หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... ·...

33
1 หนวยการเรียนรูที1 เรื่อง เศรษฐศาสตรเบื้องตน รายวิชาที่นํามาบูรณาการ ภาษาตางประเทศ พระพุทธศาสนา 1. มาตรฐานการเรียนรูประจําหนวย 3.1 . 4-6 / 2 2. ตัวชี้วัดชั้นปที่เกี่ยวของ 3.1 ขอ 2 ตระหนักความสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจสังคมของ ประเทศ 3. สาระการเรียนรู 3.1 ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 3.2 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 3.3 การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก 1) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 2) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 3) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก 1) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 2) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 3) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากจบหนวยการเรียน 1) จากการตอบคําถาม 2) จากการทําแบบทดสอบหลังเรียนประจําหนวยการเรียน

Upload: others

Post on 26-Dec-2019

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

1

หนวยการเรียนรูท่ี 1 เร่ือง เศรษฐศาสตรเบื้องตน รายวิชาท่ีนํามาบูรณาการ ภาษาตางประเทศ พระพุทธศาสนา 1. มาตรฐานการเรียนรูประจําหนวย ส 3.1 ม. 4-6 / 2 2. ตัวชี้วัดชั้นปท่ีเก่ียวของ ส 3.1 ขอ 2 ตระหนักความสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจสังคมของประเทศ 3. สาระการเรียนรู 3.1 ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 3.2 ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 3.3 การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 4. รองรอยการเรียนรู 4.1 ผลงาน / ชิ้นงาน ไดแก

1) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 2) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร

3) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 4.2 ผลการปฏิบัติงาน ไดแก

1) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 2) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร

3) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 4.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากจบหนวยการเรียน 1) จากการตอบคําถาม 2) จากการทําแบบทดสอบหลังเรียนประจําหนวยการเรียน

Page 2: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

2

5. แนวทางการจัดการเรียนรูในภาพรวม

แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู

บทบาทครู บทบาทนักเรียน

5.1 ผลงาน / ชิ้นงาน 1) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 2) ผลงานกลุมจากการ ศึกษาเรื่อง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 3) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร

- อธิบายวิธีการทํางานกลุม เพื่อใหนักเรียนปฏิบัติงานได - อธิบายวิธีการสรุปเนื้อหาสาระและแหลงคนควาหา ขอมูล

- ศึกษา เรียนรูในเรื่องที่กลุมไดรับ - นําเสนอและสรุปเปน รายงาน

5.2 การปฏิบัติงาน 1) การศึกษาคนควาขอมูลจากแหลงเรียนรู / ส่ือตางๆ 2) เขียนรายงานและแบบสรุปผลการศึกษาคนควา 3) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 4) ผลงานกลุมจากการศึกษา เร่ือง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 5) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร

- แนะนําแหลงเรียนรูตางๆ - แนะนําส่ือที่เกี่ยวของ

- ศึกษาคนควาและรวบรวมสรุปเปนรายงานและนําเสนอภายในชั้นเรียน

Page 3: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

3

แนวทางการจัดการเรียนรู รองรอยการเรียนรู

บทบาทครู บทบาทนักเรียน

5.3 การทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

- อธิบายสรุปเนื้อหาสําคัญเมื่อเรียนจบในแตละหนวยยอย

- ทําแบบฝกทักษะในแตละหนวยยอย - ทําแบบทดสอบหลังจบหนวย

Page 4: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

4

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1/1 เร่ือง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร เวลา 2 ชั่วโมง

1. เปาหมายของการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู

มีความรูความเขาใจเศรษฐศาสตรเบื้องตนเกี่ยวกับความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย และความรูพื้นฐานสําหรับการศึกษาเศรษฐศาสตร 1.2 จุดประสงคการเรียนรู 1) อธิบาย ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมายของเศรษฐศาสตรได 2) อธิบายความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตรได 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู 1) ความหมาย ความเปนมา ความสําคัญ ประโยชน ขอบขาย เปาหมาย 2) ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการศึกษาเศรษฐศาสตร 2.2 ทักษะกระบวนการ 1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา - การศึกษา การปฏิบัติ 2) ทักษะกระบวนการทั่วไป - กระบวนการกลุม กระบวนการสังเกต กระบวนการปฏิบัติ 2.3 ทักษะการคิด ทักษะการคิดสรุปความ ทักษะการคิดรวบรวมขอมูล ทักษะการคิดสรุปขอมูล ทักษะการคิดสรุปอางอิง ทักษะการคิดวิเคราะห ทักษะการคิดระบุ ทักษะการคิดเชื่อมโยง 3. รองรอยการเรียนรู

3.1 ผลงานหรือชิ้นงาน 1) ผลงานกลุมจากการการศึกษาเรื่อง เศรษฐศาสตร 2) ผลงานจากการทําแบบฝกทักษะเรื่อง เศรษฐศาสตรเบื้องตน 3) ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร 4) ผลการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง สินคาและบริการทางเศรษฐศาสตร

3.2 กระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) งานกลุมจากการการศึกษาเรื่อง เศรษฐศาสตร 2) งานจากการทําแบบฝกทักษะเรื่อง เศรษฐศาสตรเบื้องตน

