304315 data warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfdata warehouse...

151
304315 Data Warehousing อาจารยสุพัฒนวรี ทิพยเจริญ ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยฟารอีสเทอรน

Upload: others

Post on 30-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

304315

Data Warehousing

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 2: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย
Page 3: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย
Page 4: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย
Page 5: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย
Page 6: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย
Page 7: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 1Introduction to

Data Warehouse

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 8: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหา1. องคกรและปญหาในการวิเคราะหขอมลู2. Business Integration ที่มาของ Data Warehouse3. คลังขอมูลคืออะไร4. การวิเคราะหขอมูลในคลังขอมูล

Page 9: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

องคกรและปญหาในการวิเคราะหขอมูลจุดหมายขององคกรคือ การดําเนินกิจการขององคกรใหไดรับผลประโยชนสูงสุดตองมกีารบริหารงานที่ดี เที่ยงตรง ทรัพยกรเพียงพอ มีบคุลากรที่มีคุณภาพ รวดเร็วทันเหตุการณองคกรจําเปนตองเก็บบันทกึขอมลูที่เกี่ยวของกับกิจกรรมและผลที่เกิดจากการทํากิจกรรมขององคกรไว เพื่อนํามาวิเคราะหหาแนวทางในการดําเนินกิจกรรมขององคกรในอนาคต

Page 10: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

องคกรและปญหาในการวิเคราะหขอมูล

Page 11: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Business Integration ทีม่าของ Data WarehouseBusiness Integration เปนแนวคิดทีจ่ะขจัดปยหาที่เกิดจากSilo-based System

การรวมกันนี้สามารถทําไดสองรูปแบบไดแก

1. Partial Business Integration2. Overall Business Integration

Page 12: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Partial Business Integration

คือการรวบรวมระบบโดยใหระบบเดมิยังคงไวแตเพิ่มขีดความสามารถในการติดตอสือ่สารแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางระบบขององคกร ซึ่งการสื่อสารสามารถทําไดหลายรูปแบบ

Point to Point Business Integrationการสรางชองทางแลกเปลี่ยนขอมูลจุดสองจุดหมายถึงการเชื่อมโยงระหวางระบบสองระบบ ใหระบบทั้งสองสามารถติดตอกันได

Page 13: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Partial Business Integration

Middleware Business Integrationการพยายามลดสภาวะ Spaghetti Phenomenon ของการรวมระบบแบบ Point to Point โดยการนําเอา Hardware และ Software หรือกลุมของ Hardware Software มาทําหนาทีเปนตัวกลางในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางระบบงานตางๆ ซีง่เรยีก H/W S/W เหลานั้นวา Middleware

Page 14: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Overall Business Integrationการออกแบบและพัฒนาระบบใหม โดยการรวมเอาเนื้อหาของ

ขอมูลทั้งหมดในองคกรใหเปนหนึ่งเดียว ไมแยกออกเปนสวนๆ หรือ การทําใหระบบทีม่ีอยูหลากหลายในองคกร รวมกันเปนระบบเดียวกัน เนื้อหาเดียวกันหลักการทํา Overall คือ การสรางระบบขอมูลใหมเพยีงหนึ่งเดียวแตสามารถทดแทนระบบงานเกาๆที่แยกเปนอิสระจากกันได

Page 15: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

คลังขอมูลคืออะไรหลักการหรือวธิีการที่มาจากการทํา Overall

Business Integration ที่สามารถชวยใหการวิเคราะหขอมูลเพื่อทําการตัดสินใจ เพื่อการบริหารงานในองคกรเปนไปไดอยางมีประสิทธิภาพหลักการ หรือวิธีการและแนวทางแกปญหา เนื่องจากแตละองคกรจะมีความแตกตางกันมีความสามาถทําใหผูวิเคราะหขอมูล สามารถเลือกวิเคราะหขอมูลแบบเจาะลึก (drill down) หรือ แบบเปนภาพรวม (roll up)ไดอยางอิสระ

Page 16: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การคลังขอมูล (Data Warehousing)วิธีการเพื่อใหไดมาซึ่งขอมลู วิธีการสรางผลลัพธจากขอมลูที่มี รวมไปถึงวิธีการดูแลรักษา วิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพ กระบวนการใน Data Warehousing ประกอบดวย

การรับขอมูล (Data Acquisition) การสถานะขอมูล (Data Staging) การจัดเก็บขอมูล (Data Store)

การเตรียมขอมูลเพื่อใชงาน (Data Provisioning)

Page 17: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การวิเคราะหขอมูลในคลังขอมูลในคลังขอมูลจะแบงออกเปนสองสวนคือ

ขอมูลเพื่อการปฏิบัติงาน เปนขอมูลทีเ่กิดจากการสั่งสมกิจกรรมและผลการปฏิบัติงานขององคกร ซึ่งผานระยะเวลาที่ยาวนาน หากจะนําขอมูลไปใช ตองผานกระบวนการประมวลผลกอน เปนการวิเคราะหขอมูลแบบ Query and Reportingขอมูลเพื่อการวิเคราะห เปนขอมูลทีเ่กิดจากการพยายามใชเครื่องมือที่มีอยูในการจัดการดานคํานวณ และรวบรวมขอมูลทีม่ีประโยชนตางๆใหอยูในรูปแบบที่พรอมตอการใชงาน โดยไมตองนํามาประมวลผลอีก เปนการวิเคราะหขอมูลแบบ Multidimensional Data Analysisทั้งสองสวนจะถูกนํามาใชใน Data Mining

Page 18: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การวิเคราะหขอมูลในคลังขอมูลQuery and ReportingMultidimensional Data AnalysisData Mining

Page 19: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 2สถาปตยกรรมคลังขอมลู

Data Warehouse Architecture

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 20: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหา1. สวนประกอบตางๆของคลังขอมูล และสถาปตยกรรมของคลังขอมูล2. สถาปตยกรรมของ Data Warehouse3. สถาปตยกรรมแบบตางๆของคลังขอมูล4. ทางเลือกและแนวทางในการพัฒนาคลังขอมูล

Page 21: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

สวนประกอบตางๆของคลังขอมูลประกอบดวย 3 องคประกอบหลักสวนของการนําขอมูลเขา (Input)สวนของการประมวลผล (Process)สวนของการนําผลลัพธออกแสดง (Output)

Page 22: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Acquisition System ทําหนาที่เปนผูรับขอมูลมาจากภายนอก ทั้งภายในและภายนอกองคกรขอมูลจะตองทําการตรวจสอบความถูกตองกอนในขั้นตน ทําหนาที่เปนผูติดตอใหกับผูใชขอมูล

Page 23: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Areaทําหนาที่เปนเสมอืนดานศลุกากรของคลงัขอมลู เปนที่พักและตรวจตราขอมลูในรายละเอียดจาก Data Acquisition Systemขอมูลจะถูกดําเนนิการโดยกระบวนการหลายๆอยางเพื่อทําใหขอมูลนัน้พรอมสําหรับการนําไปเก็บไวที่ Data Warehouse Database

Page 24: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Warehouse Databaseถูกใชเพื่อเกบ็บนัทึกขอมูลตางๆ ที่จําเปนสําหรับการวิเคราะหขอมูลขององคกร กระบวนการตางๆที่ทําใน Data Acquisition System และ Data Staging Area ถือเปนกระบวนการที่ทําเพื่อใหขอมูลสามารถเก็บบันทกึใน Data Warehouse Database ไดอยางถูกตอง ในขณะที่ผลลพัธตางๆที่ตองการสามารถดึงไดจาก Data Warehouse Database เชนเดยีวกัน Data Model และ Data Warehouse Database เปรียบเสมือนเปนหัวใจของ Data Warehouse

