปไตยตามแนวพระพุทธศาสนา

พ ๒๐๗ การศึกษาเฉพาะเร่ืองในพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 207 Selected Topics on Buddhism 3 units

อาจารยและนักศึกษากําหนดเร่ืองศึกษาโดยเนนการวิเคราะห วิจารณ เปรียบเทียบ

และประเมินคาเร่ืองสําคัญๆ ดานหลักธรรม บุคคล สถานที่ ประวัติศาสตรทางพระพุทธศาสนา เปรียบเทียบ

หลักธรรมที่สําคัญในพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน ประเด็นสภาพการณและแนวโนมพระพุทธศาสนา

ในอดีต ปจจุบัน และอนาคต

ศึกษาภาพรวมของแตละเร่ืองแลวกําหนดประเด็นศึกษา โดยความเห็นชอบของ

อาจารยประจําวิชา แลวดําเนินการศึกษาและนําเสนอเปนภาคนิพนธตามกําหนด

พ ๒๐๘ สัมมนาพุทธธรรมประยุกต ๓ หนวยกิต

B 208 Seminar on Applied Buddhadhamma 3 units

ศึกษาพระพุทธศาสนาประยุกตทั้งในดานปริยัติและปฏิบัติ ยกประเด็นที่นาสนใจมา

วิเคราะห แสดงถึงความสัมพันธระหวางพุทธธรรมกับวิทยาการสมัยใหม ใหเห็นบูรณาการทฤษฎี การปฏิบัติ

ตลอดจนความสอดคลองและความตาง ที่สามารถนํามาประยุกตใชแกปญหาสังคมและพัฒนามนุษยได

นักศึกษาตองนําเสนอหัวขอในเร่ืองที่ยกมาศึกษา ใหอาจารยประจําวิชาเห็นชอบ จึง

ดําเนินการศึกษาตามกระบวนการวิจัย เมื่อไดประมวลผลจากการศึกษาแลว นักศึกษาจึงนําเสนอตอที่

ประชุมสัมมนาตามกําหนด

พ ๒๐๙ พระพุทธศาสนากับวิถีไทย ๓ หนวยกิต

B 209 Buddhism and Thai Way of Life 3 units

Page 19: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๑๙

วิเคราะหวิถีชีวิตไทยในแงมุมและมิติที่เกี่ยวกับการดํารงชีพสวนบุคคลในสังคม

ชนบทและสังคมเมืองที่มีบุคลิกลักษณะพิเศษ เปนผูรักสันติ ไมเบียดเบียน ใฝไมตรี และไมเพงโทษ และ

อุปนิสัยประนีประนอม นอบนอมถอมตัว ใจเขาใจเรา และใฝทางสายกลาง ของคนไทยที่ไดรับอิทธิพลจาก

พระพุทธศาสนา

พ ๒๑๐ สัมมนาการจัดการปญหาตามแนวพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 210 Seminar on Resolution of Problems in Buddhist Approach 3 units

นักศึกษานําเสนอปญหาและกรณีตัวอยางความขัดแยงทางสังคมและขอขัดแยงที่โยง

ถึงพุทธศาสนามาวิเคราะห แสวงหาวิธีการแกไขปญหาและความขัดแยงตามแนวพระพุทธศาสนา รวมทั้ง

แนวทางแหงสันติวิธีศึกษา (Peace Education) เนนการแสวงหาทางแกไขเพื่อการจัดการความขัดแยงและ

ปญหาเหลานั้นอยางถูกตอง มีระบบและมีประสิทธิภาพ

นักศึกษาจะตองนําเสนอปญหาและกรณีตัวอยางความขัดแยงและปญหาเหลานั้น

ผานการเห็นชอบของอาจารยประจําวิชา เมื่อไดขอสรุปเปนอยางไร ใหนํามาอภิปราย สัมมนาตามที่กําหนด

พ ๒๑๑ การพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพุทธศาสตร ๓ หนวยกิต

B 211 Sustainable Development in Buddhist Approach 3 units

วิเคราะหแนวทางการพัฒนามนุษย สังคม ธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ใหเห็นจุดเดน

