( 6 ) 2 a ˇ ’ 2 2 # ˚ 1 ˇ 2 1 ) 0 2 # ˆ # # @ % d ’ b - % 4 ˇ 2 a ˆ ˆ...

19
ศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการบรรเลงไวโอลินจากแบบฝึกหัด หมายเลข 1 20 ของ เฮนดริก เออเนส เคยเซอร์ The Study of the Development of Violin Performance Skills from Study No. 1 Op. 20 by Heinrich Ernst Kayser วรชาติ กิจเรณู Worachat Kitrenu บทคัดย่อ ละมือขวาและนํามาฝึก Ternary Form อน และ C major แบบฝึกหัด มีลักษณะการเล่นเทคนิคในรูปแบบต่างๆ กัน เช่น Detache, Staccato และ Slured Staccato (Variation) Articulation คําสําคัญ : แบบฝึกหัด, พัฒนา, ทักษะ, ไวโอลิน, เคย์เซอร์ Abstract This article aims at studying left and right hand techniques from Study No.1 Op.20 by Heinrich. Researcher conducted this research study by descriptive research methodology to explain how this study advantages the performance enhancement. The study was composed in round binary form using C major scale. The results of study can be divided into two parts; left hand and right hand techniques. Firstly, there are four types of the left hand position; however, the second type was mostly found. Last, it showed that the right hand techniques such as Detache, Staccato and Slured Staccato (Variation) was used in order to differentiate the Articulation. Keyword: Study, Development, Skills, Violin, Kayser

Upload: phungnhu

Post on 30-Mar-2018

217 views

Category:

Documents


2 download

TRANSCRIPT

ศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการบรรเลงไวโอลินจากแบบฝึกหัดหมายเลข 1 20 ของ เฮนดริก เออเนส เคยเซอร์

The Study of the Development of Violin Performance Skillsfrom Study No. 1 Op. 20 by Heinrich Ernst Kayser

วรชาติ กิจเรณูWorachat Kitrenu

บทคัดย่อ

ละมือขวาและนํามาฝึก

Ternary Form อน และC major

แบบฝึกหัด มีลักษณะการเล่นเทคนิคในรูปแบบต่างๆ กัน เช่น Detache, Staccato และ Slured Staccato(Variation) Articulationคําสําคัญ : แบบฝึกหัด, พัฒนา, ทักษะ, ไวโอลิน, เคย์เซอร์

AbstractThis article aims at studying left and right hand techniques from Study No.1

Op.20 by Heinrich. Researcher conducted this research study by descriptive researchmethodology to explain how this study advantages the performance enhancement. Thestudy was composed in round binary form using C major scale. The results of studycan be divided into two parts; left hand and right hand techniques. Firstly, there arefour types of the left hand position; however, the second type was mostly found. Last, itshowed that the right hand techniques such as Detache, Staccato and Slured Staccato(Variation) was used in order to differentiate the Articulation.Keyword: Study, Development, Skills, Violin, Kayser

บทนําในยุคกลาง 3 ชนิด อันได้แก่ ซอเรเบค

(rebec) ซอเรอเนซองซ์ (the Renaissance fiddle) และ ลีรา ดา บรากโก (lira da braccio)3 ประ

(Cremona) (Andrea Amati)4

พระองค์ เก่าแก่และโด่งดัง(Le Messie) หรือ Salabue ประดิษฐ์โดย อันโตนิโอ สตราดีวารี (Antonio Stradivari) ค.ศ. 1716

Ashmolean Museum แห่งอ๊อกฟอร์ดปทรง เสียง

เปรียบเทียบ วนสวยงามทางศิลปะ เสียงของไวโอลิน

Tone, semitone microtoneจะสามารถทําได้

เศร้าและอารมณ์สนุกสนานการเล่นไวโอลินจําเป็นต้องอาศัย องผู ้ เรียนอย่างมากในการฝึกซ้อมให้เกิดความ

ไวโอลินต้องผ่านการฝึกซ้อมเทคนิคต่างๆ เช่น บันไดเสียง แบบฝึกหัดและบทเพลงต่างๆ มาอย่าง

