ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่...

91
รายงานการวิจัย เรื่อง ปจจัยที่เกี่ยวของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ตอการดําเนินงานกองทุนของกลุมในจังหวัดตาก 2550 โดย นายบุญเลื่อน วงศหาญ สํานักงานเกษตรจังหวัดตาก กรมสงเสริมการเกษตร รายงานวิจัยนีเปนเอกสารประกอบการประเมินบุคคลเพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนง นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 8ตําแหนงเลขที3882 กลุมสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร สังกัดสํานักงานเกษตรจังหวัดตาก .. 2550

Upload: others

Post on 25-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

รายงานการวิจัย

เร่ือง ปจจัยท่ีเกีย่วของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร

ตอการดําเนินงานกองทุนของกลุมในจังหวัดตาก ป 2550

โดย

นายบุญเลือ่น วงศหาญ สํานักงานเกษตรจังหวัดตาก กรมสงเสรมิการเกษตร

รายงานวจัิยนี้ เปนเอกสารประกอบการประเมนิบุคคลเพือ่แตงตั้งใหดํารงตําแหนง

นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 8ว ตําแหนงเลขที ่3882 กลุมสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร สังกดัสํานักงานเกษตรจงัหวัดตาก

พ.ศ. 2550

Page 2: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

ทะเบียนวจิัยเลขท่ี 51-51-006024-02-0009

รายงานการวิจัย

เร่ือง ปจจัยที่เกี่ยวของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร

ตอการดําเนินงานกองทุนของกลุมในจังหวัดตาก ป 2550

โดย

นายบุญเลื่อน วงศหาญ สํานักงานเกษตรจังหวัดตาก กรมสงเสริมการเกษตร

รายงานวิจัยนี้ เปนเอกสารประกอบการประเมินบุคคลเพื่อแตงตั้งใหดํารงตําแหนง

นักวิชาการสงเสริมการเกษตร 8ว ตําแหนงเลขที่ 3882 กลุมสงเสริมและพัฒนาเกษตรกร สังกัดสํานักงานเกษตรจังหวัดตาก

พ.ศ. 2550

Page 3: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

บทคัดยอ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาขอมูลพื้นฐาน ดานการเกษตร ดานเศรษฐกิจ และดานสังคม การมีสวนรวม ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวม สภาพปญหาอุปสรรคของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ที่มีผลตอการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานจงัหวัดตากในป 2550 จํานวน

155 ราย โดยใชแบบสัมภาษณ สถิติที่ใช ความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห

ปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และขอมูลในอันดับเดยีวกัน และสถิติสหสัมพันธ ใชวเิคราะหดวยสถิติถดถอยพหุแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression) หาความสัมพันธระหวางตัวแปรปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และปจจัยอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ กับตัวแปรการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร

ผลการศึกษา (1 )พบวาสมาชิกกลุมสวนใหญ รอยละ 36.8 มีอายุระหวาง 46-55 ป รอยละ

74.8 จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาภาคบังคับ จํานวนสมาชิกในครอบครัวมี 4-5 คนมากที่สุดคิด

เปนรอยละ 62.6 และรอยละ 84.5 ไมเปนคณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร แรงจูงใจที่เขารวมการ

ดําเนินงานกองทุน รอยละ 88.4 ตองการความรูและเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม รองลงมา รอยละ

85.8 ตองการแหลงเงินทนุดอกเบี้ยต่ําในการประกอบอาชีพ รอยละ 77.4 และสมาชิกสวนใหญ รอย

ละ 29.7 อาชีพทําไร และรอยละ 26.5 อาชีพทําสวน รายไดในภาคเกษตร เฉลี่ย 88,984.73 บาท

รายไดนอกภาค และเฉลี่ย 70,528.90 บาท รายไดรวมเฉลี่ย 135,517.42 บาท ภาวะหนี้สินเฉลี่ย

46,725.00 บาท แหลงเงินกูจากกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร แหลงเงินกองทุนไดจาก ระดมหุน การ

ออมทรัพย การรับประโยชน การไดรับเงินปนผล และสวัสดิการ (2 ) การมีสวนรวมในการ

ดําเนินงานกองทุน ในดานการวางแผน การปฏิบัติ การประชาสัมพันธ ตามลําดับ (3) ปจจัยเกีย่วกับการมีสวนรวมในการดาํเนินงานกองทุน ในดานการประชุมวางแผน ในภาพรวมมี

ระดับการรวมมือมาก( X = 4.15) ในดานการปฏิบัติอยูในระดับรวมมือมาก ( X =3.68) และใน

ดานการประชาสัมพันธอยูในระดับมาก ( X = 3.80) (4) ปญหาในภาพรวมมนีอย ( X = 1.68)

ขอเสนอแนะควรสนับสนุนในดานแหลงเงินทุน เพื่อใชในการดําเนนิงาน และปลดภาระหนี้สินนอกระบบ

Page 4: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

คํานํา

การมีสวนรวมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรเปนปจจยัสําคัญที่จะชวยใหกจิกรรมหรืองานโครงการตาง ๆ ดําเนินการตอไปอยางตอเนื่อง จึงควรศึกษาวิจยัการมีสวนรวมในการดําเนนิกิจกรรมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก รวมถึงในการดําเนินงานของสมาชิกกลุมมีปญหาอะไรบาง สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีแนวทางหรือขอเสนอแนะที่จะพัฒนากลุมอยางไร เพื่อจะไดนําผลการศึกษาไปพัฒนากลุมแมบานเกษตรกรใหมีประสิทธิภาพ พึ่งพาตนเองไดโดยพึ่งพาปจจัยภายนอกนอยที่สุด และนําชุมชนใหเขมแข็งตลอดไป

การวิจยัในครัง้นี้ เพื่อตองการศึกษาขอมูลสวนบุคคลบางประการ ปจจยัที่เกีย่วของ ทางดานเศรษฐกิจ สังคม การมีสวนรวมของกลุม ปญหาอุปสรรค ของสมาชิกกลุมแมบานจังหวดัตาก เพื่อนําผลวิจยัไปใชประโยชนตอไป

