รายงาน is

47
1 บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ในปจจุบันสังคมไทยไดเกิดการแขงขันกันในทุกๆดาน ทุกๆฝายของประเทศ ไมวาจะเปนดาน เศรษฐกิจ ดานการเมือง หรือแมกระทั่งการศึกษา ซึ่งเราจะเปนไดจากการที่ในปจจุบันเด็กนักเรียนเริ่มเรียน พิเศษหลังเลิกเรียนมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังสงผลใหโรงเรียนกวดวิชามีเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย ซึ่งสาเหตุทีทําใหเด็กนักเรียนตองไปเรียนพิเศษกันอยางมากมายในปจจุบันนั้น เนื่องมาจากวา คานิยมที่วาหากไดเ รียน คณะที่สูงๆหรือดีๆอยางคณะแพทยศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร หรือคณะอื่นๆทีอยูในระดับตนๆของประเทศนั้นเปนการดี เปนการชวยเชิดหนาชูตาใหแกพอแม ดังนั้น ภาระในเรื่องนี้จึงตก อยูกับลูกๆ ซึ่งอยูในวัยเรียนที่จะตองทําทุกวิถีทางเพื่อที่จะสอบในคณะสูงๆในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงใหได โดยที่บางคนก็เลือกศึกษาตอในคณะนั้นๆ เพราะเปนความตองการของผูปกครอง ในขณะที่บางคนก็ยังไม คนพบตัวเองวามีความชอบ หรือความถนัดในเรื่องใดเปนพิเศษหรือไม ซึ่งเมื่อสอบเขาไปไดแลว ก็มักจะเกิด ปญหาตางๆตามมา เนื่องจากเมื่อเรียนไปแลวกลับพบวา เสนทางที่เลือกมานี่ไมใชเสนทางที่เราชื่นชอบ ไมใชเสนทางที่เหมาะสมกับตัวเรา ทําใหตองเสียเวลาในการที่จะลาออกจากคณะนั้นๆ เพื่อมาสอบเขาศึกษา ตอในคณะที่ตนเองชื่นชอบใหม และเสียเงินจํานวนมากในการสมัครสอบแตละครั้งอีกดวย ดั งนั้น ทางคณะผูจัดทําจึงไดจัดทําสื่อในการคนหาตนเองของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เพื่อ ชวยใหนักเรียนที่ไดชมสื่อที่ทําขึ้น สามารถวิเคราะหและพิจารณาดวยเหตุและผลถึงความเหมาะสมและ ความชอบของตนเองในการเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองได 1.2 วัตถุประสงค 1. เพื่อสํารวจความพึงพอใจของนักเรียนที่มี ตอการรับชมสื่อวี ดีโออาชีพตางๆ 2. เพื่อผลิตสื่อที่ชวยใหนักเรียนรูจักตนเอง และรูจักอาชีพนั้นๆมากขึ้น

Upload: akimaoto

Post on 25-Jun-2015

2.035 views

Category:

Education


14 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงาน Is

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

ในปจจุบันสังคมไทยไดเกิดการแขงขันกันในทุกๆดาน ทุกๆฝายของประเทศ ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ ดานการเมือง หรือแมกระทั่งการศึกษา ซึ่งเราจะเปนไดจากการที่ในปจจุบันเด็กนักเรียนเร่ิมเรียนพิเศษหลังเลิกเรียนมากยิ่งขึ้น นอกจากน้ียังสงผลใหโรงเรียนกวดวิชามีเพิ่มมากขึ้นตามไปดวย ซึ่งสาเหตุที่ทําใหเด็กนักเรียนตองไปเรียนพิเศษกันอยางมากมายในปจจุบันน้ัน เน่ืองมาจากวา คานิยมที่วาหากไดเ รียนคณะที่สูงๆหรือดีๆอยางคณะแพทยศาสตร คณะทันตแพทยศาสตร คณะวิศวกรรมศาสตร หรือคณะอ่ืนๆที่อยูในระดับตนๆของประเทศน้ันเปนการดี เปนการชวยเชิดหนาชูตาใหแกพอแม ดังน้ัน ภาระในเร่ืองน้ีจึงตกอยูกับลูกๆ ซึ่งอยูในวัยเรียนที่จะตองทําทุกวิถีทางเพื่อที่จะสอบในคณะสูงๆในมหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงใหไดโดยที่บางคนก็เลือกศึกษาตอในคณะน้ันๆ เพราะเปนความตองการของผูปกครอง ในขณะที่บางคนก็ยังไมคนพบตัวเองวามีความชอบ หรือความถนัดในเร่ืองใดเปนพิเศษหรือไม ซึ่งเมื่อสอบเขาไปไดแลว ก็มักจะเกิดปญหาตางๆตามมา เน่ืองจากเมื่อเรียนไปแลวกลับพบวา เสนทางที่เลือกมาน่ีไมใชเสนทางที่เราชื่นชอบไมใชเสนทางที่เหมาะสมกับตัวเรา ทําใหตองเสียเวลาในการที่จะลาออกจากคณะน้ันๆ เพื่อมาสอบเขาศึกษาตอในคณะที่ตนเองชื่นชอบใหม และเสียเงินจํานวนมากในการสมัครสอบแตละคร้ังอีกดวย

ดังน้ัน ทางคณะผูจัดทําจึงไดจัดทําสื่อในการคนหาตนเองของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี เพื่อชวยใหนักเรียนที่ไดชมสื่อที่ทําขึ้น สามารถวิเคราะหและพิจารณาดวยเหตุและผลถึงความเหมาะสมและความชอบของตนเองในการเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองได

1.2 วัตถุประสงค

1. เพื่อสํารวจความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการรับชมสื่อวีดีโออาชีพตางๆ

2. เพื่อผลิตสื่อที่ชวยใหนักเรียนรูจักตนเอง และรูจักอาชีพน้ันๆมากขึ้น

Page 2: รายงาน Is

2

1.3 สมมติฐาน

ถานักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีที่ไดรับชมสื่อวีดีโอที่จัดทําขึ้น มีความพึงพอใจตอสื่อวีดีโอน้ันจริง ดังน้ันคาที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็น เมื่อนํามาคิดเปนคาเฉลี่ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของโดยรวมแลว จะอยูในระดับความคิดเห็น มาก หรือ มากที่สุด

1.4 นิยามศัพท

สื่อวีดีโอ หมายถึง สื่อวีดีโอที่ไดทําการสัมภาษณผูที่ประกอบอาชีพที่มีนักเรียนจํานวนมากใฝฝนที่จะเปนในอนาคต

ความพึงพอใจ หมายถึง ความรูสึกภายในของที่แตละคนเปรียบเทียบระหวางความคิดเห็นตอสภาพการณที่อยากใหเปนหรือคาดหวัง หรือรูสึกวาสมควรจะไดรับ ผลที่ไดจะเปนความพึงพอใจหรือไมพึงพอใจเปนการตัดสินของแตละบุคคล

คาที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็น หมายถึง คาระดับความคิดเห็นตางๆ ในใบแบบสํารวจความพึงพอใจตอการรับชมสื่อวีดีโอ นําเสนอขอมูลของอาชีพตางๆ ประกอบดวย 1 คือ นอยที่สุด, 2 คือ นอย,3 คือ ปานกลาง, 4 คือ มาก และ 5 คือ มากที่สุด

Page 3: รายงาน Is

3

บทที่ 2

เอกสารที่เก่ียวของ

คณะผูจัดทําไดมีการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของ ดังน้ี

1. เน้ือหาความรู เร่ือง แบบสํารวจความคิดเห็นแบบสอบถาม หมายถึง รูปแบบของคําถามเปนชุดๆ ที่ไดถูกรวบรวมไวอยางมีหลักเกณฑและเปน

ระบบ เพื่อใชวัดสิ่งที่ผูวิจัยตองการจะวัดจากกลุมตัวอยางหรือประชากรเปาหมายใหไดมาซึ่งขอเท็จจริงทั้งในอดีต ปจจุบันและการคาดคะเนเหตุการณในอนาคต แบบสอบถามประกอบดวยรายการคําถามที่สรางอยางประณีต เพื่อรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นหรือขอเท็จจริง โดยสงใหกลุมตัวอยางตามความสมัครใจ การใชแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลน้ัน การสรางคําถามเปนงานที่สําคัญสําหรับผูวิจัย เพราะวาผูวิจัยอาจไมมีโอกาสไดพบปะกับผูตอบแบบสอบถามเพื่ออธิบายความหมายตาง ๆของขอคําถามที่ตองการเก็บรวบรวม

แบบสอบถาม เปนเคร่ืองมือวิจัยชนิดหน่ึงที่นิยมใชกันมาก เพราะการเก็บรวบรวมขอมูลสะดวกและสามารถใชวัดไดอยางกวางขวาง การเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามสามารถทําไดดวยการสัมภาษณหรือใหผูตอบดวยตนเอง

โครงสรางของแบบสอบถามโครงสรางของแบบสอบถาม ประกอบไปดวย 3 สวนสําคัญ ดังน้ี1. หนังสือนําหรือคําชี้แจงโดยมากมักจะอยูสวนแรกของแบบสอบถาม อาจมีจดหมายอยูดานหนา