การจัดการเรียนการสอนไวโอลินส่วนมากมักแบ่งออกเป็น 3

แบบฝึกหัด การฝึกบทเพลงในยุคต่างๆ เป็นต้น Vincent J. Picerno ได้กล่าวว่า แบบฝึกหัดหรือEtudeไปด้วยเทคนิคและรูปแบบการเล่น

นักประพันธ์หลายคน เช่น Wolhfahrt, Dancla, Dont, Mazas, Kreutzer และ Kayser ได้ประพันธ์แบบฝึกหัดสําหรับไวโอลิน -กันไป Jack M. Pernecky (1996:82)

First Position Etudes for Strings และ Early Etudes for String ของสํานักพิมพ์ Belwin, First Studies in the First Position by Hofmann, 20 Etudes in the FirstPosition, Op. 32 by H. Sitt, Etudes for Technic and Musicianship by S. Applebaum, TheWell – Tempered String Player – 55 Etudes by Matesky – Womack, First Etude Album byWhistler – Hummel, Foundation Studies Vol.1 by Carl Fisher, 60 Studies for Violin Op. 48 byWohlfahrt, 15 Studies Op. 68 by C. Dancla, 36 Studies Op. 20 by Kayser, 20 ProgressiveExercise Op. 38 by J. Dont, 15 Studies Op. 87 by R. Hofmann และ 40 Selected Studies Op.36 Vol.1 by Mazas เป็นต้น

36 Studies Op. 20 ของ Kayser

ครบถ้วน

หัด หมายเลข 1 จาก 36 Studies Op. 20 ของ Kayser

วัตถุประสงค์ของการศึกษา1 จาก 36 Studies Op. 20

ของ Kayser

วิธีการศึกษา

ไวโอลิน และการวิเคราะห์ทางดนตรีสากล

1. เทคนิคการใช้มือซ้าย

ฝึกความแม่นยําในการกดตําแหน่งบนกระดานรองสาย (Fingerboard) Fret) เหมือนกีตาร์

CarlFisher ถูกต้อง ต้องอาศัยความสามารถทางปราสาทสัมผัสและ

ไปทางขวาอยู่ใต้ไวโอลินบน Fingerboard ให้มโน้ตตัวถัดไป

(Fingerboard)แตกต่างกันตามระยะห่างของเสียง เช่น tone semitoneกําหนดโดยตัวเลสายจะได้เป็นรูปแบบต่างๆ กัน

. Pattern I

1 2 3 4

2. Pattern II (นิ ว1 ชิดนิ ว2)1 2 3 4

3. Pattern III (นิ ว3 ชิดนิ ว4) 1 2 3 4

4. Pattern IV ห่างกัน) 1 2 3 4

. การเปลียน Positionการเปลียน Position อาศัยการประสานงานระหว่างคันชักและการเคลือนไ หว ของ นิ วมือ

Positionทีราบเ รี ยบและสมบู รณ์ ซึ งทําได้ต่อเมือสามา รถปฏิ บัติการใช้ นิ วในร ู ปแบบพื นฐานไ ด้ แล้ว VincentOddo (1979 : 130) ได้กล่าวถึงหลักการของเทคนิคการเปลียน Position ทีผู้ ฝึกต้ อง สํ ารวจตั วเ อง

1. เปลียน Position ด้วยการลดแรงไปสู่ Position Position

2 Position จะกระทําตรงจังหวะของโน้ต ซึงความเ ร็ วในการเ ปลี ยนPosition ขึ นอยู ่กับความเ ร็ วของเ พลง

3. ให้ผู ้ ฝึกได้ร้องออกเสียงหรือฟังเสียงโน้ตเป้าหมายก่อนการเปลียน Position ถ้าเป็นไปได้ควรให้เล่นเปรียบเทียบกับเสียงของสายเปล่า เพือตร วจสอบความถู กต้ องของระดั บเ สี ยง

4. การเปลียน Position โดยพื นฐานแล้ ว ลั กษณะ การเ คลื อนไ หวของมื อซ้ายและแขนซ้ ายโดยไม่มีการเปลียนร ู ปแ บบข อง มื อซ้ าย และ