บุญเลื่อน วงศหาญ

กรกฎาคม 2551

Page 5: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

คํานิยม

การศึกษาปจจยัที่เกีย่วของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรตอการดําเนินงานกองทุนกลุมในจังหวัดตาก ป 2550 นี้ ไดรับความสําเร็จลุลวงไปดวยดี จากการชี้แนะสนับสนุนแนวทางการศกึษาเปนอยางดีจากนายสุภัทร สุปรียธิติกุล และขอขอบคุณ คุณเบญจวรรณ สิทธิตุน นักวิชาการสงเสริมการเกษตร คุณไพรินทร กลํ่าโภชน นักวิชาการสงเสริมการเกษตร สํานักงานเกษตรจังหวดัตาก วาที่พนัตรีนคร โฆษชุณหนนัท หวัหนาฝายยุทธศาสตรและสารสนเทศ สํานักงานเกษตรจังหวดัอุตรดิตถ ที่ใหความอนุเคราะห ใหขอมูลขอแนะนําสงเสริม และใหกําลังใจในการทําการศึกษาครั้งนี้ และขอขอบคุณทานเกษตรอําเภอ และเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรอําเภอ ทุกทานเปนอยางสูง ที่ไดใหความอนุเคราะหและใหความรวมมือในการสํารวจและจัดเก็บขอมูล เปนอยางดยีิ่ง บุญเลื่อน วงศหาญ กรกฎาคม 2551

Page 6: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

สารบัญ หนา

สารบัญตาราง ( 2 ) บทท่ี 1 บทนํา 1 ความสําคัญและที่มาของปญหา 1 วัตถุประสงคของการศึกษา 2 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3 ขอบเขตของการศึกษา 3 นิยามศัพท 3 บทท่ี 2 การตรวจเอกสารและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 5 การตรวจเอกสาร 5 ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ 25 บทท่ี 3 วิธีการวิจัย 29 ประชากร 29 กลุมตัวอยางและการคัดเลือกกลุมตัวอยาง 30 การเก็บรวบรวมขอมูล 31 การวิเคราะหขอมูล 33 ระยะเวลาการศึกษา 33 บทท่ี 4 ผลการศึกษาและขอวิจารณ 34 บทท่ี 5 สรุปและขอเสนอแนะ 65 เอกสารอางอิง 71 ภาคผนวก 75

Page 7: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

(2)

สารบัญตาราง ตารางที่

หนา 1. จํานวนประชากรในการศึกษา 29

2 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่ใชในการวิจยั 31

3. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามอาย.ุ 34

4. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามระดบัการศึกษา 35

5. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามจํานวน สมาชิกใน ครัวเรือน 35

6. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามสถานภาพ ในกลุมแมบานเกษตรกร 36

7. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามแรงจูงใจที่ เขารวมการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร 37

8. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามระยะเวลา การเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร 37

9. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามอาชพีหลัก 38

10.จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามอาชีพรอง 38

11.จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามรายไดในภาคเกษตร 39

12. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกรายไดนอกภาคเกษตร 40

13. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามรายไดรวมทั้งหมด 40

14.จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามภาวะหนี้สิน 41

15. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามแหลงเงินกู 41

16. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามการออมทรพัย 42

17. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามรูปแบบการไดรับผลประโยชน 43

Page 8: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

(2)

สารบัญตาราง(ตอ) ตารางที่ หนา

18. จํานวนและรอยละของความรูความเขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานกองทุนของสมาชิก กลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก 44

19. จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามระดับความรูความ เขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก 46

20 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามการไดรับการ สนับสนุนจากหนวยงานราชการ 47

21 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามการ มีสวนรวม

การดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร 49

22. คาเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของตัวแปรที่ใชในการวิเคราะห 53

23. การวิเคราะหถดถอยพหขุองปจจัยที่เกีย่วของกบัการมีสวนรวมการดําเนินงาน 54 กองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการประชมุวางแผน 55

24 การวิเคราะหถดถอยพหขุองปจจัยที่เกีย่วของกับการมีสวนรวมการดําเนินงาน กองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการปฏิบัติงาน 55

25. การวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงาน กองทุนของสมาชิกกลุม แมบานเกษตรกรดานการประชาสัมพันธ 55

26 การวิเคราะหถดถอยพหขุองปจจัยที่เกีย่วของกับการมสีวนรวมการดําเนินงาน กองทุนของ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในภาพรวม 56

27 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามปญหาการมีสวน รวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิก 58