Page 25: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Warehouse Databaseขอมูลจะมีความแตกตางจากระบบสารสนเทศทั่วๆไป คือ Data Warehouse นัน้ขอมลูที่เก็บไวจะมลีกัษณะของการเก็บแบบตลอดไป ไมแกไขขอมูลหากไมจําเปนหากมีการเปลี่ยนแปลงขอมลู จะเปนลกัษณะของการเพิ่มเตมิเขาไปและปลอยใหขอมลูตวัเดิม มีสภาพเปนประวัติศาสตรของขอมูลตัวปจจุบนัแทน

Page 26: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Provisioning Area หรือ Data Martทําหนาที่ในการบันทึก ขอมูลและผลลัพธตางๆที่จําเปนสําหรับการวิเคราะหขอมูล ซึ่งขอมูลจาก Data Warehouse จะถูกดงึและประมวลผลแลวนําผลที่ไดมาเกบ็ไวที่ Data Provisioning Area วึ่งโครงสรางของขอมลูอาจจะมีลกัษณะคลายกับใน Data Warehouse Database หรืออาจจะเปนโครงสรางขอมูลที่เหมาะสมสําหรับการนําขอมูลไปใชงานData Mart ตัวหนึง่เสมอืน การตัดเอาบางสวนของ Data Warehouse Database มาวางไว เพื่อตอบสนองการใชงานของบางกลุมเทานั้น

Page 27: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

End Users Terminalเปนสวนที่ทําหนาที่ดึงเอาขอมูลที่ไดถูกเตรียมไวใน Data Provisioning Area หรือแมแต Data Warehouse Database เพื่อนาํเสนอผลลพัธที่ใชสําหรับการวิเคราะหขอมลู ทําหนาที่ออกรายงาน Simple Reporting Tools หรือ Multi Dimensional Tools หรือ Data Mining Tools กได

Page 28: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Meta data Repositoryทําหนาทีเปนพืน้ที่ที่ใชสําหรับเก็บขอมูลตางๆที่จําเปนสําหรับการควบคุมการทํางานและควบคุมขอมูลในคลงัขอมลู ซึ่งเรียกวา Metadata โดยจะมีขอมลูที่เกี่ยวกับขอมลูตางๆใน Data Acquisition System, Data Warehouse Databaseและ Data Martเปรียบเสมอืนไดวาเปน สมอง ของคลงัขอมูล ที่ทําหนาที่จดจําและควบคุมการทํางานของคลังขอมูล

Page 29: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

สถาปตยกรรมแบบตางๆของคลังขอมูลCentralized Data Warehouse Database ArchitectureDistributed Data Warehouse Database ArchitectureMixed Data Warehouse Development

Page 30: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Centralized Data Warehouse Database Architectureรูปแบบของสถาปตยกรรมของคลังขอมูลที่ Data Warehouse Database ถูกเก็บเปนกลุมกอนเดียวไมไดมีการแยกหรือวากระจาย ออก ขอดี

การรักษาความปลอดภัย และ บํารุงรักษาทําไดงาย สามารถสรางความเปนปกแผนของขอมูลไดงายที่สุด

ขอเสียมีความเสี่ยงในการไดรับความเสียหายมากกวาสถาปตยกรรมแบบอื่นๆในการออกแบบและสรางทําไดยากที่สุด

Page 31: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Distributed Data Warehouse Database Architectureสถาปตยกรรมของ Data Warehouse ที่มีการกระจายออก โดยอาจจะอยูบน Disk ตัวเดียวกันหรือคนละตัวก็ไดเพื่อสรางความคลองตัวในการใชงานขอดี

เปนคลังขอมูลทีม่ีสถาปตยกรรมที่สามารถสรางไดงายกวา Centralized Data Warehouse เปนสถาปตยกรรมที่สามารถกระจายความเสี่ยงในกรณีที่อาจจะเกิดความเสียหายขึ้นกับระบบไดดี

ขอเสีย มีโอกาสที่ขอมูลอาจจะขาดความเปนอนัหนึ่งอันเดียวกันการรักษาความปลอดภยัทําไดยากกวา Centralized Data Warehouse

Page 32: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การพัฒนาคลังขอมลูดวยหลักการพัฒนาจากบนลงลาง ( Top-Down )

เปนหลกัการที่เหมาะสมในการใชเพื่อพฒันา Centralized Data Warehouse โดยยึดถือแนวทางที่จะทําใหได Data Warehouse รวมของทั้งองคกืรในคราวเดียว โดยเริ่มพัฒนาจะเริมจากการวิเคราะหธุรกจิองคกรทั้งหมด และ ออกแบบ Data Model ที่เปนภาพรวมของธุรกิจทั้งหมดขององคกร แลวจึงคอยๆวิเคราะหถึง Input และ Output ขององคกรเพื่อพฒันา Data Mart ตอไป

Page 33: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การพัฒนาคลังขอมลูดวยหลักการพัฒนาจากบนลงลาง ( Top-Down )ขอดี

Data Model ที่ไดจะเปน Data Model ในอุดมคติที่สามารถอธิบายธุรกิจขององคกรไดอยางถูกตองเปนหนึ่งเดียว เหลืองานเพิ่มเติมนอยกวาเมื่อพัฒนาเสร็จไมจําเปนตองรักษาความสอดคลองของขอมูล

ขอเสีย มคีวามยากในการออกแบบ และตนทุนสูง มีขอจาํกัดมาก มีขนาดใหญตองใชเวลา งบประมาณ และกําลังคนจํานวนมาก

Page 34: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การพัฒนาคลังขอมลูดวยหลักการพัฒนาจากลางขึ้นบน (Bottom - Up)จะตรงขามกับแบบ Top-Down จะเริ่มจากการวิเคราะหและออกแบบผลลพัธและขอมูลนําเขาทีละสวนแลวจึงออกแบบ Data Model ทีละสวนไปพรอมๆกนักับการอกแบบ Data Acquisition System ,Data Staging และ Data Mart จากนัน้จึงคอยๆทํากระบวนการพัฒนาแบบเดียวกันนีจ้นกวาจะครบทุกๆ Data Mart ที่จําเปนจะตองมีขององคกรหลังจากนัน้จึงอาจจะมกีานําเอาขอมูลที่มอียูในแตละ Data mart มารวมกนัเพื่อออกแบบและสราง Data Model และ Data Warehouse Database ของทั้งองคกรในภายหลัง

Page 35: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การพัฒนาคลังขอมลูดวยหลักการพัฒนาจากลางขึ้นบน (Bottom - Up)ขอดี

ผูใชงานสามารถใชงานไดอยางรวดเร็ว การพัฒนา Data Mart แตละตัวมีความซับซอนนอยกวาแบบ Central ตนทุนและเวลาที่ใชสําหรับการออกแบบและสราง Data Mart แตละตัวนอยกวาที่ใชการออกแบบแบบ Top-Down

ขอเสีย การควบคุมความซ้ําซอนของขอมูลทาํไดยากกวาแบบ Top-Down กระบวนการตางๆใน Data Warehouse อาจมกีารนําเขาขอมูลมากเกินความจําเปนการนํามารวมกันของ Data Mart ทําไดยากและใชเวลานานมาก

Page 36: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Mixed Data Warehouse Developmentเปนการพัฒนาระบบ Data Warehouse โดยแยกขอมลูออกเปนสวนๆ แลวพิจารณษเลอืกวิธกีารวิเคราะหและออกแบบ ที่เหมาะสมสําหรับขอมลูแตละสวน แลวจึงนําเอาสวนที่ไดพฒันาแลวมารวมกนัในภายหลัง

Page 37: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 3การวิเคราะหธุรกิจขององคกรและการแบงขอบเขตเนื้อหาขอมูล

Business Content Analysis and Subject Area

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 38: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหา1. การศึกษากิจกรรมขององคกร2. Business Process Diagram (BP)3. Subject Area4. Case Study

Page 39: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

สวนประกอบตางๆของคลังขอมูลประกอบดวย 3 องคประกอบหลักสวนของการนําขอมูลเขา (Input)สวนของการประมวลผล (Process)สวนของการนําผลลัพธออกแสดง (Output)