พรอมคําขอบคุณ โดยคําชี้แจงมักจะระบุถึงจุดประสงคที่ใหตอบแบบสอบถาม การนําคําตอบที่ไดไปใชประโยชน คําอธิบายลักษณะของแบบสอบถาม วิธีการตอบแบบสอบถามพรอมตัวอยาง ชื่อ และที่อยูของผูวิจัย ประเด็นที่สําคัญคือการแสดงขอความที่ทําใหผูตอบมีความมั่นใจวา ขอมูลที่จะตอบไปจะไมถูกเปดเผยเปนรายบุคคล จะไมมีผลกระทบตอผูตอบ และมีการพิทักษสิทธิของผูตอบดวย

2. คําถามเกี่ยวกับขอมูลสวนตัว เชน เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ เปนตน การที่จะถามขอมูลสวนตัวอะไรบางน้ันขึ้นอยูกับกรอบแนวความคิดในการวิจัย โดยดูวาตัวแปรที่สนใจจะศึกษาน้ันมีอะไรบางที่เกี่ยวกับขอมูลสวนตัว และควรถามเฉพาะขอมูลที่จําเปนในการวิจัยเทาน้ัน

Page 4: รายงาน Is

4

3. คําถามเกี่ยวกับคุณลักษณะหรือตัวแปรท่ีจะวัด เปนความคิดเห็นของผูตอบในเร่ืองของคุณลักษณะ หรือตัวแปรน้ัน

ข้ันตอนการสรางแบบสอบถาม

การสรางแบบสอบถามประกอบไปดวยขั้นตอนสําคัญ ดังน้ี

ขั้นที่ 1 ศึกษาคุณลักษณะที่จะวัด

การศึกษาคุณลักษณะอาจดูไดจาก วัตถุประสงคของการวิจัย กรอบแนวความคิดหรือสมมติฐานการวิจัย จากน้ันจึงศึกษาคุณลักษณะ หรือตัวแปรที่จะวัดใหเขาใจอยางละเอียดทั้งเชิงทฤษฎีและนิยามเชิงปฏิบัติการ

ขั้นที่ 2 กําหนดประเภทของขอคําถาม

ขอคําถามในแบบสอบถามอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ

1. คําถามปลายเปด (Open Ended Question) เปนคําถามที่เปดโอกาสใหผูตอบสามารถ ตอบไดอยางเต็มที่ ซึ่งคาดวานาจะไดคําตอบที่แนนอน สมบูรณ ตรงกับสภาพความเปนจริงไดมากกวาคําตอบที่จํากัดวงใหตอบ คําถามปลายเปดจะนิยมใชกันมากในกรณีที่ผูวิจัยไมสามารถคาดเดาไดลวงหนาวาคําตอบจะเปนอยางไร หรือใชคําถามปลายเปดในกรณีที่ตองการไดคําตอบเพื่อนํามาเปนแนวทางในการสรางคําถามปลายปด แบบสอบถามแบบน้ีมีขอเสียคือ มักจะถามไดไมมากนัก การรวบรวมความคิดเห็นและการแปลผลมักจะมีความยุงยาก

2. คําถามปลายปด (Close Ended Question) เปนคําถามที่ผูวิจัยมีแนวคําตอบไวให ผูตอบเลือกตอบจากคําตอบที่กําหนดไวเทาน้ัน คําตอบที่ผูวิจัยกําหนดไวลวงหนามักไดมาจากการทดลองใชคําถามในลักษณะที่เปนคําถามปลายเปด หรือการศึกษากรอบแนวความคิด สมมติฐานการวิจัย และนิยามเชิงปฏิบัติการ คําถามปลายเปดมีวิธีการเขียนไดหลาย ๆ แบบ เชน แบบใหเลือกตอบอยางใดอยางหน่ึง แบบใหเลือกคําตอบที่ถูกตองเพียงคําตอบเดียว แบบผูตอบจัดลําดับความสําคัญหรือแบบใหเลือกคําตอบหายคําตอบ

Page 5: รายงาน Is

5

ขั้นที่ 3 การรางแบบสอบถาม

เมื่อผูวิจัยทราบถึงคุณลักษณะหรือประเด็นที่จะวัด และกําหนดประเภทของขอคําถามที่จะมีอยูในแบบสอบถามเรียบรอยแลว ผูวิจัยจึงลงมือเขียนขอคําถามใหครอบคลุมทุกคุณลักษณะหรือประเด็นที่จะวัดโดยเขียนตามโครงสรางของแบบสอบถามที่ไดกลาวไวแลว และหลักการในการสรางแบบสอบถาม ดังน้ี

1. ตองมีจุดมุงหมายที่แนนอนวาตองการจะถามอะไรบาง โดยจุดมุงหมายน้ันจะตองสอดคลองกับวัตถุประสงคของงานวิจัยที่จะทํา

2. ตองสรางคําถามใหตรงตามจุดมุงหมายที่ต้ังไว เพื่อปองกันการมีขอคําถามนอกประเด็น และมีขอคําถามจํานวนมาก

3. ตองถามใหครอบคลุมเร่ืองที่จะวัด โดยมีจํานวนขอคําถามที่พอเหมาะ ไมมากหรือนอยเกินไป แตจะมากหรือนอยเทาใดน้ันขึ้นอยูกับพฤติกรรมที่จะวัด ซึ่งตามปกติพฤติกรรมหรือเร่ืองที่จะวัดเร่ืองหน่ึงๆ น้ันควรมีขอคําถาม 25-60 ขอ

4. การเรียงลําดับขอคําถาม ควรเรียงลําดับใหตอเน่ืองสัมพันธกัน และแบงตามพฤติกรรมยอยๆ ไวเพื่อใหผูตอบเห็นชัดเจนและงายตอการตอบ นอกจากน้ันตองเรียงคําถามงายๆ ไวเปนขอแรกๆ เพื่อชักจูงใหผูตอบอยากตอบคําถามตอ สวนคําถามสําคัญๆ ไมควรเรียงไวตอนทายของแบบสอบถาม เพราะความสนใจในการตอบของผูตอบอาจจะนอยลง ทําใหตอบอยางไมต้ังใจ ซึ่งจะสงผลเสียตอการวิจัยมาก

5. ลักษณะของขอความที่ดี ขอคําถามที่ดีของแบบสอบถามน้ัน ควรมีลักษณะดังน้ี

1) ขอคําถามไมควรยาวจนเกินไป ควรใชขอความสั้น กะทัดรัด ตรงกับวัตถุประสงค และสองคลองกับเร่ือง

2) ขอความ หรือภาษาที่ใชในขอความตองชัดเจน เขาใจงาย

3) คาเฉลี่ยในการตอบแบบสอบถามไมควรเกินหน่ึงชั่วโมง ขอคําถามไมควรมากเกินไปจนทําใหผูตอบเบื่อหนายหรือเหน่ือยลา

4) ไมถามเร่ืองที่เปนความลับเพราะจะทําใหไดคําตอบที่ไมตรงกับขอเท็จจริง

5) ไมควรใชขอความที่มีความหมายกํากวมหรือขอความที่ทําใหผูตอบแตละคนเขาใจความหมายของขอความไมเหมือนกัน

Page 6: รายงาน Is

6

6) ไมถามในเร่ืองที่รูแลว หรือถามในสิ่งที่วัดไดดวยวิธีอ่ืน

7) ขอคําถามตองเหมาะสมกับกลุมตัวอยาง คือ ตองคํานึงถึงระดับการศึกษา ความสนใจ สภาพเศรษฐกิจฯลฯ

8) ขอคําถามหน่ึงๆ ควรถามเพียงประเด็นเดียว เพื่อใหไดคําตอบที่ชัดเจนและตรงจุด ซึ่งจะงายตอการนํามาวิเคราะหขอมูล

9) คําตอบหรือตัวเลือกในขอคําถามควรมีมากพอ หรือใหเหมาะสมกับขอคําถามน้ัน แตถาไมสามารถระบุไดหมดก็ใหใชวา อ่ืนๆ โปรดระบุ ……………….

10) ควรหลีกเลี่ยงคําถามที่เกี่ยวกับคานิยมที่จะทําใหผูตอบไมตอบตามความเปนจริง

11) คําตอบที่ไดจากแบบสอบถาม ตองสามารถนํามาแปลงออกมาในรูปของปริมาณและใชสถิติอธิบายขอเท็จจริงได เพราะปจจุบันน้ีนิยมใชคอมพิวเตอรในการวิเคราะหขอมูล ดังน้ันแบบสอบถามควรคํานึงถึงวิธีการประมวลขอมูลและวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรดวย

ขั้นที่ 4 การปรับปรุงแบบสอบถาม

หลังจากที่สรางแบบสอบถามเสร็จแลว ผูวิจัยควรนําแบบสอบถามน้ันมาพิจารณาทบทวนอีกคร้ังเพื่อหาขอบกพรองที่ควรปรับปรุงแกไข และควรใหผูเชี่ยวชาญไดตรวจสอบแบบสอบถามน้ันดวยเพื่อที่จะได นําขอเสนอแนะและขอวิพากษวิจารณของผูเชี่ยวชาญมาปรับปรุงแกไขใหดียิ่งขึ้น

ขั้นที่ 5 วิเคราะหคุณภาพแบบสอบถาม

เปนการนําแบบสอบถามที่ไดปรับปรุงแลวไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางเล็กๆ เพื่อนําผล

มาตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถาม ซึ่งการวิเคราะหหรือตรวจสอบคุณภาพของแบบสอบถามทําไดหลายวิธี แตที่สําคัญมี 2 วิธี ไดแก

1. ความตรง (Validity) หมายถึง เคร่ืองมือที่สามารถวัดไดในสิ่งที่ตองการวัด โดยแบงออกไดเปน 3ประเภท คือ

