รายงานความก้าวหน้า...

19
การพัฒนาเมืองชายฝ่งเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาจังหวัดกระบี- 1 - พัฒนาการความเป็นเมืองของจังหวัดกระบีวันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 เวลา 13.00 – 17.00 น. ห้องประชุมคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

Upload: furdrsu

Post on 15-Apr-2017

235 views

Category:

Environment


0 download

TRANSCRIPT

การพัฒนาเมืองชายฝั่งเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน กรณีศึกษาจังหวัดกระบี่

- 1 -พัฒนาการความเป็นเมืองของจังหวัดกระบี่

วันศุกร์ที่ 25 กันยายน 2558 เวลา 13.00 – 17.00 น.

ห้องประชุมคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา

ประวัติโดยสังเขปของกระบี่

เมืองคลองท่อมโบราณ หรือบริเวณที่เราเรียกว่า “ควนลูกปัด” ตั้งอยู่บนเส้นทางข้ามคาบสมุทรจากคลองท่อม-อ่าวบ้านดอน อยู่ริมคลองที่เรียกว่า “คลองท่อม” ซึ่งต้นน้้าเกิดจากทิวเขาที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดกระบี่และจังหวัดตรัง ไหลออกทะเลอันดามันที่อ้าเภอคลองท่อม

นักประวัติศาสตร์ลงความเห็นว่า คลองท่อมโบราณน่าจะท้าหน้าที่เป็นสถานีการค้า เป็นประตู ที่จะเปิดไปสู่ฝั่งทะเลตะวันออกที่อ่าวบ้านดอน เพราะว่าปากอ่าวคลองท่อมเป็นที่ก้าบังลมมรสุมได้อย่างดี เพราะมีเกาะก้าบัง เช่น เกาะศรีบอยา เกาะจ้า และเกาะฮั่ง โดยที่คลองท่อมท้าหน้าที่เป็นตลาดกลางหรือตลาดสากลแห่งหนึง่ ท่ีเต็มไปด้วยชนชาติหลายภาษา จากหลักฐานศิลปวิทยานานาชาติทีพ่บ

กระบี่ในปัจจุบัน

ยุทธศาสตร์การพัฒนา

1. พัฒนาการท่องเที่ยวให้เป็นการท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) และเพ่ิม

ศักยภาพให้ได้มาตรฐานในระดับสากล

2. ยกระดับขีดความสามารถในการผลิตด้านการเกษตรและแปรรูปสินค้าเกษตร

อย่างครบวงจร ควบคู่กับการพัฒนาอุตสาหกรรมสะอาดและพลังงานทางเลือก

3. เสริมสร้างคุณภาพชีวิตประชาชนสู่สังคมน่าอยู่ และปรับตัวรองรับกระแสการ

เปลี่ยนแปลง และ

4. อนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน

GPP ต่อหัว

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

120,000

140,000

1995

1996

1997

1998

1999

2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

ผลิตภณัฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหวั GPP per Capita

GPP ต่อหัว ของ จ. กระบี่ เพิ่มขึน้อย่างต่อเน่ือง

GPP ต่อหัว

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

120,000

140,0001995

1996

1997

1998

1999

2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

ผลิตภณัฑ์มวลรวมจงัหวัดต่อหวั GPP per Capita

ช่วงเตบิโตอย่างรวดเร็ว

- สัดส่วนภาคเกษตรสูงขึน้ (เกษตรกรรม ล่าสัตว์ ป่าไม้) จาก 22.99 % ในปี 2000 เป็น 42.05 % ในปี 2004- ราคาปาล์มสูงขึน้ จาก 1.66 บาท/กก เป็น 3.11 บาท/กก

- สัดส่วนภาคการคมนาคม-ขนส่ง และ ภาคโรงแรมและภัตตาคารสูงขึน้- การเปล่ียนแปลงของสัดส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาต ิสอดคล้องกับ การเปล่ียนแปลงของสัดส่วนภาคโรงแรมและภัตตาคารใน GPP