Page 40: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Business Content AcquisitionData Warehouse ตองอาศัย User Requirements และการตอบสนองเรื่องราวการดําเนินกิจการขององคกร (Process) การไดมาของขอมูล (Input) การใชงานขอมูลได (Output)ซึ่งรวมทั้งสามสวนเรียกวา Business Content

Page 41: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การศึกษา Output ขององคกรถือเปนกระบวนการที่งายที่สุดในสามสวน ตองพจิารณาวาผลลัพธที่ไดนาํไปใชเพื่ออะไร ความหมายของแตละหนวยของสารสนเทศ(Information) ขอเท็จจริง End User เปนผูที่ทราบถึงความหมายและการใชงานของ Output ตางๆควรมีการแบงหนาที่ของทีมในการสัมภาษณ End User เนือ่งจากมหีลายกลุมตองสราง Output Template เพื่อความมมีาตรฐาน

Page 42: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การศึกษา Input ขององคกรถัดจากการพิจารณา Output คือการสํารวจหา Input วามีอะไรบาง หาไดจาก ผูรวบรวมขอมูล ทีมงานสรางระบบตางๆ Input จะชวยบอก data source

Page 43: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การพิจารณาความซ้ําซอนของ Input และ Outputจําเปนที่จะตองนาํทั้งสองสวนมาหาความซ้ําซอน เพื่อเปนการลดภาระในการดูแลขอมูลชดุเดียวกันในหลายๆที่ ซึ่งอาจกอใหเกดิความไมสอดคลองกนัของขอมูลไดลดจํานวนขอมลูที่ตองดแูลใหนอยที่สุด แตมีประสิทธิภาพสูงสุดในการวิเคราะหขอมลู

Page 44: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Business Process Diagram (BP)เปนแผนภาพที่ใชเพื่อแสดงความสัมพนัธระหวางกระบวนการทํางาน Input และ Output เห็นกจิกรรมทั้งหมดตั้งแตการเขามาของขอมูลจนกระทั่งไดผลลัพธ (End-to-End Activities)ขององคกรมีจดุประสงคคือ

เพื่อศึกษา Process ขององคกร โดยใช Input และ Output ที่ไดรวบรวมไว เพื่อเปนตนทางในการสราง BP เพื่อจําลองภาพของ Process ขององคกรไดเพื่อใชเปนเครื่องมือสื่อสารระหวางผูสรางคลังขอมูล และผูใชงาน

Page 45: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เปนสวนที่ทําหนาที่ดึงเอาขอมูลที่ไดถูกเตรียมไวใน Data Provisioning Area หรือแมแต Data Warehouse Database เพื่อนาํเสนอผลลพัธที่ใชสําหรับการวิเคราะหขอมลู ทําหนาที่ออกรายงาน Simple Reporting Tools หรือ Multi Dimensional Tools หรือ Data Mining Tools ก็ได

Business Process Diagram (BP)

Page 46: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Case Studyดูเอกสารประกอบ

Page 47: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Subject Areaเปนการแบงเนือ้หาของธุรกิจ (Business Subject Area) ขององคกร เปนขั้นตอนตอจากากรศึกษา Output และ Input ขององคกรแบงเปน Subject Area ทําใหสามารถมองภาพของธุรกิจขององคกรไดละเอียดมากขึ้น ละเอียดกวาการมองภาพของ Business เปนภาพรวมใหญทั้งหมด

Page 48: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 4แบบจาํลองขอมลูสาํหรับคลังขอมลู

Data Modeling for Data Warehouse

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 49: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหา1. แบบจําลองขอมูล2. Relational Data Model3. Dimensional Data Model4. Case Study

Page 50: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แบบจําลองขอมูลหมายถึง สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จําลองหรือแสดงขอเท็จจริง ของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีอยูจริงในโลก หากแตมคีุณสมบตัิบางประการที่ตางกันออกไปจากวัตถุจริง เชนในแงของขนาดหรือความสามารถ แบบจําลองปจจุบันที่นิยมสําหรับ Data Warehouse มีอยู 2 แบบคอื

Relational Data ModelDimensional Data Model

Relational Data Model->Staging Database และ Data Warehouse DatabaseDimensional Data Model -> Data Mart

Page 51: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางการสรางแบบจําลองขอมูลในคลังขอมูล

ยึดหลัก Iterative Process เริ่มจากการพัฒนา Logical Data Model แลวจึงเริ่มพัฒนา Physical Data Model

Page 52: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Logical Data Model

กระบวนการมีดังนี้1. ศึกษาความตองการของผูใชงาน รวมถึงเรื่องราวขอเท็จจริงตางๆของ

องคกร2. ออกแบบ Logical Data Model3. ตรวจสอบ Logical Data Model ที่ไดออกแบบไว ตรวจสอบ

รวมกับผูใชงานขอมลู รวมถึงการใหผูใชไดทดลองนําขอมลูที่มีอยูไปใชงาน

Page 53: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Physical Data Model

กระบวนการมีดังนี้1. ศึกษาและพิจารณา Logical Data Model ที่สมบูรณแลว ตามที่

ไดออกแบบไวเพื่อหาแนวทางในการสราง Physical Data Model

2. สราง Physical Data Model3. ทดสอบ Physical Data Model โดยทดลองนําเอาตัวอยาง

ขอมลูไปวิเคราะหตามวิธีการตางๆ

Page 54: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Relational Data Model1. การออกแบบ Logical Relational Data Model ดวยหลักการ

Abstractionทําได 4 แนวทางคือ

Classification AbstractionAggregation AbstractionAssociation AbstractionGeneralization Abstraction หรือ Specialization Abstraction

Page 55: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Classification Abstractionกระบวนการจัดกลุมหรือจัดประเภทของสิ่งของตางๆ (วัตถุ) ใหอยูในกลุมเดียวกัน (คลาส) อาศัยหลักการที่วา ภายในขอบเขตของความสนใจ (โดเมน) หนึ่งๆ วัตถุที่มีคุณสมบตัิเหมือนกัน ถือวาเปนวัตถุชนิดเดียวกัน (คลาสเดียวกัน)คุณสมบัติหมายถึง Attributesคุณสมบัตใินการแยกแยะวัตถุ ใหมีความแตกตางกันจากวัตถุตัวอื่นๆคือ Primary key

Page 56: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Aggregation Abstractionคือ กระบวนการหาความสัมพันธระหวาง คลาส ในลกัษณะการรวมกันของ คลาสที่แตกตางกนัชดุหนึ่งเพื่อสรางใหเกดิคลาสใหม คือ การแสดงการเปนสวนประกอบของคลาสชุดหนึ่งในคลาสตัวหนึ่ง

Page 57: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Association Abstractionคือ การบรรยายความสัมพนัธระหวางคลาสตางๆ ที่เราสนใจ ซึ่งเปนความสัมพนัธที่แตกตางจากกรณีของ Aggregation Abstraction เพราะ Association Abstraction จะบอกความเกี่ยวพันของ คลาส คูหนึ่งที่ไมใชการประกอบขึ้น แตเปนความสัมพนัธที่คลาสทั้งสองนัน้มีระดับของคลาสในระดับเดียวกัน

Page 58: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Generalization Abstraction คือ กลุมของ วัตถุ อาจเรียกวา เซต เราสามารถเรียก คลาส วาเปน เซตของวัตถุกระบวนการของเซตไดแก union , intersection

Page 59: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Subject AreaSubject Area ที่ใชใน Logical Data Model ที่เรียกวา Logical Subject Area Subject Area ที่ใชใน Physical Data Model ที่เรียกวา Physical Subject AreaSubject Area ประกอบดวย

ขอมูลที่เลาเรื่องราวของกิจกรรมและความเปนไปขององคกร->Relational Data Model ขอมูลเพื่อการใชงาน-> Dimensional Data Model

Page 60: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

3.2-3.3-3.4 ศึกษาจาก Case Study

Page 61: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

OLAP and Cubes ดูเอกสารประกอบ

Page 62: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 5การออกแบบระบบการรบัขอมูลในคลงัขอมูลData Acquisition Design