Page 5: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

5

3) งานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร 4) การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง สินคาและบริการทางเศรษฐศาสตร 3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค - ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบวินัย การมีสวนรวมจากกระบวนการกลุม 3.4 ความรูความเขาใจ - จากการศึกษาเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร 4. แนวทางการวัดผลประเมินผล วิธีการประเมินผล ดานผลงาน - ผลงานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร ดานกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมจากการศึกษาเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐ-ศาสตร 2) สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร ดานคุณลักษณะพึงประสงค - ประเมินผลงานกลุมดานความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงตอเวลา การมีสวนรวมจากกระบวนการกลุม ดานความรูความเขาใจ 1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรูดานความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง ความรู เบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร จากการตอบคําถาม 2) ประเมินความรูความเขาใจของนักเรียน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร เคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินผล 1) แบบประเมินผลงานกลุมดานความรับผิดชอบ ความเสียสละ การตรงตอเวลา ความมีระเบียบและการมีสวนรวม 2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทํางานกลุม ในดานการวางแผน การเสนอแนวคิดและขอคิด เชน การฟงความคิดเห็น 3) แบบประเมินการนําเสนองานในดานการเตรียมความพรอม เนื้อหาสาระ รูปแบบการ นําเสนอ การมีสวนรวมของสมาชิกในกลุม การรักษาเวลา และความสนใจของผูฟง

Page 6: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

6

5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา 1) นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน

2) นักเรียนดูบัตรคํา Economics ครูตั้งคําถาม - หมายความวาอยางไร

5.2 ขั้นสอน

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกทักษะการคิดแบบ 1. ครูสนทนาซักถามจากบัตรคําและคําตอบของนักเรียนจากการนําเขาสูบทเรียนในเรื่องความหมายของความวาเศรษฐศาสตร

ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น

2. นักเรียนอานความหมายของคําวา เศรษฐศาสตรจากหนังสือสาระเศรษฐศาสตรและสรุปความหมายตามความเขาใจ

ทักษะการคิดสรุปความ

3. นักเรียนแบงกลุม 5 กลุม ปฏิบัติดังนี้ - กลุมที่ 1 ศึกษาเรื่อง ความเปนมาของเศรษฐศาสตร - กลุมที่ 2 ศึกษาเรื่อง ขอบขาย ความเปนมา ของเศรษฐศาสตร - กลุมที่ 3 ศึกษาเรื่อง ความสําคัญของเศรษฐศาสตร - กลุมที่ 4 ศึกษาเรื่อง ประโยชนของ เศรษฐศาสตร - กลุมที่ 5 ศึกษาเรื่อง เปาหมายของ เศรษฐศาสตร

ทักษะการคิดรวบรวมขอมูล

4. ตัวแทนกลุมนําเสนอโดยคิดวิธีการนําเสนอที่นอกเหนือจากการรายงานหนาชั้นเรียน

ทักษะการคิดสรุปขอมูล ทักษะการคิดสรางสรรค

5. ครูและนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและอธิบายเพิ่มเติมในสวนที่ยังขาดหาย

ทักษะการคิดแสดงความคิดเห็น

6. นักเรียนทําแบบฝกทักษะเรื่อง เศรษฐศาสตรเบื้องตน รวมกันเฉลยเพื่อเปนการทบทวนความรูความเขาใจ

Page 7: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

7

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกทักษะการคิดแบบ 7. นักเรียนแบงกลุม 4-6 คนตอกลุม โดยคละความสามารถและเพศ ปฏิบัติดังนี้ 1) ใหสมาชิกของแตละกลุมหันหนาเขาหากัน 2) เตรียมอุปกรณการเขียน แบบบันทึก และประเด็นที่จะศึกษา คือ - ความตองการที่ไมจํากัด - ทรัพยากรที่มีอยูจํากัด - ความขาดแคลน - การเลือก - คาเสียโอกาส ศึกษาในประเด็น - ความหมายและความเกี่ยวของซึ่งกัน และกันอยางไร 3) การดําเนินกิจกรรม สมาชิกคนที่ 1 เขียนแสดงความคิดเห็นตามประเด็นที่จะศึกษาลงในแบบบันทึก 4) สงแบบบันทึกใหกับสมาชิกคนตอๆ ไปเขียนแสดงความคิดเห็นจนครบทุกคนในกลุมตามเวลาที่กําหนดให 5) สมาชิกภายในกลุมรวมกันสรุปเปนความคิดเห็นของกลุม

ทักษะการรวบรวมขอมูล ทักษะการคิดเชื่อมโยง

8. ตัวแทนกลุมนําเสนอตอทั้งชั้นหรือครูผูสอนเรียนสมาชิกคนคนหนึ่งในกลุมนําเสนอ

ทักษะการคิดสรุปความ

9. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเรื่องความรูพื้นฐานเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรโดยใชแบบันทึกของนักเรียนเปนแนวทางในการสรุป

10. ครูเขียนบนกระดานดํา โดยการตีตาราง สินคาและบริการที่ตองเสียเงินซื้อ กับสินคาและบริการที่ไมตองเสียเงินซื้อและความหมายของทั้งสองประเภท

ทักษะการคิดระบุ

Page 8: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

8

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกทักษะการคิดแบบ จากตารางใหนักเรียนออกมาเขียนลงในชองที่กําหนด คือ - สินคาและบริการที่ไมตองเสียเงินซื้อ - สินคาและบริการที่ตองเสียเงินซื้อและความหมายทั้งสองประเภท

