ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

63
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี 6 มีนาคม 2556 http://www.slideshare.net/nawanan

Upload: nawanan-theera-ampornpunt

Post on 24-Jan-2015

17.620 views

Category:

Health & Medicine


3 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ฝ่ายเวชสารสนเทศ คณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี

6 มีนาคม 2556

http://www.slideshare.net/nawanan

Page 2: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

แนะนําตัว

2003 M.D. (Ramathibodi)

2009 M.S. in Health Informatics (U of MN)

2011 Ph.D. in Health Informatics (U of MN)

รักษาการแทนรองหัวหน้าฝ่ายเวชสารสนเทศคณะแพทยศาสตร์ รพ.รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล

[email protected]

หัวข้อวิจัยที่สนใจ• การนํา Health IT มาใช้ในรูปแบบต่างๆ ในโรงพยาบาล

• ปริมาณการใช้ Health IT (“Health IT adoption”)

• การเรียนการสอนด้านเวชสารสนเทศ

Page 3: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศคืออะไร?

Page 4: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศ

• Information System

– ระบบที่มีการนําเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) มาใช้

เพื่อสนับสนุนกระบวนการทํางานบางอย่างของมนุษย์

– ใช้เทคโนโลยีเป็น เครื่องมือ เพื่อให้ข้อมูล (Deliver information) และ

สนับสนุนกระบวนการทํางาน (business processes) ให้กับ ผู้ใช้งาน

(users) ในการทํางานหนึ่งๆ

– เช่น ระบบการฝาก-ถอนเงินผ่านเคาน์เตอร์ธนาคาร ระบบการลงทะเบียน

เรียนผ่านเว็บ ระบบ e-learning ระบบจองตั๋วเครื่องบิน ระบบแสดงตาราง

เที่ยวบิน เป็นต้น

Page 5: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ทําไมต้องมีระบบสารสนเทศ

• เชื่อมโยงข้อมูลจากหลายสถานที่

• การประมวลผลที่รวดเร็ว

• การทํางานร่วมกันหลายคน

• ลดโอกาสผิดพลาด หรือความไม่สม่ําเสมอของคุณภาพงาน

Image Source: http://en.wikipedia.org/wiki/Logistics_automation

Page 6: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ

Hardware Software

Peopleware Data

- อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ทั้งเครื่อง

แม่ข่าย (Servers) และเครื่องลูก

ข่าย (Clients)

- ระบบเครือข่าย (Network)

- ระบบปฏิบัติการ (Operating

System) เช่น Windows XP

- โปรแกรมช่วยสนับสนุนการ

ทํางาน (System Utilities) เช่น

Antivirus

- โปรแกรมประยุกต์

(Applications) เช่น Microsoft

Word หรือ Hospital

Information System

- ข้อมูลที่เก็บในระบบ

- ผู้ใช้งาน

โครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ (IT Infrastructure)

Page 7: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบตู้กดเงินอัตโนมัติ (ATM)

Image Source: http://www.gsb.or.th/products/personal/services/atm.php

Page 8: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบแสดงตารางเที่ยวบิน

Image Source: http://www.m7worldwide.com/checkaflight.html

Page 9: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

(Hospital Information System)

Page 10: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ข้อมูล (Information)

มีอยู่ทุกหนทุกแห่งในทางการแพทย์

Page 11: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

หลากหลายรูปแบบของ Health IT

Hospital Information System (HIS) Computerized Provider Order Entry (CPOE)

Electronic Health

Records (EHRs)

Picture Archiving and Communication System

(PACS)

Page 12: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Still Many Other Forms of Health IT

m-Health

Health Information Exchange (HIE)

Biosurveillance

Information RetrievalTelemedicine &

Telehealth

Images from Apple Inc., Geekzone.co.nz, Google, PubMed.gov, and American Telecare, I

Personal Health Records (PHRs)

Page 13: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศที่ใช้ในโรงพยาบาล

จําแนกตามลักษณะงาน

• ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office)

• ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกบังานบริการ (Back Office)

Page 14: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Front Office

• ระบบงานบริการผู้ป่วย (Front Office)

– ระบบเวชระเบยีนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Medical Records

หรือ Electronic Health Records)

– ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (Hospital Information System)

หรือระบบสารสนเทศทางคลินิก (Clinical Information System)

– ระบบงานย่อยๆ ของหน่วยบริการภายในโรงพยาบาล

Page 15: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Back Office

• ระบบงานบริหารจัดการ ที่ไม่เกี่ยวกับงานบริการ (Back Office)

– ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (Management Information Systems

หรือ MIS)

– ระบบบริหารจัดการทรัพยากรองค์กร (Enterprise Resource Planning

หรือ ERP)

– ระบบสารสนเทศการวิจัยและการศึกษา

– เว็บไซต์ และอินทราเน็ตภายในองค์กร

– ระบบงานสารบรรณ (การเวียนเอกสาร)

Page 16: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

จําแนกตามหน่วยงานที่ใช้ใช้ทั่วทั้งองค์กร หรือหลายหน่วยงาน (Enterprise-wide Systems)

• MPI, ADT

• EHRs/EMRs/HIS/CIS

• CPOE & CDSS

• PACS

• Nursing applications

• MIS, ERP

Page 17: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล

จําแนกตามหน่วยงานที่ใช้ใช้เฉพาะบางหน่วยงาน (Departmental Systems)

• ระบบงานห้องยา (Pharmacy applications)

• LIS, RIS

• ระบบเฉพาะทาง (Specialized applications) เช่น ระบบงาน ER,

OR, LR, Anesthesia, Critical Care, Blood Bank

• E-Learning

Page 18: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Workflow

Hospital Information System

Master Patient

Index (MPI)

ADT

SchedulingScheduling

OrderOrder

Pharmacy IS

Operation Theatre

BillingBilling

Clinical Notes

LIS

RIS

PACS

CCIS

Medical Records

Portals

อ้างอิงจากสไลด์ของ รศ.นพ.อาทิตย์ อังกานนท์

Page 19: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Hospital Information System

อ้างอิงจากสไลด์ของ รศ.นพ.อาทิตย์ อังกานนท์

Page 20: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Master Patient Index (MPI)

• ระบบทะเบียนผู้ป่วย

• Functions

– การลงทะเบียน (Registration) และระบุตัวตน (identification)

ของผู้ป่วย โดยใช้เลขประจําตัวผู้ป่วย (HN)

– การบันทึกและแก้ไขข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย (patient

demographics)

– ระบบอื่นๆ ในโรงพยาบาลมักใช้ข้อมูลจากระบบนี้เพื่อระบุตัวตน

หรือสอบถามข้อมูลเกีย่วกับตัวผู้ป่วย

Page 21: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Admission-Discharge-Transfer (ADT)

• ระบบงานรับผู้ป่วยใน จําหน่าย และย้าย/ส่งต่อผู้ป่วย

• Functions

– สนับสนุน Admission, Discharge และ Transfer ผู้ป่วย

(เรียกกระบวนการ ADT ว่า “patient management”)

– ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานะของผู้ป่วยวา่ admit อยู่หรือไม่ รวมทั้งหอ

ผู้ป่วยที่ admit

– ให้ข้อมูลที่ใช้ในการคํานวณอัตราครองเตียง (bed occupancy)

– เชื่อมโยงกับระบบการเงิน และการส่งข้อมูลเพื่อเบิกจ่ายค่า

รักษาพยาบาล

Page 22: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Bed Management (from ADT System)

Page 23: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาล

(Insurance Eligibility System)

• Functions

– ตรวจสอบว่าผู้ป่วยมสีิทธิคา่รักษาพยาบาลอะไรบ้าง เช่น สิทธิ

ประกันสุขภาพ (30 บาท), สิทธิประกันสังคม, สิทธิข้าราชการ

เป็นต้น หรือไม่มีสิทธิใดๆ (เงินสด)

– ตรวจสอบว่าสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย ครอบคลุมการ

บริการที่ผู้ป่วยจะได้รับหรือไม่ (coverage) เพื่อคํานวณคา่ใช้จ่าย

– อาจต้องเชื่อมโยงกับระบบตรวจสอบสิทธิค่ารักษาพยาบาลของ

หน่วยงานต่างๆ เช่น สํานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

สํานักงานประกันสังคม กรมบัญชีกลาง

Page 24: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบนัดหมายผู้ป่วย

(Appointment Scheduling)

• Functions

– บันทึกข้อมูลการนัดหมายของผู้ป่วย

– กําหนดจํานวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ต่อแพทย์หรือต่อหน่วยตรวจ

