น.ส.นิดาวรรณ 56300370 9 mind map3

1
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา การเรียนรูตามแนว พฤติกรรมนิยม เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม การเรียนรูตามแนวพุทธิปญญา เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา ตามแนวพุทธิปญญานิยม เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา ตามแนวคอนสตรัคติวิสต การเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมซึ่งเปนผล เนื่องมาจากการเชื่อมโยง ความสัมพันธระหวางสิ่ง เรา และการตอบสนอง จะ มุงเนนเพียงเฉพาะ พฤติกรรมที่สามารถวัด และสังเกตไดเทานั้น โดย ไมศึกษาถึงกระบวนการ ภายในของมนุษย (Mental process) หรือการศึกษาแบบ ผูเรียน เปนผูรอรับ (Passively) ความรู ครูจะเปนผูบริหาร จัดการสิ่งเราที่จะใหผูเรียน -ระบุวัตถุประสงคการสอนที่ชัดเจน ซึ่ง เปนตัวชี้วัดผลการเรียนรู -การสอนในแตละขั้นตอน นาไปสูการ เรียนแบบรอบรู (Mastery learning) -ใหผูเรียนไดเรียนไปตามอัตราการ เรียนรูของตนเอง -สอนตามลําดับขั้น จากงายไปยาก แบงเนื้อหาออกเปนสวนๆ เพื่อใหจําได งาย -การออกแบบการเรียนเปนลักษณะเชิง เสนที่เปนลาดับขั้นตอน -ใหผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผเรียน เรียนรูเกิดขึ้นเมื่อผูเรียนสรางความรู อยางตื่นตัวดวยตนเองโดยพยายาม สรางความเขาใจ (Understanding)โดยการสรางสิ่งแทน ความรู (Representation) ขึ้นมาซึ่ง ตองอาศัยการเชื่อมโยงกับ ประสบการณเดิมของตนเอง ซึ่งการ เรียนจะเปนแบบการรวมมือกัน แกปญหา โดยครูผูสอนทําหนาที่แนะ นาและใหรูปแบบ และผูเรียนมีหนาที่สรางความรูอยาง ตื่นตัว -เปาหมายและวัตถุประสงคในการเรียนไดมาจากผูเรียน หรือการเจรจารวมกับผูสอน -ผูสอนทําหนาที่เปนผูแนะนํา ผูอํานวยความสะดวกใน การเรียน -จัดกิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดลอมตางๆมา เพื่อสงเสริมการกํากับวิธีการเรียนรูโดยอาศัยความคิดของ ตนเอง (metacognition) -ผูเรียนมีบทบาทสําคัญในการใชสื่อและควบคุมการ เรียนรูดวยตนเอง -สถานการณเรียนรู สิ่งแวดลอม ทักษะ เนื้อหาและ ภารกิจ จะเกี่ยวของกับสภาพจริง และสอดคลองกับ บริบทจริงที่มีความซับซอน -ขอมูลแหลงเรียนจะถูกใชเพื่อที่จะทาใหมั่นใจในสภาพ จริง -การสรางความรูเปนสิ่งที่มุงเนนในการเรียนรูไมใชการ คัดลอกความรู -เนนการแกปญหา ทักษะการคิดขั้นสูง และความเขาใจทีลึกซึ้ง -การประเมินเปนการประเมินตามสภาพจริง -จัดระเบียบสารสนเทศใหมและสรางโครงสรางสารสนเทศใหกับ ผูเรียน -สรางความเชื่อมโยงระหวางสารสนเทศใหมกับความรูเดิม -ใชเทคนิคเพื่อแนะนาและสนับสนุนใหผูเรียนใสใจ -การมุงเนนคาถาม (Focusing question) ซึ่งนามาใชใน ขั้นนาเขาสูบทเรียนเพื่อกระตุนใหผูเรียนใสใจในสิ่งที่จะเรียนรู -การเนนคาหรือขอความ (Highlighting) เปนเทคนิคทีชวยกระตุนใหผูเรียนใสใจสานสนเทศไดโดยตรง -การใช Mnemonic เปนวิธีการที่ชวยใหผูเรียนสามารถ บันทึกสารสนเทศและเรียกกลับมาใชไดงาย -การสรางภาพ (Imagery) เปนการสรางภาพที่เปน ตัวแทนสารสนเทศใหมที่ไดรับ ซึ่งจะมีความถูกตองและสอดคลอง กับสารสนเทศที่เรียนรู การเปลี่ยนแปลงความรูของผูเรียน ทั้งทางดานปริมาณและดาน คุณภาพ คือ นอกจากผูเรียนจะมีสิ่ง ที่เรียนรูเพิ่มขึ้นแลว ยังสามารถจัด รวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู เหลานั้นใหเปนระเบียบ เพื่อให สามารถเรียกกลับมาใชไดตามทีตองการ และสามารถถายโยง ความรูและทักษะเดิม หรือสิ่งทีเรียนรูมาแลว ไปสูบริบทและปญหา ใหม เนนเรื่องความรูความเขาใจ หรือ การรูคิดของมนุษย โดยครูจะทํา หนาที่เปนผูนําเสนอสารสนเทศ ผเรียนมีหนาที่ รอรับสารสนเทศ ..นิดาวรรณ เพียสุพรรณ 563050370-9 sec 3

Upload: aomji-math-ed

Post on 23-Jul-2015

21 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: น.ส.นิดาวรรณ 56300370 9 mind map3