11. ครูสรุปเรื่องทรัพยทางเศรษฐศาสตรโดยใชตารางที่นักเรียนรวมกันแสดงความคิดนักเรียนจดบันทึก

12. ครูตั้งคําถามจากตาราง โดย - สินคาเพื่อการบริโภคคืออะไร และแยกเปนประเภทอะไรไดบาง - สินคาเพื่อการผลิตคืออะไร และแยกเปนประเภทอะไรไดบาง

ทักษะการคิดเชื่อมโยง

13. ครูใหนักเรียนอานเรื่องสินคาและบริการจากหนังสือสวาระเศรษฐศาสตร และรวมกันสรุปเรื่องสินคาและบริการโดยใชตารางที่นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นขางตน

ทักษะการคิดรวบรวมขอมูล ทักษะการคิดสรุปความ

14. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องสินคาและบริการ

5.3 ขั้นสรุป 1) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องเศรษฐศาสตรเบื้องตน โดยการสนทนาซักถาม

2) นักเรียนทําแบบฝกทักษะเรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร รวมกันเฉลย 6. สื่อการเรียนรู / แหลงเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู

1) แบบทดสอบกอนเรียน 2) บัตรคํา Economics 3) แบบฝกทักษะเรื่อง เศรษฐศาสตรเบื้องตน 4) หนังสือเรียนสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร ระดับ ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สํานักพิมพแม็ค 5) ตารางเรื่องสินคาและบริการ 6) แบบฝกทักษะเรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

Page 9: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

9

6.2 แหลงการเรียนรู 1) หองสมุดโรงเรียน 2) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมฝกการคิดวิเคราะห

เชิญวิทยากรมาใหความรู ขั้นตอนการปฏิบัติ

1. ขั้นรวบรวมขอมูล - ฟงการบรรยายของวิทยากรพรอมสนทนาซักถาม

2. ขั้นวิเคราะห - ทําไมเศรษฐศาสตรจึงมีความสําคัญ

- สําคัญอยางไร - ถาประชาชนไมมีความรูเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรจะเกิดอะไรขึ้น

- มีวิธีการอยางไรที่งายตอการทําความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรและสามารถนํามาใชไดในชีวิตประจําวัน 3. ขั้นสรุป

- สรุปขอมูลเปนเรื่องๆ เพื่องายตอความเขาใจ 4. ขั้นนําไปประยุกตใช

- นําเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการนักเรียนเพื่อใหเขาใจเรื่อง เศรษฐศาสตรสามารถนํามาใชภายในโรงเรียนไดอยางถูกตองเหมาะสม 7.2 การบูรณาการ ครูผูสอนสามารถบูรณาการเรียนการสอนกับกลุมสาระภาษาตางประเทศ โดยภาระงาน เขียนคําศัพททางเศรษฐศาสตร

Page 10: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

10

ภาระงาน “เขียนคําศัพททางเศรษฐศาสตร” การบูรณาการ ต 3.1 จุดประสงคการเรียนรู สามารถเขียนคําศัพททางเศรษฐศาสตรได ผลงานที่ตองการ เขียนคําศัพททางเศรษฐศาสตรไดอยางนอย 10 คํา ขั้นตอน

1. ศึกษาคําศัพททางเศรษฐศาสตร 2. นําติดตามสถานที่ตางๆ

เกณฑการประเมิน 1. เนื้อหาสอดคลองกับจุดประสงค 2. ถูกตองตามคําศัพททางเศรษฐศาสตร

Page 11: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

11

8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน

(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน

จุดที่ควรปรับปรุง

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชส่ือการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

บันทึกเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ........................................................................ผูสอน

บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ............................................. ตําแหนง ........................................

Page 12: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

12

แบบฝกทักษะ เร่ือง เศรษฐศาสตรเบื้องตน ช่ือ .................................................... ช้ัน ....................... เลขที่ ........................

คําชี้แจง เขียนตามคําที่กําหนดให โดยใหไดใจความที่สมบูรณ

ขอบขาย

ประโยชน

ความเปนมา

……………………………………………………………………………………………………… …………………………………

……………………………………………………………………

ความสําคัญ

เปาหมาย

………………………………………………………………………………………………………

เศรษฐศาสตรเบื้องตน

………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………

Page 13: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

13

เฉลยแบบฝกทักษะ เร่ือง เศรษฐศาสตรเบื้องตน ช่ือ .................................................... ช้ัน ....................... เลขที่ ........................

คําชี้แจง เขียนตามคําที่กําหนดใหโดยใหไดใจความที่สมบูรณ

ขอบขาย

ความเปนมา

ความตองการผลิตสินคาเพื่อขายทําใหเกิดการขาดแคลน จึงตองแกปญหาโดยใชหลักใชทรัพยากรใหคุมคาและเพียงพอตอจํานวนประชากร

1. เศรษฐศาสตรจุลภาค 2. เศรษฐศาสตรมหภาค

เศรษฐศาสตรเบื้องตน

เปาหมาย

ประโยชน

1. รูจักใชทรัพยากรไดอยางเต็มที่ 2. ใชจายอยางประหยัด 3. คาดคะเนการเปลี่ยนแปลงได 4. จัดสรรแจกจายทรัพยากรไดรงตามความตองการและทั่วถึง 5. วางแผนแกปญหาไดเต็มที่และถูกทาง

แกปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ

ความสําคัญ

1. วางแผนเพื่อการผลิต 2. เลือกไดเหมาะสมกับความตองการ 3. เขาใจปญหาสามารถแกไดตรงจุด

Page 14: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

14

แบบฝกทักษะเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร ช่ือ ....................................................... ช้ัน .............. เลขที่ ..................

คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรโดยโยงความสัมพันธคําตอไปนี้ ความตองการที่ไมจํากัด ทรัพยากรที่จํากัด ความขาดแคลน การเลือก คาเสียโอกาส สินคาและบริการ ทรัพยเสรี เศรษฐทรัพย

Page 15: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

15

แบบเฉลยแบบฝกทักษะเรื่อง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

ช่ือ ....................................................... ช้ัน .............. เลขที่ .................. คําชี้แจง ใหนักเรียนเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรโดยโยงความสัมพันธคําตอไปนี้ ความตองการที่ไมจํากัด ทรัพยากรที่จํากัด ความขาดแคลน การเลือก คาเสียโอกาส สินคาและบริการ ทรัพยเสรี เศรษฐทรัพย เก่ียวของกัน คือ ความตองการสินคาและบริการที่มีมากตามจํานวนประชาชน แตทรัพยากรมีจํากัด จึงเกิดความขาดแคลน ทําใหตองมีการเลือกในสิ่งที่สนองตอความตองการ เมื่อมีการเลือกจึงมีการเสียโอกาสเกิดขึ้น เพราะไมสามารถนํามาใชไดทุกวิธีการสิ่งเหลานี้จึงกอใหเกิดการจัดสรรทรัพยากรใหพอกับความตองการ

สินคาและบริการ

ทรัพยเสรี เศรษฐทรัพย

ไมเสียเงิน

จําเปน

เพื่อการผลิต

น้ํา

อากาศ

ดิน

เสียเงิน

สินคาเพื่อการบริโภค ไมคงทน

กึ่งคงทน

Page 16: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

16

แผนการจัดการเรียนรูท่ี 1/2 เร่ือง เจตคติท่ีดีเก่ียวกับการเรียนรูเศรษฐศาสตร เวลา 1 ชั่วโมง

1. เปาหมายของการเรียนรู 1.1 ผลการเรียนรู มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเรียนรูวิชาเศรษฐศาสตรและมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู 1.2 จุดประสงคการเรียนรู มีเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 2. สาระสําคัญ 2.1 สาระการเรียนรู การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 2.2 ทักษะกระบวนการ 1) ทักษะกระบวนการตามธรรมชาติวิชา - การศึกษา การปฏิบัติ 2) ทักษะกระบวนการทั่วไป - กระบวนการกลุม กระบวนการสังเกต กระบวนการปฏิบัติ 2.3 ทักษะการคิด ฝกทักษะการคิดสรางเจตคติที่ดี 3. รองรอยการเรียนรู

3.1 ผลงานหรือชิ้นงาน 1) ผลงานจากการศึกษาเรื่อง ประโยชนของการศึกษาเศรษฐศาสตร

2) ผลงานจากการจับคูกันศึกษาเจตคติทางเศรษฐศาสตร 3.2 กระบวนการหรือขั้นตอนการปฏิบัติงาน

1) งานจากการศึกษาเรื่อง ประโยชนของการศึกษาเศรษฐศาสตร 2) งานจากการจับคูกันศึกษาเจตคติทางเศรษฐศาสตร

3.3 พฤติกรรมตามคุณลักษณะพึงประสงค - ความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบวินัย การมีสวนรวมจากกระบวนการกลุม 3.4 ความรูความเขาใจ จากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร

Page 17: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

17

4. แนวทางการวัดผลประเมินผล วิธีการประเมินผล ดานผลงาน ผลงานกลุมจากการศึกษาการสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร ดานกระบวนการขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุมจากการศึกษาเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร 2) สังเกตพฤติกรรมการแสดงความคิดเห็นเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรู เศรษฐศาสตร ดานคุณลักษณะพึงประสงค - ประเมินผลงานกลุมดานความรับผิดชอบ ความเสียสละ ความมีระเบียบ การตรงตอเวลา การมีสวนรวมจากกระบวนการกลุม ดานความรูความเขาใจ 1) ประเมินผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรูดานความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร จากการตอบคําถาม 2) ประเมินความรูความเขาใจของนักเรียน การสรางเจตคติที่ดีในการเรียนรูเศรษฐศาสตร เคร่ืองมือท่ีใชในการประเมินผล 1) แบบประเมินผลงานกลุมดานความรับผิดชอบ ความเสียสละ การตรงตอเวลา ความมีระเบียบและการมีสวนรวม 2) แบบสังเกตพฤติกรรมในกระบวนการทํางานกลุม ในดานการวางแผน การเสนอแนวคิดและขอคิด เชน การฟงความคิดเห็น 3) แบบประเมินการนําเสนองานในดานการเตรียมความพรอม เนื้อหาสาระ รูปแบบการ นําเสนอ การมีสวนรวมของสมาชิกในกลุม การรักษาเวลา และความสนใจของผูฟง 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อการเรียนรู 5.1 ขั้นนํา