– สนับสนุนการเลื่อนนัดหรือยกเลิกนัด

– แสดงรายชื่อผู้ป่วยที่นัดหมายในวันหนึ่งๆ ของแต่ละหน่วยตรวจได้

– สามารถปรับจํานวนผู้ป่วยที่สามารถนัดได้ หรือกําหนดวันหยุดที่

ห้ามนัดได้

Page 25: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบงานพยาบาล (Nursing Applications)

Functions (บางส่วน)

• บันทึก nursing assessments, interventions และ nursing

outcomes

• ช่วยสนับสนุนการลง charting และ vital sign recording

• อาจใช้มาตรฐานข้อมูลทาง nursing informatics

• ช่วยในการบันทึกแผนการรักษา (care-planning)

• สนับสนุนการสื่อสารภายในทีมและระหว่างเวร เช่น ระบบ e-Kardex

• บันทึกเหตุการณ์ความเสี่ยง (incidents) ต่างๆ

Page 26: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบงานห้องยา (Pharmacy Applications)

Functions

• สนับสนุนกระบวนการทํางาน (workflow) ตั้งแต่การสั่งยา

(medication orders/prescription) ไปจนถึงการจ่ายยา

(dispensing) และการคิดราคายา

• ลดความผิดพลาดทางยา (medication errors) และช่วยส่งเสริม

ความปลอดภัยทางยา (medication safety)

• ช่วยสนับสนุนการบริหารจัดการคลังยา (drug inventory

management)

Page 27: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Laboratory Information System (LIS)

Functions

• รับข้อมูลและประมวลผล Lab orders ที่มีการสั่งมา

• การ match tube และ specimen กับผู้ป่วย ในระบบ

• กระบวนการภายในห้อง Lab

– การประมวลผล Order (Order processing)

– การลงทะเบียนรับ specimen (Specimen registration & processing)

– การตรวจสอบผลและรายงานผล Lab (Lab results validation &

reporting)

– การเก็บ Specimen ไว้ในคลัง (Specimen inventory)

Page 28: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบภาพทางการแพทย ์(Imaging Applications):

ระบบแสดงภาพ (PACS)

Picture Archiving and Communication System (PACS)

• รับภาพ x-ray จากเครื่อง x-ray modalities ต่างๆ และบันทึกเข้าสู่ระบบ

• การแสดงภาพ x-ray ให้บุคลากรทางการแพทย์อ่าน

• ส่วนใหญ่ใช้กับภาพ x-ray เป็นหลัก แต่อาจใช้ในสาขาเฉพาะทางอื่นๆ ได้ เช่น

โรคหัวใจ ส่องกล้อง พยาธิวิทยา และจักษุวิทยา เป็นต้น

• ข้อดี: ประหยัดพื้นที่เก็บฟิล์ม x-ray, ค่าพิมพ์ฟิล์ม ป้องกันการทําฟิล์ม x-ray

สูญหาย สามารถดูภาพพร้อมกันหลายคนได้ ดูภาพจากทางไกล (เช่น ที่บ้าน)

ได้ รวมทั้งคุณสมบัติในการคํานวณและประมวลผลภาพด้วยคอมพิวเตอร์

(image processing & manipulation)

Page 29: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบภาพทางการแพทย ์(Imaging Applications):

ระบบสารสนเทศทางรังสีวิทยา

Radiology Information System (RIS) หรือ Workflow

Management

• สนับสนุนกระบวนการทํางาน (workflow) ภายในหน่วยงานรังสี

วิทยา (radiology department) ตั้งแต่การลงทะเบียนผู้ป่วย

(patient registration) การนัดหมายเอกซเรย์ (appointments &

scheduling) การส่งปรึกษา (consultations) การพิมพ์รายงานการ

อ่านภาพเอกซเรย์ (imaging reports) เป็นต้น

Page 30: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบงานการเงิน (Billing System)

• Functions

– คํานวณค่าบริการสําหรับการให้บริการที่ผู้ป่วยได้รับ

– คํานวณค่าใช้จ่ายที่ต้องเรียกเก็บตามสิทธิค่ารักษาพยาบาลของผู้ป่วย

(insurance eligibility) และความครอบคลุมการบริการต่างๆ (coverage)

– บันทึกจํานวนเงินที่ผู้ป่วยชําระและยอดคงเหลือ เพื่อการติดตามทวง

ค่าใช้จ่ายในอนาคต

– ส่งข้อมูลยอดเงินที่ได้รับไปยังระบบบัญชีหรือระบบ Back Office เพื่อ

บันทึกรายได้ของโรงพยาบาล และเพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่