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 63: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหาData Acquisition

ทําไมตอง Data Acquisition ขอควรคํานึในการออกแบบระบบ Data Acquisition การรักษาความปลอดภัยในการสงขอมูล ระบบการเตรียมขอมูลของผูที่สงขอมูล

การออกแบบและสรางชุดขอมูล (Data Acquisition File) การวิเคราะหขอมูลกอนการออกแบบ Data Acquisition file หลักการออกแบบรูปแบบของ Data Acquisition File

Page 64: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Acquisition ทําหนาที่ในสวนของการรับขอมูลในระบบคลังขอมูล โดยสามารถรับขอมูลไดจากทั้งภายในและภายนอกขององคกรได

Page 65: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ทําไมตองมี Data Acquisition เพื่อทําหนาที่ในการรับขอมูลและเตรียมขอมูลในเบื้องตน เพื่อใหพรอมสําหรับการนําไปใชตอไปใน Data Staging Areaหนาที่ของ Data Acquisition คือ

ตรวจสอบแกไขขอมูลที่มีขอผิดพลาดเบื้องตนทําใหขอมูลไมมีสิ่งแปลกปลอมทีอาจทําใหระบบคลังขอมูลเกิดความผิดพลาดในการทํางาน ระบุไดวาใครเปนผูที่สงขอมูลเขามายังระบบ รวมถึงวัน และ เวลาที่ขอมูลเขามาสูระบบ ในกรณีที่เนื้อหาของขอมูลมีความผิดพลาดอยางใดอยางหนึ่ง ตองสามารถแจงกลับไปยังผูสงขอมูลไดดวย

Page 66: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ทําไมตองมี Data Acquisition เริ่มตนคือ การรับขอมูลมีหนาที่แรกคือ ตรวจสอบวามีผูสงขอมูลดังกลาวเปนผูไดรับสิทธิ์ ในการสงขอมูลหรือไม ถาไมใช ขอมูลที่ถูกสงตอมาตองถูกผลักดัน (Rejected) ออกไป ในกรณีที่ผูสงขอมูลเปนผูมีสิทธิ์ถูกตอง สิ่งที่ระบบตองทําตอไปคือ การตรวจสอบวาขอมูลที่สงมานั้นมีสิ่งแปลกปลอมหรือไมระบบตองสามารถกําจัดขอมูลดังกลางและแจงสิ่งผิดปกติที่พบ กลับไปยังผูสงขอมูล ใหตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาด และสงขอมูลกลับมาใหม แตถาขอมูลไมมีสิ่งแปลกปลอมใดๆสิ่งที่ตองทําตอไปคือการตรวจสอบวาขอมูลมีความถูกตองในเบื้องตนหรือไม

Page 67: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ทําไมตองมี Data Acquisition ถาไมถูกตอง ระบบจะแจงกลับไปยังผูสงขอมูลใหสงมาใหม แตถาขอมูลมีความถูกตองดีอยูแลว ระบบจะเขาสูกระบวนการโดนยายขอมูลไปยังสวนอื่นๆของระบบตอไปสรุป หนาที่หลักของ Data Acquisition คือ การทําใหขอมูลที่สงมาจากแหลงขอมูล สามารถถึงปลายทาง ซึ่งหมายถึงคลังขอมูลไดอยางถูกตอง และไมกอใหเกิดผลเสียหายตอระบบอันเกิดจากการผิดพลาดในการรับขอมูล

Page 68: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ขอควรคํานึงในการออกแบบระบบ Data Acquisition1. วิธีการสงขอมูล

- มีหลายวิธีเชนการสงขอมูลจากตนทางเปนกระดาษเพื่อใหเจาหนาที่ปลายทางการสงขอมูลผานทางสื่อ Online ตางๆ

การสงขอมูล Online มี 2 แนวหลักๆ คือ การสงขอมูลผานระบบปด (Closed Loop Submission System) และ การสงขอมูลผานทางระบบเปด (Opened Loop Submission System)

Page 69: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การสงขอมูลผานทางระบบปด การสงขอมูลไปยังระบบที่ประกอบไปดวย โครงสรางพื้นฐานทางการสื่อสารที่เปนสวนตัวสําหรับผูสงและผูรับเทานั้น โดยไมเปดสูสาธารณะ และไมใชโครงสรางพื้นฐานที่เปนสาธารณะตองการความเร็วและความคลองตัวในการสงขอมูลตองการรักษาความลับของขอมูลที่มีความสําคัญตองลงทุนสูง การขยายระบบใหมีขอบเขตใหญขึ้นหรือเปดสูสาธารณะเปนไปไดยาก

Page 70: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การสงขอมูลผานทางระบบเปด คือการสงขอมูลไปยังระบบที่เปดสูสาธารณะ เพื่อใชทรัพยากรตางๆในระบบสาธรารณะรวมกับระบบอื่นๆ เพื่อการสงขอมูล การสงขอมูลลักษณะนี้มีความยืดหยุนสูงงายตอการปรับเขากับระบบตางๆ และลงทุนต่ํา แตเนื่องจากการใชทรัพยากรรวมกับระบบตางๆ ตองใหความสําคัญกับเรื่องการรักษาความปลอดภัยของขอมูลเปนพิเศษ

Page 71: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ทําไมตองมี Data Acquisition การเลือกวิธการสงขอมูล เปนหนาที่ของผูออกแบบระบบ Data Acquisition ตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้

การมีวิธีการสงขอมูลมากวาวิธีการเดียวยอมเปนสิ่งที่ดี ชวยไมใหเกิดความลาชา ซึ่งอาจกอใหเกิดผลเสียตอการวิเคราะหขอมูลได

Page 72: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ขั้นตอนในการสงขอมูล ในการสงขอมูล ทุกครั้งผูสงจะตองทําการแสดงตนกอน ไดแก user name และ password หรือใชระบบ Smart Card หลังจากนั้นก็จะทําการตรวจสิทธิในการสงขอมูลของผูสงขอมูลใหเปนที่ยอมรับในปจจุบันขั้นตอนนี้หากเปนระบบใหญจะใชเวลานานหากมีการสงขอมูลบอยครั้งในแตละวันอาจจะเกิดความไมสะดวก จึงไดมีระบบ Single Sign On System ซึ่งเปนระบบที่มีคุณสมบัติยินยอมใหผูสงขอมูลสามารถแสดงตนเพียงครั้งเดียวจนกวาผูสงขอมูลจะออก (Sign Off)

Page 73: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การตรวจสอบความถกูตองของขอมูลที่ไดรับดวย Validation Rules

พิจารณาความถูกตอง จําแนกได 2 แบบ คือ1. ความถูกตองในแงขอจํากัดตางๆ2. ความถูกตองในแงเนื้อหาขอมูลData Acquisition System จะใช Validation Rules ตางๆที่ไดกําหนดแลว เพื่อตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดย Validation Rules นั้นจะมีลักษณะเปนเงื่อนไขที่กําหนดใหกระทําการอยางใดอยางอหนึ่ง เมื่อเกิดขอผิดพลาดกับขอมูลที่สนใจ โดยที่เมื่อใดก็ตามที่ขอมูลถูกสงมาถึง Validation Rules ที่เกี่ยวของกับตัวขอมูลนั้นจะถูกเรียกมาใชงานอัตโนมัติ

Page 74: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ระบบการสื่อสารโตตอบกับผูสงขอมูล กรณีการสงขอมูลมีความถูกตองเปนปรกติ ระบบควรจะสื่อสารใหผูสงขอมูลทราบดวย เชนเดียวกันหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นก็ควรที่จะสื่อสารบอกใหผูสงไดทราบดวย

Page 75: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การรักษาความปลอดภัยในการสงขอมูล การรักษาความปลอดภัยของระบการสงขอมูล

