บทบาทตลาดรองฯในภูมิภาคเอเชีย...

2
บทบาทตลาดรองฯในภูมิภาคเอเชีย (ตอนที1) พรนิภา หาชัยภูมิ กรรมการและผู้จัดการ บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย ตอนที่แล้วได้เล่าให้ฟังว่า ตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัยเป็นกลไกใน การระดมเงินจากตลาดทุน (ตลาดตรา สารหนี้) มาให้ตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย โดยการรับซื้อสินเชื่อที่อยู่อาศัยจาก สถาบันการเงินตลาดแรก (ธนาคาร) และนาสินเชื่อนั้นมาหนุนหลังการออก ตราสารหนี้ หรือที่เรียกว่า การแปลง สินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ (Securitization) ทาให้สินเชื่อที่อยูอาศัยมีสภาพคล่องสามารถซื้อขาย เปลี่ยนมือได้ในตลาดรองฯ ผู้ลงทุนมี ตราสารให้เลือกลงทุนได้มากขึ้น และ ระบบสินเชื่อที่อยู่อาศัยมีแหล่งเงิน เพิ่มเติม แทนที่จะพึ่งพิงเฉพาะเงินฝาก ระบบเดียวเท่านั้น ถึงแม้ธุรกรรมตลาด รองฯ ในประเทศไทยจะไม่เป็นที่รู้จัก แพร่หลาย แต่ในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศที่มีระบบการเงินทีก้าวหน้า ธุรกรรมนี้กลับมีบทบาท สาคัญต่อตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัย และ ตลาดตราสารหนี้อย่างมาก เช่น สหรัฐอเมริกา ที่ถือว่าเป็นต้นแบบของ ตลาดรองฯ ทั่วโลก มียอดสินเชื่อที่อยูอาศัยเกินกว่าครึ่งหนึ่งของทั้งระบบไดถูกขายให้องค์กรตลาดรองฯ อย่าง Fannie Mae และ Freddie Mac เพื่อ นาไปออกตราสาร Securitization ทีเรียกว่า Mortgage-Backed Securities (MBS) ถือว่ามีบทบาท อย่างสูงต่อระบบเศรษฐกิจการเงินของ ประเทศและของโลกในภูมิภาคเอเชีย ก็ มีหลายประเทศที่ประสบความสาเร็จ กับธุรกรรมตลาดรองฯ เช่น ญี่ปุ่น มาเลเซีย เกาหลีใต้ เขตการปกครอง พิเศษฮ่องกง ซึ่งแต่ละแห่งก็จะมี เรื่องราวของความสาเร็จแตกต่างกันไป สามารถใช้เป็นกรณีศึกษา เพื่อ พิจารณานามาปรับใช้กับประเทศไทย ได้ Japan Housing Finance Agency (JHF) ตลาดรองฯ ของญี่ปุ่น ถือหุ้น ทั้งหมดโดยรัฐบาลญี่ปุ่น ก่อตั้งในปี 2550 เกิดจากการเปลี่ยนแปลงบทบาท ของ Government Housing Loan Corporation (GHLC) ที่ก่อตั้งมาตั้งแต่ ปี 2493 เนื่องจากญี่ปุ่นต้องการยุติ บทบาทของรัฐในการให้สินเชื่อที่อยูอาศัยแก่ประชาชนโดยตรง โดยได้หัน

Upload: smcorth

Post on 12-Mar-2016

212 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

 

TRANSCRIPT

Page 1: บทบาทตลาดรองฯในภูมิภาคเอเชีย (ตอนที่ 1)

บทบาทตลาดรองฯในภมภาคเอเชย (ตอนท 1)

พรนภา หาชยภม

กรรมการและผจดการ บรรษทตลาดรองสนเชอทอยอาศย

ตอนทแลวไดเลาใหฟงวา ตลาดรองสนเชอทอยอาศยเปนกลไกในการระดมเงนจากตลาดทน (ตลาดตราสารหน) มาใหตลาดสนเชอทอยอาศย โดยการรบซอสนเชอทอยอาศยจากสถาบนการเงนตลาดแรก (ธนาคาร) และน าสนเชอนนมาหนนหลงการออกตราสารหน หรอทเรยกวา “การแปลงสนทรพยเปนหลกทรพย” (Securitization) ท าใหสนเชอทอยอาศยมสภาพคลองสามารถซอขายเปลยนมอไดในตลาดรองฯ ผลงทนมตราสารใหเลอกลงทนไดมากขน และระบบสนเชอทอยอาศยมแหลงเงนเพมเตม แทนทจะพงพงเฉพาะเงนฝากระบบเดยวเทานน ถงแมธรกรรมตลาด

รองฯ ในประเทศไทยจะไมเปนทรจกแพรหลาย แตในหลายประเทศ โดยเฉพาะประเทศทมระบบการเงนทกาวหนา ธรกรรมนกลบมบทบาทส าคญตอตลาดสนเชอทอยอาศย และตลาดตราสารหนอยางมาก เชน สหรฐอเมรกา ทถอวาเปนตนแบบของตลาดรองฯ ทวโลก มยอดสนเชอทอยอาศยเกนกวาครงหนงของทงระบบไดถกขายใหองคกรตลาดรองฯ อยาง Fannie Mae และ Freddie Mac เพอน าไปออกตราสาร Securitization ทเรยกวา Mortgage-Backed

