1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week...

14
แผนการสอนที9 หน่วยที6 วิชา เขียนแบบเบื้องต้น สัปดาห์ที9 ชื่อหน่วย รูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ จานวน 4 คาบ 1.สาระสาคัญ รูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ เป็นแบบรูปทรงที่มี 2 ขนาด ความกว้างกับความยาว แบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ เรียงตามลาดับ 2.จุดประสงค์การสอน 6.3 เข้าใจการสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ 6.3.1 อธิบายการสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ 6.4 ปฏิบัติการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 6.4.1 เขียนรูปสามเหลี่ยมในวงกลม 6.4.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมนอกวงกลม 6.4.3 เขียนรูปห้าเหลี่ยมในวงกลม 6.4.4 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที1 6.4.5 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที2 6.4.6 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที1 6.4.7 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที2 6.4.8 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.9 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมโดยกาหนดด้านให้ 1 ด้าน 6.4.10 เขียนรูปแปดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.11 เขียนรูปแปดเหลี่ยม 6.4.12 เขียนรูปเก้าเหลี่ยมในวงกลม

Upload: others

Post on 18-Oct-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

แผนการสอนที่ 9 หน่วยที่ 6

วิชา เขียนแบบเบื้องต้น สัปดาห์ที่ 9 ชื่อหน่วย รูปทรงเรขาคณิต 2 มิต ิ จ านวน 4 คาบ

1.สาระส าคัญ รูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ เป็นแบบรูปทรงที่มี 2 ขนาด ความกว้างกับความยาว แบ่งออกเป็นหลายประเภท โดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ เรียงตามล าดับ 2.จุดประสงค์การสอน 6.3 เข้าใจการสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2 มิต ิ 6.3.1 อธิบายการสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ 6.4 ปฏิบัติการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิตโิดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 6.4.1 เขียนรูปสามเหลี่ยมในวงกลม 6.4.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมนอกวงกลม 6.4.3 เขียนรูปห้าเหลี่ยมในวงกลม 6.4.4 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 1 6.4.5 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 2 6.4.6 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที่ 1 6.4.7 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที่ 2 6.4.8 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.9 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมโดยก าหนดด้านให้ 1 ด้าน 6.4.10 เขียนรูปแปดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.11 เขียนรูปแปดเหลี่ยม 6.4.12 เขียนรูปเก้าเหลี่ยมในวงกลม

Page 2: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

ใบความรูท้ี่ 9 หน่วยที่ 6

วิชา เขียนแบบเบื้องต้น สัปดาห์ที่ 9 ชื่อหน่วย รูปทรงเรขาคณิต 2 มิต ิ จ านวน 4 คาบ

บทน า บ่อเกิดของเส้นเกิดจากเอาจุดหลายจุดมาเรียงต่อกันตามแนวยาว ลักษณะของเส้นที่เกิดมีมิติเดียวคือ มีแต่ความยาวไม่มีความหนาหรือความกว้าง แต่ถ้าเราน าเอาปลายของเส้นทั้ง 2 ข้างมาบรรจบกัน ก็จะท าให้เกิดรูปร่างแบบต่าง ๆ ภาพที่เกิดขึ้นเรียกว่า ภาพ 2 มิติ 6.3 การสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ 6.3.1 การสร้างรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ เรขาคณิตเป็นวิชาว่าด้วยการสร้างรูปทรงต่าง ๆ เช่น รูปเหลี่ยม รูปทรงเหลี่ยม และอื่น ๆ ในการเขียนรูปทรงเรขาคณิตที่น ามาใช้ในการเขียนแบบนั้นมีทั้งการน าหลักมาใช้โดยตรง และการประยุกต์มาใช้ในการเขียนรูปร่างชิ้นงานต่าง ๆ ในการเขียนรูปทรงเรขาคณิตน้ันมีจุดประสงค์เพื่อน าวิธีการและหลักการเขียนภาพต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ให้ถูกต้อง พร้อมกันนั้นจะได้ฝึกการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์ให้เกิดความช านาญมากขึ้น 6.4 การเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 6.4.1 เขียนรูปสามเหลี่ยมในวงกลม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.1.1 สร้างวงกลมตามโจทย์ก าหนด 6.4.1.2 ใช้ D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมี OD เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งของวงกลมที่จุด E และ F 6.4.1.3 ความยาว EF เป็นความยาวของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ลากเส้น CE และ CF จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า CEF