Page 9: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

บทที่ 1 บทนํา

1. ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ภาคการเกษตรเปนฐานการผลิตที่สําคัญของไทย และมีความสําคัญตอการพัฒนาของประเทศเปนอยางมาก ทั้งในดานเปนแหลงผลิตอาหารเลี้ยงประชากรในประเทศ และประชากรในสวนภูมิภาคตาง ๆ ของโลก ผลผลิตทางการเกษตรทํารายไดใหแกประเทศปละหลายแสนลานบาท ซ่ึงกิจกรรมในดานการเกษตรตาง ๆ นั้น สตรีเกษตรนับวามีบทบาทสําคัญตอครอบครัวของสังคมการเกษตรของไทยเราในชนบท ทั้งตอความอยูรอดของครอบครัวการดูแลสุขภาพของคนในครอบครัว และการตัดสินใจลงทุนประกอบอาชีพการเกษตร สตรีจะมีบทบาทและสวนรวมในกิจกรรมดานการเกษตรทุกขั้นตอนของการผลิต โดยเฉพาะการทํานา ปลูกพืชเล้ียงสัตว ตลอดจนเมื่อไดผลผลิตทางการเกษตรมาแลว สตรียังมีบทบาทที่สําคัญในดานการแปรรูป และการถนอมอาหารจากผลผลิตทางการเกษตรอีกดวย กรมสงเสริมการเกษตร ไดใหความสําคัญของการพัฒนาบทบาทของสตรีในภาคการเกษตร โดยสงเสริมใหสตรีเกษตรในชนบทรวมตัวกันเปนกลุมแมบานเกษตรกรขึ้นในทุกพื้นที่ ทุกหมูบาน ทุกตําบลใหเปนองคกรหนึ่งของสถาบันเกษตรกร ตั้งแตป พ.ศ. 2518 เปนตนมา โดยมีนโยบายและเจตนารมณที่แนวแนในการสงเสริมบทบาทของกลุมแมบานเกษตรกรตามภารกิจที่ดําเนินการอยู เพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกันรับวิชาการความรูดานการเกษตรและเคหกิจเกษตรจากเจาหนาที่ และใหสมาชิกกลุมทุกคนมีสวนรวมคิด รวมทํา รวมตัดสินใจแกไขปญหา และรวมรับผลประโยชน ซ่ึงนําไปสูการพัฒนาตนเองใหมีความมั่นคงในอาชีพ รายได ความเปนอยูที่ดีขึ้น และสามารถพึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืน และจากแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 มีจุดมุงหมาย ในการแกไขปญหาความยากจน และการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนสวนใหญใหยั่งยืน อยูดีมีสุข ภายใตหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เนนความเขมแข็งของชุมชน กลุมแมบานเปนอีกองคกรหนึ่งที่มีความสําคัญ และมีบทบาทเปนอยางมากในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนสวนใหญในภาคการเกษตรเชนเดียวกัน และไดกําหนดการเพิ่มศักยภาพการออมในชนบทเปนมาตรการในการพัฒนาคนและองคกรในภาคเกษตร เพื่อเปนทุนในการพัฒนาอาชีพ ทําใหเกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเองได และเปนหลักประกันที่มั่นคงใหกับครัวเรือนเกษตรกร ตลอดจนการบริหารจัดการเงินออมใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาอาชีพและความมั่นคงของครอบครัวเกษตรกร

กลุมแมบานเกษตรกรเปนองคกรประชาชนรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงประกอบดวย กลุมสตรีในภาคการเกษตรที่แตงงานแลว หรือภรรยาของเกษตรกร หรือบุตรหลานของเกษตรกรที่เปนสตรี

Page 10: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

2

ภาคเกษตรที่พนสภาพการเปนยุวเกษตรกร รวมตัวกันตั้งแต 15 คนขึ้นไป ขึ้นทะเบียนจัดตั้งเปนกลุมแมบานเกษตร

จังหวัดตาก ไดดําเนินการพัฒนางานกลุมแมบานเกษตรกรอยางจริงจัง กําหนดแนวทางพัฒนางานสงเสริมกลุมแมบานเกษตรกรใหเปนองคกรที่สามารถพึ่งพาตนเอง มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ โดยดําเนินการสงเสริมและสนับสนุนใหกลุมแมบานเกษตรกรทุกอําเภอมีการแปรรูปผลิตผลเกษตรเพื่อบริโภคและจําหนายเปนรายไดเสริม และสงเสริมใหสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีการออมเงินหลาย ๆ รูปแบบ เชน การออมตามโครงการเงินออมเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชา และการสงเสริมการจัดตั้งกองทุนในกลุมแมบานเกษตรกรในระดับกลุม ระดับตําบล ระดับอําเภอ และระดับจังหวัด โดยสงเสริมและสนับสนุนโครงการตาง ๆ ใหดําเนินการในกลุมองคกรเกษตรกรเปนอันดับแรก และใหกลุมบริหารจัดการปจจัยการผลิตที่ไดรับเปนกองทุนหมุนเวียนในกลุม กองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรนับวาเปน ส่ิงสําคัญอยางยิ่งของการดําเนินกิจกรรม หากกลุมแมบานเกษตรกรไมมีกองทุนของกลุมที่จะใชหมุนเวียนของกิจกรรมหรือใหมวลหมูสมาชิกใชหมุนเวียนแลว กิจกรรมของกลุมก็จะดําเนินการไดอยางยากลําบาก ขาดประสิทธิภาพ แตที่ผานมาการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากสามารถตอบสนองความตองการของสมาชิกไดในระดับหนึ่ง แตการดําเนินกิจกรรมกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรบางสวนไมสามารถดําเนินการกองทุนใหบรรลุวัตถุประสงคของกลุมได ทั้งนี้ เนื่องจากมีปจจัยหลาย ๆ อยางที่เขามาเกี่ยวของกับสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มีผลตอการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร

ดังนั้น จึงควรตองศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรทางดานสภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และปจจัยอ่ืน ๆ ของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรตอการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร เพื่อใชเปนแนวทางปรับปรุงการดําเนินงานกองทุน การแกไขปญหาของกลุม ตลอดจนรับขอเสนอแนะที่ไดมาปรับใชใหเกิดประโยชน และนําไปเปนแนวทางพัฒนา และแกไขปญหาการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรใหเกิดประสิทธิภาพตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพขอมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และปจจัยอ่ืน ๆ ของสมาชิกกลุม

แมบานเกษตรกรในจังหวดัตาก 2. เพื่อศึกษาการมีสวนรวมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรตอการดําเนินงานกองทนุของกลุม

แมบานเกษตรกรในจังหวดัตาก ป 2550

Page 11: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

3

3. เพื่อศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

4. เพื่อศึกษาสภาพปญหาและอุปสรรคเกี่ยวกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 1. นําเอาขอจาํกัดในดานปจจัยทางดานเศรษฐกิจ สังคม และปจจยัอ่ืน ๆ ของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในจังหวดัตาก ไปปรับปรุงแกไขในการดําเนินงาน 2. นําเอาผลการศึกษาสภาพปญหา และขอเสนอแนะแนวทางการแกไขตาง ๆ ของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในจังหวดัตาก มาใชในการวางแผนสงเสริม และปรับปรุง การดําเนินงานของกลุมตอไป