และจุดดอยของระบบการพัฒนาน้ัน รวมทั้งการศึกษาวิเคราะหความคิด คําสอน และแบบแผนการพัฒนาท่ี

ยั่งยืนตามหลักการทางพระพุทธศาสนา และศึกษากลุมตัวอยางที่ไดรับการพัฒนาแบบยั่งยืนตามแนว

พระพุทธศาสนา

พ ๒๑๒ การใชเหตุผลตามแนวพุทธศาสตร ๓ หนวยกิต

B 212 Reasoning in Buddhist Approach 3 units

ศึกษา วิ เคราะห หลักการและวิธีการใช เหตุผลเชิงตรรกศาสตร ในคัมภีร

พระพุทธศาสนา ศึกษาเปรียบเทียบหลักการใชเหตุผลเชิงตรรกศาสตรตะวันตกกับอรรถกถาของเถรวาทและ

ทฤษฎีเชิงตรรกศาสตรของคณาจารยมหายาน ศึกษาตรรกศาสตรแนวพุทธอยางถองแท

พ ๒๑๓ สัมมนาพระพุทธศาสนากับโลกาภิวัตน ๓ หนวยกิต

B 213 Seminar on Buddhism and Globalization 3 units

นักศึกษาแบงกลุมศึกษาบทบาทและสถานะขององคประกอบทางพระพุทธศาสนาที่

ดํารงอยูในปจจุบัน และลักษณะของยุคโลกาภิวัตน รวมทั้งศึกษาผลกระทบตอพระพุทธศาสนา เชิงจริยธรรม

เชิงสิทธิมนุษยชน และการปรับตัวของพระพุทธศาสนาอยางมีระบบและสมดุล

Page 20: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๒๐

นักศึกษากําหนดประเด็นในการศึกษา จัดทําโครงรางใหครอบคลุมกระบวนการทํา

วิจัย นําเสนอผลการศึกษาตามที่กําหนด ๒๔.๔ รายวิชาหมวดวิชาเลือก

พ ๒๑๔ การศึกษาอิสระทางศาสนศาสตร ๓ หนวยกิต

B 214 Independent Study in Religious Science 3 units

นักศึกษาเลือกทําโครงการวิจัย เนนการวิเคราะหหรือการเปรียบเทียบ หรือวิธีการ

เสวนาเกี่ยวกับกําเนิด คําสอนและพัฒนาการของศาสนาตางๆ ในฝายเทวนิยมหรือฝายอเทวนิยมอยางเปน

ระบบ กําหนดเนื้อหาศึกษาอยางนอย ๓ ประเด็นในแตละศาสนา ซึ่งแตละเร่ืองตองไดรับอนุมัติจากอาจารย

ประจําวิชาแลวจึงนําเสนอผลการศึกษานั้นตอที่ประชุมสัมมนาตามกําหนด

พ ๒๑๕ สัมมนาพระพุทธศาสนากับงานเผยแผ ๓ หนวยกิต

B 215 Seminar on Buddhist Missionary Work 3 units

งานมอบหมายใหนักศึกษาออกเผยแพรพระพุทธศาสนาในประเทศหรือนอกประเทศ

โดยกระทําอยางครบวงจรดวยการติดตามผลและประเมินผล ศึกษาวิเคราะหปญหา อุปสรรคและขอบกพรอง

ของงานเผยแผ จัดสัมมนาระดมความคิดเห็นเพื่อหาทางปรับปรุงแกไข โดยนําเสนอเชิงเอกสารวิชาการ

พ ๒๑๖ จิตวิทยาเชิงพุทธศาสตร ๓ หนวยกิต

B 216 Buddhist Psychology 3 units

วิเคราะหจิตวิทยาเชิงพุทธศาสตร ที่สัมพันธกับจิตวิทยาเชิงวิทยาศาสตร พัฒนาการ

ทางจิต จริตของบุคคล วิธีเปล่ียนแปลงพฤติกรรม อิทธิพลของกลุมตอบุคคล การใหคําปรึกษา แนะแนววิธีสราง