1) ความตรงตามเน้ือหา (Content Validity) คือ การที่แบบสอบถามมีความครอบคลุมวัตถุประสงคหรือพฤติกรรมที่ตองการวัดหรือไม คาสถิติที่ใชในการหาคุณภาพ คือ คาความสอดคลองระหวางขอคําถามกับ

Page 7: รายงาน Is

7

วัตถุประสงค หรือเน้ือหา(IOC: Index of item Objective Congruence) หรือดัชนีความเหมาะสม โดยใหผูเชี่ยวชาญ ประเมินเน้ือหาของขอถามเปนรายขอ

2) ความตรงตามเกณฑ (Criterion-related Validity) หมายถึง ความสามารถของแบบวัดที่สามารถวัดไดตรงตามสภาพความเปนจริง แบงออกไดเปนความเที่ยงตรงเชิงพยากรณและความเที่ยงตรงตามสภาพ สถิติที่ใชวัดความเที่ยงตรงตามเกณฑ เชน คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ(Correlation Coefficient) ทั้งของ Pearson และSpearman และ คา t-test เปนตน

3) ความตรงตามโครงสราง (Construct Validity) หมายถึงความสามารถของแบบสอบถามที่สามารถวัดไดตรงตามโครงสรางหรือทฤษฎี ซึ่งมักจะมีในแบบวัดทางจิตวิทยาและแบบวัดสติปญญา สถิติที่ใชวัดความเที่ยงตรงตามโครงสรางมีหลายวิธี เชน การวิเคราะหองคประกอบ (Factor Analysis) การตรวจสอบในเชิงเหตุผล เปนตน

2. ความเที่ยง (Reliability) หมายถึง เคร่ืองมือที่มีความคงเสนคงวา น่ันคือ เคร่ืองมือที่สรางขึ้นใหผลการวัดที่แนนอนคงที่จะวัดกี่คร้ังผลจะไดเหมือนเดิม สถิติที่ใชในการหาคาความเที่ยงมีหลายวิธีแตนิยมใชกันคือ คาสัมประสิทธิ์แอลฟาของ คอนบารช (Conbach’s Alpha Coefficient: α coefficient) ซึ่งจะใชสําหรับขอมูลที่มีการแบงระดับการวัดแบบประมาณคา (Rating Scale)

ขั้นที่ 6 ปรับปรุงแบบสอบถามใหสมบูรณ

ผูวิจัยจะตองทําการแกไขขอบกพรองที่ไดจากผลการวิเคราะหคุณภาพของแบบสอบถาม และตรวจสอบความถูกตองของถอยคําหรือสํานวน เพื่อใหแบบสอบถามมีความสมบูรณและมีคุณภาพผูตอบอานเขาใจไดตรงประเด็นที่ผูวิจัยตองการ ซึ่งจะทําใหผลงานวิจัยเปนที่นาเชื่อถือยิ่งขึ้น

ขั้นที่ 7 จัดพิมพแบบสอบถาม

จัดพิมพแบบสอบถามที่ไดปรับปรุงเรียบรอยแลวเพื่อนําไปใชจริงในการเก็บรวบรวมขอมูลกับกลุมเปาหมาย โดยจํานวนที่จัดพิมพควรไมนอยกวาจํานวนเปาหมายที่ตองการเก็บรวบรวมขอมูล และควรมีการพิมพสํารองไวในกรณีที่แบบสอบถามเสียหรือสูญหายหรือผูตอบไมตอบกลับ แนวทางในการจัดพิมพแบบสอบถามมีดังน้ี

1. การพิมพแบงหนาใหสะดวกตอการเปดอานและตอบ2. เวนที่วางสําหรับคําถามปลายเปดไวเพียงพอ

Page 8: รายงาน Is

8

3. พิมพอักษรขนาดใหญชัดเจน4. ใชสีและลักษณะกระดาษที่เอ้ือตอการอาน

หลักการสรางแบบสอบถาม

1. สอดคลองกับวัตถุประสงคการวิจัย2. ใชภาษาที่เขาใจงาย เหมาะสมกับผูตอบ3. ใชขอความที่สั้น กระทัดรัด ไดใจความ4. แตละคําถามควรมีนัย เพียงประเด็นเดียว5. หลีกเลี่ยงการใชประโยคปฏิเสธซอน6. ไมควรใชคํายอ7. หลีกเลี่ยงการใชคําที่เปนนามธรรมมาก8. ไมชี้นําการตอบใหเปนไปแนวทางใดแนวทางหน่ึง9. หลีดเลี่ยงคําถามที่ทําใหผูตอบเกิดความลําบากใจในการตอบ10. คําตอบที่มีใหเลือกตองชัดเจนและครอบคลุมคําตอบที่เปนไปได11. หลีกเลี่ยงคําที่สื่อความหมายหลายอยาง12. ไมควรเปนแบบสอบถามที่มีจํานวนมากเกินไป ไมควรใหผูตอบใชเวลาในการตอบ

แบบสอบถามนานเกินไป13. ขอคําถามควรถามประเด็นที่เฉพาะเจาะจงตามเปาหมายของการวิจัย14. คําถามตองนาสนใจสามารถกระตุนใหเกิดความอยากตอบ

เทคนิคการใชแบบสอบถาม

วิธีใชแบบสอบถามมี 2 วิธี คือการสงทางไปรษณีย กับการเก็บขอมูลดวยตนเอง ซึ่งไมวากรณีใดตองมีจดหมายระบุวัตถุประสงคของการเก็บขอมูล ตลอดจนความสําคัญของขอมูลและผลที่คาดวาจะไดรับเพื่อใหผูตอบตระหนักถึงความสําคัญและสละเวลาในการตอบแบบสอบถาม การทําใหอัตราตอบแบบสอบถามสูงเปนเปาหมายสําคัญของผูวิจัย ขอมูลจากแบบสอบถามจะเปนตัวแทนของประชากรไดเมื่อมีจํานวนแบบสอบถามคืนมามากวารอยละ 90 ของจํานวนแบบสอบถามที่สงไป แนวทางที่จะทําใหไดรับแบบสอบถามกลับคืนในอัตราที่สูง มีวิธีการดังน้ี

1. มีการติดตามแบบสอบถามเมื่อใหเวลาผูตอบไประยะหน่ึง ระยะเวลาที่เหมาะสมในการติดตามคือ 2 สัปดาห หลังครบกําหนดสง อาจจะติดตามมากกวาหน่ึงคร้ัง

2. วิธีการติดตามแบบสอบถาม อาจใชจดหมาย ไปรษณีย โทรศัพท เปนตน

Page 9: รายงาน Is

9

3. ในกรณีที่ขอคําถามอาจจะถามในเร่ืองของสวนตัว ผูวิจัยตองใหความมั่นใจวาขอมูลที่ไดจะเปนความลับ

4. ขอเดนและขอดอยของการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามการใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูลมีขอเดนและขอดอยที่ตองพิจารณาประกอบในการ

เลือกใชแบบสอบถามในการเก็บรวบรวมขอมูล ดังน้ี

ขอเดนของการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามมีดังน้ี คือ

1. ถากลุมตัวอยางมีขนาดใหญ วิธีการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถาม จะเปนวิธีการที่สะดวกและประหยัดกวาวิธีอ่ืน

2. ผูตอบมีเวลาตอบมากกวาวิธีการอ่ืน

3. ไมจําเปนตองฝกอบรมพนักงานเก็บขอมูลมากเหมือนกับวิธีการสัมภาษณหรือวิธีการสังเกต

4. ไมเกิดความลําเอียงอันเน่ืองมาจากการสัมภาษณหรือการสังเกต เพราะผูตอบเปนผูตอบขอมูลเอง

5. สามารถสงแบบสอบถามใหผูตอบทางไปรษณียได

6. ประหยัดคาใชจายในการเก็บขอมูล

ขอดอยของการเก็บขอมูลโดยใชแบบสอบถามมีดังน้ีคือ

1. ในกรณีที่สงแบบสอบถามใหผูตอบทางไปรษณีย มักจะไดแบบสอบถามกลับคืนมานอย และตองเสียเวลาในการติดตาม อาจทําใหระยะเวลาการเก็บขอมูลลาชากวาที่กําหนดไว

2. การเก็บขอมูลโดยวิธีการใชแบบสอบถามจะใชไดเฉพาะกับกลุมประชากรเปาหมายที่อานและเขียนหนังสือไดเทาน้ัน

3. จะไดขอมูลจํากัดเฉพาะที่จําเปนจริงๆ เทาน้ัน เพราะการเก็บขอมูลโดยวิธีการใชแบบสอบถามจะตองมีคําถามจํานวนนอยขอที่สุดเทาที่จะเปนไปได

4. การสงแบบสอบถามไปทางไปรษณีย หนวยตัวอยางอาจไมไดเปนผูตอบแบบสอบถามเองก็ได ทําใหคําตอบที่ไดมีความคลาดเคลื่อนไมตรงกับความจริง

Page 10: รายงาน Is

10

5. ถาผูตอบไมเขาใจคําถามหรือเขาใจคําถามผิด หรือไมตอบคําถามบางขอ หรือไมไตรตรองใหรอบคอบกอนที่จะตอบคําถาม ก็จะทําใหขอมูลมีความคลาดเคลื่อนได โดยที่ผูวิจัยไมสามารถยอนกลับไปสอบถามหนวยตัวอยางน้ันไดอีก