ขอบเขตการวจัิย ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการศึกษาของการวิจัย โดยศึกษากับตัวแทนสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในจังหวัดตาก จํานวน 155 ราย ในพื้นที่ 9 อําเภอ ของจังหวัดตาก ในป 2550 เพื่อศึกษาปจจัยที่เกี่ยวของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรตอการดําเนินงานกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรในจังหวัดตาก

นิยามศัพท “กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร” หมายถึง แหลงรวมทุนและทรัพยากร เชน เงิน พืช สัตว ปจจยัการผลิต วัสดุอุปกรณ เครื่องจกัร ภูมปิญญา ทรัพยากรธรรมชาต ิและอ่ืน ๆ ที่สามารถนําไปใชหมุนเวียนในกลุมหรือชุมชน เพื่อดําเนนิกจิการตามวัตถุประสงค “กลุมแมบานเกษตรกร” หมายถึง สตรีจังหวัดตากในภาคเกษตรที่มีความสนใจและตั้งใจรวมตัวกันเปนกลุมเพื่อรวมคิด รวมกันตัดสินใจ รวมทํางานเพื่อแกไขปญหาความเปนอยูและการประกอบอาชีพเกษตร โดยยึดมั่นอุทิศตนชวยเหลือกลุมและเพื่อนสมาชิกดวยความเสียสละ เพื่อครอบครัวและสังคมเกษตรมีความมั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถพึ่งพาตนเองได

“สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร” หมายถึง สตรีในภาคเกษตร หรือภาคอืน่ ๆ ที่อยูในหมูบาน “สถานภาพภายในกลุม” หมายถึง สภาพของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ไดแก การเปนคณะกรรมการกลุม คณะกรรมการกลุมระดับตําบล คณะกรรมการกลุมระดับอําเภอ คณะกรรมการกลุมระดับจังหวัด การเปนคณะกรรมการหมูบาน การเปนกํานัน ผูใหญบาน ตลอดจนสมาชิกกลุมอ่ืน ๆ

Page 12: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

4

“ระดับการศึกษา” หมายถึง การศึกษาสูงสุดที่สมาชิกกลุมไดศึกษาตามหลักสูตรของกระทรวงศกึษาธิการ หรือสถาบันอื่นที่ทางราชการรับรอง “ความรูความเขาใจ” หมายถึง การที่สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของตนเอง บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการ วธีิการดําเนินงาน กฎระเบยีบขอบังคับของกองทุน “คณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร” หมายถึง สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่ไดรับการคัดเลือกใหทาํหนาที่ตาง ๆ แทนสมาชิก มีอยางนอย 5 ตําแหนง ไดแก ประธาน รองประธาน เลขานุการ เหรัญญิก ประชาสัมพันธ และกรรมการ “การมีสวนรวมดําเนินงานกองทุน” หมายถึง การที่สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรเขารวมกิจกรรมตาง ๆ ของกลุม ไดแก รวมประชมุวางแผน รวมปฏิบัติ รวมประชาสัมพันธ และประเมินผล “รายได” หมายถึง การที่สมาชิกกลุมมีรายไดของครัวเรือนจากการประกอบอาชีพตาง ๆ ทั้งหมด ซ่ึงเปนตัวเงนิ โดยไมไดหักคาใชจายใด ๆ ในรอบ 1 ป “ระยะเวลาการเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร” หมายถึง จํานวนปนับตั้งแตไดรับการคัดเลือกเขาเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร “คาตอบแทนที่ไดรับจากกลุม” หมายถึง รายไดที่กลุมแบงใหสมาชิกจากการเขารวมกิจกรรมของกลุม หรือเงินปนผลจากหุน ในกรณีที่กลุมมีรายรับจากงานรวมหรืออ่ืน ๆ ที่ไดจากการทํากิจกรรมกลุมในรอบ 1 ป “สถานภาพภายในกลุม” หมายถึง สถานภาพของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ไดแก เปนคณะกรรมการกลุม คณะกรรมการระดับตําบล คณะกรรมการระดับอําเภอ คณะกรรมการระดับจังหวดั “การเปนผูนําทองถิ่น” หมายถึง คณะกรรมการหมูบาน กํานัน ผูใหญบาน สมาชิกองคการบริหารสวนตําบล (อบต.) สมาชิกองคการบริหารสวนจังหวัด (อบจ.) คณะกรรมการบริหารศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล “การไดรับการบริการความรู” หมายถึง การที่สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรเขารับการถายทอดความรูและเทคโนโลยีในกิจกรรมสงเสริมการเกษตรจากเจาหนาที่สงเสริมการเกษตร และเจาหนาที่จากหนวยงานที่เกี่ยวของ

Page 13: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

บทที่ 2 การตรวจเอกสารและผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

ในการวิจัยเร่ืองปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรจังหวัดตาก เพื่อใหสอดคลองกับเนื้อหาสาระของงานวิจัย ผูวิจัยไดแบงการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของ เปนประเด็นตาง ๆ ดังตอไปนี้ 1. แนวคดิและทฤษฎีที่เกีย่วของกับการมีสวนรวม 2. แนวคดิเกีย่วกับการดําเนนิงานของกลุมแมบานเกษตรกร 3. การดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร จังหวัดตาก 4. ผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ การตรวจเอกสาร 1. แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการมีสวนรวม

1.1 ความหมายการมีสวนรวม นักวิชาการหลายทานใหความหมายของการมีสวนรวมไวดังนี ้ ชัยอนันต สมุทวณิช (2527) ไดใหความหมายของการมีสวนรวม ไววา การมีสวนรวมคือ การที่ประชาชน หรือชุมชนมีสวนรวมเปนเจาของทรัพยากรที่มีอยูในชุมชนรวมกันมีสวนรวมในการแบงปนทรัพยากร ซ่ึงจะไดมากนอยเพียงใดยอมขึ้นอยูกับการมีอํานาจ และสถานภาพทางสังคม เศรษฐกิจ หรือการมีความสามารถในการเขาถึงอํานาจ สุรพล จุนทราปตย (2544) ไดใหความหมายของการมีสวนรวม ไววา หมายถึง ผูที่ไดรับผลประโยชน หรือมีสวนไดสวนเสียในการพัฒนา ไดใชความพยายามรวมกันในขั้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการพัฒนา ดวยความรูสึกผูกพันในความเปนเจาของหรือหุนสวน เพื่อใหงานหรือโครงการนั้นบรรลุผลสําเร็จความวัตถุประสงคที่ทุกฝายจะไดรับประโยชนรวมกัน นพวรรณ เสวตานนท (2546 ) ใหความหมายการมีสวนรวมไววาการที่ปจเจกบุคคล หรือกลุมคน หรือองคกรประชาชนรวมคิดรวมตัดสินใจเลือกแนวทางพัฒนาแกไขปญหาการดําเนินการและกิจกรรมในชุมชน โดยรวมวางแผนโครงการ รวมปฏิบัติในลักษณะของการเสียสละแรงงาน บริจาคเงิน วัสดุส่ิงของ รวมแบงปนผลประโยชน และรวมติดตามผลดวยความสมัครใจเพื่อที่จะพัฒนาสิ่งแวดลอมหรือชุมชนใหบรรลุเปาหมายที่กําหนด เบญจมาศ อยูประเสริฐ (2547) สรุปความหมายของการมีสวนรวมจากแนวคิดของนักวิชาการหลาย ๆ ทาน แลวนํามาสรุปประเด็นสําคัญของแตละความหมายไดวา คําวา การมีสวนรวมทางสงเสริมการเกษตรที่เนนถึงการมีสวนรวมของกลุมบุคคลตาง ๆ ทางสงเสริมการเกษตร ไดแก

Page 14: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

6

เกษตรกร แมบานเกษตรกร เยาวชนเกษตร และเจาหนาที่ที่เกี่ยวของนั้น มีประเด็นสําคัญที่เหมือนกันและแตกตางกันอยูหลายประการ ดังนี้ 1 เปนการกระจายอํานาจในการตัดสินใจ ใหกลุมบุคคลตาง ๆ ในงานสงเสริมการเกษตร มีโอกาสในการรวมคิด ตัดสินใจ เลือกแนวทางในการพัฒนาซึ่งจะมีผลทําใหเกิดการสรางพลังอํานาจ ใหเกิดขึ้นกับกลุมบุคคลตาง ๆ เหลานี้ 2 เปนการที่กลุมบุคคลตาง ๆ ในงานสงเสริมการเกษตรไดเขามามีสวนเกี่ยวของ ในการทํากจิกรรม ในขั้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการพัฒนา ตลอดจนมีสวนรวมเปนเจาของและรับผิดชอบในสวนของตนเองที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา 3 เปนการทําใหเกิดความเสมอภาคหรือเทาเทียมกัน ในดานตาง ๆ ใหเกิดขึ้นในกลุมบุคคลตาง ๆ ในงานสงเสริมการเกษตร โดยทําใหกลุมบุคคลตาง ๆ ทุกคนมีสวนในการคิดคนปญหาของตนเองและชุมชน หาแนวทางในการแกไขปญหาเหลานั้นในฐานะที่เทาเทียมกัน ตลอดจนมคีวามเสมอภาคในการรวมรับผลประโยชนและรวมรับผิดชอบกับผลที่เกิดขึ้น 4 เปนการที่กลุมบุคคลตาง ๆ ในงานสงเสริมการเกษตรไดมีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถ ของตนเองในการคิดริเร่ิม การจัดการ การควบคุมการใชและการกระจายทรัพยากรและปจจัยการผลิต ที่มีอยูในชุมชน ใหเกิดประโยชนตอการดํารงชีวิตทางเศรษฐกิจและสังคมตามความจําเปนอยางสมศักดิ์ศรีในฐานะสมาชิกกองทุน 5 เปนการที่กลุมบุคคลเปาหมายในงานสงเสริมการเกษตรจะตองมีสวนรวมในการจัดสรรผลประโยชนตาง ๆ และรับสภาพถึงผลเสียที่เกิดขึ้น โดยถือวาบุคคลเปาหมายนั้นเปนผูมีสวนไดสวนเสียในการดําเนินการพัฒนา ดวยความรูสึกผูกพันถึงความเปนเจาของ หรือหุนสวน จากคําจํากัดความของการมีสวนรวมที่แสดงไวขางตนสรุปไดวา การมีสวนรวม คือ กลุมของประชาชนเปาหมายที่ไดมีโอกาสเขาไปมีสวนรวมในลักษณะรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมวางแผน รวมปฏิบัติงาน รวมรับผลประโยชน และรวมติดตามประเมินผลอยางเสมอภาคและเทาเทียมกันในการทํากิจกรรมในขั้นตอนตาง ๆ ของกระบวนการพัฒนาดวยความสมัครใจ และ เห็นพองตองกันในเรือ่งที่จะตองการแกไขปญหาที่ตนประสบอยูในชุมชน และดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหบรรลุวัตถุประสงค อยางเปนอิสระ

1.2 แนวคิดเกีย่วกับการมีสวนรวม Cohen and Uphoff (1980) อางโดย เบญจมาศ อยูประเสริฐ( 2544) ไดจําแนกประเภทของการมีสวนรวมตามขั้นตอนของกระบวนการวางแผนไว 4 ประเภท ไดแก 1 การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ การริเร่ิมตัดสินใจ การดําเนินการตัดสินใจ และการตัดสินใจลงมือปฏิบัติ

