ค ำน ำ - pak kret · 2019-09-30 · เรื่อง หน้า -...

670
คำนำ กองวิชาการและแผนงาน ได้จัดพิมพ์หนังสือ รวมกฎหมายเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของเทศบาลนครปากเกร็ด ซึ ่งได้รวบรวมกฎหมาย ระเบียบต่าง ๆ ที่ใช้ในการ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และเพื่อเผยแพร ่ให้ประชาชนตลอดจนผู้สนใจทั่วไปได้ศึกษาค้นคว้า โดย การจัดทาหนังสือรวมกฎหมายในครั ้งนี ้ถือเป็นการจัดทาครั ้งแรกของเทศบาลนครปากเกร็ด อันอาจ มีข้อผิดพลาดปรากฏอยู่หลายประการ กองวิชาการและแผนงานในฐานะเป็นผู้จัดทา จึงต้องขออภัย ไว้ ณ ที่นี ้ด้วย อย่างไรก็ตามกองวิชาการและแผนงานก็ยังหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือรวมกฎหมาย เล่มนี ้จะเป็นประโยชน์แก่เจ ้าหน้าที่ ประชาชน และผู้สนใจทั่วไปได้ใช้เป็นแหล่งข้อมูลในการ ปฏิบัติงานและการศึกษาค้นคว้า อื่น ๆ ตรงตามวัตถุประสงค์ของการจัดทาต่อไป กองวิชำกำรและแผนงำน 4 กันยำยน 2551

Upload: others

Post on 04-Jul-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ค ำน ำ

    กองวิชาการและแผนงาน ได้จัดพิมพ์หนังสือ “รวมกฎหมายเก่ียวกับการปฏิบัติงานของเทศบาลนครปากเกร็ด” ซ่ึงได้รวบรวมกฎหมาย ระเบียบต่าง ๆ ท่ีใช้ในการปฏิบติังานของเจา้หน้าท่ีและเพื่อเผยแพร่ให้ประชาชนตลอดจนผูส้นใจทัว่ไปไดศึ้กษาคน้ควา้ โดยการจดัท าหนงัสือรวมกฎหมายในคร้ังน้ีถือเป็นการจดัท าคร้ังแรกของเทศบาลนครปากเกร็ด อนัอาจมีขอ้ผดิพลาดปรากฏอยูห่ลายประการ กองวิชาการและแผนงานในฐานะเป็นผูจ้ดัท า จึงตอ้งขออภยัไว ้ณ ท่ีน้ีดว้ย อยา่งไรก็ตามกองวิชาการและแผนงานก็ยงัหวงัเป็นอยา่งยิ่งวา่หนงัสือรวมกฎหมายเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์แก่เจา้หน้าท่ี ประชาชน และผูส้นใจทัว่ไปได้ใช้เป็นแหล่งขอ้มูลในการปฏิบติังานและการศึกษาคน้ควา้ อ่ืน ๆ ตรงตามวตัถุประสงคข์องการจดัท าต่อไป กองวชิำกำรและแผนงำน 4 กนัยำยน 2551

  • สารบัญ เร่ือง หน้า

    1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย 1 2. พระราชบญัญติัเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ 114 3. พระราชบญัญติัการเลือกตั้งสมาชิกสภาทอ้งถ่ินหรือผูบ้ริหารทอ้งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๕ 154 4.พระราชบญัญติัระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนทอ้งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ 196 5. พระราชบญัญติัก าหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอ านาจ 216 ใหแ้ก่องคก์รปกครองส่วนทอ้งถ่ิน พ.ศ. ๒๕๔๒ 6. พระราชบญัญติัวธีิปฏิบติัราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ 237 7. พระราชบญัญติัความรับผิดทางละเมิดของเจา้หนา้ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ 261 8. พระราชบญัญติัขอ้มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ 265 9. พระราชบญัญติัการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔ 280 10. พระราชบญัญติับตัรประจ าตวัประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ 299 11. พระราชบญัญติัรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบา้นเมือง 307 พ.ศ. ๒๕๓๕ 12. พระราชบญัญติัภาษีบ ารุงทอ้งท่ี พ.ศ. ๒๕๐๘ 321 13. พระราชบญัญติัภาษีป้าย พ.ศ. ๒๕๑๐ 344 14. พระราชบญัญติัภาษีโรงเรือนและท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๗๕ 360 15. พระราชบญัญติัวา่ดว้ยความผดิเก่ียวกบัการเสนอราคาต่อหน่วยงานของรัฐ 375 พ.ศ. ๒๕๔๒ 16. พระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ 381

    - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๒๖) 425 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๔ (พ.ศ. ๒๕๒๖) 430 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๕ (พ.ศ. ๒๕๒๗) 439 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๗) 441 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๗ (พ.ศ. ๒๕๒๘) 457 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒

  • เร่ือง หน้า - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๒๘) 460 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๒๘) 465 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๘) 474 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๒๘) 476 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๒๑ (พ.ศ. ๒๕๓๒) 478 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๒๓ (พ.ศ.๒๕๓๓) 480 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๒๔ (พ.ศ.๒๕๓๓) 481 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๓๓ (พ.ศ. ๒๕๓๕) 483 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๓๙ (พ.ศ.๒๕๓๗) 503 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๔๑ (พ.ศ.๒๕๓๗) 517 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๔๔ (พ.ศ. ๒๕๓๘) 520 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๔๖ (พ.ศ.๒๕๔๐) 528 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๔๗ (พ.ศ.๒๕๔๐) 533 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๔๓) 539 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒

  • เร่ือง หน้า - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๖๐ (พ.ศ. ๒๕๔๙) 554 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๖๑ (พ.ศ. ๒๕๕๐) 558 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๖๒ (พ.ศ. ๒๕๕๐) 560 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงฉบบัท่ี ๖๓ (พ.ศ. ๒๕๕๑) 562 ออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒ - กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบญัญติัควบคุมการก่อสร้างอาคาร 572 พุทธศกัราช 2479 ซ่ึงบางส่วนยงัใชบ้งัคบัอยูต่ามบทเฉพาะกาล มาตรา 79 แห่งพระราชบญัญติัควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒ ฉบบัท่ี ๗ (พ.ศ.๒๕๑๗) - กฎกระทรวงก าหนดส่ิงท่ีสร้างข้ึนอยา่งอ่ืนเป็นอาคารตามกฎหมาย 577 วา่ดว้ยการควบคุมอาคาร (พ.ศ.๒๕๔๔) - กฎกระทรวงก าหนดบริเวณหา้มก่อสร้าง ดดัแปลง หรือเปล่ียนการใชอ้าคารบางชนิด 579 หรือบางประเภท ในพื้นท่ีบางส่วนในทอ้งท่ีต าบลบางพดู ต าบลปากเกร็ด ต าบลบางตลาด อ าเภอปากเกร็ด และต าบลท่าทราย อ าเภอเมืองนนทบุรี จงัหวดันนทบุรี (พ.ศ.๒๕๔๙) - กฎกระทรวงก าหนดการรับน ้าหนกั ความตา้นทาน ความคงทนของอาคาร 584 และพื้นดินท่ีรองรับอาคารในการตา้นทานแรงสั่นสะเทือนของแผน่ดินไหว (พ.ศ.๒๕๕๐)