6. ผูที่ตอบแบบสอบถามกลับคืนมาทางไปรษณีย อาจเปนกลุมที่มีลักษณะแตกตางจากกลุมผูที่ไมตอบแบบสอบถามกลับคืนมา ดังน้ันขอมูลที่นํามาวิเคราะหจะมีความลําเอียงอันเน่ืองมาจากกลุมตัวอยางได

สรุปไดวา

แบบสอบถามเปนรูปแบบของคําถามเปนชุดๆ ที่ไดถูกรวบรวมไวอยางมีหลักเกณฑและเปนระบบเพื่อใชวัดสิ่งที่ผูวิจัยตองการจะวัดจากกลุมตัวอยาง ประกอบดวย 3 โครงสราง คือ คําชี้แจง คําถามเกี่ยวกับขอมูล และคําถามที่เกี่ยวกับคุณลักษณะ แบบสอบถามสามารถแบงไดเปน 2 ประเภทคือ แบบปลายปด และแบบปลาย เปด และการสรางแบบสอบถามน้ัน สามารถแบงออกไดเปน 7 ขั้นตอนยอย ไดแก ศึกษาคุณลักษณะที่จะวัด กําหนดประเภท รางแบบสอบถาม ปรับปรุงแบบสอบถาม วิเคราะหคุณภาพแบบสอบถาม ปรับปรุงใหสมบูรณ และจัดพิมพแบบสอบถาม

2. เน้ือหาความรู เร่ือง การสรางสื่อสื่อการสอน (Instruction Media) หมายถึง วัสดุ อุปกรณ หรือวิธีการใด ๆ ก็ตามที่เปนตัวกลางหรือ

พาหะในการถายทอดความรู ทัศนคติ ทักษะและประสบการณไปสูผูเรียน สื่อการสอนแตละชนิดจะมีคุณสมบัติพิเศษและมีคุณคาในตัวของมันเองในการเก็บและแสดงความหมายที่เหมาะสมกับเน้ือหาและเทคนิควิธีการใชอยางมีระบบคุณสมบัติของสื่อการสอน

สื่อการสอนมีคุณสมบัติพิเศษ 3 ประการ คือ1. สามารถจัดยึดประสบการณกิจกรรมและการกระทําตาง ๆ ไวไดอยางคงทนถาวร ไมวาจะเปน

เหตุการณในอดีต หรือปจจุบัน ทั้งในลักษณะของรูปภาพ เสียง และสัญลักษณตาง ๆ สามารถนําไปใชไดตามความตองการ

Page 11: รายงาน Is

11

2. สามารถจัดแจงจัดการและปรุงแตงประสบการณตาง ๆ ใหใชไดสอดคลองกับวัตถุประสงคของการเรียนการสอน เพราะสื่อการสอนบางชนิด สามารถใชเทคนิคพิเศษเพื่อเอาชนะขอจํากัดในดานขนาดระยะทาง เวลา และความเปนนามธรรมของประสบการณตามธรรมชาติได

3. สามารถแจกจายและขยายของขาวสารออกเปนหลาย ๆ ฉบับเพื่อเผยแพรสูคนจํานวนมาก และสามารถใชซ้ํา ๆ ไดหลาย ๆ คร้ัง ทําใหสามารถแกปญหาในดานการเรียนการสอนตาง ๆ ทั้งการศึกษาในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียนไดเปนอยางดี

คุณคาของสื่อการสอน1. เปนศูนยรวมความสนใจของผูเรียน2. ทําใหบทเรียนเปนที่นาสนใจ3. ชวยใหผูเรียนมีประสบการณกวางขวาง4. ทําใหผูเรียนมีประสบการณรวมกัน5. แสดงความหมายและสัญลักษณตาง ๆ6. ใหความหมายแกคําที่เปนนามธรรมได7. แสดงสิ่งที่ลี้ลับใหเขาใจงาย8. อธิบายสิ่งที่เขาใจยากใหเขาใจงายขึ้น9. สามารถเอาชนะขอจํากัดตาง ๆ เกี่ยวกับเวลา ระยะทางและขนาดได เชน

9.1 ทําใหสิ่งที่เคลื่อนไหวชาใหเร็วขึ้นได9.2 ทําใหสิ่งที่เคลื่อนไหวเร็วใหชาลงได9.3 ยอสิ่งที่ใหญเกินไปใหเล็กลงได9.4 ขยายสิ่งที่เล็กเกินไปใหใหญขึ้นได9.5 นําสิ่งที่อยูไกลเกินไปมาศึกษาได9.6 นําสิ่งที่เกิดขึ้นในอดีตมาใหดูได

คุณคาของสื่อการสอน จําแนกได 3 ดาน คือ1. คุณคาดานวิชาการ

1.1 ทําใหผูเรียนเกิดประสบการณตรง1.2 ทําใหผูเรียนเรียนรูไดดีกวาและมากกวาไมใชสื่อการสอน1.3 ลักษณะที่เปนรูปธรรมของสื่อการสอน ชวยใหผูเรียนเขาใจความหมายของสิ่งตาง ๆ ได

Page 12: รายงาน Is

12

กวางขวางและ เปนแนวทางใหเขาใจสิ่งน้ัน ๆ ไดดียิ่งขึ้น1.4 สวนเสริมดานความคิด และการแกปญหา1.5 ชวยใหผูเรียนเรียนรูไดถูกตอง และจําเร่ืองราวไดมากและไดนาน1.6 สื่อการสอนบางชนิด ชวยเรงทักษะในการเรียนรู เชน ภาพยนตร ภาพน่ิง เปนตน

2. คุณคาดานจิตวิทยาการเรียนรู2.1 ทําใหเกิดความสนใจ และตองเรียนรูในสิ่งตาง ๆ มากขึ้น2.2 ทําใหเกิดความคิดรวบยอดเปนเพียงอยางเดียว2.3 เราความสนใจ ทําใหเกิดความพึงพอใจ และยั่วยุใหกระทํากิจกรรมดวยตนเอง

3. คุณคาดานเศรษฐกิจการศึกษา3.1 ชวยใหผูเรียนที่เรียนชาเรียนไดเร็วและมากขึ้น3.2 ประหยัดเวลาในการทําความเขาใจเน้ือหาตาง ๆ3.3 ผูเรียนสามารถเรียนรูไดเหมือนกันคร้ังละหลาย ๆ คน3.4 ชวยขจัดปญหาเร่ืองเวลา สถานที่ ขนาด และระยะทาง

ประเภทของสื่อการสอน

การจําแนกสื่อการสอนตามคุณสมบัติชัยยงค พรมวงศ (2523 : 112) ไดกลาวไววา สื่อการสอนแบงเปน 3 ประเภทใหญ ๆ คือ

1. วัสดุ (Materials) เปนสื่อเล็กหรือสื่อเบา บางทีเรียกวา Soft Ware สื่อประเภทน้ีผุพังไดงายเชน

- แผนภูมิ (Charts)- แผนภาพ (Diagrams)- ภาพถาย (Poster)- โปสเตอร (Drawing)- ภาพเขียน (Drawing)- ภาพโปรงใส (Transparencies)- ฟลมสตริป (Filmstrip)- แถบเทปบันทึกภาพ (Video Tapes)- เทปเสียง (Tapes) ฯลฯ

Page 13: รายงาน Is

13

2. อุปกรณ (Equipment) เปนสื่อใหญหรือหนัก บางทีเรียกวา สื่อ Hardware สื่อประเภทน้ีไดแก- เคร่ืองฉายขามศีรษะ (Overhead Projectors)- เคร่ืองฉายสไลด (Slide Projectors)- เคร่ืองฉายภาพยนตร (Motion Picture Projectors)- เคร่ืองเทปบันทึกเสียง (Tape Receivers)- เคร่ืองรับวิทยุ (Radio Receivers)- เคร่ืองรับโทรทัศน (Television Receivers)

3. วิธีการ เทคนิค หรือกิจกรรม (Method Technique or Activities) ไดแก- บทบาทสมมุติ (Role Playing)- สถานการณจําลอง (Simulation)- การสาธิต (Demonstration)- การศึกษานอกสถานที่ (Field Trips)- การจัดนิทรรศการ (Exhibition)- กระบะทราย (Sand Trays)

การจําแนกสื่อการสอนตามแบบ (Form)ชอรส (Shorse. 1960 : 11) ไดจําแนกสื่อการสอนตามแบบเปนหมวดหมูดังน้ี

1. สิ่งพิมพ (Printed Materials)- หนังสือแบบเรียน (Text Books)- หนังสืออุเทศก (Reference Books)- หนังสืออานประกอบ (Reading Books)- นิตยสารหรือวารสาร (Serials)

2. วัสดุกราฟก (Graphic Materials)- แผนภูมิ (Chats)- แผนสถิติ (Graph)- แผนภาพ (Diagrams)- โปสเตอร (Poster)- การตูน (Cartoons)

3. วัสดุและเคร่ืองฉาย (Projector materials and Equipment)

Page 14: รายงาน Is

14

- เคร่ืองฉายภาพน่ิง (Still Picture Projector)- เคร่ืองฉายภาพเคลื่อนไหว (Motion Picture Projector)- เคร่ืองฉายขามศีรษะ (Overhead Projector)- ฟลมสไลด (Slides)- ฟลมภาพยนตร (Films)- แผนโปรงใส (Transparancies)

4. วัสดุถายทอดเสียง (Transmission)- เคร่ืองเลนแผนเสียง (Disc Recording)- เคร่ืองบันทึกเสียง (Tape Recorder)- เคร่ืองรับวิทยุ (Radio Receiver)- เคร่ืองรับโทรทัศน (Television Receiver)