Page 3: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

6.4.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมนอกวงกลม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.2.1 ก าหนดให้วงกลมมีจุด O เป็นจุดศูนย์กลาง 6.4.2.2 แบ่งวงกลมออกเป็น 4 ส่วนด้วยบรรทัดฉาก 45 องศา ได้จุดตัด A, B, C และ D 6.4.2.3 ใช้บรรทัดฉากทาบที่จุดตัดของวงกลมทั้ง 4 จุด จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

6.4.3 เขียนรูปห้าเหลี่ยมในวงกลม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.3.1 เขียนวงกลมโดยรัศมีเท่ากับ OD 6.4.3.2 ใช้จุด O เป็นจุดศูนย์กลางแบ่งครึ่งรัศมี OD ที่จุด C 6.4.3.3 ใช้จุด C เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี CA เขียนส่วนโค้งตัดเส้นศูนย์กลางที่จุด E 6.4.3.4 ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี AE เขียนส่วนโค้งตัดวงกลมที่จุด B แล้วเขียนส่วนโค้งตัดวงกลมออกเป็น 5 ส่วน โดยเร่ิมต้นจากจุด A 6.4.3.5 ลากเส้นต่อจุดจะได้รูปห้าเหลี่ยมตามต้องการ

Page 4: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

6.4.4 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 1 ขั้นตอนการสร้าง 6.3.4.1 รูป A เขียนวงกลมลากเส้นตรงตัดจุดศูนย์กลางของวงกลม โดยท ามุมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 องศา ตัดวงกลม 6.3.4.2 ใช้เซทลากต่อจุดที่เส้นตรงไปตัดวงกลม 6.3.4.3 จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายในวงกลมตามต้องการ

6.4.5 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 2 ขั้นตอนการสร้าง 6.4.5.1 รูป A เขียนวงกลมลากเส้นตรงตัดจุดศูนย์กลางของวงกลม โดยท ามุมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 องศา ตัดวงกลม 6.4.5.2 ใช้เซทลากต่อจุดที่เส้นตรงไปตัดวงกลม 6.4.5.3 จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายในวงกลมตามต้องการ 6.4.6 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที่ 1 ขั้นตอนการสร้าง 6.4.6.1 รูป C เขียนวงกลม ใช้เซท 30 องศา ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมจะได้เส้น AB, AF จากนั้นท าส่วนบนของวงกลมได้เส้น DC, DE 6.4.6.2 ลากเส้นตรงฉากจากจุด B ไป C และจุด E และ F 6.4.6.3 จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายนอกวงกลมตามต้องการ

Page 5: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

6.4.7 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที่ 2 ขั้นตอนการสร้าง 6.4.7.1 รูป C เขียนวงกลม ใช้เซท 60 องศา ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมจะได้เส้น AB, AF จากนั้นท าส่วนบนของวงกลมได้เส้น DC, DE 6.4.7.2 ลากเส้นตรงฉากจากจุด B ไป C และจุด E และ F 6.4.7.3 จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายนอกวงกลมตามต้องการ 6.4.8 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมในวงกลม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.8.1 จากรูปสามเหลี่ยมที่ได้จะเกิดจุดตัดระหว่างเส้น OD กับ EF ที่จุด Q 6.4.8.2 ความยาว EQ หรือ FQ คือความยาวของรูป 7 เหลี่ยมด้านเท่า 6.4.8.3 ที่จุด F กางวงเวียนรัศมี EQ หรือ FQ เขียนส่วนโค้งตัดเส้นรอบวงจะได้ 7 ส่วน 6.4.8.4 ลากเส้นต่อจุดตัดที่ส่วนแบ่งทั้ง 7 ส่วนจะได้รูป 7 เหลี่ยมด้านเท่า

Page 6: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

6.4.9 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมโดยก าหนดด้านให้ 1 ด้าน ขั้นตอนการสร้าง 6.4.9.1 ก าหนดความยาวของด้านเท่ากับ AB 6.4.9.2 ให้จุด A เป็นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งของวงกลม แล้วแบ่งครึ่งวงกลมออกเป็น 7 ส่วนเท่าๆ กัน ลากเส้นผ่านจุด A1, A2, A3, A4, A5, A6 ใช้จุด B และจุด 2 เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี AB เขียนส่วนโค้งตัด A6 ได้จุด C ตัดเส้น A5 ได้จุด D ตัดเส้น A4 ได้จุด E ตัดเส้น A2 ได้จุด F 6.4.9.3 จากนั้นต่อจุด A2, 2F, FE, ED, DC, CB จะได้รูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่าตามต้องการ