    17. พระราชบญัญติัการขดุดินและถมดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ 592 18. พระราชบญัญติัท่ีราชพสัดุ พ.ศ. ๒๕๑๘ 607 19. พระราชบญัญติัการจดัสรรท่ีดิน พ.ศ. ๒๕๔๓ 611 20. พระราชบญัญติัการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕ 634 21. พระราชบญัญติัวา่ดว้ยเขตปลอดภยัในราชการทหาร พ.ศ. ๒๔๗๘ 663

  • 1

    รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย ๑

    ------------------ สมเด็จพระปรมนิทรมหาภูมพิลอดุลยเดช

    สยามนิทราธิราช บรมนาถบพติร ตราไว ้ณ วนัท่ี ๒๔ สิงหาคม พุทธศกัราช ๒๕๕๐

    เป็นปีท่ี ๖๒ ในรัชกาลปัจจุบนั

    ศุภมสัดุ พระพุทธศาสนกาลเป็นอดีตภาค ๒๕๕๐ พรรษา ปัจจุบนัสมยั จนัทรคตินิยม สูกรสมพตัสร สาวนมาส ชุณหปักษ์ เอกาทสีดิถี สุริยคติกาล สิงหาคมมาส จตุวีสติมสุรทินศุกรวาร โดยกาลบริเฉท

    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภู มิพลอดุลยเดช มหิตลาธิ เบศรรามาธิบดี จกัรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้โปรดกระหม่อมใหป้ระกาศว่าประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้น าความกราบบังคมทูลว่า การปกครองของประเทศไทย ในระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขได้ด าเนินวฒันามากว่าเจ็ดสิบห้าปี ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา ไดมี้การประกาศใช้ ยกเลิก และแกไ้ขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญหลายคร้ัง เพื่อให้เหมาะสมแก่สภาวการณ์ของบ้านเมืองและกาลสมัยท่ีเปล่ียนแปลงไป และโดยท่ีรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๔๙ ได้บัญญัติให้มีสภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญข้ึน มีหนา้ท่ีจดัท าร่างรัฐธรรมนูญฉบบัใหม่ทั้งฉบบัส าหรับเป็นแนวทางการปกครองประเทศ โดยใหป้ระชาชนมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นอยา่งกวา้งขวางทุกขั้นตอนและน าความคิดเห็นเหล่านั้นมาเป็นข้อค านึงพิเศษในการยกร่างและพิจารณาแปรญตัติ โดยต่อเน่ืองร่างรัฐธรรมนูญฉบบัท่ีจดัท าใหม่น้ีมีสาระส าคญัเพื่อให้บรรลุวตัถุประสงค์ร่วมกนัของประชาชนชาวไทย ในการธ ารงรักษาไวซ่ึ้งเอกราชและความมั่นคงของชาติ การท านุบ ารุงรักษาศาสนาทุกศาสนา ให้สถิตสถาพร การเทิดทูนพระมหากษตัริยเ์ป็นประมุขและเป็นม่ิงขวญัของชาติ การยึดถือระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุขเป็นวิถีทางในการปกครองประเทศการคุม้ครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ให้ประชาชนมีบทบาทและมีส่วนร่วมในการปกครองและตรวจสอบ

    ๑ ราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๔/ตอนท่ี ๔๗ ก/หนา้ ๑/๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐

    http://images.google.co.th/imgres?imgurl=http://cddweb.cdd.go.th/nakhonpathom/image/newe2_clip_image001.gif&imgrefurl=http://cddweb.cdd.go.th/nakhonpathom/newe2.htm&h=156&w=178&sz=10&hl=th&start=5&um=1&tbnid=D9MPy2HJ6IyIXM:&tbnh=89&tbnw=101&prev=/images%3Fq%3D%25E0%25B8%259E%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B0%25E0%25B8%259A%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25A1%25E0%25B8%25A3%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%258A%25E0%25B9%2582%25E0%25B8%25AD%25E0%25B8%2587%25E0%25B8%2581%25E0%25B8%25B2%25E0%25B8%25A3%26um%3D1%26hl%3Dth%26sa%3DN

  • 2

    การใช้อ านาจรัฐอย่างเป็นรูปธรรม การก าหนดกลไกสถาบันทางการเมืองทั้ งฝ่ายนิติบัญญัติและ ฝ่ายบริหาร ให้มีดุลยภาพและประสิทธิภาพตามวิถีการปกครองแบบรัฐสภา รวมทั้งให้สถาบนัศาลและองค์กรอิสระอ่ืนสามารถปฏิบติัหน้าท่ีได้โดยสุจริต เท่ียงธรรม เม่ือจดัท าร่างรัฐธรรมนูญเสร็จแล้ว สภาร่างรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ให้ประชาชนทราบและจดัให้มีการออกเสียงประชามติ เพื่อให้ความเห็นชอบแก่ร่างรัฐธรรมนูญทั้งฉบบั การออกเสียงลงประชามติปรากฏผลวา่ ประชาชนผูมี้สิทธิเลือกตั้งโดยเสียงข้างมากของผูม้าออกเสียงประชามติเห็นชอบให้น าร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บงัคบั ประธานสภานิติบญัญติัแห่งชาติจึงน าร่างรัฐธรรมนูญข้ึนทูลเกลา้ ทูลกระหม่อมถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย ให้ประกาศใช้เป็นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทยสืบไป ทรงพระราชด าริว่าสมควรพระราชทานพระบรมราชานุมติั ตามมติของมหาชน

    จึงมีพระบรมราชโองการด ารัสเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมให้ตรารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับน้ี ข้ึนไว้ ให้ใช้แทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)พุทธศกัราช ๒๕๔๙ ซ่ึงไดต้ราไว ้ณ วนัท่ี ๑ ตุลาคม พุทธศกัราช ๒๕๔๙ ตั้งแต่วนัประกาศน้ีเป็นตน้ไป

    ขอปวงชนชาวไทย จงมีความสมคัรสโมสรเป็นเอกฉันท์ ในอนัท่ีจะปฏิบติัตามและพิทกัษ์รักษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทยน้ี เพื่อธ ารงคงไวซ่ึ้งระบอบประชาธิปไตยและอ านาจอธิปไตยของปวงชนชาวไทย และน ามาซ่ึงความผาสุกสิริสวสัด์ิพิพัฒนชัยมงคลอเนกศุภผลสกลเกียรติยศสถาพรแก่อาณาประชาราษฎรทั่วสยามรัฐสีมา สมดั่งพระบรมราชปณิธานปรารถนา ทุกประการ เทอญ

    หมวด ๑ บททัว่ไป

    มาตรา ๑ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจกัรอนัหน่ึงอนัเดียว จะแบ่งแยกมิได ้มาตรา ๒ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยท์รง

    เป็นประมุข มาตรา ๓ อ านาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตัริยผ์ูท้รงเป็นประมุข