การจําแนกสื่อการสอนตามประสบการณเอดการ เดล (Edgar Dale. 1969 : 107) เชื่อวาประสบการณตรงที่เปนรูปธรรมจะทําใหเกิดการ

เรียนรูแตกตางกับประสบการณที่เปนนามธรรม ดังน้ันจึงจําแนกสื่อการสอนโดยยึดประสบการณเปนหลักเรียงตามลําดับจากประสบการณที่งายไปยาก 10 ขั้น เรียกวา กรวยประสบการณ (Cone of Experience)

ข้ันท่ี 1 ประสบการณตรง (Direct Experiences) มีความหมายเปนรูปธรรมมากที่สุดทําใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง เชน เลนกีฬา ทําอาหาร ปลูกพืชผัก หรือเลี้ยงสัตว เปนตน

ข้ันท่ี 2 ประสบการณรอง (Verbal Symbols) เปนกรณีที่ประสบการณหรือของจริงมีขอจํากัดจําเปนตองจําลองสิ่งตาง ๆ เหลาน้ันมาศึกษาแทน เชน หุนจําลอง ของตัวอยาง การแสดงเหตุการณจําลองทางดาราศาสตร

ข้ันท่ี 3 ประสบการณนาฏการ (Dramaticed Experiences) เปนประสบการณที่จัดขึ้นแทนประสบการณตรง หรือเหตุการณจริงที่เกิดขึ้นในอดีตหรืออาจเปนความคิด ความฝน สามารถเรียนดวยประสบการณตรงหรือประสบการณจําลองได เชน การแสดงละคร บทบาทสมมุติ เปนตน

ข้ันท่ี 4 การสาธิต (Demonstration) เปนการอธิบายขอเท็จจริงลําดับความคิดหรือกระบวนการเหมาะสมกับเน้ือหาที่ตองการความเขาใจ ความชํานาญหรือทักษะ เชน การสาธิตการผายปอดการสาธิตการเลนของครูพละ เปนตน

ข้ันท่ี 5 การศึกษานอกสถานท่ี (Field Trips) เปนการพาผูเรียนไปศึกษาหาความรูนอกหองเรียนโดยมีจุดมุงหมายที่แนนอน ประสบการณน้ีมีความเปนนามธรรมมากกวาการสาธิต เพราะผูเรียนแทบไมได

Page 15: รายงาน Is

15

มีสวนในกิจกรรมที่ไดพบเห็นน้ันเลยข้ันท่ี 6 นิทรรศการ (Exhibits) เปนการจัดประสบการณใหผูเรียนไดรับดวยการดูเปนสวนใหญ

อาจจัดแสดงสิ่งตาง ๆ เชน ของจริง หุนจําลอง วัสดุสาธิต แผนภูมิ ภาพยนตร เปนตนข้ันท่ี 7 โทรทัศนและภาพยนตร (Television and Motion Picture) เปนประสบการณที่เปน

นามธรรมมากกวาการจัดนิทรรศการ เพราะผูเรียนเรียนรูไดดวยการดูภาพและฟงเสียงเทาน้ันข้ันท่ี 8 ภาพน่ิง วิทยุและการบันทึกเสียง (Still Picture) เปนประสบการณที่รับรูไดทางใดทาง

หน่ึงระหวางการฟง และการพูด ซึ่งนับเปนนามธรรมมากขึ้น

ข้ันท่ี 9 ทัศนสัญลักษณ (Visual Symbols) เปนประสบการณที่เปนนามธรรมมากที่สุด บรรยายการปราศรัย คําโฆษณา ฯลฯ ดังน้ันผูเรียนควรมีพื้นฐานเชนเดียวกับทัศนสัญลักษณน้ัน ๆ จะทําใหเกิดการเรียนรูไดอยางดี

ข้ันท่ี 10 วัจนสัญลักษณ (Verbal Symbols) ไดแก คําพูด คําอธิบาย หนังสือ เอกสาร แผนปลิวแผนพับ ที่ใชตัวอักษร ตัวเลข แทนความหมายของสิ่งตาง ๆ นับเปนประสบการณที่เปนนามธรรมมากที่สุดขอดีและขอจํากัดของสื่อการสอน

1. สื่อท่ีไมตองใชเคร่ืองประกอบ1.1 หนังสือพิมพ สมุดคูมือ เอกสารหรือสิ่งพิมพอื่น ๆ

ขอดี1. วิธีเรียนที่ดีที่สุดสําหรับบางคน ไดแก การอาน2. สามารถอานไดตามสมรรถภาพของแตละบุคคล3. เหมาะสมสําหรับการอางอิงหรือทบทวน4. เหมาะสําหรับการผลิตเพื่อแจกเปนจํานวนมาก

ขอจํากัด1. ตนทุนการผลิตคอนขางสูง2. บางคร้ังขอมูลลาสมัยงาย3. สิ่งพิมพที่จําเปนตองอาศัยการผลิตตนแบบหรือการผลิตที่มีคุณภาพ ซึ่งหาไดยาก

1.2 ตัวอยางของจริงขอดี

1. แสดงสภาพตามความเปนจริง

Page 16: รายงาน Is

16

2. อยูในลักษณะสามมิติ3. สัมผัสไดดวยสัมผัสทั้ง 4

ขอจํากัด1. การจัดหาอาจลําบาก2. บางคร้ังขนาดใหญเกินกวาจะนํามาแสดงได3. บางคร้ังราคาสูงเกินไป4. ปกติเหมาะสําหรับการแสดงตอกลุมยอย5. บางคร้ังเสียหายงาย6. เก็บรักษาลําบาก

1.3 หุนจําลอง / เทา / ขยาย / ของจริงขอดี

1. อยูในลักษณะสามมิติ2. สามารถจับตองและพิจารณารายละเอียด3. เหมาะสําหรับการแสดงที่ไมสามารถเห็นไดดวยตาเปลา (เชน สวนกลางหู)4. สามารถใชแสดงหนาที่5. ชวยในการเรียนรูและการปฏิบัติทักษะชนิดตาง ๆ6. หุนบางอยางสบายสามารถผลิตไดดวยวัสดุในทองถิ่นที่หางาย

ขอจํากัด1. ตองอาศัยความชํานาญในการผลิต2. สวนมากราคาแพง3. ปกติเหมาะสําหรับการแสดงตอกลุมยอย4. ชํารุดเสียหายงาย5. ไมเหมือนของจริงทุกประการบางคร้ังทําใหเกิดความเขาใจผิด

1.4 กราฟก / แผนภูมิ / แผนภาพ / แผนผัง / ตารางขอดี

1. ชวยในการชี้ใหเห็นความสัมพันธระหวางเน้ือหา2. ชวยแสดงลําดับขั้นตอนของเน้ือหา3. ภาพถายมีลักษณะใกลความเปนจริง ซึ่งดีกวาภาพเขียน

Page 17: รายงาน Is

17

ขอจํากัด1. เหมาะสําหรับกลุมเล็ก ๆ2. เพื่อใหงานกราฟกไดผลจําเปนตองใชชางเทคนิคที่คอนขางมีความชํานาญในการผลิต3. การใชภาพบางประเภท เชน ภาพตัดสวน (Sectional drawings) หรือการตูน อาจไมชวยให

กลุมเปาหมายเกิดความเขาใจดีขึ้นแตกลับทําใหงง เพราะไมสามารถสัมผัสของจริงได1.5 กระดานชอลค

ขอดี1. ตนทุนราคาตํ่า2. สามารถใชเขียนงานกราฟกไดหลายชนิด3. ชวยในการสรางความเขาใจตามลําดับเร่ืองราวเน้ือหาสามารถนําไปใชไดอีก

ขอจํากัด1. ผูเขียนตองหันหลังใหกลุมเปาหมาย2. กลุมเปาหมายจํานวนเพียง 50 คน3. ภาพหัวขอหรือประเด็นคําบรรยายตองถูกลบ ไมสามารถนําไปใชไดอีก4. ผูเขียนตองมีความสามารถในการเขียนกระดานพอสมควรทั้งในการเขียนตัวหนังสือ

1.6 แผนปายสําลี / แผนปายแมเหล็กขอดี

1. สามารถนํากลับมาใชไดอีก2. วัสดุในการผลิตหาไดงาย3. เหมาะสําหรับแสดงความเกี่ยวพันของลําดับเน้ือหา เปนขั้นตอน4. ชวยดึงดูดความสนใจ5. สามารถใหกลุมเปาหมายรวมใชเพื่อสรางความสนใจและทดสอบความเขาใจ

ขอจํากัด- เหมาะสําหรับกลุมยอย

2. สิ่งท่ีตองใชเคร่ืองฉายประกอบ (Projectable Media)2.1 ชนิดท่ีไมมีการเคลื่อนไหว หรือภาพน่ิง (Still Picture)

2.1.1 เคร่ืองฉายทึบแสง (Opaque Projector)

Page 18: รายงาน Is

18

ขอดี1. สามารถขยายภาพถายหรือภาพเขียนใหมีขนาดใหญ ซึ่งแมกลุมจะใหญก็เห็นชัดเจนทั่วถึง

กัน2. ชวยลดภาวะการผลิตสไลดและแผนภาพโปรงแสง (Overhead Transparencies)3. สามารถขยายภาพบนแผนกระดาษ เพื่อจะไดวาดภาพขยายไดถูกตอง4. ชวยในการขยายวัตถุที่มีขนาดเล็กใหกลุมใหญ ๆ เห็นไดทั่วถึง