Page 15: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

7

2 การมีสวนรวมในการปฏิบัติการ ประกอบดวย การสนับสนุนทางดานทรัพยากร การเขารวมในการบริหาร การประสานขอความรวมมือ 3 การมีสวนรวมในการรับผลประโยชน ไมวาจะเปนผลประโยชนทางดานวัตถุ ดานสังคม ดานสวนบุคคล 4 การมีสวนรวมในการประเมิน เปนการควบคุมและตรวจสอบการดาํเนินกจิกรรมทั้งหมด และเปนการแสดงถึงการปรับตัวในการมีสวนรวมตอไป สมศักดิ์ สุขวงศ(2536) ไดกลาวถึงขั้นตอนการมีสวนรวมของประชาชน ดังนี ้

1 การมีสวนรวมในการตัดสนิใจ 2 การมีสวนรวมในการลงมือทําเอง 3 การมีสวนรวมในการแบงปนผลประโยชน 4 การมีสวนรวมในการประเมินผล

ดุสิต เวชกจิ อางโดย นพวรรณ เสวตานนท(2546) ไดแบงระดับการมีสวนรวมของประชาชนเปน 7 ระดับ คือ ระดับ 1 ไมมีสวนรวมเลย เปนลักษณะที่ทางหนวยงานของรัฐเขาไปดําเนินการใหประชาชนทั้งหมด หรือบางครั้งบังคับประชาชนใหเขามามีสวนรวมโดยไมมีทางหลีกเลี่ยงได เพราะประชาชนเกรงความผิดที่อาจเกิดขึ้นได รวมทั้งเกรงใจวาตองสูญเสียผลประโยชนบางประการ เชน การถูกปรับ การถูกเพงเล็งจากทางราชการ แตถาหลีกเลี่ยงไดประชาชนจะไมเขามามีสวนรวม ระดับ 2 มีสวนรวมนอยมาก ประชาชนเขามามีสวนรวม เพราะมีส่ิงลอใจ หรือผลประโยชนบางประการที่จะไดรับ เชน ไดรับเงินคาตอบแทนจากการใชแรงงาน ไดมีโอกาสไปทัศนศึกษานอกสถานที่ การมีช่ือเสียง ฯลฯ แตประชาชนเองมิไดมีความเลื่อมใสตอกิจกรรม ดังนั้น เมื่อไรก็ตามที่ประชาชนเห็นวาตนเองไมไดรับประโยชนเพียงพอที่จะเขามามีสวนรวม ก็จะไมเขามามีสวนรวม ระดับ 3 มีสวนรวมนอย ประชาชนเขามามีสวนรวม เพราะถูกชักจูง โดยการโฆษณาประชาสัมพันธในรูปแบบตาง ๆ ที่มุงเนนเห็นถึงผลดีและผลประโยชนที่ไดรับ ซ่ึงไมไดคํานึงถึงความตองการของประชาชนในทองถ่ิน และประชาชนมิไดมีสวนเสนอความคิดเห็นใด ๆ ทั้งสิ้น ถาประชาชนเขามามีสวนรวมแลวจะไดรับผลประโยชนอาจจะใหความรวมมือตอไป ระดับ 4 มีสวนรวมปานกลาง ทางราชการจะสอบถามประชาชนถึงความตองการของทองถ่ิน และสภาพขอเท็จจริงที่เปนอยู จากนั้นทางราชการจะนําขอมูลที่ไดเหลานี้ไปกําหนดแผนงาน เพื่อใหประชาชนปฏิบัติตาม ซ่ึงแผนงานที่กําหนดขึ้นนี้บางครั้งอาจไมตรงตามความประสงคของประชาชนได

Page 16: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

8

ระดับ 5 มีสวนรวมคอนขางสูง ทางราชการจะมีการยอมรับใหประชาชนเขามามี สวนรวมคอนขางสูง โดยเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็นตาง ๆ รวมทั้งแนวทางแกไขปญหา ความประสงคของประชาชน แตการตัดสินใจในการกําหนดแผนงานจริง ๆ ยังขึ้นอยูกับอํานาจ และหนาที่ของทางราชการ ระดับ 6 มีสวนรวมสูง ทางราชการจะเปดโอกาสอยางมากใหประชาชนแสดงขอคิดเห็นขอเสนอแนะเกี่ยวกับกิจกรรมที่มีสวนรวมจากประชาชนโดยใกลชิด การดําเนินการขึ้นอยูกับการตัดสินใจของประชาชนเองวาจะแกไขปญหาชุมชนอยางไร ระดับ 7 มีสวนรวมในอุดมคติ ประชาชนในทองถ่ินจะรวมมือดําเนินการดวยตนเองโดยตลอดนับตั้งแตเร่ิมตนจนกระทั่งสิ้นสุดการดําเนินงาน เปนการอาศัยพื้นฐานความตองการของประชาชนในทองถ่ินเอง จึงไดรับการรวมมือจากประชาชนเปนอยางดี ทางราชการอาจเขามามีสวนรวมบางในแงของการชวยเหลือหรือสนับสนุนสิ่งที่เกินความสามารถของประชาชนเทานั้น โดยสรุปแนวคิดเกี่ยวกับการเขาไปมีสวนรวม คือการเขาไปมีสวนรวมของประชาชนในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของสัมพันธกับการพัฒนา ซ่ึงจะเขารวมดวยความสมัครใจ หรือเกิดจากเงื่อนไขทางเศรษฐกิจและสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี เปนตัวบังคับใหเขามามีสวนรวมจะโดยทางตรงหรือโดยผานตัวแทนกลุมทางออมในทุก ๆ ขั้นตอนของการพัฒนา และสามารถที่จะ วัดระดับของการมีสวนรวมของประชาชนได 5 ระดับ คือ มีสวนรวมนอยมาก มีสวนรวมนอย มีสวนรวมปานกลาง มีสวนรวมมาก และมีสวนรวมมากที่สุด

1.3 ปจจัยท่ีมีผลตอการมีสวนรวมของประชาชน ชูเกียรติ ภัยล้ี(2536) ไดกลาวถึงปจจยัที่มีผลตอการมีสวนรวม มี 3ปจจัย คือ 1 ปจจัยสวนบคุคล 2 ปจจัยดานสงัคมและเศรษฐกิจ 3 ปจจัยดานการติดตอส่ือสาร นุรุท พึ่งบุญ (2536) ไดกลาวถึงปจจัยที่เกี่ยวของการมีสวนรวม 3 ประการ คือ