    ทรงใชอ้ านาจนั้นทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบญัญติัแห่งรัฐธรรมนูญน้ี การปฏิบติัหน้าท่ีของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและ

    หน่วยงานของรัฐ ตอ้งเป็นไปตามหลกันิติธรรม มาตรา ๔ ศกัด์ิศรีความเป็นมนุษย ์สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอ่มไดรั้บ

    ความคุม้ครอง

  • 3

    มาตรา ๕ ประชาชนชาวไทยไม่ว่าเหล่าก าเนิด เพศ หรือศาสนาใด ย่อมอยู่ในความคุม้ครองแห่งรัฐธรรมนูญน้ีเสมอกนั

    มาตรา ๖ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบญัญติัใดของกฎหมาย กฎหรือขอ้บงัคบั ขดัหรือแยง้ต่อรัฐธรรมนูญน้ี บทบญัญติันั้นเป็นอนัใชบ้งัคบัมิได ้

    มาตรา ๗ ในเม่ือไม่มีบทบญัญติัแห่งรัฐธรรมนูญน้ีบงัคบัแก่กรณีใด ใหว้นิิจฉยักรณีนั้นไปตามประเพณีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนัมีพระมหากษตัริยท์รงเป็นประมุข

    หมวด ๒ พระมหากษตัริย์

    มาตรา ๘ องคพ์ระมหากษตัริยท์รงด ารงอยูใ่นฐานะอนัเป็นท่ีเคารพสักการะผูใ้ดจะละเมิด

    มิได ้ผูใ้ดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษตัริยใ์นทางใดๆ มิได ้มาตรา ๙ พระมหากษตัริยท์รงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอคัรศาสนูปถมัภก มาตรา ๑๐ พระมหากษตัริยท์รงด ารงต าแหน่งจอมทพัไทย มาตรา ๑๑ พระมหากษตัริยท์รงไวซ่ึ้งพระราชอ านาจท่ีจะสถาปนาฐานนัดรศกัด์ิและ

    พระราชทานเคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ มาตรา ๑๒ พระมหากษตัริยท์รงเลือกและทรงแต่งตั้งผูท้รงคุณวฒิุเป็นประธานองคมนตรี

    คนหน่ึงและองคมนตรีอ่ืนอีกไม่เกินสิบแปดคนประกอบเป็นคณะองคมนตรี คณะองคมนตรี มีหน้าท่ีถวายความเห็นต่อพระมหากษัตริย์ในพระราชกรณียกิจ

    ทั้งปวงท่ีพระมหากษตัริยท์รงปรึกษา และมีหนา้ท่ีอ่ืนตามท่ีบญัญติัในรัฐธรรมนูญน้ี มาตรา ๑๓ การเลือกและแต่งตั้งองคมนตรีหรือการให้องคมนตรีพน้จากต าแหน่งให้เป็นไป

    ตามพระราชอธัยาศยั ให้ประธานรัฐสภาเป็นผู ้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้ งประธาน

    องคมนตรีหรือใหป้ระธานองคมนตรีพน้จากต าแหน่ง ให้ประธานองคมนตรีเป็นผูล้งนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งองคมนตรีอ่ืน

    หรือใหอ้งคมนตรีอ่ืนพน้จากต าแหน่ง มาตรา ๑๔ องคมนตรีตอ้งไม่เป็นสมาชิกสภาผูแ้ทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา กรรมการ

    การเลือกตั้ง ผูต้รวจการแผ่นดิน กรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ตุลาการ ศาลปกครอง กรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ กรรมการตรวจเงินแผ่นดิน

  • 4

    ขา้ราชการ ซ่ึงมีต าแหน่งหรือเงินเดือนประจ า พนกังานรัฐวิสาหกิจ เจา้หน้าท่ีอ่ืนของรัฐ หรือสมาชิกหรือเจา้หนา้ท่ีของพรรคการเมือง และตอ้งไม่แสดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมืองใดๆ

    มาตรา ๑๕ ก่อนเขา้รับหน้าท่ี องคมนตรีตอ้งถวายสัตยป์ฏิญาณต่อพระมหากษตัริย ์ ดว้ยถอ้ยค า ดงัต่อไปน้ี

    “ขา้พระพุทธเจา้ (ช่ือผูป้ฏิญาณ) ขอถวายสัตยป์ฏิญาณวา่ ขา้พระพุทธเจา้จะจงรักภกัดีต่อพระมหากษัตริย ์และจะปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชน ทั้งจะรักษาไวแ้ละปฏิบติัตามซ่ึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทยทุกประการ”

    มาตรา ๑๖ องคมนตรีพน้จากต าแหน่งเม่ือตาย ลาออก หรือมีพระบรมราชโองการใหพ้น้จากต าแหน่ง

    มาตรา ๑๗ การแต่งตั้งและการใหข้า้ราชการในพระองคแ์ละสมุหราชองครักษพ์น้จากต าแหน่ง ให้เป็นไปตามพระราชอธัยาศยั

    มาตรา ๑๘ ในเม่ือพระมหากษตัริยจ์ะไม่ประทบัอยูใ่นราชอาณาจกัร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระไม่ไดด้ว้ยเหตุใดก็ตาม จะไดท้รงแต่งตั้งผูใ้ดผูห้น่ึงเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค ์และใหป้ระธานรัฐสภาเป็นผูล้งนามรับสนองพระบรมราชโองการ

    มาตรา ๑๙ ในกรณีท่ีพระมหากษตัริยมิ์ไดท้รงแต่งตั้งผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคต์ามมาตรา ๑๘ หรือในกรณีท่ีพระมหากษตัริยไ์ม่สามารถทรงแต่งตั้งผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคเ์พราะยงัไม่ทรงบรรลุนิติภาวะหรือเพราะเหตุอ่ืน ใหค้ณะองคมนตรีเสนอช่ือผูใ้ดผูห้น่ึงซ่ึงสมควรด ารงต าแหน่งผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคต่์อรัฐสภาเพื่อขอความเห็นชอบ เม่ือรัฐสภาใหค้วามเห็นชอบแลว้ให้ประธานรัฐสภาประกาศในพระปรมาภิไธยพระมหากษตัริย ์แต่งตั้งผูน้ั้นเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค ์

    ในระหว่างท่ีสภาผูแ้ทนราษฎรส้ินอายุหรือสภาผูแ้ทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภาท าหนา้ท่ีรัฐสภาในการใหค้วามเห็นชอบตามวรรคหน่ึง

    มาตรา ๒๐ ในระหวา่งท่ีไม่มีผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคต์ามท่ีบญัญติัไวใ้นมาตรา๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ใหป้ระธานองคมนตรีเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคเ์ป็นการชัว่คราวไปพลางก่อน

    ในกรณีท่ีผู ้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ ซ่ึงได้รับการแต่งตั้ งตามมาตรา ๑๘ หรือ มาตรา ๑๙ ไม่สามารถปฏิบติัหนา้ท่ีได ้ให้ประธานองคมนตรีท าหนา้ท่ีผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคเ์ป็นการชัว่คราวไปพลางก่อน