แขนซ้าย5

Position6. ระหว่างการเปลียน Position นิวทีอยู ่บนสายขณะ นั น ย ั ง คงอยู ่ บนสายระหว่างการ

จนกระทังถึ ง Position ในตําแหน่งเมือถึ งPosition เป้าหมาย

7. Position ทีสู งขึ นอย่างไรก็ดี การเปลียน Position ต้องอาศัยทักษะ ปร ะกา ร ร่ วมก ั น คื อ ทั กษะ ทา ง

3. เทคนิคการใช้คันชัก

คันชักได้หลากหลายรูปแบบทําให้ไวโอลินสามารถสร้างสีสันได้หลากหลาย นักไวโอลินต้องมีความเข้าใจถึงยุคสมัยของเพลงซึงผู ้ปร ะพั นธ ์ ต้องการถ่ ายทอดผ่ านทางการเ ล่ นด้ วย Articulation ทีถูกต้ องYehudi Menuhin (1971:33) กล่าวถึงการจับคันชักทีถู กต้ อง สามารถเ รี ยนร ู ้ ได้ ด้วยการคิ ดใ ห้ ลักษณะ

การใช้คันชักมีส่วนสําคัญในการกําหนด Dynamic ซึง Dynamic ทีแตกต่ างกั นเ กิ ดจากหลายปัจจัยอันประกอบด้วยความสัมพันธ์ระหว่างการเลือกจุดสัมผัสของคันชัก (ความใกล้– ไกลจากหย่อง) พื นที หน้ าสัมผัสของหาง ม้ า การใช้นํ าหนั กของแขนขวาและปร ิ มาณข องคั นชั ก

เมือนั กไ วโ อลิ นจั บคั นชักได้ถูกต้องแล้ว Jack M. Pernecky (1998:121-132) ได้กล่าวถึงเทคนิคการใช้คันชักในการเล่นArticulation ด้วย Stroke แบบต่างๆ ไว้ดังนี

3.1 DetacheDetache เป็นคําในภาษาฝรังเ ศส หมา ยถึ งการสี แยกคั นชั ก เป็นการเล่นคันชักทีราบเ รี ยบ

ปราศจากการเน้นหนัก (Accent) แยกคันชัก ลง – ขึ น ในการเ ล่ นโ น้ ตแต่ ละตั ว โดยเ ล่ นทุ กโ น้ ตใ ห้ เสี ยง

วิธีการเล่น Detache ให้คันชักอยู่บนสายด้วยนํ าหนั กตามธ รรมชาติ ทีมาจากมื อ ข้ อศอกและแขน ถ่ายทอดไปสู่นิ วกลางแคุณภาพ การเล่น Detache ด้วยปลายคันชักมาจากการเคลือนไ หวของแขนและข้ อศอก ส่ วนการเ ล่ น

ลอยอยู่ในอากาศและไม่ตึง ให้หัวไหล่ยืดหยุ่นได้

3.2 Staccato และ Slured StaccatoStaccato เป็นภาษาอิตาเลียน หมายถึง การสร้างเสียงให้เด่นชัดด้วยการแบ่งช่วงห่าง

ระหว่างโน้ต ในแต่ละ Stroke ของการเล่น Staccato ควรมีการเตรียมพร้อมด้วยการวางนํ าหนั กลง ไปบนคันชักเล็กน้อยก่อนการเริมต้

Staccato ทําได้โดย1. การเริมลากคั นชั กทั งขึนและลง ใ ห้ เ ร ิมต้นอย่างช้า ๆ ด้วยเ สียง "Pop" ทีเพร าะหร ื อเ สี ยง

แบบเทคนิค Colle2. และคอยดูพัฒนาการของคุณในแต่ละวันจาก

แบบฝึกหัดทีคุ ณฝ ึ กSlured Staccato

วนางและนิ วหั วแม่ มื อ บร ิ เวณป ลายคั นชักจนถึงโคนคันชักเป็นส่วนทีเหมาะสมสํ าหร ั บการเ ล่ นSlured Staccato