สนทนากับนักเรียนเรื่องประโยชนของการเรียนรูวิชาเศรษฐศาสตร ครูตั้งคําถาม - ประโยชนที่เกิดขึ้นกับนักเรียนมีอะไรบาง

Page 18: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

18

5.2 ขั้นสอน

กิจกรรมการเรียนการสอน ฝกทักษะการคิดแบบ 1. ครูนําภาพการนําส่ิงของมาใชใหมดวยวิธีการตางๆ ใหนักเรียน - บอกสิ่งที่เกิดขึ้น - ทําไดจริงหรือไม ครูเขียนคําตอบบนกระดานดํา

ทักษะการคิดสังเกต ทักษะการคิดวิเคราะห

2. ครูใหนักเรียนดูภาพขยะมูลฝอยที่เกิดจากของที่ใชแลว ใหนักเรียนรวมกันแสดงความ คิดเห็น - สาเหตุที่เกิดขึ้น - หากเรียนรูเศรษฐศาสตรจะสามารถแกปญหานี้ไดหรือไมอยางไร - เสนอแนวทางแกปญหา

ทักษะการคิดสังเกต ทักษะการคิดวิเคราะห

3. ครูใหนักเรียนจับคูกันและเปรียบเทียบเหตุการณ 2 เหตุการณที่ครูกําหนด (หากภาพไมชัดเจนใชกรณีศึกษา) - ภาพการผลิตสินคาที่เกินความตองการ - ภาพการขายสินคาที่พอดีกับความตองการของตลาด นักเรียนปฏิบัติ - ศึกษาผลที่เกิดขึ้นจากทั้ง 2 ภาพ - ภาพใดที่ใชหลักทางเศรษฐศาสตรมาใช

ทักษะการคิดสังเกต ทักษะการคิดเชื่อมโยง

4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปผลดีที่เกิดจากการศึกษาเศรษฐศาสตร และผลเสียที่เกิดจากการไมรูขอมูลและวิธีการทางเศรษฐศาสตร

ทักษะการคิดหาเหตุผล

5. นักเรียนทําแบบประเมินเจตคติ เรื่องการเรียนรูเศรษฐศาสตร

ทักษะการคิดสรางเจตคติ

5.3 ขั้นสรุป 1) ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการมีเจตคติที่ดีตอการศึกษาเศรษฐศาสตรโดยการสนทนาซักถามและจากการประเมินเจตคติ 2) นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

Page 19: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

19

6. สื่อการเรียนรู 6.1 สื่อการเรียนรู

1) แบบทดสอบหลังเรียน 2) ภาพสิ่งของที่นํามาใชใหม 3) ภาพ/ กรณีศึกษาเรื่องประโยชนของการศึกษาเศรษฐศาสตรและโทษของการไมศึกษา 6.2 แหลงการเรียนรู 1) หนังสือเรียนสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระเศรษฐศาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 สํานักพิมพแม็ค 2) หองสมุดโรงเรียน 3) หองสมุดกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7. กิจกรรมเสนอแนะ 7.1 กิจกรรมฝกทักษะการคิดวิเคราะห โดยการทัศนศึกษาแหลงผลิตสินคาจากวัสดุเหลือใช ขั้นตอนการปฏิบัติ

1. ขั้นรวบรวมขอมูล - ศึกษาแหลงเรียนรูนอกสถานที่

2. ขั้นวิเคราะห - ทําไมจึงมาประกอบอาชีพนี้ - สําคัญอยางไร - การเรียนรูวิชาเศรษฐศาสตรมีผลตอการประกอบอาชีพนี้หรือไมอยางไร - มีวิธีการอยางไรที่งายตอการทําความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับเศรษฐศาสตรและ

สามารถนํามาใชไดในชีวิตประจําวัน 3. ขั้นสรุป

- สรุปขอมูลเปนเรื่องๆ เพื่องายตอความเขาใจ 4. ขั้นนําไปประยุกตใช

- นําเสนอโดยการจัดปายนิเทศจากผลการสรุปงานของทุกคนที่ไปศึกษา เพื่อเปน แนวทางในการวางแผนนําไปใชไดอยางถูกตองเหมาะสม 7.2 การบูรณาการ ครูผูสอนสามารถบูรณาการกับสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม โดยกําหนดภาระงาน ศึกษาหลักธรรมที่ทําใหเกิดคานิยมที่ ดีงาม

Page 20: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

20

ภาระงาน “ ศึกษาหลักธรรมท่ีทําใหเกิดคานิยมท่ีดีงาม” การบูรณาการ ส 1.3 จุดประสงคการเรียนรู มีความรูความเขาใจหลักธรรมที่กอใหเกิดคานิยมที่ดีงาม ผลงานที่ตองการ หลักธรรมที่กอใหเกิดคานิยมที่ดีงาม ขั้นตอนการทํางาน

1. ศึกษาหลักธรรมใหละเอียดและเขาใจ 2. คัดลอกหลักธรรมมาใหเรียบรอย 3. อธิบายหลักธรรมและวิธีการนําไปใช 4. นําเสนอเพื่อนรวมชั้นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู 5. นําหลักธรรมมาจัดปายนิเทศ

เกณฑการใหคะแนน

1. ความถูกตองสอดคลองของหลักธรรม 2. ความเปนไปไดในการนําไปใช

Page 21: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

21

8. บันทึกหลังสอน บันทึกหลังสอน

(บันทึกเฉพาะประเด็นที่มีขอมูลสารสนเทศชัดเจน) ประเด็นการบันทึก จุดเดน

จุดที่ควรปรับปรุง

1. การจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. การใชส่ือการเรียนรู

3. การประเมินผลการเรียนรู

4. การบรรลุผลการเรียนรูของผูเรียน

บันทึกเพิ่มเติม ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... ..............................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ........................................................................ผูสอน

บันทึกความเห็นของผูตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ............................................. ตําแหนง ........................................