Securities (MBS) ถอวามบทบาทอยางสงตอระบบเศรษฐกจการเงนของประเทศและของโลกในภมภาคเอเชย ก

มหลายประเทศทประสบความส าเรจกบธรกรรมตลาดรองฯ เชน ญปน มาเลเซย เกาหลใต เขตการปกครองพเศษฮองกง ซงแตละแหงกจะมเรองราวของความส าเรจแตกตางกนไป สามารถใชเปนกรณศกษา เพอพจารณาน ามาปรบใชกบประเทศไทยได Japan Housing Finance Agency (JHF) ตลาดรองฯ ของญปน ถอหนทงหมดโดยรฐบาลญปน กอตงในป 2550 เกดจากการเปลยนแปลงบทบาทของ Government Housing Loan Corporation (GHLC) ทกอตงมาตงแตป 2493 เนองจากญปนตองการยตบทบาทของรฐในการใหสนเชอทอยอาศยแกประชาชนโดยตรง โดยไดหน

Page 2: บทบาทตลาดรองฯในภูมิภาคเอเชีย (ตอนที่ 1)

มมมองตลาดรอง 2

2 บทบาทตลาดรองฯในภมภาคเอเชย (ตอนท 1) |

มาท าธรกรรมตลาดรองฯ ไดแก รบซอสนเชอทอยอาศยและท าธรกรรม Securitization เพอใหสถาบนการเงนเอกชนสามารถใหสนเชออตราดอกเบยคงทระยะยาวแกประชาชนไดอยางสม าเสมอ รวมถง เปนผรบประกนความเสยงของสนเชอทอยอาศย (Mortgage Insurance) ใหกบสถาบนการเงนเอกชนดวย Cagamas ตลาดรองฯ ของมาเลเซย กอตงในป 2529 ถอหนโดยธนาคารกลาง 20% ธนาคารพาณชย 17 แหงและธนาคารวานชธนกจ 7 แหง รวม 80% ในชวงเรมตนท าหนาทเปนผใหสภาพคลองใหกบสถาบนการเงน โดยซอสนเชอทอยอาศยแบบมก าหนดขายคน (Purchase with Recourse) เปนหลกประกนในการกยมเงนของสถาบนการเงน ซง Cagamas ไดระดมเงนดวยการออกตราสารหนแบบไมมหลกประกน หลงจากจดตง 18 ป จงเรมท า Securitization และ 21 ป จงเรมซอสนเชอทอยอาศยแบบขายขาด (Purchase without Recourse) รวมทง ไดขยายไปยงสนเชอประเภทอน การเงนตามหลกอสลาม การค าประกนสนเชอทอยอาศย เพอขยายบทบาทขององคกร

Korea Housing Finance Corporation (HF) ตลาดรองฯ ของเกาหลใต กอตงในป 2547 ถอหนโดยรฐบาล 71% ธนาคารกลาง 29% โดยเสนอสนเชออตราดอกเบยคงทระยะยาวตลอดอายสนเชอ ตงแต 10 ป – 30 ป ผานสถาบนการเงนในตลาดแรก 20 แหง และซอกลบมาเพอออกตราสาร Securitization (MBS) รวมถงไดออกตราสาร Covered Bond ซงถอเปนพฒนาการของตลาดทนเอเชยอกหลายรน นอกจากนน ยงไดท าธรกรรมค าประกนสนเชอทอยอาศย และสนเชอทอยอาศยส าหรบผสงอาย (Reverse Mortgage) อกดวย Hong Kong Mortgage Corporation (HKMC) ตลาดรองฯ ของฮองกง กอตงในป 2540 ถอหนทงหมดโดยรฐบาลมการซอทรพยสนทงทเปนสนเชอทอยอาศยและสนเชอประเภทอน ทงจากในฮองกงและตางประเทศ ระดมทนโดยการออกตราสารหนทไมมประกน และตราสาร Securitization ใหการประกนสนเชอทอยอาศยทม Loan-to-Value (LTV) มากกวา 70% ซงในป 2554มยอดสนเชอปลอยใหมภายใตการค าประกนเทากบ 11.5% ของสนเชอทปลอยใหมทงหมด นอกจากนน ยงไดขยายไปยงการค าประกนสนเชอขนาด

กลางและขนาดยอม (SME Financing Guarantee) และการใหสนเชอส าหรบผสงอาย (Reverse Mortgage) ในป 2554 อกดวย

วนน กคงจะเปนการแนะน าตลาดรองฯ ในภมภาคเอเชยคราวๆ ไปกอน ครงหนา จะไดมาเลาใหฟงวาแตละองคกรนนมขนาดของธรกรรมอยางไร มกลยทธหรอปจจยความส าเรจอะไรบาง ท าไมตลาดรองฯ แตละประเทศจงมบทบาทส าคญและความเจรญกาวหนาอยางตอเนอง ทส าคญ บตท. ก าลงจะจดงานสมมนาใหญในชวงเดอนกรกฎาคมปน โดยจะเชญตลาดรองฯ ทเราก าลงพดถงอยนทกประเทศเขามารวมแบงปนประสบการณ และจะเชญผทรงคณวฒของไทยหลายทานทมบทบาทส าคญตอการพฒนาตลาดรองฯ และระบบการเงนของไทยเขารวมแสดงคดเหน จงอยากจะประชาสมพนธใหผอานไดตดตามการสมมนาครงนดวยคะ