สุขภาพจิต สมรรถภาพจิต จิตภาวนาและกระบวนการพัฒนาจิตของปจเจกบุคคลใหเกิดความสัมพันธที่พึง

ประสงคในสังคม

พ ๒๑๗ สัมมนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๓ หนวยกิต

B 217 Seminar on the Buddhist Literature 3 units

ศึกษาวิเคราะหวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาจากคัมภีรอรรถกถาธรรมบท คัมภีร

วิสุทธิมรรค คัมภีรมิลินทปญหา คัมภีรอรรถสาลินี และคัมภีรมังคลัตถทีปนีของฝายเถรวาท คัมภีรสัทธรรม

ปุณฑริกสูตร คัมภีรปรัชญาปารมิตา คัมภีรลังกาวตารสูตร คัมภีรมูลมาธยามิก การิกศาสตรของฝายมหายาน

นักศึกษานําประเด็นสําคัญในคัมภีรที่กําหนดใหมาศึกษาวิเคราะห เปรียบเทียบ แลว

สรุปนําเสนอที่สัมมนา โดยเนนใหเห็นลักษณะพิเศษและคุณคาของวรรณกรรมในแตละคัมภีร

Page 21: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๒๑

พ ๒๑๘ สัมมนาการบริหารการคณะสงฆไทย ๓ หนวยกิต

B 218 Seminar on Thai Sangha Administration 3 units

นักศึกษาเลือกประเด็นการบริหารการคณะสงฆไทยที่สําคัญมาสัมมนากลุมยอย

อยางนอย ๓ ประเด็น เนนรูปแบบของการศึกษาวิจัยประเด็นตางๆ หลากหลาย เพื่อหาคําตอบในเร่ืองนั้นๆ

ศึกษาเปรียบเทียบการบริหารการคณะสงฆของประเทศอื่น และการบริหารองคกรของนักบวชในศาสนาอ่ืน

วิธีการนํากลยุทธการบริหารและพัฒนาองคกรของรัฐมาปรับใชกับการบริหารการคณะสงฆไทย

พ ๒๑๙ ศาสตรแหงการตีความแนวพุทธศาสน ๓ หนวยกิต

B 219 Buddhist Hermeneutics 3 units

ลักษณะวิเคราะหลักษณะ หลักการ และวิธีการตีความพุทธธรรมโดยพระอรรถกถา

จารยและนักปราชญทางพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน เปรียบเทียบกับศาสตรแหงการตีความแบบอรรถ

ปริวรรตของตะวันตก

นักศึกษา โดยความเห็นชอบของอาจารยประจําวิชา เลือกประเด็นหลักพุทธธรรมมา

สัมมนาตีความและอภิปรายกลุม

พ ๒๒๐ พระพุทธศาสนากับการเมือง ๓ หนวยกิต

B 220 Buddhism and Politics 3 units

ศึกษาวิเคราะหปรัชญาการปกครองตามแนวพุทธ บทบาทและอิทธิพลทางการเมือง

ที่มีผลกระทบตอพระพุทธศาสนา การเมืองในระบอบที่สัมพันธกับความเจริญ ความมั่นคง และความเส่ือม

ของพระพุทธศาสนาในอดีตและปจจุบัน ศึกษาทฤษฎีและวิธีการแกไข ปองกันภัยอันตรายตอ

พระพุทธศาสนาที่เกิดจากลัทธิการเมือง การปกครอง รวมทั้งผลกระทบที่เกิดแกพระพุทธศาสนาจาก

ตางประเทศ

พ ๒๒๑ การใชภาษาบาลีเพื่องานวิจัย ๓ หนวยกิต

B 221 Pāli for Research 3 units

การใชภาษาบาลีที่จําเปนสําหรับการศึกษา คนควา และวิจัย เนนภาษาบาลีที่ปรากฏ

ในคัมภีรอรรถกถาและฎีกา รวมทั้งภาษาบาลีชั้นสูง และนิรุกติศาสตรในคัมภีรไวยากรณมูลกัจจายนะ เพื่อ