Page 22: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

22

แบบประเมินผลงานกลุม ช่ือกลุม ...............................................................ช้ัน .........../.........

ความรับผิดชอบ

ความเสียสละ

การตรงตอเวลา

ความมีระเบียบ

ที่ พฤติกรรม ช่ือ - สกุล 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผลการประเมิน

ลงชื่อ ............................................... ผูประเมิน

เกณฑการใหคะแนน 3 - ปฏิบัติสม่ําเสมอ 2- ปฏิบัติเปนบางครั้ง 1- ไมเคยปฏิบัติ เกณฑการตัดสิน 14 - 15 คะแนน ดีมาก 12 - 13 คะแนน ดี 10 - 11 คะแนน พอใช ต่ํากวา 10 คะแนน ปรับปรุง

Page 23: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

23

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคลของนักเรียนในกระบวนการกลุม ช่ือกลุม ........................................................ เรื่อง ................................................ช้ัน .........

ความรวมมือ การแสดงความคิดเห็น

การยอมรับฟงผูอื่น

ความตั้งใจ ที่ พฤติกรรม ช่ือ - สกุล 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1

ผลการประเมิน

หมายเหตุ ครูมอบใหนักเรียนแตละกลุมสังเกตพฤติกรรมในการปฏิบัติงานกลุมของสมาชิกเปนรายบุคคล

เกณฑการใหคะแนน 3 - ปฏิบัติสม่ําเสมอ 2- ปฏิบัติเปนบางครั้ง 1- ไมเคยปฏิบัติ เกณฑการตัดสิน 14 - 15 คะแนน ดีมาก 12 - 13 คะแนน ดี 10 - 11 คะแนน พอใช ต่ํากวา 10 คะแนน ปรับปรุง

Page 24: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

24

แบบประเมินการนําเสนอผลงาน เร่ือง ..............................................................

ช่ือกลุม .....................................................ช้ัน .............................. สมาชิกในกลุม

1. .......................................................... 2. ........................................................... 3. ...................................................... 4. ........................................................... 5. ............................................................

คะแนน ที่

รายการประเมิน 3 2 1

ขอคิดเห็น

1 การเตรียมความพรอม

2 เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน

3 รูปแบบการนําเสนอ

4 การมีสวนรวมของสมาชิกในกลุม

5 การรักษาเวลา

6 ความสนใจของผูฟง/ผูชม

รวม

ผูประเมิน ...........................................

.........../............/........... เกณฑการประเมิน

1. การเตรียมความพรอม 3 คะแนน มีการจัดเตรียมสถานที่ ส่ือ/ อุปกรณไวอยางพรอมเพรียง 2 คะแนน มีส่ืออุปกรณพรอม แตขาดการจัดเตรียมสถานที่ 1 คะแนน ส่ือและอุปกรณไมเพียงพอ

2. เนื้อหาสาระครอบคลุมชัดเจน 3 คะแนน มีสาระสําคัญครบถวน ตรงตามจุดประสงค 2 คะแนน สาระสําคัญไมครบถวนแตตรงตามจุดประสงค 1 คะแนน สาระสําคัญไมตรงตามจุดประสงค

Page 25: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

25

3. รูปแบบการนําเสนอ 3 คะแนน มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม มีการใชเทคนิคที่แปลกใหม 2 คะแนน มีรูปแบบการนําเสนอที่เหมาะสม นาสนใจ 1 คะแนน มีรูปแบบการนําเสนอที่ไมเหมาะสม ไมนาสนใจ 4. การมีสวนรวมของสมาชิกในกลุม 3 คะแนน สมาชิกทุกคนมีบทบาทและมีสวนรวมในกิจกรรมกลุม 2 คะแนน สมาชิกสวนใหญมีบทบาทและมีสวนรวมในกิจกรรมกลุม 1 คะแนน สมาชิกสวนนอยมีบทบาทและมีสวนรวมในกิจกรรมกลุม 5. การรักษาเวลา 3 คะแนน ดําเนินกิจกรรมไดตามเวลาที่กําหนด 2 คะแนน ดําเนินกิจกรรมเร็วกวาเวลาที่กําหนด 1 คะแนน ดําเนินกิจกรรมชากวาเวลาที่กําหนด 6. ความสนใจของผูฟง 3 คะแนน ผูฟงรอยละ 90 สนใจและใหความรวมมือ 2 คะแนน ผูฟงรอยละ 70 สนใจและใหความรวมมือ 1 คะแนน ผูฟงรอยละ 50 สนใจฟงและใหความรวมมือ

Page 26: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

26

การประเมินและสะทอนตนเองหลังเสร็จสิ้นการเรียนในหนวยการเรียนรูท่ี 1 (Self Reflection)

1. การประเมินตนเองของผูเรียน ใหดําเนินการดังนี้ 1.1 ครูทบทวนผลการเรียนรูประจําหนวยทุกขอใหนักเรียนไดทราบโดยอาจเขียนไวบนกระดาน ดํา พรอมทั้งทบทวนถึงหัวขอกิจกรรมการเรียนวาเรียนอะไรบาง 1.2 ใหนักเรียนเขียนบันทึกการประเมินตนเองไวในสมุดงานดานหลังตามหัวขอ ดังนี้

บันทึกการประเมินและสะทอนตนเองประจําหนวยท่ี .................... วัน/เดือน/ป ท่ีบันทึก ............../........../............