ขอจํากัด1. เมื่อจะใชเคร่ืองจะตองมีหองที่มืดสนิทจึงจะเห็นภาพขยาย2. เคร่ืองมีขนาดใหญมาก ขนยายลําบาก3. ตองใชไฟฟา

2.1.2 ไมโครฟลมขอดี

1. สะดวกตอการเก็บรักษาและสามารถจัดประเภทไดงาย หากมีไมโครฟลมจํานวนมาก ๆ2. เหมาะสําหรับใชในการแลกเปลี่ยนความรู เพราะมีขนาดเล็ก3. ตนทุนการผลิตคอนขางตํ่าแตตองมีเคร่ืองฉายที่ดี4. ขนาดเล็ก และนํ้าหนักเบาหยิบใชงาย

ขอจํากัด1. ไมสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา2. เคร่ืองขยายที่ใชคนดูคนเดียวมีราคาถูก แตเคร่ืองฉายสําหรับกลุมใหญมีราคาแพง3. เคร่ืองขยายตองใชไฟฟา (ยกเวนเคร่ืองสงขนาดเล็ก)

2.2 ชนิดท่ีมีการเคลื่อนไหว (Moving Picture)2.2.1 ฟลม / ภาพยนตร (ท้ัง 16 มิลลิเมตร และ 8 มิลลิเมตร)ขอดี

1. ใหภาพที่มีการเคลื่อนไหวและใหเสียงประกอบ ซึ่งทั้งสองอยางมีลักษณะใกลความจริงที่สุด

2. เหมาะสําหรับกลุมทุกขนาด คือ สามารถใชไดทั้งกลุมเล็กและกลุมใหญ3. ใชเน้ือที่และเวลานอยในการเสนอ

Page 19: รายงาน Is

19

4. เหมาะสําหรับใชจูงใจสรางทัศนคติและแนะปญหาหรือแสดงทักษะ5. ฟลม 8 มิลลิเมตร เหมาะสําหรับการเรียนรูดวยตนเอง6. เหมาะสําหรับใหความรู แตผูใชจะตองอธิบายขอความบางอยางเกี่ยวกับภาพยนตรโดย

ละเอียดกอนทําการฉายหรือเมื่อฉายจบแลวควรจะใหมีการซักถามปญหา หรืออภิปรายกลุมสรุปเร่ืองราวอีกดวย

ขอจํากัด1. ไมสามารถหยุดภาพยนตรเมื่อมีใครมีขอสงสัย2. ตนทุนในการผลิตสูงมากและกรรมวิธีการผลิตยุงยาก3. การผลิตฟลมจํานวนนอย ๆ ทําใหตนทุนการผลิตสูงขึ้นกวาเดิมมาก4. ตองใชไฟฟาในการฉาย5. ลําบากตอการโยกยายอุปกรณสําหรับฉาย6. จําเปนตองฉายที่มืดจึงจะมองเห็น (นอกจากจะใชจอฉายกลางวัน)7. บางคร้ังถาใชภาพยนตรตางประเทศอาจจะไมตรงตามความตองการของผูใชจริง ๆ

2.2.2 โทรทัศนวงจรเปด (Open Circuit Television)ขอดี

1. สามารถใชกับทั้งกลุมใหญ กลุมยอย และถายทอดไดในระยะไกล ๆ2. ชวยในการดึงดูดความสนใจ3. เหมาะสําหรับใชในการจูงใจ สรางทัศนคติและเสนอปญหา (ใหผูชมคิดหรือเสริมสราง

การอภิปรายรวม)4. ชวยลดภาวะของผูใช คือ แทนที่จะบรรยายหลายแหงตอคน ที่ตาง ๆ เห็นไดในเวลา

เดียวกันขอจํากัด

1. ตนทุนการจัดรายการสูงและตองใชชางผูชํานาญในการทํารายการ2. เคร่ืองรับโทรทัศนมีราคาสูงและบํารุงรักษายาก3. ตองใชไฟฟา4. ผูชมตองปรับตัวเขารายการผูใชหรือผูบรรยายไมสามารถปรับตัวเขากับผูชมได

2.2.3 โทรทัศนวงจรปด (Closed Circuit Television)

Page 20: รายงาน Is

20

ขอดี1. สามารถใชไดในกลุมยอยและกลุมคนที่มีไมมากจนเกินไป2. สามารถฉายซ้ําเมื่อผูชมเกิดความไมเขาใจ3. แสดงการเคลื่อนไหว4. สามารถใชไดในกรณีที่มีบริเวณหรือเวลาจํากัด5. เหมาะสําหรับใชในการจูงใจสรางทัศนคติและเสนอปญหา6. เหมาะสําหรับใชในการขยายภาพ/บันทึกเหตุการณที่เกิดขึ้นเปนขั้นตอนแตใชเวลามากใน

การพัฒนาขอจํากัด

1. ตนทุน อุปกรณและการผลิตสูงและตองใชผูชํานาญในการผลิต / จัดรายการ2. ตองใชไฟฟา (แมวาจะสามารถใชแบตเตอร่ีได ก็อาจจะตองชารตไฟ)3. เคร่ืองรับมีราคาสูง และยากแกการบํารุงรักษา

สรุปไดวา

สื่อการสอน หมายถึง ชองทางถายทอดองคความรู ทักษะ ประสบการณจากแหลงความรูไปสูผูเรียนและทําใหเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ ประเภทของสื่อการสอนสามารถแบงการจําแนกไดเปน 3 แบบคือ การจําแนกสื่อการสอนตามคุณสมบัติ การจําแนกสื่อการสอนตามแบบ และการจําแนกสื่อการสอนตามประสบการณ และสื่อการสอนมีคุณสมบัติพิเศษ 3 ประการ ไดแก 1) สามารถจัดยึดประสบการณกิจกรรมและการกระทําตาง ๆ ไวไดอยางคงทนถาวร 2) สามารถจัดแจงจัดการและปรุงแตงประสบการณตาง ๆ ใหใชไดสอดคลองกับวัตถุประสงคของการเรียนการสอน และ 3) สามารถแจกจายและขยายของขาวสารออกเปน หลายๆ ฉบับเพื่อเผยแพรสูคนจํานวนมาก และสามารถใชซ้ํา ๆ ไดหลาย ๆ คร้ัง

Page 21: รายงาน Is

21

บทที่ 3วิธีดําเนินการ

รายงาน เร่ือง การพัฒนาแบบสํารวจและสรางสื่อในการคนหาตัวตนของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญ-สตรี ผูจัดทําไดดําเนินการ ดังน้ีวิธีดําเนินการ

คณะผูจัดทําไดกําหนดขั้นตอนในการดําเนินการตามลําดับ ดังตอไปน้ี1. ประชากรและกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ถึง

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 62. เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบทดสอบตนเองและสื่อ VDO นําเสนอขอมูลการประกอบ

อาชีพ3. การสรางและการเพิ่มประสิทธิภาพของสื่อและแบบสํารวจตนเองที่ใชในการศึกษา4. ระยะเวลาที่ใชในการดําเนินการ ประมาณ 1 ปการศึกษา5. การเก็บรวบรวมขอมูล6. การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล7. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล คือ สถิติพื้นฐาน ใชสูตรดังน้ี

7.1 คาเฉลี่ยเลขคณิต (Mean)

NXX

เมื่อ X แทน คาเฉลี่ยX แทน ผลรวมของขอมูลN แทน จํานวนขอมูล

7.2 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เพื่อหาคากระจายของขอมูล

NXX.D.S

2

เมื่อ X แทน คะแนนของนักเรียนแตละคนX แทน คะแนนเฉลี่ยของกลุมN แทน จํานวนขอมูล

Page 22: รายงาน Is

22

แบบสํารวจความพึงพอใจตอการรับชมสื่อ VDO นําเสนอขอมูลการประกอบอาชีพตางๆจุดประสงค แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสํารวจความพึงพอใจของผูรับการสํารวจที่มีตอคณะผูจัดทํา เพื่อนําผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงแกไขงานใหมีคุณภาพอยางตอเนื่อง

จากการที่ทานไดดูสื่อ VDO นําเสนอขอมูลการประกอบอาชีพตางๆ แลวขอใหทานไดประเมินความพึงพอใจตอการใชสื่อ

ตอนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม (โปรดทําเคร่ืองหมาย หนาคําตอบท่ีตรงกับความเปนจริง)

1.เพศ ชาย หญิง

2.ระดับชั้น ม.4 ม.5 ม.6

3.อายุ........... ป

ตอนท่ี 2 ระดับความพึงพอใจของผูทําแบบสอบถาม (โปรดทําเคร่ืองหมาย ในชองท่ีตรงกับระดับความพึงพอใจ)

ระดับความพึงพอใจ 5= มากที่สุด 4= มาก 3 = ปานกลาง 2 = นอย และ 1 = นอยที่สุด

ตัวช้ีวัดความพึงพอใจระดับความพึงพอใจ

5 4 3 2 11.เน้ือหาในส่ือวีดิโอสามารถเขาใจไดงาย2.ส่ือวีดีโอมีความชัดเจนในเน้ือหาจากบุคคลผูประกอบอาชีพน้ันๆ3.เน้ือหา และภาษาในส่ือวีดิโอมีความเหมาะสม4.เน้ือหาในส่ือวีดีโอสอดคลองตอความตองการของผูรับชมส่ือ5.เน้ือหาในส่ือวีดีโอมีความหลากหลายของอาชีพและเพียงพอตอความตองการของผูรับชมส่ือ6.ส่ือวีดิโอมีความนาสนใจ7.ส่ือวีดิโอมีความนาเชื่อถือ8.ส่ือวีดีโอมีการลําดับขั้นตอนการนําเสนอท่ีเหมาะสม และเขาใจงาย9.ส่ือวีดีโอสามารถรับชมไดอยางตอเน่ือง และไมมีปญหาในการรับชม

Page 23: รายงาน Is

23

ตอนท่ี 3 ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะเพ่ิมเติม

…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….……

………………………………..………………………………..………………………………..………………………………..…

……………………………..………………………………..………………………………..………………………………..……

…………………………..………………………………..………………………………..…………………………………………

……………………………................................................................................................................