6.4.10 เขียนรูปแปดเหลี่ยมนอกวงกลม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.10.1 เขียนวงกลม 6.4.10.2 ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมทั้งแนวตั้งและแนวนอน 6.4.10.3 ใช้เซท 45 องศา ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมจะไปตัดเส้นตรงที่ลากสัมผัสกับส่วนของวงกลมทั้งแนวตั้ง และแนวนอน 6.4.10.4 จะได้แปดเหลี่ยมด้านเท่าตามต้องการ

Page 7: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

6.4.11 เขียนรูปแปดเหลี่ยม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.11.1 สร้างสี่เหลี่ยมจัตุรัส 6.4.11.2 ลากเส้นทะแยงมุมสองเส้นตัดกัน 6.4.11.3 ที่จุด A, B, C, D เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีคร่ึงหนึ่งของเส้นทแยงมุม เขียนส่วนโค้งตัดเส้นตรง AB, BC, CD, DA 6.4.11.4 จะได้แปดเหลี่ยมด้านเท่าตามต้องการ

6.4.12 เขียนรูปเก้าเหลี่ยมในวงกลม ขั้นตอนการสร้าง 6.4.12.1 จากรูปสามเหลี่ยมที่จุด EF ให้ต่อเส้นตรง EF ออกไปทาง F 6.4.12.2 ที่จุด B ลากเส้นสัมผัสวงกลมตั้งฉากกับเส้น EF ที่ต่อออกไปที่จุด M 6.4.12.3 ใช้ M และ Q เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเท่ากับ MQ หรือ AO หรือ BO เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด Y 6.4.12.4 ลากเส้น OY ตัดส่วนโค้งของวงกลมที่จุด G 6.4.12.5 ความยาว FG คือความยาวของรูป 9 เหลี่ยมด้านเท่า 6.4.12.6 ใช้ F เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี FG เขียนส่วนโค้งตัดเส้นรอบวงของวงกลมจนครบเส้นรอบวงจะได้ 9 ส่วน 6.4.12.7 ลากเส้นต่อจากจุด F ไปยังจุดตัดกับส่วนโค้งไว้ก่อนแล้วตามล าดับจนครบ 9 จุด จะได้รูป 9 เหลี่ยมด้านเท่าตามที่ต้องการ

Page 8: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ
Page 9: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

ใบงานท่ี 11 การสอนครั้งท่ี 9

วิชา เขียนแบบเบื้องต้น ชั้น ก ส . 1

ชื่อหน่วย รูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ หน่วยท่ี 6

ชื่องาน การเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม เวลา 240 นาที

จุดประสงค์การสอน 6.4 ปฏิบัติการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 6.4.1 เขียนรูปสามเหลี่ยมในวงกลม 6.4.2 เขียนรูปสี่เหลี่ยมนอกวงกลม 6.4.3 เขียนรูปห้าเหลี่ยมในวงกลม 6.4.4 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 1 6.4.5 เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 2 6.4.6 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที่ 1 6.4.7 เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีที่ 2 6.4.8 เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.9 เขียนรูปแปดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.10 เขียนรูปแปดเหลี่ยมในวงกลม 6.4.11 เขียนรูปแปดเหลี่ยม 6.4.12 เขียนรูปเก้าเหลี่ยมในวงกลม

เครื่องมืออุปกรณ์ - กระดาษเขียนแบบขนาด A3 - เทปติดกระดาษ (นิตโต้) - ดินสอเขียนแบบ - ยางลบดินสอ - ไม้ทีสไลด์ - เซทปรับมุม - สเกล - ผ้าเช็คท าความสะอาดอุปกรณ์

ล าดับขั้นการปฏิบัติงาน

- ติดกระดาษเขียนแบบในแนวนอน พร้อมทั้งเขียนรายละเอียดของหัวกระดาษให้ครบถ้วนตามที่ก าหนด - แบ่งออกเป็น 12 ส่วนเท่า ๆ กัน และก าหนดให้ใช้ตัวหนังสือก ากับด้านบนของแต่ละรูป 0.5 เซนติเมตร