1 ปจจัยส่ิงจูงใจ 2 ปจจัยโครงสรางของโอกาสหรือชองทางในการเขารวม 3 ปจจัยดานอาํนาจ

กรณิศ เชื้อศริิถาวร(2544) ไดกลาววาปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวม 3 ประการ คือ 1 ปจจัยของสิ่งจูงใจ การที่ประชาชนจะเขารวมในกิจกรรมใดกิจกรรม หนึ่งทั้งในแงการรวมแรง รวมทรัพยากร หรืออ่ืน ๆ นั้น จะมีเหตุผล 2 ประการ คือ การมองเห็นวาตนเองจะไดรับผลตอบแทนในสิ่งที่ตนเองทําไป ซ่ึงเปนเรื่องของการกระตุนใหเกิดมีส่ิงจูงใจ ประการที่สอง คือ

Page 17: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

9

การที่ไดรับการบอกกลาวหรือชักชวนจากเพื่อนใหรวมโดยมีส่ิงจูงใจเปนตัวนํา ซ่ึงถือวาเปนเรื่องของการกอใหเกิดมีส่ิงจูงใจ 2 ปจจัยโครงสรางของชองทางในการเขามามีสวนรวม แมวาประชาชนเปนจํานวนมากจะเห็นประโยชนของการเขารวมในกิจกรรมพัฒนา แตไมอาจจะเขารวมกิจกรรมได เนื่องจากไมเห็นชองทางของการเขารวมหรือเขารวมแลวไมไดรับผลที่คาดหวังไว เนื่องจากการเขามามีสวนรวมกันนั้น มิไดมีการจัดรูปแบบความสัมพันธที่เหมาะสม เชน ภาวะผูนํา กฎระเบียบ แบบแผนลักษณะการทํางาน เงื่อนไขการเขารวม ดังนั้นพื้นฐานทางดานโครงสรางของชองทางในการเขารวม จึงควรมีลักษณะดังนี้ 1) เปดโอกาสใหทุก ๆ คน และทุก ๆ กลุมในชุมชนมีโอกาสเขารวมในการพัฒนาในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง โดยการเขารวมอาจจะอยูในรูปของตัวแทนหรือเขารวมโดยตรง 2) ควรมีเวลากําหนดที่ชัดเจนเพื่อผูเขารวมจะสามารถกําหนดเงื่อนไขของตนเองไดตามสภาพเปนจริง 3) กําหนดลักษณะของกิจกรรมที่แนนอนวาจะทาํอะไร 3 ปจจยัอํานาจในการสงเสริมกิจกรรมของการมีสวนรวม โดยปกติที่ผานมาในกจิกรรม หนึ่ง ๆ แมวาประชาชนมีโอกาสเขารวมแตก็ไมอาจจะกําหนดเปาหมายวิธีการ หรือผลประโยชนของกิจกรรม แตขึ้นอยูกับการกําหนดและการจัดสรรของเจาหนาที่ของรัฐ ซ่ึงไมอาจจะกอใหเกิดการมีสวนรวมที่แทจริง ดังนั้นจึงกลาวโดยสรุปวาปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวม สามารถแบงได 3 ปจจัย คือ ปจจัยแรก คือ ปจจัยสวนบุคคล ไดแก อายุ การศึกษา การเปนสมาชิกกลุม การศรัทธาเชื่อถือบุคคลที่มีเกียรติ คานิยม ทัศนคติ ระยะเวลาที่อาศัยอยู สถานภาพทางสังคม ระยะเวลาการเปนสมาชิก ประการที่สอง คือ ปจจัยทางเศรษฐกิจ ไดแก รายได อาชีพ ภาวะหนี้สิน ปจจัยที่สาม คือปจจัยอ่ืน ๆ ไดแก ชองทางการสื่อสาร ส่ิงจูงใจ โอกาส อํานาจ การไดรับการสนับสนุนจาก เจาหนาที่ของรัฐ

1.4 สเกลวัดการมีสวนรวมของประชาชน

นักวิจัยทางสังคมศาสตรพยายามสรางเครื่องมือที่เปนมาตรฐาน โดยการพัฒนาและดัดแปลงจากผลงานของนักวิจัย ดวยการนําองคประกอบตาง ๆ ที่แตกตางกันมาสรางสเกลวัดการมีสวนรวม พิฑูร สาตราภัย (2539) ไดกลาววาการวัดระดับของการมีสวนรวม ซ่ึงพอสรุปได 3 ประการ คือ

Page 18: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

10

1 การกระทําโดยแตละบุคคล มิใชเปนการกระทําโดยกลุม ซ่ึงอาจทําใหการวิเคราะหหรือไดขอมูลที่ไมถูกตอง เพราะการแสดงออกของแตละบุคคลในกระบวนการมีสวนรวมนั้นจะเห็นไดถึงคานิยม การรับรู และพฤติกรรมของแตละบุคคล กลาวคือ กริยาที่ถือวา เปนการมีสวนรวมก็คือ กริยาที่มีการแสดงตอผลของการกระทํานั้นโดยตรงแตละบุคคล 2 ความถี่ของการกระทํา ซ่ึงแสดงออกโดยการรวมกระทาํที่บอยครั้ง ระยะเวลาของกิจกรรมที่ยาวนานหรือมีความผูกพัน และมีแรงจูงใจกระทํา 3 คุณภาพของการเขารวม ซ่ึงดูจากผลและผลกระทบของการกระทําในเบื้องแรก เชน ความรับผิดชอบ การตัดสินใจ การเปดกวางยอมรับความสามารถ และความคิดเห็นมีการกระทําการประเมินผล