มีการแตงตั้งผูตรวจสอบการรับขอมูลจากผูสง (Certificate Authority CA) ใชเทคโนโลยี Public Key Infrastructure ใชเทคโนโลยี Digital Signature

การรักษาความปลอดภัยของขอมูลมีการเขารหัส Encoding และกระบวนการถอดรหัส Decoding

ใชไดกับทั้งแบบ On Line และ Off Line System

Page 76: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การรักษาความปลอดภัยในการสงขอมูล การรักษาความปลอดภัยของระบการสงขอมูล

มีการแตงตั้งผูตรวจสอบการรับขอมูลจากผูสง (Certificate Authority CA) ใชเทคโนโลยี Public Key Infrastructure ใชเทคโนโลยี Digital Signature

การรักษาความปลอดภัยของขอมูลมีการเขารหัส Encoding และกระบวนการถอดรหัส Decoding

ใชไดกับทั้งแบบ On Line และ Off Line System

Page 77: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การออกแบบและสรางชุดขอมูล(Data Acquisition File ) เพื่อ การสงขอมูล

การวิเคราะหขอมูลกอนการออกแบบ Data Acquisition File หลักการออกแบบ Data Acquisition File

สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบรูปแบบของ Data Acquisition File การอออกแบบโครงสรางขอมูลใน Data Acquisition File

หลักการพื้นฐายในการเลือกขอมูลเพื่อการสราง Data Acquisition File หลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสัมพันธกันแบบ One to One Relationship หลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสัมพันธกันแบบ One to Many Relationshipหลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสัมพันธกันแบบ Many to Many Relationship

Page 78: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การวิเคราะหขอมูลกอนการออกแบบ Data Acquisition File

ชุดขอมูล (Data Acquisition File) เปนชุดขอมูลที่จะถูกเตรียมโดยผูสงขอมูล และถือเปนแหลงเริ่มตนของที่มาของขอมูล ตองมีการวิเคราะหวาควรจะมีขอมูลใดอยูใน Data Acquisition File บางมีขั้นตอนการพิจารณาดังนี้

พิจารณา BP แยกเปนกลุม Subject Area

Page 79: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

หลักการออกแบบ Data Acquisition File

สิ่งที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบรูปแบบของ Data Acquisition FileData Acquisition File เปรียบเสมือน แบบฟอรม ที่ระบบสงใหกับแหลงขอมูลภายนอก กรอกขอมูลแลวกลับเขามาสูตนเอง

การออกแบบโครงสรางขอมูล ใน Data Acquisition File จําเปนที่จะตองมีการสรางโครงสรางที่ถูกตอง ที่สามารถบอกเลาขอเท็จจริงทั้งในแงเนื้อหาของขอมูล การใชขอมูล และ การออกแบบเพื่อทําใหเกิดความสมบูรณของขอมูลสําหรับผูใชงาน

Page 80: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

หลักการพื้นฐายในการเลือกขอมูลเพื่อการสราง Data Acquisition File

สิ่งที่ตองคํานึงถึงอันดับแรกคือขอมูลที่ตองการใหแหลงขอมูลสงมาให ตองเปนขอมูลที่มีอยูจริง และมีความเปนไปได สําหรับแหลงขอมูลที่จะจัดหา ขอมูลที่สงมาควรเปนขอมูลดิบ เทานั้น ไมใชขอมูลที่เกิดจาการคํานวณ

Installment AgreementInstallment Action

Page 81: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

หลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสมัพันธกันแบบ One to One Relationship

จะใชวิธีการยุบรวมทุกๆ attribute ของ entity ที่มีความสัมพันธกันไวใน Data Acquisition File เดียวกัน

Page 82: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

หลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสมัพันธกันแบบ One to Many Relationship

Parent-Child Presentationเนนไปที่การแสดง Parent Entity เปนหลัก โดยให Child Entity เปนรายละเอียดยอยๆซึ่งมีไดมากกวา 1 รายการสําหรับแตละหนึ่ง Parent Entity

Referencing Presentation มีไวเพื่อแสดงขอมูลที่มีความสัมพันธแบบ One to Many Relationship ซึ่งมีโอกาสที่ Entity ในฝง Many อาจจะไมไดขึ้นกับ Entity ในฝง One เลยยึดแนวทางเดียวกับการออกแบบ Relational Database โดยการเพิ่ม Foreign Key ที่อางอิง ไปยัง Entity ฝง One เขาไปยัง Entity ฝง Many

Page 83: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

หลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสมัพันธกันแบบ Many to Many Relationship

สามารถแสดงในรูปแบบของ Association Entity ซึ่งเปน Entity ที่สรางขึ้นมาเพื่อเก็บ Primary key ของ Entity ที่มีความสัมพันธกัน แตในการออกแบบ Data Acquisition File จะใชหลักการที่แตกตางกันออกไป เพราะสามารถใชหลักการ Referencing Presentation ที่ใชสําหรับ One to Many Relationship กับความสัมพันธเชิง Many to Many ไดเชนดียงกัน

Page 84: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

หลักการออกแบบ Data Acquisition File สําหรับ Entity ที่มีความสมัพันธกันแบบ Generalization

จะมีการรวมเอาขอมูลทีเปน Super Class และ Sub Class เขาเปนขอมูลเนื้อเดียวกันใน Data Acquisition File

Page 85: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 6พื้นที่พักขอมูล

Data Staging Area

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 86: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหาData Staging Area คืออะไรกิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้นบน Data Staging Areaแนวทางและ ทางเลือกสําหรับการออกแบบ

Page 87: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Area คืออะไรData Model เนนใหสามารถสื่อถึงเรื่องราวขององคกรโดยผานการนําเสนอความสัมพันธระหวางขอมูลตางๆData Acquisition File เนนการสะดวกตอการจัดสง ไมไดเนนที่การแสดงความเปนจริงของขอมูลเทากับ Data Model ภายใน Data Staging Area ประกอบดวย การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในเบื้องตน สํารองขอมูลขอมูลจะถูกสงเขา Data Acquisition Subsystem กอนเปนจุดแรกจากนั้นก็จะเขาสู Data Staging Area เปนจุดถัดไป

Page 88: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Area คืออะไร

Data Acquisition->Data Staging Area->Data Warehouse Database

Page 89: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Area คืออะไรData Staging Area เปนสวนที่ติดตออยูกับทั้ง Data Acquisition และ Data Warehouse Database การตรวจสอบความถูกตองสอดคลองกันระหวางขอมูลที่ไดรับมา กับขอมูลที่มีอยูใน Data Warehouse Database สามารถทําไดในภายใน Data Staging Area ในทางกลับกัน Data Acquisition System สามารถทําไดเพียงการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลไดเบื้องตนเทานั้น ไมสามารถตรวจสอบใน Warehouse database ได

Page 90: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

กิจกรรมตางๆทีเ่กดิขึ้นบน Data Staging Area การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกอนการ Load เขาสู Data Warehouse Database

ความถูกตองในแงของการมีคาของขอมูล (Data Consistency) ความถูกตองในแงของคาตางๆที่เปนไปไดของขอมูล (Possible Values) ความถูกตองในแงของความสัมพันธของขอมูล (Data Relationship)

การทําหนาที่ Temporary Backup

Page 91: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ความถูกตองในแงของการมคีาของขอมูล (Data Consistency)Data Staging Area จะทําหนาที่ตรวจสอบวาขอมูลที่เขามามี Cardinality ของ Field ตางๆตรงตามที่กําหนดไวใน Data Model หรือไมพิจารณา Mandatory หรือ Optional

Page 92: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ความถูกตองในแงของคาตางๆที่เปนไปไดของขอมูล(Possible Values)

คาที่เปนไปไดของขอมูล (Possible Values) คือ ขอจํากัดของคาที่จะมีอยูใน Field ใด Field หนึ่งของขอมูล แบงออกไดเปน 2 ประเภท