3.3 MarteleMartele ในภาษาฝรังเ ศสหมา ยถึ งการกร ะแทก (ด้ วย 'ค้อน’) มีลักษณะการหยุดเสียง

เช่นเดียวกับ Staccato แต่มีเล่นด้วย Dynamic ทีดังกว ่ า และเ ล่ นใ นบร ิ เวณใกล้หย่องโดยใช้หางม้าเต็มทั งแผงนิ วกลาง การเ ล่ นMartele ควรเล่นบริเวณปลายคันชัก ซึงStroke แบบ Grand Martele ใช้ ประมาณ1/2 – 2/3 ของคันชัก ขึ นอยู ่กั บความยาวของ ตั วโ น้ ตและควา มเร็วของเพลง การฝึกเทคนิค Marteleทําได้ดังนี

1. ลากคันชักขึ นใ ห้ อยู ่กึงกลาง คั นชักพอดี เสียงทีได้ ควรจะเ หมื อนกั บเ สี ยง ตั ว "T" แบบเดียวกับเทคนิค แต่ให้ดังกว่า เนืองจากเ ราใช้ คันชั กท่อนบนทั งหมด

- ลากคันชักขึ นด้ วยกล้ ามเ นื อBiceps (กล้ามเนื อลู กหนู ทีโคนแขน)2.- ใช้กล้ามเนื อTriceps (กล้ามเนื อทั ง3 หลังโคนแขน) ลากคันชักลง

3.4 SpiccatoSpiccato มาจากภาษาอิตาเลียน หมา ยถึ ง การกร ะเ ด้ ง Spiccato คือ การใช้คันชักใน

Staccato อาจจะ

หรือบริเวณกลางคันชัก การเล่นด้วยเทคนิคนี มี ข้อจํ ากั ดเ รื องขอ ง Tempo เนือง จากต้ อง อาศั ยปฏิกิริยาของคันชักขณะเล่นการกระเด้งแต่ละครังควบคุ มโ ดยแขนท่ อนล่ างและท่ อนบนร ่ วมกั บนิ วมือและมือ ควรให้แขนรู้ สึกเบาและสมดุล นิ วมื อและมื อควบคุ มจ ั งหวะ ใช้ การเ คลื อนไ หวของแขนใ ห้ มาก

Spiccato ด้วย tempo ช้าSpiccato

แบนลงเป็ และหากมีการกําหนด Tempo ทีและนิ วมื อร ่ วมกั บการลดการเ คลื อนไ หวของแขน การ เ ล่ น Spiccato ควรให้ข้อมือและแขนอยู่สูงกว่าการเล่นแบบ Detache เล็กน้อย การควบคุม Dynamic และคุณภาพเสียงถูกกําหนดโดยความสูงในการตกลงมาของคันชัก

3.5 SautilleSautille ในภาษาฝรังเศสหมายถึง การกระโดด มีลักษณะการกระเด้งของคันชักในแต่ละตัว

โน้ตโดยการกระเด้งเกิดขึ นจากปฏิ กิ ริยาของความยื ดหยุ ่นตามธรรมชาติ มากกว่าการยกคันชักขึ นอย่างตั งใจเ หมื อน Spiccato ส่วนของคันชักทีเหมาะสมสํ าหร ั บการเ ล่ นSautille มากทีสุ ดคื อบร ิ เวณรอบๆ กลางคันชัก โดยค่อนมาทางโคนคันชัก สําหรับการกระเด้งทีช้ าและ Dynamicการกระเด้งทีเร็ วและ Dynamic ทีเบา จะใช้ส่วนทีค่อนมาทางปลายคั นชั ก ในการเล่นSautille ขึ นอยู ่กับการปร ั บและควบคุ มคั นชั ก การทํ าให้ เกิ ดStroke แบบ Sautille สัมพันธ์กับการเลน่Stroke แบบ Detache อย่างไรก็ดี การเล่น Sautille ต้องอาศัยความเร็วสําหรับการกระเด้งของคันชักดังนี

1. เมือเ ล่ น Sixteenth Note ทีความเ ร็ ว = –เล่นบริเวณกลางคันชักหรือใกล้กลางงคันชัก

2. เมือเ ล่ น Sixteenth Note ทีความเร็ว = 90 คันชักจะตอบสนองการกระเด้งเมือเ ล่ นบริเวณใกล้ Frog