ประโยชนตอการสืบคนขอมูลที่เปนภาษาบาลี

พ ๒๒๒ การใชภาษาอังกฤษเพื่อการวิจัย ๓ หนวยกิต

B 222 English for Research 3 units

Page 22: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๒๒

การใชภาษาอังกฤษที่จําเปนสําหรับการศึกษา คนควา และวิจัย เนนศัพท วลี ประโยค

เพื่อนําเสนอผลงานทางการวิจัยเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา และการใชภาษาอังกฤษที่เกี่ยวของกับ

พระพุทธศาสนากับสหวิทยาการสาขาอ่ืนๆ

พ ๒๒๓ พระพุทธศาสนากับสังคมเศรษฐกิจ ๓ หนวยกิต

B 223 Buddhism and Socio-Economy 3 units

แนวคิด แนวปฏิบัติ และองคความรูระบบเศรษฐกิจในพระพุทธศาสนา การ

ประยุกตใชเศรษฐศาสตรแนวพุทธในสังคม ความสัมพันธและกิจกรรมทางสังคมเศรษฐกิจ ผลกระทบระบบ

เศรษฐกิจในปจจุบัน สรางองคความรูตามแนวการวิจัยการจัดการสังคมเศรษฐกิจแนวพุทธ

พ ๒๒๔ พระพุทธศาสนากับศิลปวัฒนธรรม ๓ หนวยกิต

B 224 Buddhism Arts and Culture 3 units

แนวคิด รูปแบบ ความสัมพันธ คุณคา ของศิลปะและวัฒนธรรมที่มีพื้นจาก

พระพุทธศาสนา วิวัฒนาการของศิลปะและวัฒนธรรมที่ไดรับอิทธิจากพระพุทธศาสนาในประเทศตางๆ

นักศึกษาทําวิจัยภาคสนามที่เกี่ยวกับศิลปะและวัฒนธรรม แลวนําเสนอเชิงเอกสารวิชาการตามที่กําหนด

๒๔.๕ วิทยานิพนธ (Thesis)

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ (แบบ ๑) ๖๓ หนวยกิต

B 225 Thesis (Plan 1) 63 units

เปนวิทยานิพนธเฉพาะบุคคล มีเนื้อหาและลักษณะตามวิชาที่กําหนดไวใน

หลักสูตร นักศึกษาตองทําวิทยานิพนธตามระเบียบวิธีวิจัย ภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา

วิทยานิพนธโดยเฉพาะ และนําเสนอความกาวหนาของการทําวิทยานิพนธเปนเอกสารวิชาการ ตอ

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธทุก ๖๐ วัน เมื่อวิทยานิพนธมีความสมบูรณใหเสนอสอบวิทยานิพนธ

ผานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธในที่ประชุมสัมมนาทางวิชาการ

นักศึกษาตองสรุปผลงานวิทยานิพนธออกเผยแผในวารสารทางวิชาการที่บัณฑิต

วิทยาลัยเห็นชอบ

พ ๒๒๕ วิทยานิพนธ (แบบ ๒) ๓๖ หนวยกิต

B 225 Thesis (Plan 2) 36 units

Page 23: ป.เอก พุทธศาสน์ศึกษา - มมร

๒๓

เปนวิทยานิพนธเฉพาะบุคคล มีเนื้อหาและลักษณะตามวิชาที่กําหนดไวใน

หลักสูตร นักศึกษาตองทําวิทยานิพนธตามระเบียบวิธีวิจัย ภายใตการควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา

วิทยานิพนธโดยเฉพาะ และนําเสนอความกาวหนาของการทําวิทยานิพนธเปนเอกสารวิชาการ ตอ

คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธทุก ๖๐ วัน เมื่อวิทยานิพนธมีความสมบูรณใหเสนอสอบวิทยานิพนธ

ผานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธในที่ประชุมสัมมนาทางวิชาการ

นักศึกษาตองสรุปผลงานวิทยานิพนธออกเผยแผในวารสารทางวิชาการที่บัณฑิต

วิทยาลัยเห็นชอบ