เหลืออยู่จากกองทุนต่างๆ (reimbursement claims to government

agencies)

Page 31: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Enterprise Resource Planning

• ระบบบริหารทรัพยากรขององค์กร

• Some Functions

– การคลัง (Finance)

• บัญชี (Accounting)

• งบประมาณ (Budgeting)

• การวิเคราะห์ต้นทุน (Cost control and management)

Page 32: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Enterprise Resource Planning

• Some Functions (ต่อ)

– การพัสดุ (Materials Management)

• การจัดซื้อจัดจ้าง (Procurement)

• การบริหารคลังพัสดุ (Inventory management)

– การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resources)

• การคัดเลือกและบรรจุ (Recruitment) การประเมิน (evaluation) การเลื่อนขั้น

(promotion) และการลงโทษทางวินัย (disciplinary actions) บุคลากร

• การอบรมและพัฒนาศกัยภาพบุคลากร (Human resource development

and training)

• การจ่ายเงินเดือนและคา่ตอบแทน (Payroll) และสิทธิประโยชน์ของบุคลากร

Page 33: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์

(Electronic Medical Records)

Page 34: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

เวชระเบียนผู้ป่วย (Medical Records)

Page 35: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

เวชระเบียนคืออะไร?

• เอกสารที่บันทึกข้อมูลประวัติการเจ็บปว่ยของผู้ป่วย การตรวจร่างกาย

และการให้การรักษาของสถานพยาบาล

• Medical Records vs. Health Records

– มีความหมายเหมือนกนั

Page 36: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Class Discussion #1

• ทําไมเราจึงต้องมเีวชระเบียนผู้ป่วย?

• กล่าวคือ ทําไมเราจึงต้องมีการบันทึกประวัติผู้ป่วยและการให้

การรักษาของบุคลากรทางการแพทย์?

Page 37: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

• เพื่อความต่อเนื่องในการดูแลรักษา (Continuity of Care)

– บันทึกข้อมูลสําคัญสําหรับการดูแลรักษาในอนาคต

– สําคัญมากสําหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (chronic diseases) เช่น เบาหวาน

ความดันโลหิตสูง หรือกรณีนัดตรวจติดตามผล (follow-up) เช่น หลัง

ผ่าตัด

• เพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย

– ป้องกันอันตรายที่ผู้ป่วยอาจได้รับเพราะไม่ทราบประวัติผู้ป่วย

– เช่น ประวัติแพ้ยา (drug allergies), list of current medications,

problem list

Page 38: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

• เพื่อการสื่อสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ด้วยกัน

– ส่งต่อผู้ป่วยไปยังแพทย์เฉพาะทางหรือบุคลากรทางการแพทย์คนอื่น

– การส่งปรึกษา (Consultation) ระหว่างแพทย์

– การสื่อสารระหว่างแพทย์กับพยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบําบัด เป็นต้น

– ส่งต่อผู้ป่วยจากโรงพยาบาลหนึ่งไปโรงพยาบาลอีกแห่งหนึ่ง

• เพื่อประโยชน์ทางกฎหมาย (Medico-legal purposes)

– เป็นหลักฐานในศาล กรณีมีการฟ้องร้อง

– บันทึกสิ่งที่ได้ทําหรือให้การรักษากับผูป้่วย เหตุผลในสิ่งทีท่าํ ทําโดยใคร เมื่อใด

– ให้ข้อมูลเพื่อตอบคําถามว่า การดูแลรักษา ได้มาตรฐานวิชาชีพหรือไม่

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

Page 39: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

• เพื่อการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล (Claims & Reimbursements)

– ได้ให้บริการอะไรให้กับผู้ป่วย

– โรงพยาบาลจะได้รับค่ารักษาพยาบาลจากกองทุนเทา่ใดและอย่างไร

– การตรวจสอบ (Audit) เพื่อพิจารณาความเหมาะสมในการขอเบิกจ่ายคา่

รักษาพยาบาล

• เพื่อการใช้ประโยชน์ของผู้ป่วยเอง

– เพื่อการเบิกค่ารักษาพยาบาลจากบริษทัประกันของผู้ป่วย

– เพื่อการเรียนรู้ของตนเอง หรือการดูแลตนเอง

• เพื่อการวิจัย

– เพื่อค้นหาความรู้ใหม่จากประวัติการรักษาผู้ป่วย ผ่านการทําวิจัย

การใช้ประโยชน์จากเวชระเบียน

Page 40: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

เวชระเบียน “อิเล็กทรอนิกส์”

“Electronic” Medical Records

• Electronic Medical Records (EMRs) vs.