รายการบันทึก 1. จากการเรียนที่ผานมาไดมีความรูอะไรบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. ปจจุบันนี้มีความสามารถปฏิบัติส่ิงใดไดแลวบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3. ส่ิงที่ยังไมรู ไมกระจาง ไมเขาใจ มีอะไรบาง ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4. ผลงานหรือช้ินงานที่เนนความภาคภูมิใจจากการเรียนในหนวยนี้คืออะไร ทําไมจึงภาคภูมิใจ ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2. การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใชกระบวนการวิจัยในชั้นเรียนของครู

ชื่อเร่ืองที่วิจัย.................................................. 1. ความเปนมาของปญหา ส่ิงที่คาดหวัง ................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. ส่ิงที่เปนจริง .................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ปญหาที่พบคือ ............................................................................................................................... ............................................................................................................................................................ สาเหตุของปญหาคือ ........................................................................................................................ ............................................................................................................................................................

Page 27: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

27

แนวทางการแกไขปญหาคือ ............................................................................................................... 2. วัตถุประสงคในการแกปญหา 2.1 เพื่อแกปญหาเรื่อง ................................................................................................................... ของนักเรียนชั้น ............................................. หอง .....................จํานวน ...........คน โดยใช .............. ............................................................................................................................................................. 2.2 เพื่อศึกษาผลการแกไขปญหาเกี่ยวกับ ...................................................................................... ...............................................................หลังจากที่ไดทดลองใชวิธีแกปญหาโดย ............................. 3. ขอบเขตของการแกปญหา 3.1 กลุมเปาหมายในการแกปญหาคือ นักเรียนชั้น ..............หอง ...............จํานวน .................. คน ภาคเรียนที่ ......................... ปการศึกษา .......................ที่มีปญหาเกี่ยวกับ ....................................... 3.2 เนื้อหาที่ใชในการศึกษาคือ เร่ือง .................................หนวยการเรียนรู ................................... วิชา ................................................................................................................................................... 3.3 ระยะเวลาในการศึกษา ประมาณ ..................สัปดาห/เดือน ตั้งแตวันที่ ..................................... เดือน ..............................พ.ศ. .....................ถึงวันที่ ....................เดือน .........................พ.ศ. ........... 4. วิธีดําเนินการในการแกไขปญหา 4.1 เครื่องมือที่ใชในการแกปญหาคือ ............................................................................................... ........................................................................................................................................................... ซ่ึงมีขั้นตอนในการสรางและพัฒนาดังนี้ .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 4.2 เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ .................................................................................. ............................................................................................................................................................ ซ่ึงมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้ ......................................................................... ............................................................................................................................................................ 4.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลตามวิธีการ ดังนี้ 1) นําเครื่องมือที่ใชในการแกปญหาไปทดลองใชกับนักเรียนในเวลา ............................................. .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 2 ) นําเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูลไปเก็บขอมูลเกี่ยวกับ ................................................................ โดย ....................................................................................................................................................

Page 28: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

28

4.4 การวิเคราะหขอมูลและการสรุปผลไดดําเนินการวิเคราะหขอมูลและสรุปผล ดังนี้ .................. ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5. ผลการแกปญหา ผลการแกปญหาเกี่ยวกับ ..................................................................................................................... ของนักเรียนกลุมเปาหมาย ปรากฏผลดังนี้ .......................................................................................... .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 29: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

29

แบบทดสอบกอนและหลังเรียน เร่ือง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร

ใหเลือกขอที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. ผูที่เปนบิดาของวิชาเศรษฐศาสตรคือใคร ก. ลิโอเนล รอบบินส ข. จอหน เมยมารค เดนส ค. อาดัม สมิธ ง. คารลมารก

2. วิชาเศรษฐศาสตรหมายถึงการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องใด ก. การผลิตสินคาและบริการสนองความตองการของผูผลิต ข. การกินดีอยูดีของประชาชนขึ้นอยูกับความร่ํารวยของประเทศชาติ ค. การบริโภคสินคาตามความพอใจของผูบริโภค ง. การจัดสรรทรัพยากรใหเพียงพอกับความตองการของมนุษย

3. เศรษฐศาสตรมีความสําคัญตอสังคมมนุษยเปนอยางมากในปจจุบันคือขอใด ก. ทรัพยากรของมนุษยมีจํากัด ข. ความตองการของมนุษยมีจํากัด ค. มีการแขงขันในการผลิตสินคา ง. เกิดการคาระหวางประเทศ