    ในระหว่างท่ีประธานองคมนตรีเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคหน่ึงหรือในระหว่างท่ีประธานองคมนตรีท าหน้าท่ีผู ้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคสอง ประธานองคมนตรีจะปฏิบติัหน้าท่ีในฐานะเป็นประธานองคมนตรีมิได้ ในกรณีเช่นว่าน้ี ให้คณะองคมนตรี เลือกองคมนตรีคนหน่ึงข้ึนท าหนา้ท่ีประธานองคมนตรีเป็นการชัว่คราวไปพลางก่อน

    มาตรา ๒๑ ก่อนเขา้รับหนา้ท่ี ผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคซ่ึ์งไดรั้บการแต่งตั้งตามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ ตอ้งปฏิญาณตนในท่ีประชุมรัฐสภาดว้ยถอ้ยค า ดงัต่อไปน้ี

  • 5

    “ข้าพเจ้า (ช่ือผูป้ฏิญาณ) ขอปฏิญาณว่า ข้าพเจ้าจะจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย ์ (พระปรมาภิไธย) และจะปฏิบติัหนา้ท่ีดว้ยความซ่ือสัตยสุ์จริต เพื่อประโยชน์ของประเทศและประชาชนทั้งจะรักษาไวแ้ละปฏิบติัตามซ่ึงรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทยทุกประการ”

    ในระหว่างท่ีสภาผู ้แทนราษฎรส้ินอายุหรือสภาผู ้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภา ท าหนา้ท่ีรัฐสภาตามมาตราน้ี

    มาตรา ๒๒ ภายใตบ้งัคบัมาตรา ๒๓ การสืบราชสมบติัใหเ้ป็นไปโดยนยัแห่งกฎมณเฑียรบาลวา่ดว้ยการสืบราชสันตติวงศ ์พระพุทธศกัราช ๒๔๖๗

    การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ เป็นพระราชอ านาจของพระมหากษัตริยโ์ดยเฉพาะ เม่ือมีพระราชด าริประการใด ให้คณะองคมนตรีจดัท าร่างกฎมณเฑียรบาลแกไ้ขเพิ่มเติม กฎมณเฑียรบาลเดิมข้ึนทูลเกลา้ทูลกระหม่อมถวายเพื่อมีพระราชวินิจฉัย เม่ือทรงเห็นชอบและทรงลงพระปรมาภิไธยแล้ว ให้ประธานองคมนตรีด าเนินการแจง้ประธานรัฐสภาเพื่อให้ประธานรัฐสภาแจง้ให้รัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ และเม่ือได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้วให้ใช้บังคับเป็นกฎหมายได ้

    ในระหว่างท่ีสภาผู ้แทนราษฎรส้ินอายุหรือสภาผู ้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภา ท าหนา้ท่ีรัฐสภาในการรับทราบตามวรรคสอง

    มาตรา ๒๓ ในกรณีท่ีราชบลัลงัก์หากวา่งลงและเป็นกรณีท่ีพระมหากษตัริยไ์ดท้รงแต่งตั้งพระรัชทายาทไวต้ามกฎมณเฑียรบาลว่าดว้ยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศกัราช ๒๔๖๗ แล้วให้คณะรัฐมนตรีแจง้ให้ประธานรัฐสภาทราบ และให้ประธานรัฐสภาเรียกประชุมรัฐสภา เพื่อรับทราบและให้ประธานรัฐสภาอญัเชิญองค์พระรัชทายาทข้ึนทรงราชย์เป็นพระมหากษัตริยสื์บไป แล้วให้ประธานรัฐสภาประกาศใหป้ระชาชนทราบ

    ในกรณีท่ีราชบัลลังก์หากว่างลงและเป็นกรณีท่ีพระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้ ง พระรัชทายาทไวต้ามวรรคหน่ึง ให้คณะองคมนตรีเสนอพระนามผูสื้บราชสันตติวงศ์ตามมาตรา๒๒ ต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอต่อรัฐสภาเพื่อรัฐสภาให้ความเห็นชอบ ในการน้ี จะเสนอพระนาม พระราชธิดาก็ได ้เม่ือรัฐสภาให้ความเห็นชอบแลว้ ให้ประธานรัฐสภาอญัเชิญองค์ผูสื้บราชสันตติวงศ์ข้ึนทรงราชยเ์ป็นพระมหากษตัริยสื์บไป แลว้ใหป้ระธานรัฐสภาประกาศใหป้ระชาชนทราบ

    ในระหว่างท่ีสภาผู ้แทนราษฎรส้ินอายุหรือสภาผู ้แทนราษฎรถูกยุบ ให้วุฒิสภา ท าหนา้ท่ีรัฐสภาในการรับทราบตามวรรคหน่ึงหรือใหค้วามเห็นชอบตามวรรคสอง

    มาตรา ๒๔ ในระหวา่งท่ียงัไม่มีประกาศอญัเชิญองค์พระรัชทายาทหรือองค์ผูสื้บราชสันตติวงศข้ึ์นทรงราชยเ์ป็นพระมหากษตัริยต์ามมาตรา ๒๓ ให้ประธานองคมนตรีเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์เป็นการชั่วคราวไปพลางก่อน แต่ในกรณีท่ีราชบลัลังก์ว่างลงในระหว่างท่ีได้แต่งตั้ งผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์ไวต้ามมาตรา ๑๘ หรือมาตรา ๑๙ หรือระหวา่งเวลาท่ีประธานองคมนตรี

  • 6

    เป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์ตามมาตรา ๒๐ วรรคหน่ึง ให้ผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์นั้นๆ แล้วแต่กรณี เป็นผู ้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไป ทั้ งน้ี จนกว่าจะได้ประกาศอัญเชิญองค ์ พระรัชทายาทหรือองคผ์ูสื้บราชสันตติวงศข้ึ์นทรงราชยเ์ป็นพระมหากษตัริย ์

    ในกรณีท่ีผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคซ่ึ์งไดรั้บการแต่งตั้งไวแ้ละเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์ต่อไปตามวรรคหน่ึงไม่สามารถปฏิบติัหน้าท่ีได้ ให้ประธานองคมนตรีท าหน้าท่ีผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคเ์ป็นการชัว่คราวไปพลางก่อน

    ในกรณีท่ีประธานองคมนตรีเป็นผูส้ าเร็จราชการแทนพระองค์ตามวรรคหน่ึงหรือ ท าหนา้ท่ีผูส้ าเร็จราชการแทนพระองคเ์ป็นการชัว่คราวตามวรรคสอง ใหน้ าบทบญัญติัมาตรา ๒๐ วรรคสามมาใชบ้งัคบั

    มาตรา ๒๕ ในกรณีท่ีคณะองคมนตรีจะตอ้งปฏิบติัหน้าท่ีตามมาตรา ๑๙ หรือ มาตรา ๒๓ วรรคสอง หรือประธานองคมนตรีจะตอ้งปฏิบติัหน้าท่ีตามมาตรา ๒๐ วรรคหน่ึง หรือวรรคสอง หรือมาตรา ๒๔ วรรคสอง และอยู่ในระหว่างท่ีไม่มีประธานองคมนตรีหรือมีแต่ไม่สามารถปฏิบติัหน้าท่ีได้ให้คณะองคมนตรีท่ีเหลืออยู่เลือกองคมนตรีคนหน่ึงเพื่อท าหน้าท่ีประธานองคมนตรี หรือปฏิบติัหนา้ท่ีตามมาตรา ๒๐ วรรคหน่ึงหรือวรรคสอง หรือตามมาตรา ๒๔ วรรคสาม แลว้แต่กรณี

    หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย

    --------------------- ส่วนที ่๑ บททัว่ไป

    มาตรา ๒๖ การใช้อ านาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ตอ้งค านึงถึงศกัด์ิศรีความเป็น

    มนุษย ์สิทธิและเสรีภาพ ตามบทบญัญติัแห่งรัฐธรรมนูญน้ี มาตรา ๒๗ สิทธิและเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญน้ีรับรองไวโ้ดยชดัแจง้ โดยปริยายหรือโดย

    ค าวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ย่อมไดรั้บความคุม้ครองและผกูพนัรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญ และหน่วยงานของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การใช้บงัคบักฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง

    มาตรา ๒๘ บุคคลยอ่มอา้งศกัด์ิศรีความเป็นมนุษยห์รือใชสิ้ทธิและเสรีภาพของตนได้เท่าท่ีไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน ไม่เป็นปฏิปักษต่์อรัฐธรรมนูญ หรือไม่ขดัต่อศีลธรรมอนัดีของประชาชน

  • 7

    บุคคลซ่ึงถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญน้ีรับรองไว ้สามารถยกบทบญัญติัแห่งรัฐธรรมนูญน้ีเพื่อใชสิ้ทธิทางศาลหรือยกข้ึนเป็นขอ้ต่อสู้คดีในศาลได ้

    บุคคลยอ่มสามารถใชสิ้ทธิทางศาลเพื่อบงัคบัให้รัฐตอ้งปฏิบติัตามบทบญัญติัในหมวดน้ีไดโ้ดยตรงหากการใช้สิทธิและเสรีภาพในเร่ืองใดมีกฎหมายบญัญติัรายละเอียดแห่งการใช้สิทธิและเสรีภาพตามท่ีรัฐธรรมนูญน้ีรับรองไวแ้ลว้ ให้การใชสิ้ทธิและเสรีภาพในเร่ืองนั้นเป็นไปตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการส่งเสริม สนับสนุน และช่วยเหลือจากรัฐ ในการใช้สิทธิตามความในหมวดน้ี

    มาตรา ๒๙ การจ ากดัสิทธิและเสรีภาพของบุคคลท่ีรัฐธรรมนูญรับรองไว ้จะกระท ามิไดเ้วน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อการท่ีรัฐธรรมนูญน้ีก าหนดไวแ้ละเท่าท่ีจ าเป็น และจะกระทบกระเทือนสาระส าคญัแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได ้

    กฎหมายตามวรรคหน่ึงตอ้งมีผลใช้บงัคบัเป็นการทัว่ไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บงัคบัแก่กรณีใดกรณีหน่ึงหรือแก่บุคคลใดบุคคลหน่ึงเป็นการเจาะจง ทั้งตอ้งระบุบทบญัญติัแห่งรัฐธรรมนูญท่ีใหอ้ านาจในการตรากฎหมายนั้นดว้ย

    บทบญัญติัในวรรคหน่ึงและวรรคสองให้น ามาใช้บงัคบักบักฎท่ีออกโดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมายดว้ยโดยอนุโลม

    ส่วนที ่๒ ความเสมอภาค

    มาตรา ๓๐ บุคคลยอ่มเสมอกนัในกฎหมายและไดรั้บความคุม้ครองตามกฎหมาย เท่าเทียมกนั ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกนั การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่างในเร่ือง

    ถ่ินก าเนิด เช้ือชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคลฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเช่ือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอนัไม่ขดัต่อบทบญัญติัแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระท ามิได ้

    มาตรการท่ีรัฐก าหนดข้ึนเพื่อขจดัอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใชสิ้ทธิและเสรีภาพไดเ้ช่นเดียวกบับุคคลอ่ืน ยอ่มไม่ถือเป็นการเลือกปฏิบติัโดยไม่เป็นธรรมตามวรรคสาม

  • 8

    มาตรา ๓๑ บุคคลผูเ้ป็นทหาร ต ารวจ ขา้ราชการ เจา้หน้าท่ีอ่ืนของรัฐ และพนักงานหรือลูกจา้งขององคก์รของรัฐ ยอ่มมีสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเช่นเดียวกบับุคคลทัว่ไป เวน้แต่ท่ีจ ากดัไวใ้นกฎหมายหรือกฎท่ีออกโดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมายเฉพาะในส่วนท่ีเก่ียวกบัการเมือง สมรรถภาพ วนิยั หรือจริยธรรม

    ส่วนที ่๓ สิทธิและเสรีภาพส่วนบุคคล

    มาตรา ๓๒ บุคคลยอ่มมีสิทธิและเสรีภาพในชีวติและร่างกาย การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรมจะ

    กระท ามิไดแ้ต่การลงโทษตามค าพิพากษาของศาลหรือตามท่ีกฎหมายบญัญติัไม่ถือว่าเป็นการลงโทษดว้ยวธีิการโหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรมตามความในวรรคน้ี

    การจบัและการคุมขงับุคคล จะกระท ามิได ้เวน้แต่มีค าสั่งหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยา่งอ่ืนตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    การคน้ตวับุคคลหรือการกระท าใดอนักระทบต่อสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระท ามิไดเ้วน้แต่มีเหตุตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    ในกรณีท่ีมีการกระท าซ่ึงกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพตามวรรคหน่ึง ผู้เสียหายพนักงานอยัการหรือบุคคลอ่ืนใดเพื่อประโยชน์ของผูเ้สียหาย มีสิทธิร้องต่อศาลเพื่อให้สั่งระงบัหรือ เพิกถอนการกระท าเช่นว่านั้น รวมทั้งจะก าหนดวิธีการตามสมควรหรือการเยียวยาความเสียหายท่ีเกิดข้ึนดว้ยก็ได ้

    มาตรา ๓๓ บุคคลยอ่มมีเสรีภาพในเคหสถาน บุคคลย่อมได้รับความคุ้มครองในการท่ีจะอยู่อาศัยและครอบครองเคหสถาน

    โดยปกติสุข การเขา้ไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูค้รอบครอง หรือการตรวจคน้

    เคหสถานหรือในท่ีรโหฐาน จะกระท ามิได้ เวน้แต่มีค าสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอ่ืน ตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถ่ินท่ีอยู่ภายในราชอาณาจกัร

    การจ ากดัเสรีภาพตามวรรคหน่ึง จะกระท ามิได ้เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือสวสัดิภาพของประชาชน การผงัเมือง หรือเพื่อสวสัดิภาพของผูเ้ยาว ์

  • 9

    การเนรเทศบุคคลผูมี้สัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจกัร หรือห้ามมิให้บุคคลผูมี้สัญชาติไทยเขา้มาในราชอาณาจกัร จะกระท ามิได ้