Universal Possible Value มีอยูหลายชนิด เชน วันที่ เดือน สกุลเงิน ประเทศSystem-Based Values เปนคาที่เปนไปไดตางๆที่ระบบจําเปนจะตองมี เชนชนิดสินคาตางๆที่จําหนายในรานคา อาจจะมีตางๆกันไปตามแตละองคกร

Data Staging Area จะมีหนาที่ในการตรวจสอบคาของขอมูลที่ไดรับมาจาก Data Acquisition Subsystem วามีคาที่ตรงกับคาใดที่ระบุไวใน Possible Value หรือไม

Page 93: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ความถูกตองในแงของความสมัพันธของขอมูล (Data Relationship)

ตองทําหนาที่ตรวจสอบความถูกตองในความสัมพันธ เชน ขอมูลตัวหนึ่งมีความสัมพันธกับขอมูลอีกตัวหนึ่งอยางไรบาง ตรงกับที่ไดทําในแบบจําลองหรือไมยกตัวอยางความสัมพันธแบบ Foreign key เปนตน

Page 94: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การทําหนาที่ Temporary Backup เมื่อขอมูลมาถึงคลังขอมูล จะมีการรอนําเขาขอมูล ETL (Extract-Transform - Load )กระบวนการนี้ใชเวลานาน ยิ่งหากมีระบบใหญData Staging Area จะทําหนาที่เปนสวนสํารองขอมูลชั่วคราว (Temporary Backup) เพื่อสํารองขอมูลขณะที่กระบวนการนําเขาขอมูลดําเนินอยู ถาหากเกิดความผิดพลาดในกระบวนการนําเขาขอมูล ระบบจะเริ่มตนกระบวนการนําเขาใหมดวยขอมูลที่สํารองไว และเมื่อกระบวนการเสร็จสิ้น ขอมูลสํารองจะถูกกําจัดออกจาก Data Staging Area

Page 95: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การทําหนาที่ Temporary Backup การแบง Data Area และ Back up Area อาจจะเปน Disk ตัวเดียวกัน หรือแยกกันคนละตัวก็ได แตเพื่อความปลอดภัยมากที่สุด ควรมีการแยกออกเปน Disk คนละตัวมากกวา เพราะมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นกับ Disk ทั้งหมดได ซึ่งอาจจะทําให Data Area และ Back up Area เสียหายทั้งคู หาอยูใน Disk เดียวกัน

Page 96: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

กระบวนการ ETL ประกอบไปดวย 3 กระบวนการคือExtract คือกระบวนการในการดึงขอมูลออกจาก SourceTransform คือกระบวนการแปลงขอมูลจากโครงสรางเดิมที่กําหนดไวใน Source ใหอยูในรูปแบบโครงสรางตามที่ไดกําหนดใน DestinationLoad คือ การนําขอมูลที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบแลวไปเก็บไวใน Destination (Data Warehouse)

Page 97: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

กระบวนการ ETL มีสองแนวทางใหเลือกแนวทางแรกคือ การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะ แบบเดียวกันกับโครงสรางขอมูลของ Data Acquisition Systemแนวทางที่สองคือ การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดียวกับ Data Warehouse Database การออกแบบของ Data Staging Area ทั้งสองแบบจะสงผลกระทบตอการออกแบบกระบวนการทํางานของ ETL

Page 98: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะ แบบเดยีวกันกับโครงสรางขอมูลของ Data Acquisition System

Page 99: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดยีวกับ Data Warehouse Database

Page 100: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

ทั้งสองแนวทางจะเกิด ETL ขึ้นสองครั้งถาหากออกแบบ Data Staging Area ใหรับโครงสรางขอมูลแบบ Data Acquisition System ระบบจะตองเสียเวลามากขึ้นในการยายขอมูลจาก Data Staging Area เขาไปยัง Data Warehouse Databaseถาหากออกแบบ Data Staging Area ใหรับโครงสรางขอมูลแบบ Data Warehouse Database ระบบจะตองเสียเวลามากขึ้นในการยายขอมูลจาก Data Acquisition System เขาไปยัง Data Staging Area

Page 101: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

ในระบบที่มีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่มีปริมาณมากและซับซอน และมีโอกาสที่ขอมูลผิดพลาดสูงนั้น ระบบอาจจําเปนตองอานขอมูลจาก Data Warehouse Database เปนจํานวนมาก อาจจะซ้ําหลายครั้ง ดังนั้นกรณีนี้จึงควรมีการออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดียวกับ Data Warehouse Database เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ ทําหยัดเวลาไดมาก

Page 102: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

แตหากระบบที่มีขอมูลเขาที่มีปริมาณมากและความถี่สูงแตไมมีความซับซอนในการตรวจสอบมากนัก ควรมีการออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดียวกับ Data Acquisition System เพื่อลดปญหาการรอเขามาของขอมูลซึ่งกอใหเกิดปญหาการเกิดคอขวดในการเขามาของขอมูลได

Page 103: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 6พื้นที่พักขอมูล

Data Staging Area

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 104: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

เนื้อหาData Staging Area คืออะไรกิจกรรมตางๆที่เกิดขึ้นบน Data Staging Areaแนวทางและ ทางเลือกสําหรับการออกแบบ

Page 105: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Area คืออะไรData Model เนนใหสามารถสื่อถึงเรื่องราวขององคกรโดยผานการนําเสนอความสัมพันธระหวางขอมูลตางๆData Acquisition File เนนการสะดวกตอการจัดสง ไมไดเนนที่การแสดงความเปนจริงของขอมูลเทากับ Data Model ภายใน Data Staging Area ประกอบดวย การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลในเบื้องตน สํารองขอมูลขอมูลจะถูกสงเขา Data Acquisition Subsystem กอนเปนจุดแรกจากนั้นก็จะเขาสู Data Staging Area เปนจุดถัดไป

Page 106: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Area คืออะไร

Data Acquisition->Data Staging Area->Data Warehouse Database

Page 107: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Data Staging Area คืออะไรData Staging Area เปนสวนที่ติดตออยูกับทั้ง Data Acquisition และ Data Warehouse Database การตรวจสอบความถูกตองสอดคลองกันระหวางขอมูลที่ไดรับมา กับขอมูลที่มีอยูใน Data Warehouse Database สามารถทําไดในภายใน Data Staging Area ในทางกลับกัน Data Acquisition System สามารถทําไดเพียงการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลไดเบื้องตนเทานั้น ไมสามารถตรวจสอบใน Warehouse database ได

Page 108: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

กิจกรรมตางๆทีเ่กดิขึ้นบน Data Staging Area การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกอนการ Load เขาสู Data Warehouse Database

ความถูกตองในแงของการมีคาของขอมูล (Data Consistency) ความถูกตองในแงของคาตางๆที่เปนไปไดของขอมูล (Possible Values) ความถูกตองในแงของความสัมพันธของขอมูล (Data Relationship)

การทําหนาที่ Temporary Backup

Page 109: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ความถูกตองในแงของการมคีาของขอมูล (Data Consistency)Data Staging Area จะทําหนาที่ตรวจสอบวาขอมูลที่เขามามี Cardinality ของ Field ตางๆตรงตามที่กําหนดไวใน Data Model หรือไมพิจารณา Mandatory หรือ Optional

Page 110: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ความถูกตองในแงของคาตางๆที่เปนไปไดของขอมูล(Possible Values)

คาที่เปนไปไดของขอมูล (Possible Values) คือ ขอจํากัดของคาที่จะมีอยูใน Field ใด Field หนึ่งของขอมูล แบงออกไดเปน 2 ประเภท

Universal Possible Value มีอยูหลายชนิด เชน วันที่ เดือน สกุลเงิน ประเทศSystem-Based Values เปนคาที่เปนไปไดตางๆที่ระบบจําเปนจะตองมี เชนชนิดสินคาตางๆที่จําหนายในรานคา อาจจะมีตางๆกันไปตามแตละองคกร

Data Staging Area จะมีหนาที่ในการตรวจสอบคาของขอมูลที่ไดรับมาจาก Data Acquisition Subsystem วามีคาที่ตรงกับคาใดที่ระบุไวใน Possible Value หรือไม