Electronic Health Records (EHRs)

• ความหมายเหมือนหรือต่างกัน แล้วแต่มุมมอง

• สรุป

– นิยามของ 2 คํานี้ ขึ้นอยู่กับมุมมองของแต่ละคน

– ในไทย มักใช้ EMRs แต่มีความหมายเหมือนกันกับ EHRs

– อาจรวมทั้งเวชระเบียนสแกน (Scanned Medical Records) และข้อมูลที่ป้อนเข้าสู่

คอมพิวเตอร์โดยตรง

Page 41: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

คุณประโยชน์ของ EHRs

และ Health IT

Page 42: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Class Exercise #2

• ระบบเวชระเบยีนอิเล็กทรอนิกส์ มี

ประโยชน์อย่างไรเมื่อเทียบกับเอกสาร

เวชระเบียนในกระดาษ?

Page 43: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

“Computerize”“Go paperless”

“Digital Hospital”

“Modernize”

“Get an electronic copy

“Have EMRs”

เป้าหมายที่มักมีคนอ้างถึง เพื่อนําระบบ

EHRs/EMRs หรือ Health IT มาใช้งาน

Page 44: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Health IT มีประโยชน์หรือไม่?

(IOM, 2000)

Page 45: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ทําไมเราจึงจําเป็นต้องใช้ Health IT?

• Health care ซับซ้อน และขาดประสิทธิภาพ

• Health care มี information อยู่ทุกหนทุกแห่ง

• คุณภาพการรักษาขึ้นอยู่กบัคณุภาพของข้อมูลผู้ปว่ยและการมีข้อมูลที่

เข้าถึงได้อย่างทันท่วงที

• องค์ความรู้ทางคลินิกมีขนาดใหญ่มาก

• Practice guidelines ถูกวาง “ขึ้นหิ้ง”

• “To err is human”

Page 46: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Image Source: aafp.org

To Err Is Human

• การขาดสมาธิ (Lack of Attention)

Page 47: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ประโยชน์ของการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์

(EHRs)

• ข้อมูลที่เข้าถึงได้ทุกที ่(anytime, anywhere, everyone ที่มีสิทธิเข้าถึง)

• เข้าถึงข้อมูลพร้อมกันได้หลายคน

• หมดยุคของ “เล่มเวชระเบียนผูป้่วยหายไปไหน!!!!!”

• สามารถควบคุมผู้มีสิทธิเข้าถึงข้อมูลได้ดีกว่าการเข้าถึงเลม่เวชระเบียน

• สามารถบังคับให้บันทึกข้อมูลให้ละเอียด ครบถ้วน ได้มาตรฐานได้

• ความสามารถในการแสดงผลข้อมูลทีเ่ข้าใจง่าย เช่น กราฟ

• การป้อนข้อมูลเข้าที่รวดเร็วขึ้น (แตบ่างครั้งก็อาจช้าลงได้เหมือนกัน)

• การปรับปรุงกระบวนการทํางาน หรือ workflow เรียกว่า Process improvement หรือ

business process reengineering/redesign

• ไม่มีลายมือแพทย์!!!!!

Page 48: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

• ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผูป้่วย (Patient Demographics)

• บันทึกประวัติการรักษาของแพทย์ (Physician Notes)

• การสั่งยาผ่านคอมพิวเตอร์ (Computerized Medication Order Entry)

• การสั่ง Lab ผ่านคอมพิวเตอร์ (Computerized Laboratory Order Entry)

• การดูผล Lab ผ่านคอมพิวเตอร์ (Computerized Laboratory Results)

• การบันทึก Problem Lists

• การบันทึก Medication Lists

• การสรุป Discharge Summaries

• การดูผลการทาํ Diagnostic Test ต่างๆ ผ่านคอมพิวเตอร์

• การดูผล X-ray ผ่านคอมพิวเตอร์ (Radiologic Reports)

คุณสมบัติที่มีความสําคัญและควรมีใน HIS

Page 49: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Computerized Physician Order Entry (CPOE)

Functions

• แพทย์สั่ง medication/lab/diagnostic/imaging orders ผ่านคอมพิวเตอร์

• พยาบาลและเภสัชกร ตรวจสอบความเหมาะสมของ orders และรับไปดําเนินการ

• มักถือเป็นส่วนหนึ่งของระบบ EHRs หรือ HIS

ประโยชน์

• ไม่มีลายมือแพทย์ใน Order!!!