3.6 ColleColle เป็นคําในภาษาฝรังเ ศส หมายถึง เล่นให้ติดสาย (Glued หรือ Sticky) ให้ฝึกช้าๆ โดย

ไม่ต้องใช้ Metronome และ วางคันชักให้ห่างหย่อง1. เล่นเสียงตัว "T" ไม่ต้องมากแต่ให้มีพลังด้วยปลายคันชัก- Biceps (กล้ามเนื อ

ลูกหนูทีโคนแขน) (ปร ะมาณ 10 ซ.ม.)2. ทําแบบเดียวกันโดยเริมจากโ คนชั ก ( Frog)- ใช้กล้ามเนื อ Triceps (กล้ามเนื อทั ง3 หลังโคนแขน) ลากคันชักลง (ประมาณ 10 ซ.ม.

เช่นกนั)3.

3.7 RicochetRicochet เป็นภาษาฝรังเ ศส หมายถึ ง กระโดดข้ามก้อนหิน แต่อย่าสับสนกับความหมายใน

ภาษาอังกฤษที หมายถึง การกระเด้งออกจากวัตถุ Ricochet คือ การเล่น Spiccato ต่อเนือง โดยใ ห้หรือมากกว่า ก่อนมีการเปลียนทิ ศทางของคั นชั ก การเ ล่ นRicochet มักใช้คันชัก

ลงและใช้บริเวณกลางไปจนถึงปลายคันชักในการเล่น

การเล่น Ricochet ทําได้โดยให้ข้อมือและนิ วมื อผ่ อนคลาย ปล่ อยใ ห้ คันชั กตกลงบนสายRicochet กําหนดด้วยเครืองหมายจุดและเส้น Slur

3.8 PortatoPortato คือ การเล่น Slured ด้วยชุดของโน้ตต่อเนือง กั น ทํ าให้ เกิ ดจั งหวะโ ดยปร าศจากการ

หยุดในแต่ละโน้ต Portatoชัก การทําให้เกิดจังหวะของโน้ตมาจาก Dynamic ในจุดเริของคันชักทีจุดเ ริ มต้ นของ โ น้ ตแต่ ละตั วPortato มักกําหนดด้วยขีดและ Slur

3.9 Double StopDouble Stop คือ การเล่นเสียงสองเสียงพร้อมๆ กัน ซึงการเ ล่ นใ นว ง Orchestra มัก

(Vincent Oddo, 1979 : 126)Jack M. Pernecky (1998 : 121 – 132) ได้กล่าวถึงหลักการเล่นDouble Stop ไว้ดังนี1. การวางนิ วมื อซ้ เล่นคู่เสียงและ

2งสามารถช่วยในการสร้างสมดุลของนํ าหนั กคั นชั กระหว่างสายเสียงตําและสายเ สี ยง สู ง

ควรเล่นใกล้ Fingerboard หากต้องการ Dynamicนํ าหนั กของ คั นช ั ก การจั บคั นช ั กที แน่นเกิ นไปหร ื อการ ใ ช้ ปริ มาณคั นชักที น้อยเกิ นไ ปอาจทํ าใ ห้เ กิดเสยีงทีกร ะด้ างได้

3.10 ArpeggioVincent Oddo, (1979:128) ได้กล่าวถึงการเล่นเทคนิค Arpeggio ไว้ว่า คอร์ดต่างๆ

สามารถเล่นในลักษณะ Arpeggioของคันชัก โดยเล่นลักษณะกลิ งคั นชั กไปตามส่วนโค้งสูง – ตําของ สาย โดยใช้การเคลือนไ หวของแขน

Arpeggio ควรแบ่งคันชักในการเล่นแต่ละสายให้สมดุล

4. การวิเคราะห์ลักษณะทัวไปทา งดนตร ี และเ ทคนิ คการเ ล่ นไ วโอลิ นแบบฝึกหัดหมายเลข 1 จาก 36 Studies Op. 20 ของเฮนดริก เออเนส เคยเซอร์ พบว่า

สามารถนํามาวิเคราะห์ออกเป็นลักษณะทัวไปที สําคัญแล ะเ ทคนิ คการ เ ล่น ไวโอลิน ได้ดังนี