............................................................................................................................. ................

10.ระยะเวลาในการรับชมส่ือมีความเหมาะสม11.การรับชมส่ือวีดีโอน้ี สามารถเสริมสรางเจตคติท่ีดีตออาชีพตางๆ เพ่ิมขึ้น12.ไดรับความรู แนวคิด และประสบการณใหมๆ จากส่ือวีดีโอ13.ส่ือวีดิโอสามารถนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจในการประกอบอาชีพน้ันไดมากขึ้น14.สามารถนําส่ิงท่ีไดรับจากการรับชมส่ือวีดีโอมาเพ่ิมความมั่นใจในการตัดสินใจประกอบอาชีพท่ีตองการไดมากขึ้น15.มีความพึงพอใจในการรับชมส่ือวีดีโอน้ี

Page 24: รายงาน Is

24

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

จากการดําเนินการสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในชวงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ถึง กุมภาพันธ พ.ศ.2557 มีการประเมินผลการสํารวจหลังเสร็จสิ้นการดําเนินงาน คณะผูสํารวจไดจัดทําแบบสอบถาม เปนเคร่ืองมือในการเก็บขอมูล ซึ่งมีกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับชั้นละ 3 หองเรียน รวมทั้งสิ้น 90 คน โดยไดแบงผลการวิเคราะหขอมูล ออกเปน 2 ตอนดังน้ี

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในภาพรวม

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองจําแนกตามเพศ

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในภาพรวม

ตารางที่ 1 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในภาพรวม

ขอที่ รายการคาเฉลี่ย คาสวน

เบี่ยงเบนฯ(S.D.)

ระดับความคิดเห็น

1 เน้ือหาในสื่อวีดิโอสามารถเขาใจไดงาย 3.93 0.74 มาก2 สื่อวีดีโอมีความชัดเจนในเน้ือหาจากบุคคลผูประกอบ

อาชีพน้ันๆ3.64 0.59 มาก

3 เน้ือหา และภาษาในสื่อวีดิโอมีความเหมาะสม 3.93 0.69 มาก4 เน้ือหาในสื่อวีดีโอสอดคลองตอความตองการของผู

รับชมสื่อ3.75 0.78 มาก

5 เน้ือหาในสื่อวีดีโอมีความหลากหลายของอาชีพและเพียงพอตอความตองการของผูรับชมสื่อ

3.42 0.85 ปานกลาง

6 สื่อวีดิโอมีความนาสนใจ 3.70 0.78 มาก

Page 25: รายงาน Is

25

ตาราง 1 (ตอ)

7 สื่อวีดิโอมีความนาเชื่อถือ 3.89 0.72 มาก8 สื่อวีดีโอมีการลําดับขั้นตอนการนําเสนอที่เหมาะสม

และเขาใจงาย3.84 0.89 มาก

9 สื่อวีดีโอสามารถรับชมไดอยางตอเน่ือง และไมมีปญหาในการรับชม

3.74 0.99 มาก

10 ระยะเวลาในการรับชมสื่อมีความเหมาะสม 3.35 1.07 ปานกลาง11 การรับชมสื่อวีดีโอน้ี สามารถเสริมสรางเจตคติที่ดีตอ

อาชีพตางๆ เพิ่มขึ้น3.98 0.98 มาก

12 ไดรับความรู แนวคิด และประสบการณใหมๆ จากสื่อวีดีโอ

3.98 1.13 มาก

13 สื่อวีดิโอสามารถนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจในการประกอบอาชีพน้ันไดมากขึ้น

3.78 1.21 มาก

14 สามารถนําสิ่งที่ไดรับจากการรับชมสื่อวีดีโอมาเพิ่มความมั่นใจในการตัดสินใจประกอบอาชีพที่ตองการไดมากขึ้น

3.85 1.27 มาก

15 มีความพึงพอใจในการรับชมสื่อวีดีโอน้ี 3.88 1.37 มากรวมเฉลี่ย 3.78 0.23 มาก

จากตารางที่ 1 แสดงใหเห็นวา นักเรียนในโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สวนใหญมีเจตคติตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตนเองในภาพรวมอยูในระดับ “มาก” ( ̅ = 3.78, S.D. = 0.23)เมื่อพิจารณาตามขอรายการพบวา ขอรายการสวนใหญนักเรียนแสดงเจตคติในระดับ “มาก” ยกเวนขอ 5และขอ 10 ที่แสดงเจตคติในระดับ “ปานกลาง”

Page 26: รายงาน Is

26

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

4.5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 15

แผนภูมิแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ท่ีมีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในภาพรวม

คาเฉลี่ย

คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 27: รายงาน Is

27

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองจําแนกตามเพศตารางที่ 2 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นของนักเรียนเพศหญิงโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองจําแนกตามเพศ

ขอที่ รายการคาเฉลี่ย คาสวน

เบี่ยงเบนฯ(S.D.)

ระดับความคิดเห็น

1 เน้ือหาในสื่อวีดิโอสามารถเขาใจไดงาย 3.87 0.78 มาก2 สื่อวีดีโอมีความชัดเจนในเน้ือหาจากบุคคลผูประกอบ

อาชีพน้ันๆ3.57 0.66 มาก

3 เน้ือหา และภาษาในสื่อวีดิโอมีความเหมาะสม 3.90 0.76 มาก4 เน้ือหาในสื่อวีดีโอสอดคลองตอความตองการของผู

รับชมสื่อ3.70 0.84 มาก

5 เน้ือหาในสื่อวีดีโอมีความหลากหลายของอาชีพและเพียงพอตอความตองการของผูรับชมสื่อ

3.41 0.88 ปานกลาง

6 สื่อวีดิโอมีความนาสนใจ 3.64 0.82 มาก7 สื่อวีดิโอมีความนาเชื่อถือ 3.87 0.77 มาก8 สื่อวีดีโอมีการลําดับขั้นตอนการนําเสนอที่เหมาะสม

และเขาใจงาย3.81 0.92 มาก

9 สื่อวีดีโอสามารถรับชมไดอยางตอเน่ือง และไมมีปญหาในการรับชม

3.71 1.00 มาก

10 ระยะเวลาในการรับชมสื่อมีความเหมาะสม 3.35 1.07 ปานกลาง11 การรับชมสื่อวีดีโอน้ี สามารถเสริมสรางเจตคติที่ดีตอ

อาชีพตางๆ เพิ่มขึ้น3.94 0.99 มาก

12 ไดรับความรู แนวคิด และประสบการณใหมๆ จากสื่อวีดีโอ

3.96 1.13 มาก

13 สื่อวีดิโอสามารถนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจในการประกอบอาชีพน้ันไดมากขึ้น

3.75 1.20 มาก

Page 28: รายงาน Is

28

ตาราง 2 (ตอ)

14 สามารถนําสิ่งที่ไดรับจากการรับชมสื่อวีดีโอมาเพิ่มความมั่นใจในการตัดสินใจประกอบอาชีพที่ตองการไดมากขึ้น

3.81 1.26 มาก

15 มีความพึงพอใจในการรับชมสื่อวีดีโอน้ี 3.85 1.35 มากรวมเฉลี่ย 3.74 0.20 มาก

จากตารางที่ 2 แสดงใหเห็นวา นักเรียนหญิงในโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สวนใหญ มีเจตคติตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตนเองในภาพรวมอยูในระดับ “มาก” ( ̅ = 3.74, S.D. = 0.20)เมื่อพิจารณาตามขอรายการพบวา ขอรายการสวนใหญนักเรียนแสดงเจตคติในระดับ “มาก” ยกเวนขอ 5และขอ 10 ที่แสดงเจตคติในระดับ “ปานกลาง”

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

แผนภูมิแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นของนักเรียนหญิงโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ท่ีมีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเอง

คาเฉลี่ย

คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 29: รายงาน Is

29

ตารางที่ 3 แสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นของนักเรียนเพศชายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองจําแนกตามเพศ

ขอที่ รายการคาเฉลี่ย คาสวน

เบี่ยงเบนฯ(S.D.)