4. ขอใดตอไปนี้คือสินคา “ทุน”ทางเศรษฐศาสตร ก. อาหารที่ซ้ือมากินที่บาน ข. รถไถนาและเครื่องจักรทางการเกษตร ค. ภาชนะเครื่องครัว ง. โทรทัศนที่ตั้งในหองรับแขก

5. ทรัพยเสรีในทางเศรษฐศาสตรหมายถึงขอใด ก. สินคาถูกกฎหมายซื้อขายไดโดยเสรี ข. ทรัพยากรที่มีอยูตามธรรมชาติ ค. สินคาไรราคาไมมีการซื้อขาย ง. ทรัพยสินที่มนุษยสรางขึ้น

6. ปญหาพื้นฐานของทุกสังคมคืออะไร ก. ปญหาความยากจน ข. ปญหาความขาดแคลน

Page 30: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

30

ค. ปญหาการวางงาน ง. ปญหาแหลงเสื่อมโทรม

7. ประโยชนในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตรคือขอใด ก. แกปญหาไมมีงานทํา ข. การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนองความตองการของมนุษยไดอยางมีประสิทธิภาพ ค. การจัดสรรทรัพยากรเพื่อสนองความตองของผูผลิต ง. เพื่อจัดสรรเครื่องอุปโภคบริโภคดานสุขภาพใหเพียงพอ

8. ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตรที่มีผลตอการดูแลสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ก. ตระหนักถึงความสําคัญของทรัพยากรที่อยูอยางจํากัด ข. ตระถึงความสําคัญของการผลิตที่คํานึงถึงสภาพแวดลอม ค. ตระหนักถึงความสําคัญของกลไกราคาที่มีผลตอทรัพยากร ง. ทําใหเลือกตัดสินใจประกอบธุรกิจการคาที่ทํากําไรใหมากที่สุด

9. คุณธรรมของผูผลิตคือขอใด ก. ความเมตตา กรุณา ข. ความซื่อสัตยสุจริต ค. ประหยัดอดออม ง. ความน้ําใจเอื้ออาทร

10. คุณธรรมของผูบริโภคคือขอใด ก. รูจักประมาณตน ข. ซ่ือสัตยสุจริต ค. ประหยัดอดออม ง. มีเมตตากรุณา

Page 31: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

31

เฉลยแบบทดสอบกอนและหลังเรียน

1. ค 2. ง 3. ก 4. ข 5. ค 6. ข 7. ข 8. ก 9. ข 10. ก

Page 32: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

32

คําถามทายหนวย 1. ในระดับประเทศชาตินั้นวิชาเศรษฐศาสตรมีความสําคัญอยางไร จงอธิบายมาพอเขาใจ 1) กอใหเกิดการคาและการลงทุนระหวางประเทศ 2) มีการจัดสรรใหเหมาะสมกับชุมชนและความตองการของชุมชน 3) ผูบริหารประเทศเขาใจลักษณะโครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศ 4) วิเคราะหสาเหตุของปญหาทางเศรษฐกิจและแกไขไดอยางมีประสิทธิภาพ 2. เศรษฐศาสตรมีประโยชนกับการดําเนินชีวิตของมนุษยอยางไรบางจงยกตัวอยางประกอบ 1) ในฐานะผูบริโภค (1) รูจักใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด (2) สามารถจําแนกชนิดของสินคาหรือบริการที่มีประโยชนและสามารถใชบําบัดความตองการของตนเองและคนในครอบครัวไดในราคาที่ประหยัดที่สุด (3) สามารถประมาณการคาใชจายและการกําหนดแผนการบริโภค การออม และการกระทํากิจกรรมอื่นๆ ไดเหมาะสมยิ่งขึ้น (4) สามารถคาดคะเนสถานการณทางเศรษฐกิจ 2) ในฐานะผูผลิต (1) ใชทรัพยากรที่มีอยูจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุด (2) สามารถจัดสรรหรือแจกจายสินคาและบริการที่ผลิตไดนั้นไปยังผูที่สมควรไดรับและตรงตามความตองการมากที่สุด 3) ในฐานะผูกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจ (1) เขาใจปญหาเศรษฐกิจไดดีแกปญหาไดตรง (2) จัดลําดับความสําคัญของโครงการตางๆ ตามความจําเปน (3) สามารถวางนโยบายในการดําเนินการทางเศรษฐกิจเพื่อสรางความมั่นคงมั่งคั่งใหประเทศ 3. มนุษยมีความตองการไมจํากัดในสินคาและบริการประเภทใด จงยกตัวอยาง ทุกประเภท เชน อาหาร เครื่องนุงหม น้ํามันเชื้อเพลิง 4. จงอธิบายความตองการไมจํากัดมาพอเขาใจ ความตองการไมจํากัดหมายถึงความตองการของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้นในทุกดาน ตั้งแต อาหาร เครื่องนุงหม ยารักษาโรค

Page 33: หน วยการเรียนรู ที่ื่ เศรษฐศาส ... · 2010-04-10 · ส 3.1 ข อ 2 ตระหนักความสํัาคญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต

33

5. ทางเลือกและการเลือกในทางเศรษฐศาสตรเก่ียวของกันอยางไร จงอธิบายพอสังเขป ทางเลือกเปนสิ่งที่มนุษยสามารถเลือกที่จะทําไมทําผลิตไมผลิต ซ่ึงเกี่ยวของกับการเลือกผลิตใหสนองตอความตองการของผูบริโภค