4.1 ลักษณะโครงสร้างของทํานองแบบฝึกหัดบทนี ใช้ บันไ ดเ สี ยง C major เป็นบันไดเสียงหลักโดยมีบันไดเสียง minor และ

mode ต่างๆ ลักษณะทํานองในแบบฝึกหัดนี ใช้ การเ ล่ นบั นไ ดเ สี ยงและการเ ล่ นArpeggio ดังนี

4.1.1 บันไดเสียง- บันไดเสียงเมเจอร์ (Major)ใช้บันไดเสียง C major ในห้องที , 5, 22, 26, 30 และ 37 – 38

ใช้บันไดเสียง G major ในห้องที 29

การเล่นบันไดเสียงเมเจอร์นี เป็นพื นฐานที สําคัญขอ งนั กดนตร ี สากลทุ กคนจะต้ องฝึ กซ้ อมใ ห้

การฝึกการเล่นบันไดเสียง C major และ G major ต้องเล่นจากช้าๆ ก่อนเพือใ ห้ ได้ เสี ยงนเรือยๆ

- บันไดเสียงไมเนอร์ (Minor)ใช้บันไดเสียง A melodic minor ในห้องที และ 27

ใช้บันไดเสียง D melodic minor ในห้องที 28

ใช้บันไดเสียง A natural minor ในห้องที 35

บันไดเสียงไมเนอร์เป็นบันไดเสียงทีมีให้ ความร ู ้ สึ กเ ศร ้ า อ่ อนห วาน เป็นบันไดเสียงอีกแบบMelodic minor และ

Natural minorการฝึกการเล่นบันไดเสียงไมเนอร์ให้ฝึกโดยใช้วิธีเดยีวกับการฝึกบันไดเสียงเมเจอร์ และควร

ฝึก Melodic minor และ Natural minor ให้ชินและสามารถแยกความแตกต่างระหว่างบันไดสียงทั งสองแบบไ ด้ และควรฝึกบันเสียงไมเนอร์แบบ Harmonicเพิมเ ติ มด้ วย

- โหมด (Mode)ใช้ Mode G mixolydian ในห้องที 4, 24 และ 36

ต่างและให้ความรู้ สึกทีไม่ เหมื อนบั นไ ดเสียงเมเจอร์และบันไดเสียงไมเนอร์

C major คือ G mixolydian

4.1.2 Arpeggio- Majorใช้ C major Arpeggio , 5, 15, 19, 21 และ 25

ใช้ D major Arpeggio ในห้องที 13

ใช้ G major Arpeggio ในห้องที 1, 3, 5, 13, 15, 17, 21, 23 และ 25

- Minorใช้ B minor Arpeggio ในห้องที 14

- Dominant 7ใช้ D Dominant 7 และ 23

ใช้ E Dominant 7

- Diminishใช้ D# dim

ใช้ B dim

การเล่น ArpeggioMajor, Minor, Dominant 7 และ Diminish ซึงจะพบว ่ ามี การเ ล่ นใ นลั กษณะนี อยู ่ทัวไปในเพลง สากล

4.2 ลักษณะจังหวะแบบฝึกหัดบทนี ใช้ กลุ ่มจ ั งหวะโ ดยใ ช้ โน้ ตเขบ็ต /eeee eeee

4.3 ลักษณะประโยคเพลงแบบฝึกหัดบทนี ใช้ การปร ะพั นธ ์ แบบ Round Binary Form คือ มี 2 ประโยคเพลง โดยแบ่ง

ประโยคเพลงที ตั งแต่ห้องที – – โดยมีทํานองของประโยคที 1กลับมาอีกครัง – หลังจากนั นจะใ ช้ การแต่ งทํ านอง โดยใ ช้ เทคนิ คใ นการ พัฒนาประโยคเพลงในการประพันธ์แบบฝึกหัดนี