GPP ต่อหัว

1

6

11

16

21

26

31

1995

1996

1997

1998

1999

2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

อันดบัที่ของประเทศ

GPP ต่อหัว

1

2

3

4

5

6

7

8

9

1995

1996

1997

1998

1999

2000

2001

2002

2003

2004

2005

2006

2007

2008

2009

2010

2011

2012

2013

อันดบัที่ของภาคใต้

ช่วงเตบิโตอย่างรวดเร็ว

สถานประกอบการ

ทีม่า: โครงการส ามะโนธุรกจิและอุตสาหกรรม 2555 ส านักงานงานสถติแิห่งชาต ิ

การกระจายรายได้

ความเป็นเมือง

ตารางท่ี 1 จ านวนประชากร

ที่มา: ส้านักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

จงัหวัด 2523 2533 2543 2553 กราฟแนวโน้ม

กระบี่ 216,200 276,200 336,210 359,368

ชุมพร 310,500 373,900 446,206 466,030

ตรัง 446,700 528,600 595,110 596,183

นครศรีธรรมราช 1,214,500 1,400,600 1,519,811 1,449,387

นราธวิาส 397,800 546,800 662,350 668,863

ปัตตานี 418,900 515,400 595,985 605,208

พงังา 170,300 209,400 234,188 255,188

พทัลุง 410,300 441,100 498,471 477,853

ภูเกต็ 131,000 166,300 249,446 525,018

ยะลา 265,300 341,000 415,537 432,245

ระนอง 83,500 116,900 161,210 247,192

สงขลา 818,300 1,094,300 1,255,662 1,480,468

สตูล 156,500 208,900 247,875 272,886

สุราษฎร์ธานี 588,400 747,000 869,410 1,005,475

ภาคใต้ 5,628,200 6,966,500 8,087,500 8,841,364

ประชากรมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น

ตารางท่ี 2 การเรียงล าดับ (ranking) จังหวัดตามจ านวนประชากร

ที่มา: ท้าการเรียงล้าดับจากข้อมูลในตารางที่ 1

ล าดับที่ 2523 2533 2543 2553

1 นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช สงขลา2 สงขลา สงขลา สงขลา นครศรีธรรมราช3 สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี4 ตรัง นราธวิาส นราธวิาส นราธวิาส5 ปัตตานี ตรัง ปัตตานี ปัตตานี6 พทัลุง ปัตตานี ตรัง ตรัง7 นราธวิาส พทัลุง พทัลุง ภูเกต็8 ชุมพร ชุมพร ชุมพร พทัลุง9 ยะลา ยะลา ยะลา ชุมพร10 กระบี่ กระบี่ กระบี่ ยะลา11 พงังา พงังา ภูเกต็ กระบี่12 สตูล สตูล สตูล สตูล13 ภูเกต็ ภูเกต็ พงังา พงังา14 ระนอง ระนอง ระนอง ระนอง

ความเป็นเมือง

ตารางท่ี 3 ความหนาแน่นของประชากร

ที่มา: ส้านักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

หน่วย: คน ต่อ ตร.กม.