ระดับความคิดเห็น

1 เน้ือหาในสื่อวีดิโอสามารถเขาใจไดงาย 4.09 1.11 มาก2 สื่อวีดีโอมีความชัดเจนในเน้ือหาจากบุคคลผูประกอบ

อาชีพน้ันๆ3.82 0.78 มาก

3 เน้ือหา และภาษาในสื่อวีดิโอมีความเหมาะสม 3.73 0.65 มาก4 เน้ือหาในสื่อวีดีโอสอดคลองตอความตองการของผู

รับชมสื่อ3.73 0.75 มาก

5 เน้ือหาในสื่อวีดีโอมีความหลากหลายของอาชีพและเพียงพอตอความตองการของผูรับชมสื่อ

3.18 0.89 ปานกลาง

6 สื่อวีดิโอมีความนาสนใจ 3.82 0.95 มาก7 สื่อวีดิโอมีความนาเชื่อถือ 3.73 1.13 มาก8 สื่อวีดีโอมีการลําดับขั้นตอนการนําเสนอที่เหมาะสม

และเขาใจงาย3.73 1.51 มาก

9 สื่อวีดีโอสามารถรับชมไดอยางตอเน่ือง และไมมีปญหาในการรับชม

3.73 1.70 มาก

10 ระยะเวลาในการรับชมสื่อมีความเหมาะสม 3.09 2.10 ปานกลาง11 การรับชมสื่อวีดีโอน้ี สามารถเสริมสรางเจตคติที่ดีตอ

อาชีพตางๆ เพิ่มขึ้น3.91 2.11 มาก

12 ไดรับความรู แนวคิด และประสบการณใหมๆ จากสื่อวีดีโอ

3.73 2.47 มาก

13 สื่อวีดิโอสามารถนํามาพิจารณาประกอบการตัดสินใจในการประกอบอาชีพน้ันไดมากขึ้น

3.64 2.81 มาก

Page 30: รายงาน Is

30

ตาราง 2 (ตอ)

14 สามารถนําสิ่งที่ไดรับจากการรับชมสื่อวีดีโอมาเพิ่มความมั่นใจในการตัดสินใจประกอบอาชีพที่ตองการไดมากขึ้น

3.82 3.03 มาก

15 มีความพึงพอใจในการรับชมสื่อวีดีโอน้ี 3.82 3.25 มากรวมเฉลี่ย 3.70 0.89 มาก

จากตารางที่ 3 แสดงใหเห็นวา นักเรียนชายในโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สวนใหญ มีเจตคติตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตนเองในภาพรวมอยูในระดับ “มาก” ( ̅ = 3.70, S.D. = 0.89)เมื่อพิจารณาตามขอรายการพบวา ขอรายการสวนใหญนักเรียนแสดงเจตคติในระดับ “มาก” ยกเวนขอ 5และขอ 10 ที่แสดงเจตคติในระดับ “ปานกลาง”

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

4.5

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15

แผนภูมิแสดงคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความคิดเห็นของนักเรียนชายโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ท่ีมีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเอง

คาเฉลี่ย

คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

Page 31: รายงาน Is

31

บทที่ 5

สรุปและขอเสนอแนะ

จากการสรางเคร่ืองมือในการเก็บขอมูล และเก็บขอมูลจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับละ 3 หองเรียน หองเรียนละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 90 คน สามารถนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในภาพรวมและจําแนกตามเพศโดยสามารถสรุปผลการสํารวจและอภิปรายผลไดดังน้ีสรุปผลการสํารวจความคิดเห็น

ในตอนที่ 1 จากการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองในภาพรวม โดยการหาคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สามารถสรุปไดวา นักเรียนในโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สวนใหญ มีเจตคติตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตนเองในภาพรวมอยูในระดับ “มาก” โดยมีเพียงขอรายการเกี่ยวกับความหลากหลายของอาชีพในสื่อและระยะเวลาของสื่อเทาน้ันที่อยูในระดับ ปานกลาง

ในตอนที่ 2 จากการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นของนักเรียนโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ที่มีตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตัวเองโดยจําแนกตามเพศ แบงเปนเพศชายและเพศหญิง โดยการหาคาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยขอมูลที่ไดจากทั้ง 2 เพศใหขอมูลที่ตรงกัน จึงสามารถสรุปไดวา นักเรียนในโรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สวนใหญ มีเจตคติตอการรับชมสื่อเพื่อการคนหาตนเองในภาพรวมอยูในระดับ “มาก” โดยมีเพียงขอรายการเกี่ยวกับความหลากหลายของอาชีพในสื่อและระยะเวลาของสื่อเทาน้ันที่อยูในระดับ ปานกลาง

อภิปรายผล

จากการศึกษา พบวาผลที่ไดมีความสอดคลองกับสมมติฐานที่ไดต้ังไวในขางตน เน่ืองจากจากการวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับความคิดเห็นโดยมีการแยกเพศและโดยภาพรวมแลว โดยใชการหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานมาใชวิเคราะหขอมูลน้ัน ไดผลสวนใหญในระดับมาก แสดงใหเห็นวา นักเรียนที่ไดรับชมสื่อไดรูจักตนเองและรูจักอาชีพน้ันๆเพิ่มขึ้น และยังมีความพึงพอใจตอการรับชมสื่อวีดีโออีกดวย

Page 32: รายงาน Is

32

บรรณานุกรม

บริษัท ลิทเทิล บิ๊ก ลิ้งคส จํากัด. (2555). แบบสอบถามคือ (Questionnaires). เขาถึงไดจาก: http://surveycan.wordpress.com/2012/12/13/แบบสอบถามคือ-questionnaires/ (วันที่สืบคนขอมูล : 25 กันยายน

2556).ซัลมา เอ่ียมฤทธิ์. (2552). ความหมายของสื่อการสอน. เขาถึงไดจาก: http://www.learners.in.th/blogs/posts

/300337 (วันที่สืบคนขอมูล : 25 กันยายน 2556).สมชัย ชินะตระกูล. (2553). หลักการสรางแบบสอบถามท่ีดี. เขาถึงไดจาก: http://www.scaat.in.th/letter/

Vol11/007.pdf (วันที่สืบคนขอมูล : 25 กันยายน 2556).สยามเซอรเวย (2554). ทําความรูจักกับแบบสอบถาม. เขาถึงไดจาก: http://www.siamsurvey.com/th/web

_page/questionnaire (วันที่สืบคนขอมูล : 25 กันยายน 2556).สํานักพัฒนาเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. (ม.ป.ป). เอกสารประกอบการ

บรรยายเร่ือง สื่อการเรียนการสอน. เขาถึงไดจาก: http://www.stjohn.ac.th/polytechnic/ stpoly/

rbm/file_ar/54016.pdf (วันที่สืบคนขอมูล : 25 กันยายน 2556).หนวยการเรียนรูท่ี 2 เร่ือง สื่อการสอน. (ม.ป.ป). เขาถึงไดจาก: http://reg.ksu.ac.th/teacher/sudatip/

Elearning_files/data2.html (วันที่สืบคนขอมูล : 25 กันยายน 2556).

Page 33: รายงาน Is

33

ภาคผนวก ก

แบบสํารวจความคิดเห็น

Page 34: รายงาน Is

34

ตัวอยางแบบสอบถามความคิดเห็น (ดานหนา)

Page 35: รายงาน Is

35

ตัวอยางแบบสอบถามความคิดเห็น (ดานหลัง)

Page 36: รายงาน Is

36

Page 37: รายงาน Is

37

ภาคผนวก ข

Page 38: รายงาน Is

38

ตารางคะแนน

ตัวอยางตารางแสดงคะแนนโดยใชโปรแกรม Excel

Page 39: รายงาน Is

39

Page 40: รายงาน Is

40

ภาคผนวก ค

ภาพตัวอยางสื่อและขณะทําการตอบแบบสอบถาม

Page 41: รายงาน Is

41

ภาพตัวอยางสื่อ

Page 42: รายงาน Is

42

Page 43: รายงาน Is

43

ภาพขณะชมสื่อและทําแบบสอบถาม

Page 44: รายงาน Is

44

Page 45: รายงาน Is

45

ประวัติผูสํารวจความคิดเห็น

ชื่อ นางสาว สรัลชนา ปตตะพงษ

วันเดือนปเกิด วันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2540

สถานท่ีเกิด จังหวัดพิษณุโลก

ประวัติการศึกษา

จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก

จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจาก โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

กําลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

รางวัลเรียนดี ทุนการศึกษา หรือทุนสํารวจความคิดเห็นท่ีไดรับระหวางการศึกษา

สอบแขงขันชีววิทยาโอลิมปก ระดับชาติ โครงการ สอวน. ไดรับรางวัลระดับเหรียญทองแดง

ท่ีอยูปจจุบัน บานเลขที่ 31/1 ถนนเอกาทศรถ ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

Page 46: รายงาน Is

46

ประวัติผูสํารวจความคิดเห็น

ชื่อ นางสาว ณัฏฐนรี โสมมา

วันเดือนปเกิด วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2539

สถานท่ีเกิด จังหวัดพิษณุโลก

ประวัติการศึกษา

จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนอนุบาลโรจนวิทย

จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจาก โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

กําลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

รางวัลเรียนดี ทุนการศึกษา หรือทุนสํารวจความคิดเห็นท่ีไดรับระหวางการศึกษา

รางวัลเรียนดียอดเยี่ยม 10 อันดับ ปการศึกษา 2555

ทุนเด็กดี ปตท.สผ. ปการศึกษา 2555 และ2556

ท่ีอยูปจจุบัน บานเลขที่ 18/20 ถนนสนามบิน ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000

Page 47: รายงาน Is

47

ประวัติผูสํารวจความคิดเห็น

ชื่อ นางสาว พิชญสินี พิรุฬหรุงเรือง

วันเดือนปเกิด วันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2540

สถานท่ีเกิด จังหวัดพิษณุโลก

ประวัติการศึกษา

จบการศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาจาก โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก

จบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนจาก โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

กําลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่ โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรี

ท่ีอยูปจจุบัน บานเลขที่ 28/117 ถนนสิงหวัฒน ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 65000