    มาตรา ๓๕ สิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ช่ือเสียง ตลอดจนความเป็นอยู่ส่วนตวัยอ่มไดรั้บความคุม้ครอง

    การกล่าวหรือไขข่าวแพร่หลายซ่ึงขอ้ความหรือภาพไม่วา่ดว้ยวิธีใดไปยงัสาธารณชน อนัเป็นการละเมิดหรือกระทบถึงสิทธิของบุคคลในครอบครัว เกียรติยศ ช่ือเสียง หรือความเป็นอยู่ส่วนตวัจะกระท ามิได ้เวน้แต่กรณีท่ีเป็นประโยชน์ต่อสาธารณะ

    บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับความคุม้ครองจากการแสวงประโยชน์โดยมิชอบจากขอ้มูลส่วนบุคคลท่ีเก่ียวกบัตน ทั้งน้ี ตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    มาตรา ๓๖ บุคคลยอ่มมีเสรีภาพในการส่ือสารถึงกนัโดยทางท่ีชอบดว้ยกฎหมาย การตรวจ การกกั หรือการเปิดเผยส่ิงส่ือสารท่ีบุคคลมีติดต่อถึงกนั รวมทั้ง การกระท า

    ดว้ยประการอ่ืนใดเพื่อให้ล่วงรู้ถึงขอ้ความในส่ิงส่ือสารทั้งหลายท่ีบุคคลมีติดต่อถึงกนั จะกระท ามิได้เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อรักษาความมัน่คงของรัฐ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนัดีของประชาชน

    มาตรา ๓๗ บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ในการถือศาสนา นิกายของศาสนาหรือลทัธินิยมในทางศาสนา และยอ่มมีเสรีภาพในการปฏิบติัตามศาสนธรรม ศาสนบญัญติั หรือปฏิบติัพิธีกรรมตามความเช่ือถือของตน เม่ือไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อหน้าท่ีของพลเมืองและไม่เป็นการขดัต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนัดีของประชาชน

    ในการใชเ้สรีภาพตามวรรคหน่ึง บุคคลยอ่มไดรั้บความคุม้ครองมิใหรั้ฐกระท าการใดๆ อนัเป็นการรอนสิทธิหรือเสียประโยชน์อนัควรมีควรได้ เพราะเหตุท่ีถือศาสนา นิกายของศาสนา ลทัธินิยมในทางศาสนาหรือปฏิบติัตามศาสนธรรม ศาสนบญัญัติ หรือปฏิบติัพิธีกรรมตามความเช่ือถือ แตกต่างจากบุคคลอ่ืน

    มาตรา ๓๘ การเกณฑ์แรงงานจะกระท ามิได้ เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการป้องปัดภยัพิบติัสาธารณะอนัมีมาเป็นการฉุกเฉิน หรือโดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมายซ่ึงให้กระท าไดใ้นระหวา่งเวลาท่ีประเทศอยู่ในภาวะสงครามหรือการรบ หรือในระหวา่งเวลาท่ีมีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหรือประกาศใชก้ฎอยัการศึก

  • 10

    ส่วนที ่๔ สิทธิในกระบวนการยุติธรรม

    มาตรา ๓๙ บุคคลไม่ตอ้งรับโทษอาญา เวน้แต่ไดก้ระท าการอนักฎหมายท่ีใชอ้ยูใ่นเวลาท่ีกระท านั้นบญัญติัเป็นความผดิและก าหนดโทษไว ้และโทษท่ีจะลงแก่บุคคลนั้นจะหนกักวา่โทษท่ีก าหนดไวใ้นกฎหมายท่ีใชอ้ยูใ่นเวลาท่ีกระท าความผดิมิได ้

    ในคดีอาญา ตอ้งสันนิษฐานไวก่้อนวา่ผูต้อ้งหาหรือจ าเลยไม่มีความผดิ ก่อนมีค าพิพากษาอนัถึงท่ีสุดแสดงวา่บุคคลใดไดก้ระท าความผิด จะปฏิบติัต่อบุคคล

    นั้นเสมือนเป็นผูก้ระท าความผดิมิได ้มาตรา ๔๐ บุคคลยอ่มมีสิทธิในกระบวนการยติุธรรม ดงัต่อไปน้ี (๑) สิทธิเขา้ถึงกระบวนการยติุธรรมไดโ้ดยง่าย สะดวก รวดเร็ว และทัว่ถึง (๒) สิทธิพื้นฐานในกระบวนพิจารณา ซ่ึงอย่างน้อยต้องมีหลักประกันขั้นพื้นฐาน

    เร่ือง การได้รับการพิจารณาโดยเปิดเผย การได้รับทราบข้อเท็จจริงและตรวจเอกสารอย่างเพียงพอ การเสนอขอ้เทจ็จริง ขอ้โตแ้ยง้ และพยานหลกัฐานของตน การคดัคา้นผูพ้ิพากษาหรือตุลาการ การไดรั้บการพิจาณาโดยผูพ้ิพากษาหรือตุลาการท่ีนั่งพิจาณาคดีครบองค์คณะ และการได้รับทราบเหตุผลประกอบค าวนิิจฉยั ค าพิพากษา หรือค าสั่ง

    (๓) บุคคลยอ่มมีสิทธิท่ีจะใหค้ดีของตนไดรั้บการพิจารณาอยา่งถูกตอ้ง รวดเร็วและเป็นธรรม

    (๔) ผูเ้สียหาย ผูต้้องหา โจทก์ จ าเลย คู่กรณี ผูมี้ส่วนได้เสีย หรือพยานในคดีมีสิทธิได้รับการปฏิบติัท่ีเหมาะสมในการด าเนินการตามกระบวนการยุติธรรม รวมทั้ งสิทธิในการได้รับ การสอบสวนอยา่งถูกตอ้ง รวดเร็ว เป็นธรรม และการไม่ใหถ้อ้ยค าเป็นปฏิปักษต่์อตนเอง

    (๕) ผูเ้สียหาย ผูต้้องหา จ าเลย และพยานในคดีอาญา มีสิทธิได้รับความคุ้มครอง และความช่วยเหลือท่ีจ าเป็นและเหมาะสมจากรัฐ ส่วนค่าตอบแทน ค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายท่ีจ าเป็น ใหเ้ป็นไปตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    (๖) เด็ก เยาวชน สตรี ผูสู้งอายุ หรือผูพ้ิการหรือทุพพลภาพ ย่อมมีสิทธิได้รับความคุม้ครองในการด าเนินกระบวนพิจารณาคดีอยา่งเหมาะสม และยอ่มมีสิทธิไดรั้บการปฏิบติัท่ีเหมาะสมในคดีท่ีเก่ียวกบัความรุนแรงทางเพศ

    (๗) ในคดีอาญา ผูต้อ้งหาหรือจ าเลยมีสิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดี ท่ีถูกตอ้งรวดเร็ว และเป็นธรรม โอกาสในการต่อสู้คดีอย่างเพียงพอ การตรวจสอบหรือได้รับทราบพยานหลกัฐานตามสมควร การไดรั้บความช่วยเหลือในทางคดีจากทนายความ และการไดรั้บการปล่อยตวัชัว่คราว