จังหวัด 2523 2533 2543 2553 กราฟแนวโน้ม

กระบี่ 45.9 58.7 71.4 76.3

ชุมพร 51.7 62.2 72.1 77.6

ตรัง 90.8 107.5 120.4 121.2

นครศรีธรรมราช 122.2 140.9 152.9 145.8

นราธิวาส 88.9 122.2 148.0 149.5

ปัตตานี 215.9 265.7 307.2 311.9

พงังา 40.8 50.2 52.6 61.2

พทัลุง 119.8 128.8 145.6 139.5

ภูเกต็ 241.2 306.3 459.4 966.9

ยะลา 58.7 75.4 91.9 95.6

ระนอง 25.3 35.5 48.9 75.0

สงขลา 110.7 148.0 169.8 200.2

สตูล 63.1 84.3 100.0 110.1

สุราษฎร์ธานี 45.6 58.0 67.4 78.0

ภาคใต้ 79.6 98.5 114.4 125.0

ความเป็นเมือง ความหนาแน่นของประชากรมีแนวโน้ม

เพ่ิมขึ้น

ตารางท่ี 4 การเรียงล าดับ (ranking) จังหวัดตามความหนาแน่นของประชากร

ที่มา: ท้าการเรียงล้าดับจากข้อมูลในตารางที่ 3

ล าดับที่ 2523 2533 2543 2553

1 ภูเกต็ ภูเกต็ ภูเกต็ ภูเกต็

2 ปัตตานี ปัตตานี ปัตตานี ปัตตานี

3 นครศรีธรรมราช สงขลา สงขลา สงขลา

4 พทัลุง นครศรีธรรมราช นครศรีธรรมราช นราธิวาส

5 สงขลา พทัลุง นราธิวาส นครศรีธรรมราช

6 ตรัง นราธิวาส พทัลุง พทัลุง

7 นราธิวาส ตรัง ตรัง ตรัง

8 สตูล สตูล สตูล สตูล

9 ยะลา ยะลา ยะลา ยะลา

10 ชุมพร ชุมพร ชุมพร สุราษฎร์ธานี

11 กระบี่ กระบี่ กระบี่ ชุมพร

12 สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี กระบี่

13 พงังา พงังา พงังา ระนอง

14 ระนอง ระนอง ระนอง พงังา

ความเป็นเมือง

ตารางท่ี 5 สัดส่วนประชากรในเขตเทศบาล

ที่มา: ส้านักงานสถิติแห่งชาติ (2554)

หน่วย : ร้ อยละ

จังหวัด 2523 2533 2543 2553 กราฟแนวโน้ม

กระบี่ 11.7 14.2 16.5 14.6

ชุมพร 13.5 15.0 18.7 31.6

ตรัง 18.2 19.7 20.0 18.4

นครศรีธรรมราช 13.3 12.8 17.1 18.3

นราธิวาส 21.0 23.6 24.6 19.9

ปัตตานี 15.0 15.5 19.5 17.1

พงังา 16.6 15.2 14.6 15.5

พทัลุง 9.8 13.6 14.6 50.9

ภูเกต็ 48.7 47.4 36.7 68.1

ยะลา 27.7 30.4 27.6 27.6

ระนอง 26.5 24.8 19.1 49.6

สงขลา 27.2 28.8 32.5 54.1

สตูล 15.0 13.7 16.1 20.1

สุราษฎร์ธานี 23.9 23.6 30.9 40.6

ภาคใต้ 19.0 20.2 23.0 33.5

ความเป็นเมือง สัดส่วนประชากรในเขตเทศบาลมีแนวโน้มลดลง

เล็กน้อย

ตารางท่ี 6 การเรียงล าดับ (ranking) จังหวัดตามสัดส่วนประชากรในเขตเทศบาล

ที่มา: ท้าการเรียงล้าดับจากข้อมูลในตารางที่ 5

ล าดับที่ 2523 2533 2543 2553

1 ภูเกต็ ภูเกต็ ภูเกต็ ภูเกต็

2 ยะลา ยะลา สงขลา สงขลา

3 สงขลา สงขลา สุราษฎร์ธานี พทัลุง

4 ระนอง ระนอง ยะลา ระนอง

5 สุราษฎร์ธานี สุราษฎร์ธานี นราธิวาส สุราษฎร์ธานี

6 นราธิวาส นราธิวาส ตรัง ชุมพร

7 ตรัง ตรัง ปัตตานี ยะลา

8 พงังา ปัตตานี ระนอง สตูล

9 ปัตตานี พงังา ชุมพร นราธิวาส

10 สตูล ชุมพร นครศรีธรรมราช ตรัง

11 ชุมพร กระบี่ กระบี่ นครศรีธรรมราช

12 นครศรีธรรมราช สตูล สตูล ปัตตานี

13 กระบี่ พทัลุง พงังา พงังา

14 พทัลุง นครศรีธรรมราช พทัลุง กระบี่

ความเป็นเมือง

ความเป็นเมือง

ภาคประชาสังคม

• การรวมกลุ่มสมัชชาสุขภาพ จ.กระบี่

• ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดกระบี่

• เครือข่ายแม่บ้าน อบจ.กระบี่

• เครือข่ายผู้สูงอายุ

• เครือข่ายอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

สรุป

กระบี่เป็นจังหวัดที่มีลักษณะเป็นเมืองชายฝ่ัง กิจกรรมทางเศรษฐกิจและความเป็นเมืองจะอยู่ในพื้นที่ชายฝั่งเป็นหลัก