4.4 ลักษณะเทคนิคการพัฒนาประโยคเพลง

4.4.1 Sequenceใช้เทคนิค Sequence , , 13 – 14, – และ 31 – 34

4.4.2 Transformationใช้เทคนิค Transformation ในห้องที – , 17 – 18, 19 และ 36 - 37

เทคนิคการเล่นไวโอลิน

รูปแบบการวางนิวมื อซ้ ายจากการวิเคราะห์ห

C major จึงพบว่ามีการใช้การวางรูปแบบที

ทีสุ ดคื1

First Positionได้อย่างชัดเจน ทั งนี เพือสร้ างความเ คยชิ นกับร ะยะห่ าง แต่ ในการวาง

หรือนิ ว2 และนิ วนางหร ื อนิ ว3 ค้างเอาไว้บางช่วงอีกด้วยห้เกิดการเล่นเทคนิค

Double Stop แต่เนืองจากลั กษณะ การวางนิ วดังกล่าวทําให้เกิดเทคนิค Double Stop ขึ นโ ดยอั ตโ นมั ติ

เทคนิคมือขวาแบบฝึกผลงานลําดับที 20 หมายเลข 1 ของ เฮนดริก เออเนส เคยเซอร์ จะมีลักษณะการ

เล่นเทคนิคมือขวาในรูปแบบต่างๆ กัน (Variation) เพือใ ห้ ได้ Articulation ทีหลากหลาย ผู ้ วิ จัยพบว ่ าแบบฝึกหัดบทนี ใช้ เทคนิ คต่ าง ๆ ดั งนี

1. Detacheคุณภาพของเสียงทีคมชั ด จึ งเป็นเทคนิคแรกของแบบฝึกหัดบทนี

2. Staccato และ Slured Staccato3. Spiccato

หลังจากทีผ่ านการฝึ กเ ทคนิ ค Staccato แล้ว เนืองจากมี หลั กการเ ล่ นคล้ ายๆ กั น4. Double Stop ระบุเอาไว้ แต่มีสัญลักษณ์ทีต้องวาง

นีด้วยแม้ว่าจะไม่เกิดเสียงสองเสียงขึ นพร ้ อมกั นก็ ตาม

Variation

5. สรุปผลการวิเคราะห์จากการวิเคราะห์แบบฝึกหัดหมายเลข 1 จาก 36 Studies Op. 20 ของเฮนดริก เออเนส

เคยเซอร์ พบว่าเป็นแบบฝึกหัดทีนักไ วโ อลิ นในระดับต้นทุกคนต้องฝึกหัดให้เกิดความชํานาญ เพราะเป็นแบบฝึกหัดทีมี รูปแบบการวางนิ วมื อซ้ ายให้เกิดความชํานาญเพือใ ห้ เกิ ดเ สี ยงทีมีคุณภ า พ นอกจากการวางรูปแบบนิ วมื อข้ าง ซ้ ายแล้ ว

Articulation

เนือง จากเ ป็ นแ บบฝ ึ กหั ดที ได้ รวบรวมเทคนิคขั นพื นฐา นเ อาไ ว้ เช่ น การ เ ล่ น Scale,Arpeggio ในแบบต่างๆ เทคนิคมือขวาอย่างเช่น Detache, Staccato และ Slured Staccato และการวางพื นฐานสํ าหร ั บการเ ล่ นDouble Stop ในแบบฝึกหัดต่อๆ ไปของเคยเซอร์

บรรณานุกรม

สังคีตลักษณ์และการวิเคราะห์. (พิมพ์ครั งที ). กรุง เทพฯ :สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

_________________ ทฤษฎีดนตรี. (พิมพ์ครั งที ). กรุง เทพฯ : สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Fisher, Carl. (1934). Problems of Tone Production in Violin Playing. (Gustav Saenger,Trans) New York : Carl Fischer.

Menuhin, Yehudi. ( ). Six Lessons with Yehudi Menuhin. London : Faber & faber.Oddo, Vincent. (1979). Playing and teaching the Strings. California : Wadswort

Publishing Company.Pernecky. M. Jack. (1998). Teaching the Fundamentals of Violin Playing. Florida :

Birchard.Picerno, Vincent J. (1976). Dictionary of Musical terms Brooklyn : Haskell House.

ภาคผนวกแบบฝึกหัดหมายเลข 1 จาก 36 Studies Op. 20 ของ เฮนดริก เออเนส เคยเซอร์