Page 111: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ความถูกตองในแงของความสมัพันธของขอมูล (Data Relationship)

ตองทําหนาที่ตรวจสอบความถูกตองในความสัมพันธ เชน ขอมูลตัวหนึ่งมีความสัมพันธกับขอมูลอีกตัวหนึ่งอยางไรบาง ตรงกับที่ไดทําในแบบจําลองหรือไมยกตัวอยางความสัมพันธแบบ Foreign key เปนตน

Page 112: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การทําหนาที่ Temporary Backup เมื่อขอมูลมาถึงคลังขอมูล จะมีการรอนําเขาขอมูล ETL (Extract-Transform - Load )กระบวนการนี้ใชเวลานาน ยิ่งหากมีระบบใหญData Staging Area จะทําหนาที่เปนสวนสํารองขอมูลชั่วคราว (Temporary Backup) เพื่อสํารองขอมูลขณะที่กระบวนการนําเขาขอมูลดําเนินอยู ถาหากเกิดความผิดพลาดในกระบวนการนําเขาขอมูล ระบบจะเริ่มตนกระบวนการนําเขาใหมดวยขอมูลที่สํารองไว และเมื่อกระบวนการเสร็จสิ้น ขอมูลสํารองจะถูกกําจัดออกจาก Data Staging Area

Page 113: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การทําหนาที่ Temporary Backup การแบง Data Area และ Back up Area อาจจะเปน Disk ตัวเดียวกัน หรือแยกกันคนละตัวก็ได แตเพื่อความปลอดภัยมากที่สุด ควรมีการแยกออกเปน Disk คนละตัวมากกวา เพราะมีโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดขึ้นกับ Disk ทั้งหมดได ซึ่งอาจจะทําให Data Area และ Back up Area เสียหายทั้งคู หาอยูใน Disk เดียวกัน

Page 114: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

กระบวนการ ETL ประกอบไปดวย 3 กระบวนการคือExtract คือกระบวนการในการดึงขอมูลออกจาก SourceTransform คือกระบวนการแปลงขอมูลจากโครงสรางเดิมที่กําหนดไวใน Source ใหอยูในรูปแบบโครงสรางตามที่ไดกําหนดใน DestinationLoad คือ การนําขอมูลที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบแลวไปเก็บไวใน Destination (Data Warehouse)

Page 115: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

กระบวนการ ETL มีสองแนวทางใหเลือกแนวทางแรกคือ การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะ แบบเดียวกันกับโครงสรางขอมูลของ Data Acquisition Systemแนวทางที่สองคือ การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดียวกับ Data Warehouse Database การออกแบบของ Data Staging Area ทั้งสองแบบจะสงผลกระทบตอการออกแบบกระบวนการทํางานของ ETL

Page 116: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะ แบบเดยีวกันกับโครงสรางขอมูลของ Data Acquisition System

Page 117: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

การออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดยีวกับ Data Warehouse Database

Page 118: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

ทั้งสองแนวทางจะเกิด ETL ขึ้นสองครั้งถาหากออกแบบ Data Staging Area ใหรับโครงสรางขอมูลแบบ Data Acquisition System ระบบจะตองเสียเวลามากขึ้นในการยายขอมูลจาก Data Staging Area เขาไปยัง Data Warehouse Databaseถาหากออกแบบ Data Staging Area ใหรับโครงสรางขอมูลแบบ Data Warehouse Database ระบบจะตองเสียเวลามากขึ้นในการยายขอมูลจาก Data Acquisition System เขาไปยัง Data Staging Area

Page 119: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

ในระบบที่มีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูลที่มีปริมาณมากและซับซอน และมีโอกาสที่ขอมูลผิดพลาดสูงนั้น ระบบอาจจําเปนตองอานขอมูลจาก Data Warehouse Database เปนจํานวนมาก อาจจะซ้ําหลายครั้ง ดังนั้นกรณีนี้จึงควรมีการออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดียวกับ Data Warehouse Database เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ ทําหยัดเวลาไดมาก

Page 120: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

แนวทางและทางเลือกสําหรับการออกแบบ Data Staging Area กับกระบวนการ ETL

แตหากระบบที่มีขอมูลเขาที่มีปริมาณมากและความถี่สูงแตไมมีความซับซอนในการตรวจสอบมากนัก ควรมีการออกแบบโครงสรางขอมูลใหมีลักษณะแบบเดียวกับ Data Acquisition System เพื่อลดปญหาการรอเขามาของขอมูลซึ่งกอใหเกิดปญหาการเกิดคอขวดในการเขามาของขอมูลได

Page 121: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 8Metadata and Metadata Repository

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 122: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

OutlineMetadata หัวใจสําคัญของขอมูลสิ่งที่เก็บอยูใน Metadataแนวทางการออกแบบ Metadata Repositoryการเปลี่ยนแปลงของระบบใน Data Warehouse กับการเปลี่ยนแปลงแกไข Metadata

Page 123: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

กิจกรรม

แบงหัวขอ เพื่อทําการศึกษา แลวทําการสัมมนากลุมยอย

Page 124: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 9Related Procedures in Data Ware

Development

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 125: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

OutlineInitial Loading

Data CleansingTestingSystem DevelopmentBack Up PlanRecovery PlanChange Process

Page 126: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

กิจกรรม

แบงหัวขอ เพื่อทําการศึกษา แลวทําการสัมมนากลุมยอย

Page 127: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 10Case Study

อาจารยสุพฒันวรี ทิพยเจริญภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มหาวทิยาลัยฟารอีสเทอรน

Page 128: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Outline ตัวอยาง Business Contentตัวอยาง Subject Areaตัวอยางการออกแบบ Logical Data Modelตัวอยางการออกแบบ Physical Data Modelตัวอยางการออกแบบ Data Acquisition Fileตัวอยางการออกแบบ Data Mart Data Modelตัวอยางการสรางกระบวนการ ETLตัวอยางการออกแบบ Meta Dataตัวอยาง การสรางระบบคลังขอมูล

Page 129: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

กิจกรรม

แบงหัวขอ เพื่อทําการศึกษา แลวทําการสัมมนากลุมยอย

Page 130: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

Chapter 11ปญหาและแนวทางแกไข

สําหรบัโครงการพฒันาคลังขอมลู

Page 131: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

โครงการพัฒนา Data Warehouse

ระบบงานเล็ก – ใหพนักงานเปนผูพัฒนาเอง หากไมมีพนักงานสาย IS ก็จะจางบริษัทภายนอก งานที่พัฒนาจะเปนระบบเลก็ๆ รับผิดชอบเฉพาะบางฝายเทานั้นระบบงานใหญ – ทีมงานมีจํานวนมากขึ้น มีการแบงงานออกเปนแตละฝาย มีผูรับผิดชอบในแตละฝาย และมีผูประสานงาน การพัฒนามีแบบแผนที่มากขึ้น

Page 132: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

สมาชิกของโครงการ (Project Team)

Project Sponsor : ผูใหการสนับสนุนโครงการ ดานงบประมาณ หมายถึงผูบริหารสูงสุดขององคกรProject Owner : เจาของโครงการ ผูรับผิดชอบระบบงานหลังการพัฒนาสิ้นสุดProject Manager : ผูจัดการโครงการ คือ ผูที่รับผิดชอบในการจัดการโครงการ บริหารโครงการ รับผิดชอบตอความสําเร็จและลมเหลวของโครงการ

Page 133: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

สมาชิกของโครงการ (Project Team)