Page 10: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

เขียนรูปสามเหลี่ยมในวงกลม - สร้างวงกลมตามโจทย์ก าหนด - ใช้ D เป็นจุดศูนย์กลาง รัศมี OD เขียนส่วนโค้งตัดส่วนโค้งของวงกลมที่จุด E และ F - ความยาว EF เป็นความยาวของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า ลากเส้น CE และ CF จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า CEF เขียนรูปสี่เหลี่ยมนอกวงกลม - ก าหนดให้วงกลมมีจุด O เป็นจุดศูนย์กลาง - แบ่งวงกลมออกเป็น 4 ส่วนด้วยบรรทัดฉาก 45 องศา ได้จุดตัด A, B, C และ D - ใช้บรรทัดฉากทาบที่จุดตัดของวงกลมทั้ง 4 จุด จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เขียนรูปห้าเหลี่ยมในวงกลม - เขียนวงกลมโดยรัศมีเท่ากับ OD - ใช้จุด O เป็นจุดศูนย์กลางแบ่งครึ่งรัศมี OD ที่จุด C - ใช้จุด C เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี CA เขียนส่วนโค้งตัดเส้นศูนย์กลางที่จุด E - ใช้จุด A เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี AE เขียนส่วนโค้งตัดวงกลมที่จุด B แล้วเขียนส่วนโค้งตัดวงกลมออกเป็น 5 ส่วน โดยเร่ิมต้นจากจุด A - ลากเส้นต่อจุดจะได้รูปห้าเหลี่ยมตามต้องการ เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 1 - รูป A เขียนวงกลมลากเส้นตรงตัดจุดศูนย์กลางของวงกลม โดยท ามุมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง 30 องศา ตัดวงกลม - ใช้เซทลากต่อจุดที่เส้นตรงไปตัดวงกลม - จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายในวงกลมตามต้องการ เขียนรูปหกเหลี่ยมในวงกลม วิธีที่ 2 - รูป A เขียนวงกลมลากเส้นตรงตัดจุดศูนย์กลางของวงกลม โดยท ามุมกับเส้นผ่านศูนย์กลาง 60 องศา ตัดวงกลม - ใช้เซทลากต่อจุดที่เส้นตรงไปตัดวงกลม - จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายในวงกลมตามต้องการ

Page 11: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีท่ี 1 - รูป C เขียนวงกลม ใช้เซท 30 องศา ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมจะได้เส้น AB, AF จากนั้นท าส่วนบนของวงกลมได้เส้น DC, DE - ลากเส้นตรงฉากจากจุด B ไป C และจุด E และ F - จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายนอกวงกลมตามต้องการ เขียนรูปหกเหลี่ยมนอกวงกลม วิธีท่ี 2 - รูป C เขียนวงกลม ใช้เซท 60 องศา ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมจะได้เส้น AB, AF จากนั้นท าส่วนบนของวงกลมได้เส้น DC, DE - ลากเส้นตรงฉากจากจุด B ไป C และจุด E และ F - จะได้รูปหกเหลี่ยมด้านเท่าภายนอกวงกลมตามต้องการ เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมในวงกลม - จากรูปสามเหลี่ยมที่ได้จะเกิดจุดตัดระหว่างเส้น OD กับ EF ที่จุด Q - ความยาว EQ หรือ FQ คือความยาวของรูป 7 เหลี่ยมด้านเท่า - ที่จุด F กางวงเวียนรัศมี EQ หรือ FQ เขียนส่วนโค้งตัดเส้นรอบวงจะได้ 7 ส่วน - ลากเส้นต่อจุดตัดที่ส่วนแบ่งทั้ง 7 ส่วนจะได้รูป 7 เหลี่ยมด้านเท่า เขียนรูปเจ็ดเหลี่ยมโดยก าหนดด้านให้ 1 ด้าน - ก าหนดความยาวของด้านเท่ากับ AB - ให้จุด A เป็นจุดศูนย์กลางเขียนส่วนโค้งของวงกลม แล้วแบ่งครึ่งวงกลมออกเป็น 7 ส่วนเท่าๆ กัน ลากเส้นผ่านจุด A1, A2, A3, A4, A5, A6 ใช้จุด B และจุด 2 เป็นจุดศูนย์กลาง กางวงเวียนรัศมี AB เขียนส่วนโค้งตัด A6 ได้จุด C ตัดเส้น A5 ได้จุด D ตัดเส้น A4 ได้จุด E ตัดเส้น A2 ได้จุด F - จากนั้นต่อจุด A2, 2F, FE, ED, DC, CB จะได้รูปเจ็ดเหลี่ยมด้านเท่าตามต้องการ เขียนรูปแปดเหลี่ยมนอกวงกลม - เขียนวงกลม - ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมทั้งแนวตั้งและแนวนอน - ใช้เซท 45 องศา ลากเส้นสัมผัสส่วนของวงกลมจะไปตัดเส้นตรงที่ลากสัมผัสกับส่วนของวงกลมทั้งแนวตั้ง และแนวนอน - จะได้แปดเหลี่ยมด้านเท่าตามต้องการ

