บทที่ 8

7
บทที8 ภาษามือหมวด พืช ผักต่างๆ ปัจจุบันเรารับประทานพืช ผักต่างๆ เป็นจานวนมาก ซึ่งผักต่างๆ ทาให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ การทาภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นี้นอกจากจะช่วยใหทราบชื่อของพืช ผักแล้วยังสามารถนาคาต่างๆ ไปทาเป็นรูปประโยคเพื่อการสนทนาได้อีกด้วย 1. ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นั้น ทาท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ โดยท่ามือแต่ละท่า นั้นมาจากลักษณะของผัก หรือว่าบางคานั้นมาจากกิริยาท่าทางอาการเมื่อรับประทานผักนั้นๆ เข้าไป เช่น พริก เมื่อรับประทานเข้าไปจะมีอาการเผ็ด ภาษามือจึงเป็นมือพัดไปมาที่ปาก เป็นต้น นอกจากนียังมีคาศัพท์ในหมวดนี้อีก ตามภาพด้านล่างนีพืช ผักต่างๆ แบมือหันเข้าหน้าอกและนามืออีกข้างหนึ่งสลัดด้านหลัง ฝ่ามือ พริก แบมือพัดไปมา มะนาว ทาท่าบีบมะนาว เห็ด ทาท่ามือ เลขหนึ่ง และมืออีกข้างหนึ่งคว่แตะที่ปลายนิ้วชี

Upload: pop-jaturong

Post on 09-Aug-2015

24 views

Category:

Education


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 8

บทท่ี 8 ภาษามือหมวด พืช ผกัต่างๆ

ปัจจุบันเรารับประทานพืช ผักต่างๆ เป็นจ านวนมาก ซึ่งผักต่างๆ ท าให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ การท าภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นี้นอกจากจะช่วยให้ทราบชื่อของพืช ผักแล้วยังสามารถน าค าต่างๆ ไปท าเป็นรูปประโยคเพ่ือการสนทนาได้อีกด้วย

1. ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นั้น ท าท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ โดยท่ามือแต่ละท่า

นั้นมาจากลักษณะของผัก หรือว่าบางค านั้นมาจากกิริยาท่าทางอาการเมื่อรับประทานผักนั้นๆ เข้าไป เช่น พริก เมื่อรับประทานเข้าไปจะมีอาการเผ็ด ภาษามือจึงเป็นมือพัดไปมาที่ปาก เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีค าศัพท์ในหมวดนี้อีก ตามภาพด้านล่างนี้

พืช ผักต่างๆ

แบมือหันเข้าหน้าอกและน ามืออีกข้างหนึ่งสลัดดา้นหลังฝ่ามือ

พริก แบมือพัดไปมา

มะนาว

ท าท่าบีบมะนาว เห็ด

ท าท่ามือ เลขหนึ่ง และมืออีกข้างหนึ่งคว่ า แตะที่ปลายนิ้วช้ี

Page 2: บทที่ 8

67

ภาษามือในหมวดนี้ มีท่ามือสอง จังหวะเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากต้องมีการอธิบายถึงค าศัพท์ค านั้นๆ โดยผ่านมือจึงต้องท าให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น เช่น ค าว่า หอมแดง ต้องท าท่ามือน้ าตาไหล และท าท่ามือลูกเล็กๆ เป็นต้น ในค าศัพท์อ่ืนๆ ก็ต้องท าให้ชัดเจนเช่นกัน ดังภาพด้านล่างนี้

หอมแดง

ท าท่ามือ เลขหนึ่งแล้วชี้ท่ีใต้ตาลากลงมา และท ามือเหมือนถือหอมแดง

กระเทียม ท ามือขนาดลูกกระเทียมและแบมอื

โดยใช้มืออีกข้างหนึ่งทุบ

มะเขือเทศ

ท าท่ามือ สีแดง แล้วห่อมือ และลบูหน้า ผักบุ้ง

ท าท่ามือ เลขหนึ่ง จีบมือและเดด็ ท าท่ามือ เลขหนึ่ง สองมือและหมุนตามภาพ

กะหล่ าปลี ท าท่ามือ ชาม สองข้าง สลับมือไปมาบนล่าง

ผักกาดขาวปลี ท ามือตามภาพและสลับมือไปมา

เผือก แตงกวา

Page 3: บทที่ 8

68

ท ามือตามภาพ และท าท่ากัด ขยบัขึ้นลง

ก ามือและท าท่ากัดแตงกวา ท ามือลูกแตงกวา

ฟักทอง มือชนกันหมุนไปด้านหน้า ท าท่ามอื สีเหลือง

หน่อไม้ ตั้งมือข้างหนึ่ง มืออีกข้างท าท่ามือเลขสอง

และท าตามภาพ

สายบัว พนมมือแล้วมืออีกข้างหนึ่งลูบมือลง ตามภาพ

ข้าวโพด มือสองข้างท าท่าจับข้าวโพด และหมุนตามภาพ

2. การสนทนาในหมวดพืช ผักต่างๆ ค าศัพท์หมวดพืช ผักต่างๆ นั้น มีการสนทนากันได้หลายสถานการณ์ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน

ตลาด โรงเรียน และสถานที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้

สถานการณ์ที่ตลาด

Page 4: บทที่ 8

69

ก : ซื้ออะไรคะ ข : ฟักทอง

สถานการณ์ที่บ้าน

แม่ : หยิบแตงกวาให้แม่หน่อย ลูก : อยู่ไหนคะ

แม่ : อยู่บนโต๊ะ ลูก : คะ

สรุป พืช ผักต่างๆ มีภาษามือที่ท าท่ามือจังหวะเดียว เช่น พริก มะนาว กะหล่ าปลี หน่อไม้ และท าท่ามือสองจังหวะ เช่น หัวหอม แตงกวา ผักกาดขาด ข้าวโพด สายบัว ซึ่งท าไม่ยาก ถ้าดูตามภาพและอ่านค าบรรยายใต้ภาพ

Page 5: บทที่ 8

70

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาเขียนค าศัพท์ต่อไปนี้

1.1 ………………………………

1.2 ………………………………

1.3 ………………………………

1.4 ………………………………

Page 6: บทที่ 8

71

1.5 ………………………………

2. ให้นักศึกษาน าค าศัพท์ต่อไปนี้ท าเป็นรูปประโยคสนทนา 2.1 พริก 2.2 มะนาว 2.3 มะเขือ 2.4 แตงกวา 2.5 เห็ด

เอกสารอ้างอิง

กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 3. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์.

Page 7: บทที่ 8

72