Project Task Team : ทีมงาน คอืผูที่ทําหนาที่สรางงานตางๆ ที่มีอยูหลายๆงานในโครงการ โดยแตละงานจะแบงออกเปนระบบงานยอยๆเรียกวา Task แตละTask จะมีหัวหนาและทีมงาน สวนใหญจะประกอบดวยบุคคลจากทางฝายผูใชงานและผูพัฒนาเพื่อแลกเปลี่ยนความคดิเห็นระหวางกันProject Coordinator : ทีมงานประสานงาน ทําหนาที่เปนตัวกลางในการสื่อสาร ประสานงาน สรางความสอดคลองของงานในแตละทีมงานในโครงการ (Task Synchronization)

Page 134: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานองคกรการใหการสนับสนุนของผูบริหาร

ปญหา ผูบริหารองคกรไมเห็นประโยชนของการมี Data Warehouseแนวทางแกปญหา

Page 135: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานองคกรการใหการสนับสนุนของผูบริหาร

ปญหา ผูบริหารองคกรไมเห็นประโยชนของการมี Data Warehouseแนวทางแกปญหา การนําเสนอที่เนนการเปรียบเทียบขอดีของการมี Data

Warehouse และ ขอดอย จากปญหาที่ใกลตัวหรือปญหาที่สามารถมองเห็นไดชัด และการชี้ใหเห็นถึงประโยชนในอนาคต หรือในระยะยาว

Page 136: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานองคกรการใหการสนับสนุนของผูบริหาร

ปญหา ผูบริหารองคกรเห็นวา การใช Data Warehouse เปนเรื่องซับซอน และยุงยาก ไมเกิดประโยชน

แนวทางแกปญหา

Page 137: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานองคกรการใหการสนับสนุนของผูบริหาร

ปญหา ผูบริหารองคกรเห็นวา การใช Data Warehouse เปนเรื่องซับซอน และยุงยาก ไมเกิดประโยชน

แนวทางแกปญหา การสาธิตการทํา Data Warehouse ที่งายและสะดวกแกผูบริหาร เชน การยกตัวอยางการเปลี่ยนมุมมองไดหลากหลาย เปรียบเทียบใหเห็นกับการเรียกดูรายงานแบบตายตัว ซึ่งขาดความยืดหยุนในแบบเดิมๆ

Page 138: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานองคกรการยอมรับการเปลี่ยนแปลงระดับปฏิบัติงาน

ปญหา ผูปฏิบัติงานไมยอมรับระบบผูปฎิบัติงานไมตองการศึกษาเทคโนโลยีใหมๆ ยังคงยึดติดกับระบบเดิมๆ

ไมตองการการเปลี่ยนแปลงแนวทางแกปญหา

Page 139: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานองคกรแนวทางแกปญหา ตองทําการขจัดความคิดความกลัว ตางๆออกไป อาจจะ

กระทําโดยการจัดสัมมนาเปนกลุมใหญ เพื่อนําเสนอความงายและประโยชนจากการมี Data Warehouse เนนการนําเสนอวา Data Warehouse เปนผูชวยทําใหทํางานสะดวกมากยิ่งขึ้นไมใชผูทําใหการทํางานเปลี่ยนแปลงไป จัดใหมีการดูงานในองคกรที่มี Data Warehouse ใช ไดอยางมีประสิทธิภาพเพื่อเปนแรงจูงใจ

Page 140: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีปญหาการศึกษา Business Content

ปญหา ระดับความเขาใจในธุรกิจของผูพัฒนาระบบแนวทางแกปญหา

Page 141: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีปญหาการศึกษา Business Content

ปญหา ระดับความเขาใจในธุรกิจของผูพัฒนาระบบแนวทางแกปญหา หากเปนการจางผูพัฒนาจากภายนอก จําเปนจะตองมีผูที่เขาใจ

ในองคกรธุรกิจนั้นๆอยูในทีมดวย เพื่อใหขอมูลที่ถูกตองแกผูพัฒนา

Page 142: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีมุมมองธุรกิจที่แตกตางกันของกลุมคนที่ตางกันขององคกร

ปญหา ระดับความเขาใจในธุรกิจของผูพัฒนาระบบแนวทางแกปญหา หากเปนการจางผูพัฒนาจากภายนอก จําเปนจะตองมีผูที่เขาใจ

ในองคกรธุรกิจนั้นๆอยูในทีมดวย เพื่อใหขอมูลที่ถูกตองแกผูพัฒนา

Page 143: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีแนวทางแกปญหา จัดประชุมระหวางทีมงานในโครงการอยางสม่ําเสมอ อาจจะ

จัดอาทิตยละครั้ง เพื่อรายงานสิ่งที่ทีมงานของตนไดทําไป เพื่อใหทีมงานอื่นๆไดรับฟงและแหไขปญหาขอผิดพลาดตางๆ นอกจากนี้ยังไดเปนการแบงปนความรูที่แตกตางกันแกผูอื่นดวย

Page 144: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีปญหาระหวางการพัฒนา Data Warehouse

ปญหา ปญหาของ Version Control เกิดเมื่อมีการใชทรัพยากรเดียวกันของหลายๆ Task Team แตเปนทรัพยากรที่มีความแตกตางกันไมวาจะในแงใดก็ตาม Task Team ไมทราบวา เกิดความแตกตางกันขึ้น

Page 145: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีแนวทางแกปญหา จัดใหมีทีมงานกลางที่เปนผูจัดเก็บทรัพยากร และทําหนาที่

ควบคุมการเปลี่ยนแปลงและแจงขาวสารการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรที่ใชรวมกันใหแกทุกๆทีมงาน ผูที่ทําหนาที่นี้ไดแก Project Coordinator

Page 146: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีปญหาระหวางการพัฒนา Data Warehouse

ปญหา ความเขาใจในขอมูลของทีมงาน การตีความจาก เอกสารในสวนของ Logical model และ Physical model ที่ผิดพลาดอาจจะทําใหมีการผิดพลาดไดในอนาคต

Page 147: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีแนวทางแกปญหา จัดใหมีการสัมมนา หรือชี้แจงตอบขอซักถาม โดยบุคลากรที่

มีความรูในองคกร เพื่อสรางความเขาใจแก Task Team รวมไปถึง การจัดทําบันทึก ขอซักถามและขอชี้แจงของแตละคาํถาม เพื่อเก็บไวเปน Information Base ที่ใชเพื่อสรางความรวเร็วในการแกปญหาเมื่อเกิดปญหาเดิมๆขึ้นอีก

Page 148: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีปญหาระหวางการพัฒนา Data Warehouse

ปญหา การเปลี่ยนแปลงที่อาจจะมีผลกระทบตอระบบในวงกวาง เมื่อ Task Team หนึ่งๆตองการเปลี่ยนแปลงสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่สงผลกระทบตอ Task Team อื่นๆ

Page 149: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีแนวทางแกปญหา มีทีมงานหรือคณะกรรมการที่เรียกวา Change

Management Team ทําหนาที่ในการพิจารณาสิ่งที่จะตองเปลี่ยนแปลงวาจําเปนหรือไม สงผลกระทบมากนอยเทาใด และจะรับมือไดอยางไร

Page 150: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีปญหาระหวางการพัฒนา Data Warehouse

ปญหา การจัดตั้งมาตรฐาน และการรักษามาตรฐานของกระบวนการตางๆ ตองผานความเห็นชอบเสมอ เอกสารที่ออกจากโครงการตองมีการระบุวันที่ที่จัดทําเอกสารไวมุมบนขวาของกระดาษเสมอ ทุกฝายตองปฎิบัติตามกฏ อยางเครงครัด

Page 151: 304315 Data Warehousingsci.feu.ac.th/supattanawaree/datawarehouse.pdfData Warehouse อาจารย ส พ ฒนวร ท พย เจร ญ ภาคว ชาเทคโนโลย

ประเด็นปญหาตางๆที่เกิดในโครงการพฒันา Data Warehouse และทางแกไขปญหา

ปญหาทางดานเทคนิควิธีการและเทคโนโลยีแนวทางแกปญหา การทบทวนกระบวนการแกทีมงานอยางสม่ําเสมอ และมีการ

วางมาตการปองกันตักเตือนหรือลงโทษที่ชัดเจน