Page 12: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

เขียนรูปแปดเหลี่ยม - สร้างสี่เหลี่ยมจัตุรัส - ลากเส้นทะแยงมุมสองเส้นตัดกัน - ที่จุด A, B, C, D เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีคร่ึงหนึ่งของเส้นทแยงมุม เขียนส่วนโค้งตัดเส้นตรง AB, BC, CD, DA - จะได้แปดเหลี่ยมด้านเท่าตามต้องการ เขียนรูปเก้าเหลี่ยมในวงกลม - จากรูปสามเหลี่ยมที่จุด EF ให้ต่อเส้นตรง EF ออกไปทาง F - ที่จุด B ลากเส้นสัมผัสวงกลมตั้งฉากกับเส้น EF ที่ต่อออกไปที่จุด M - ใช้ M และ Q เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเท่ากับ MQ หรือ AO หรือ BO เขียนส่วนโค้งตัดกันที่จุด Y - ลากเส้น OY ตัดส่วนโค้งของวงกลมที่จุด G - ความยาว FG คือความยาวของรูป 9 เหลี่ยมด้านเท่า - ใช้ F เป็นจุดศูนย์กลางรัศมี FG เขียนส่วนโค้งตัดเส้นรอบวงของวงกลมจนครบเส้นรอบวงจะได้ 9 ส่วน - ลากเส้นต่อจากจุด F ไปยังจุดตัดกับส่วนโค้งไว้ก่อนแล้วตามล าดับจนครบ 9 จุด จะได้รูป 9 เหลี่ยมด้านเท่าตามที่ต้องการ

งานท่ีมอบหมาย - ให้นักศึกษาท าการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุมตามที่ได้ก าหนดในใบงานที่ได้รับมอบหมาย การบ้าน - ให้นักศึกษาที่ท าการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุมที่ไม่

เสร็จน ากลับไปท าต่อเป็นการบ้าน ข้อควรระวัง - รักษาความสะอาดของแบบที่เขียน

- หลังการปฏิบัติงานควรท าความสะอาดโต๊ะและเก็บอุปกรณ์ให้เรียบร้อย การวัดผล - ตรวจสอบความถูกต้องของน้ าหนักเส้น

- ตรวจความสะอาดของแบบที่เขียน - สังเกตความตั้งใจเรียนและมีส่วนร่วมในห้องเรียน

ก าหนดส่งงาน - ให้ส่งการบ้านคร้ังที่ 8 ในชั่วโมง หรือต้นชั่วโมงของสัปดาห์ที่ 9

Page 13: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

วิธีสอนและกิจกรรม

1.ขั้นน าเข้าสู่บทเรียน 1.1 สนทนาซักถามเกี่ยวกับรูปทรงเรขาคณิต 2 มิต ิเพื่อน าเข้าสู่บทเรียน 1.2 เขียนชื่อเร่ืองบนกระดาน 2.ขั้นบอกกล่าว 2.1 อธิบายเกี่ยวกับความหมายของรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ 2.2 อธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 2.3 ซักถามความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 3.ขั้นพยายาม 3.1 ฟังค าอธิบายเกี่ยวกับความหมายของรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติ และขั้นตอนการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 3.2 ศึกษาใบงานการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 3.3 ดูขั้นตอนการเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม 3.4 ลงมือเขียนแบบตามใบงานที่ก าหนด 3.5 ตรวจสอบผลการเขียนแบบ 4.ขั้นส าเร็จผล 4.1 นักศึกษาเขียนแบบที่ได้มอบหมาย 4.2 อภิปรายวิธีการปฏิบัติงานของนักศึกษา 4.3 สรุปผลและซักถามความเข้าใจ

Page 14: 1. 2.building.cmtc.ac.th/main/images/stories/mantana/week 9_draw.pdfโดยมีขั้นตอนการเขียนแบบรูปทรงเขาคณิต 2 มิติ

สื่อการสอน

เอกสารเอกอ้างอิง เอกสารประกอบการสอนหมายเลข 1, 4, 5, 10

เอกสารประกอบการสอน 1.ใบงานที่ 11 การเขียนรูปทรงเรขาคณิต 2 มิติโดยใช้วงเวียนและเซทปรับมุม

วัสดุโสตทัศน์ - งานท่ีมอบหมาย 1.ให้นักศึกษาเขียนแบบตามที่ก าหนดให้เสร็จเรียบร้อย

การวัดผล 1.สังเกตความสนใจ

2.สังเกตการปฏิบัติงาน 3.ตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน 4.จัดอันดับคุณภาพของงาน