มุมมองทางจิตวิทยาที่เก่ียวกับเทคโนโลยี และส่ือการศึกษา

การเรียนรูตามแนว

พฤติกรรมนิยม

เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม

การเรียนรูตามแนวพุทธิปญญา

เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

ตามแนวพุทธิปญญานิยม

เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา

ตามแนวคอนสตรัคติวิสต การเรียนรูตามแนวคอนสตรัคติวิสต

การเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรมซึ่งเปนผล

เน่ืองมาจากการเช่ือมโยง

ความสัมพันธระหวางสิ่ง

เรา และการตอบสนอง จะ

มุงเนนเพียงเฉพาะ

พฤติกรรมที่สามารถวัด

และสังเกตไดเทาน้ัน โดย

ไมศึกษาถึงกระบวนการ

ภายในของมนุษย

(Mental process)

หรือการศึกษาแบบ ผูเรียน

เปนผูรอรับ (Passively)

ความรู ครูจะเปนผูบริหาร

จัดการสิ่งเราที่จะใหผูเรียน

-ระบุวัตถุประสงคการสอนที่ชัดเจน ซึ่ง

เปนตัวช้ีวัดผลการเรียนรู

-การสอนในแตละขั้นตอน นาไปสูการ

เรียนแบบรอบรู (Mastery learning)

-ใหผูเรียนไดเรียนไปตามอัตราการ

เรียนรูของตนเอง

-สอนตามลําดับขั้น จากงายไปยาก

แบงเน้ือหาออกเปนสวนๆ เพ่ือใหจําได

งาย

-การออกแบบการเรียนเปนลักษณะเชิง

เสนที่เปนลาดับขั้นตอน

-ใหผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผเรียน

เรียนรูเกิดขึ้นเมื่อผูเรียนสรางความรู

อยางต่ืนตัวดวยตนเองโดยพยายาม

สรางความเขาใจ

(Understanding)โดยการสรางสิ่งแทน

ความรู (Representation) ขึ้นมาซึ่ง

ตองอาศัยการเช่ือมโยงกับ

ประสบการณเดิมของตนเอง ซึ่งการ

เรียนจะเปนแบบการรวมมือกัน

แกปญหา โดยครูผูสอนทําหนาทีแ่นะ

นาและใหรูปแบบ

และผูเรียนมีหนาทีส่รางความรูอยาง

ต่ืนตัว

-เปาหมายและวัตถุประสงคในการเรียนไดมาจากผูเรียน

หรือการเจรจารวมกับผูสอน

-ผูสอนทําหนาท่ีเปนผูแนะนํา ผูอํานวยความสะดวกใน

การเรียน

-จัดกิจกรรม โอกาส เครื่องมือและสิ่งแวดลอมตางๆมา

เพ่ือสงเสริมการกํากับวิธีการเรียนรูโดยอาศัยความคิดของ

ตนเอง (metacognition)

-ผูเรียนมีบทบาทสําคัญในการใชสื่อและควบคุมการ

เรียนรูดวยตนเอง

-สถานการณเรียนรู สิ่งแวดลอม ทักษะ เนื้อหาและ

ภารกิจ จะเกี่ยวของกับสภาพจริง และสอดคลองกับ

บริบทจริงท่ีมีความซับซอน

-ขอมูลแหลงเรียนจะถูกใชเพ่ือท่ีจะทาใหม่ันใจในสภาพ

จริง

-การสรางความรูเปนสิ่งท่ีมุงเนนในการเรียนรูไมใชการ

คัดลอกความรู

-เนนการแกปญหา ทักษะการคิดขั้นสูง และความเขาใจท่ี

ลึกซ้ึง

-การประเมินเปนการประเมินตามสภาพจริง

-จัดระเบียบสารสนเทศใหมและสรางโครงสรางสารสนเทศใหกับ

ผูเรียน

-สรางความเชื่อมโยงระหวางสารสนเทศใหมกับความรูเดิม

-ใชเทคนิคเพ่ือแนะนาและสนับสนุนใหผูเรียนใสใจ

-การมุงเนนคาถาม (Focusing question) ซ่ึงนามาใชใน

ขั้นนาเขาสูบทเรียนเพ่ือกระตุนใหผูเรียนใสใจในสิ่งท่ีจะเรียนรู

-การเนนคาหรือขอความ (Highlighting) เปนเทคนิคท่ี

ชวยกระตุนใหผูเรียนใสใจสานสนเทศไดโดยตรง

-การใช Mnemonic เปนวิธีการท่ีชวยใหผูเรียนสามารถ

บันทึกสารสนเทศและเรียกกลับมาใชไดงาย

-การสรางภาพ (Imagery) เปนการสรางภาพท่ีเปน

ตัวแทนสารสนเทศใหมท่ีไดรับ ซ่ึงจะมีความถูกตองและสอดคลอง

กับสารสนเทศท่ีเรียนรู

การเปลี่ยนแปลงความรูของผูเรียน

ทั้งทางดานปริมาณและดาน

คุณภาพ คือ นอกจากผูเรียนจะมีสิ่ง

ที่เรียนรูเพ่ิมขึ้นแลว ยังสามารถจัด

รวบรวมเรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู

เหลาน้ันใหเปนระเบียบ เพ่ือให

สามารถเรียกกลับมาใชไดตามที่

ตองการ และสามารถถายโยง

ความรูและทักษะเดิม หรือสิ่งที่

เรียนรูมาแลว ไปสูบริบทและปญหา

ใหม

เนนเรื่องความรูความเขาใจ หรือ

การรูคิดของมนุษย โดยครูจะทํา

หนาที่เปนผูนําเสนอสารสนเทศ

ผเรียนมีหนาที่ รอรับสารสนเทศ

น.ส.นิดาวรรณ เพียสุพรรณ

563050370-9 sec 3