• สามารถกําหนดให้ป้อนข้อมูลให้ครบถ้วนได้ (เช่น dose, unit, route, frequency ในการสั่งยา) ลด

โอกาสผิดพลาด

• ไม่มีกระบวนการคัดลอก order (transcription) ลดโอกาสผิดพลาด

• สามารถนําระบบช่วยสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (CDSS) มาช่วยได้ (เช่น ตรวจสอบการแพ้ยา หรือ

drug interactions)

• ช่วยให้กระบวนการจากการสั่ง order ไปจนถึงสิ้นสุดกระบวนการ รวดเร็ว มีการประสานงานร่วมกัน

Page 50: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Computerized Physician Order Entry (CPOE)

Page 51: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

กระบวนการทางยา (Stages of Medication Process)

Ordering Transcription Dispensing Administration

CPOEAutomatic Medication Dispensing

Electronic Medication

Administration Records (e-MAR)

BarcodedMedication

Administration

BarcodedMedication Dispensing

Page 52: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Clinical Decision Support Systems (CDSS)

• ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก (สนับสนุน Clinical Decision Making)

• CDSS มีหลากหลายรูปแบบ

– Expert systems (ทําหน้าที่เป็นผู้เชี่ยวชาญ ตอบคําถามหรือให้ข้อมูลที่ต้องการ)

• ใช้ artificial intelligence, machine learning, ตรรกะ หรือวิธีการทางสถิติ

• ตัวอย่าง: ระบบที่ช่วยให้ differential diagnoses หรือแนะนําแนวทางการรักษา

– Alerts & reminders (การเตือนให้ทําหรือไม่ทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง)

• อาศัยเงื่อนไขตามที่ได้รับการออกแบบ

• ตัวอย่าง: drug-allergy checks, drug-drug interaction checks, drug-lab interaction

checks, reminders for preventive services or certain actions (e.g. smoking

cessation), clinical practice guideline integration

– ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ เช่น ฐานข้อมูลยา (drug database)

– ระบบง่ายๆ ที่ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจ เช่น การ highlight ผล lab ที่ผิดปกติ เป็นต้น

Page 53: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ตัวอย่าง Alerts & Reminders ในชีวิตประจําวัน

Page 54: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Clinical Decision Support Systems (CDSSs)

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN

From a teaching slide by Don Connelly, 2006

Page 55: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Clinical Decision Support Systems (CDSSs)

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIANAbnormal lab

highlights

Page 56: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Clinical Decision Support Systems (CDSSs)

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIANDrug-Allergy

Checks

Page 57: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Clinical Decision Support Systems (CDSSs)

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN Drug-Drug Interaction

Checks

Page 58: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Clinical Decision Support Systems (CDSSs)

External Memory

Knowledge Data

Long Term Memory

Knowledge Data

Inference

DECISION

PATIENT

Perception

Attention

WorkingMemory

CLINICIAN

Diagnostic/Treatment Expert Systems

Page 59: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

ปัญหาจากการใช้ระบบ Clinical Decision

Support Systems (CDSS)

Issues

• Alert sensitivity & alert fatigue

Page 60: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Issues

• ผลที่ไม่พึงประสงค์จากการใช้งาน (Unintended Consequences) เช่น ทาง

ลัด หรือ workarounds ที่ไม่ได้ถูกออกแบบมา

ปัญหาจากการใช้ระบบ Clinical Decision

Support Systems (CDSS)

Page 61: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

The Bigger Picture:Health Information Exchange (HIE)

Hospital A Hospital B

Clinic C

Government

Lab Patient at Home

Page 62: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

• ในโรงพยาบาลมีระบบสารสนเทศหลายระบบ หลายรูปแบบ

• ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (HIS) มักหมายถึง “Front Office”

ที่เกี่ยวข้องกับการบริการผู้ป่วย ของระบบสารสนเทศต่างๆ ใน

โรงพยาบาล

• HIS และ EHRs ถูกใช้เพื่อสนับสนุนกระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วย

สนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก เพิ่มคุณภาพการรักษา และลด

ค่าใช้จ่าย

• HIS และ EHRs เป็นเพียงส่วนหนึ่งของระบบสารสนเทศที่ใช้ใน

ระบบสุขภาพในภาพรวม (ทั้งในและนอกโรงพยาบาล)

สรุป

Page 63: ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล

Questions?