    (๘) ในคดีแพง่ บุคคลมีสิทธิไดรั้บความช่วยเหลือทางกฎหมายอยา่งเหมาะสมจากรัฐ

  • 11

    ส่วนที ่๕ สิทธิในทรัพย์สิน

    มาตรา ๔๑ สิทธิของบุคคลในทรัพยสิ์นย่อมได้รับความคุม้ครอง ขอบเขตแห่งสิทธิ

    และการจ ากดัสิทธิเช่นวา่น้ียอ่มเป็นไปตามท่ีกฎหมายบญัญติั การสืบมรดกย่อมได้รับความคุม้ครอง สิทธิของบุคคลในการสืบมรดกย่อมเป็นไป

    ตามท่ีกฎหมายบญัญติั มาตรา ๔๒ การเวนคืนอสังหาริมทรัพย์จะกระท ามิได้ เว ้นแต่โดยอาศัยอ านาจ

    ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะกิจการของรัฐเพื่อการอนัเป็นสาธารณูปโภค การอนัจ าเป็นใน การป้องกันประเทศ การได้มาซ่ึงทรัพยากรธรรมชาติ การผงัเมือง การส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอ้ม การพฒันาการเกษตรหรือการอุตสาหกรรม การปฏิรูปท่ีดิน การอนุรักษโ์บราณสถานและแหล่งทางประวติัศาสตร์ หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอย่างอ่ืน และตอ้งชดใช้ค่าทดแทนท่ีเป็นธรรมภายในเวลาอนัควรแก่เจา้ของตลอดจนผูท้รงสิทธิบรรดาท่ีไดรั้บความเสียหายจากการเวนคืนนั้น ทั้งน้ี ตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    การก าหนดค่าทดแทนตามวรรคหน่ึงตอ้งก าหนดใหอ้ยา่งเป็นธรรมโดยค านึงถึงราคาท่ีซ้ือขายกนัตามปกติในทอ้งตลาด การไดม้า สภาพและท่ีตั้งของอสังหาริมทรัพย ์ความเสียหายของผูถู้กเวนคืนและประโยชน์ท่ีรัฐและผูถู้กเวนคืนไดรั้บจากการใชส้อยอสังหาริมทรัพยท่ี์ถูกเวนคืน

    กฎหมายเวนคืนอสังหาริมทรัพยต์อ้งระบุวตัถุประสงค์แห่งการเวนคืนและก าหนดระยะเวลาการเข้าใช้อสังหาริมทรัพยไ์วใ้ห้ชัดแจง้ ถ้ามิได้ใช้เพื่อการนั้นภายในระยะเวลาท่ีก าหนดดงักล่าวตอ้งคืนใหเ้จา้ของเดิมหรือทายาท

    การคืนอสังหาริมทรัพยใ์ห้เจา้ของเดิมหรือทายาทตามวรรคสาม และการเรียกคืนค่าทดแทนท่ีชดใชไ้ป ใหเ้ป็นไปตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    ส่วนที ่๖ สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ

    มาตรา ๔๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการ

    แข่งขนัโดยเสรีอยา่งเป็นธรรม การจ ากดัเสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระท ามิได ้เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติั

    แห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุ้มครองประชาชนในด้านสาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนัดีของ

  • 12

    ประชาชนการจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การคุ้มครองผู ้บ ริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือส่ิงแวดล้อม สวสัดิภาพของประชาชน หรือเพื่อป้องกนัการผูกขาดหรือขจดัความไม่เป็นธรรมในการแข่งขนั

    มาตรา ๔๔ บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวสัดิภาพใน การท างานรวมทั้งหลกัประกนัในการด ารงชีพทั้งในระหวา่งการท างานและเม่ือพน้ภาวะการท างานทั้งน้ี ตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    ส่วนที ่๗ เสรีภาพในการแสดงความคดิเห็นของบุคคลและส่ือมวลชน

    มาตรา ๔๕ บุคคลยอ่มมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ ์

    การโฆษณา และการส่ือความหมายโดยวธีิอ่ืน การจ ากดัเสรีภาพตามวรรคหน่ึงจะกระท ามิได ้เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติั

    แห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อรักษาความมัน่คงของรัฐ เพื่อคุม้ครองสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศ ช่ือเสียง สิทธิในครอบครัวหรือความเป็นอยู่ส่วนตวัของบุคคลอ่ืน เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอนัดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกนัหรือระงบัความเส่ือมทรามทางจิตใจหรือสุขภาพของประชาชน

    การสั่งปิดกิจการหนังสือพิมพ์หรือส่ือมวลชนอ่ืนเพื่อลิดรอนเสรีภาพตามมาตราน้ี จะกระท ามิได ้

    การห้ามหนงัสือพิมพห์รือส่ือมวลชนอ่ืนเสนอข่าวสารหรือแสดงความคิดเห็นทั้งหมดหรือบางส่วน หรือการแทรกแซงดว้ยวธีิการใดๆ เพื่อลิดรอนเสรีภาพตามมาตราน้ี จะกระท ามิได ้เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมายซ่ึงไดต้ราข้ึนตามวรรคสอง

    การให้น าข่าวหรือบทความไปให้เจา้หน้าท่ีตรวจก่อนน าไปโฆษณาในหนงัสือพิมพ์หรือส่ือมวลชนอ่ืน จะกระท ามิได ้เวน้แต่จะกระท าในระหวา่งเวลาท่ีประเทศอยูใ่นภาวะสงครามแต่ทั้งน้ีจะตอ้งกระท าโดยอาศยัอ านาจตามบทบญัญติัแห่งกฎหมายซ่ึงไดต้ราข้ึนตามวรรคสอง

    เจา้ของกิจการหนงัสือพิมพห์รือส่ือมวลชนอ่ืนตอ้งเป็นบุคคลสัญชาติไทย การให้เงินหรือทรัพย์สินอ่ืนเพื่ออุดหนุนกิจการหนังสือพิมพ์หรือส่ือมวลชนอ่ืน

    ของเอกชนรัฐจะกระท ามิได ้มาตรา ๔๖ พนักงานหรือลูกจ้างของเอกชนท่ีประกอบกิจการหนังสือพิมพ์

    วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศัน์ หรือส่ือมวลชนอ่ืน ย่อมมีเสรีภาพในการเสนอข่าวและแสดงความคิดเห็นภายใตข้อ้จ ากดัตามรัฐธรรมนูญ โดยไม่ตกอยู่ภายใตอ้าณัติของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ

  • 13

    รัฐวิสาหกิจ หรือเจา้ของกิจการนั้น แต่ตอ้งไม่ขดัต่อจริยธรรมแห่งการประกอบวชิาชีพและมีสิทธิจดัตั้งองคก์รเพื่อปกป้องสิทธิ เสรีภาพและความเป็นธรรม รวมทั้งมีกลไกควบคุมกนัเองขององคก์รวชิาชีพ

    ขา้ราชการ พนกังาน หรือลูกจา้งของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ หรือรัฐวสิาหกิจในกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศัน์ หรือส่ือมวลชนอ่ืน ยอ่มมีเสรีภาพเช่นเดียวกบัพนกังานหรือลูกจา้งของเอกชนตามวรรคหน่ึง

    การกระท าใดๆ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมของผูด้ ารงต าแหน่งทางการเมืองเจา้หน้าท่ีของรัฐ หรือเจา้ของกิจการ อนัเป็นการขดัขวางหรือแทรกแซงการเสนอข่าวหรือแสดงความคิดเห็นในประเด็นสาธารณะของบุคคลตามวรรคหน่ึงหรือวรรคสอง ให้ถือว่าเป็นการจงใจใช้อ านาจหนา้ท่ีโดยมิชอบและไม่มีผลใชบ้งัคบั เวน้แต่เป็นการกระท าเพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายหรือจริยธรรมแห่งการประกอบวชิาชีพ

    มาตรา ๔๗ คล่ืนความถ่ี ท่ี ใช้ในการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ และโทรคมนาคมเป็นทรัพยากรส่ือสารของชาติเพื่อประโยชน์สาธารณะ

    ให้มีองคก์รของรัฐท่ีเป็นอิสระองคก์รหน่ึงท าหน้าท่ีจดัสรรคล่ืนความถ่ีตามวรรคหน่ึง และก ากบัการประกอบกิจการวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศัน์ และกิจการโทรคมนาคม ทั้งน้ีตามท่ีกฎหมายบญัญติั

    การด าเนินการตามวรรคสองตอ้งค านึงถึงประโยชน์สูงสุดของประชาชนในระดบัชาติและระดบัท้องถ่ิน ทั้งในด้านการศึกษา วฒันธรรม ความมัน่คงของรัฐ ประโยชน์สาธารณะอ่ืน และ การแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม รวมทั้ งต้องจัดให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการด าเนิน การส่ือมวลชนสาธารณะ

    การก ากบัการประกอบกิจการตามวรรคสองตอ้งมีมาตรการเพื่อป้องกนัมิให้มีการควบรวมการครองสิทธิขา้มส่ือ หรือการครอบง า ระหวา่งส่ือมวลชนดว้ยกนัเองหรือโดยบุคคลอ่ืนใด ซ่ึงจะมีผลเป็นการขดัขวางเสรีภาพในการรับรู้ขอ้มูลข่าวสารหรือปิดกั้นการไดรั้บขอ้มูลข่าวสารท่ีหลากหลายของประชาชน

    มาตรา ๔๘ ผูด้ ารงต าแหน่งทางการเมืองจะเป็นเจา้ของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการหนงัสือพิมพ์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทศัน์ หรือโทรคมนาคม มิได ้ไม่ว่าในนามของตนเองหรือให้ผูอ่ื้นเป็นเจา้ของกิจการหรือถือหุ้นแทน หรือจะด าเนินการโดยวิธีการอ่ืนไม่วา่โดยทางตรงหรือทางออ้มท่ีสามารถบริหารกิจการดังกล่าวได้ในท านองเดียวกับการเป็นเจ้าของกิจการหรือถือหุ้นในกิจการดงักล่าว

  • 14

    ส่วนที ่๘ สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา

    มาตรา ๔๙ บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกนัในการรับการศึกษาไม่น้อยกว่าสิบสองปีท่ีรัฐ

    จะตอ้งจดัใหอ้ยา่งทัว่ถึงและมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใชจ่้าย ผูย้ากไร้ ผูพ้ิการหรือทุพพลภาพ หรือผูอ้ยู่ในสภาวะยากล าบาก ตอ้งได้รับสิทธิตาม

    วรรคหน่ึงและการสนบัสนุนจากรัฐเพื่อใหไ้ดรั้บการศึกษาโดยทดัเทียมกบับุคคลอ่ืน การจัดการศึกษาอบรมขององค์กรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของ

    ประชาชนการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการเรียนรู้ตลอดชีวิต ย่อมได้รับความคุ้มครองและส่งเสริมท่ีเหมาะสมจากรัฐ

    มาตรา ๕๐ บุคคลยอ่มมีเสรีภาพในทางวชิาการ การศึกษาอบรม การเรียนการสอน การวิจยั และการเผยแพร่งานวิจยัตามหลกัวิชาการ

    ยอ่มไดรั้บความคุม้ครอง ทั้งน้ี เท่าท่ีไม่ขดัต่อหนา้ท่ีของพลเมืองหรือศีลธรรมอนัดีของประชาชน

    ส่วนที ่๙ สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวสัดิการจากรัฐ

    มาตรา ๕๑ บุคคลยอ่มมีสิทธิเสมอกนัในการรับบริการทางสาธารณสุขท่ีเหมาะสมและ

    ไดม้าตรฐาน และผูย้ากไร้มีสิทธิไดรั้บการรักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใชจ่้าย

    บุคคลย่อมมีสิทธิได้รับการบริการสาธารณสุขจากรัฐซ่ึงตอ้งเป็นไปอย่างทัว่ถึงและ มีประสิทธิภาพ

    บุคคลย่อมมีสิทธิไดรั้บการป้องกนัและขจดัโรคติดต่ออนัตรายจากรัฐอย่างเหมาะสมโดยไม่เสียค่าใชจ่้ายและทนัต่อเหตุการณ์

    มาตรา ๕๒ เด็กและเยาวชน มีสิทธิในการอยู่รอดและได้รับการพฒันาด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ตามศกัยภาพในสภาพแวดลอ้มท่ีเหมาะสม โดยค านึงถึงการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชนเป็นส าคญั

    เด็ก เยาวชน สตรี และบุคคลในครอบครัว มีสิทธิได้รับความคุ้มครองจากรัฐ ให้ปราศจากการใช้ความรุนแรงและการปฏิบติัอนัไม่เป็นธรรม ทั้งมีสิทธิไดรั้บการบ าบดัฟ้ืนฟูในกรณี ท่ีมีเหตุดงักล่าว

  • 15

    การแทรกแซงและการจ ากดัสิทธิของเด็ก เยาวชน และบุคคลในครอบครัว จะกระท ามิได้ เวน้แต่โดยอาศยัอ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อสงวนและรักษาไวซ่ึ้งสถานะ ของครอบครัวหรือประโยชน์สูงสุดของบุคคลนั้น

    เด็กและเยาวชนซ่ึงไม่มีผูดู้แลมีสิทธิไดรั้บการเล้ียงดูและการศึกษาอบรมท่ีเหมาะสมจากรัฐ

    มาตรา ๕๓ บุคคลซ่ึงมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์และไม่มีรายไดเ้พียงพอแก่การยงัชีพ มีสิทธิไดรั้บสวสัดิการ ส่ิงอ านวยความสะดวกอนัเป็นสาธารณะอยา่งสมศกัด์ิศรี และความช่วยเหลือท่ีเหมาะสมจากรัฐ

    มาตรา ๕๔ บุคคลซ่ึงพิการหรือทุพพลภาพ มีสิทธิเขา้ถึงและใ