2. แนวคิดเกี่ยวกับกลุมแมบานเกษตรกร 2.1 ความหมายของกลุม ราชบัณฑิตสถาน(2525) ไดใหความหมายไววา กลุม ประกอบดวยคน 2 คนขันไปที่ไดสรางแบบอยางของการกระทําระหวางกันทางจิตขึ้น กลุมหรือหมูคณะนี้ เปนที่ยอมรับวาเปนองคภาวะอยางหนึ่ง ทั้งโดยสมาชิกของกลุมเอง และตามปกติโดยผูอื่นดวย ทั้งนี้เพราะกลุมจะมีพฤติกรรมรวมในแบบฉบับของตนเอง อาภรณพันธ จันทรสวาง (2525) ไดใหความหมายของกลุมไววา กลุมจะตองประกอบดวยสมาชิกตั้งแต 2 คนขึ้นไป มารวมกัน มีปฏิสัมพันธระหวางสมาชิก มีจุดมุงหมายและการกระทํากิจกรรมรวมกัน มีพฤติกรรมตามบทบาทหนาที่ของสมาชิก สุชา จันทรเอม (2536) ไดใหความหมายเกี่ยวกับกลุมไวดังนี ้ 1 การรวมของบุคคลที่มีส่ิงเราและสนใจตรงกัน หรือรวมทํากิจกรรมและมีมาตรฐานของพฤติกรรมรวมกัน

2 กลุม คือ การรวมของบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป ที่มีจดุประสงค กิจกรรมมาตรฐานของพฤติกรรมรวมกัน 3 สมาชิกของกลุมจะตองมคีวามรูสึก มีทัศนคติ และเปาหมายเปนกลุมไมใชเปนของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

2.2 การจัดตั้งและดําเนินงานกลุมแมบานเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตร (2546ก) มีนโยบายที่จะสนับสนุนการรวมตัวกันของกลุมแมบาน เพื่อรวมคิด รวมตัดสินใจ รวมกันทํางานเพื่อแกไขปญหาความเปนอยูและประกอบอาชีพเกษตร โดยยึดมั่นอุทิศตนชวยเหลือกลุมและเพื่อสมาชิกดวยความเสียสละ เพื่อใหครอบครัวและสังคม

Page 19: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

11

เกษตรกร มีความมั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถพึ่งพาตนเองได และไดสรุปแนวทางและหลักเกณฑ ของการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกรไวดังนี้

2.2.1 หลักการของกลุมแมบานเกษตรกร 1) เปนองคกรของเกษตรกรเพื่อชวยเหลือซ่ึงกันและกนั 2) เปนแหลงความรูเพื่อพัฒนาสมาชิกใหสามารถพึ่งพาตนเอง 3) ดําเนนิการในรูปของคณะกรรมการ เนนการทํางานเปนทีม 4) มีการกําหนดระเบยีบกตกิาในการดําเนนิงาน ตามระบอบประชาธิปไตย โดยสมาชิกเพือ่สมาชิก 5) สมาชิกทุกคนมีสวนรวมคิด รวมทํา รวมตัดสินใจแกไขปญหา และรวมรับผลประโยชน

2.2.2 วัตถุประสงคของกลุมแมบานเกษตรกร 1) เปนแหลงและถายทอดวชิาความรูดานการเกษตรและเคหกจิเกษตร ใหแกสมาชิก 2) ดําเนนิกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจพอเพยีง ไปจนถึงวิสาหกิจชุมชน 3) ชวยเหลือสมาชิกใหสามารถพึ่งพาตนเองได และเขามามีสวนรวม ในกิจกรรมของกลุม 4) เสริมสรางความมั่นคงในอาชีพใหสมาชกิมีรายได และปรับปรุงความเปนอยูของครอบครวัใหดีขึ้น

2.2.3 ประโยชนของกลุมแมบานเกษตรกร มีดังนี ้ 1) ชวยใหแมบานเกษตรกรเรียนรูจากกันและกัน และไดรับความรูจาก

เจาหนาทีใ่นการจัดงานบานและงานอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ 2) ชวยการตัดสินใจของแมบานเกษตรกร สามารถวางแผนงานกิจกรรมไดผลดีกวาเดมิ 3) ชวยใหกลุมแมบานเกษตรกรไดพัฒนาเต็มศักยภาพ สามารถเขาถึงบริการของรัฐและเขารวมงานพัฒนาอยางเสมอภาค 4) ชวยเหลือกนัในการแกไขปญหาและปกปองผลประโยชนของสมาชิก โดยอาศัยพลังกลุม 5) ไดรับความเชื่อถือจากองคกรอื่นทั้งภาครัฐและเอกชนในฐานะองคกรตัวแทนของแมบานเกษตรกรมากกวาโดยลําพัง

Page 20: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

12

2.2.4 การดําเนินการจัดตัง้กลุมแมบานเกษตรกร มีขั้นตอนดังนี ้ 1) ปรึกษาเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเพื่อขอรับความรูแนวทางการจัดตั้ง กลุมแมบานเกษตรกร 2) หาโอกาสพดูคุยกันเองถึงปญหาและความสนใจที่แตละคนมีอยู 3) ประชาสัมพันธสรางความเขาใจ และแรงจูงใจใหเขารวมกลุมโดยสมัครใจ 4) นัดประชุมผูที่มีปญหา และความสนใจรวมกัน เพื่อหาแนวทางแกไขปญหานั้น ๆ โดยทุกคนมีสวนรวมคิด รวมดําเนนิการ 5) รวมคัดเลือกผูนํากลุม 1 - 3 คน ทําหนาที่เปนหวัหนาในการแกไขปญหา ติดตอประสานงานระหวางกลุมแมบานเกษตรกร หนวยงานราชการ และเอกชน 6) รวมกนักําหนดวัตถุประสงค วิธีการทํางานกลุม และระดมทรัพยากรที่มีอยูเพื่อนํามาใชประโยชน 7) ผูนํากลุมแจกใบสมัคร แนะนําการกรอกใบสมัคร กําหนดสงคืนพรอม นัดวนัประชุมเพื่อการจัดตั้งกลุมตอไป

2.2.5 โครงสรางของกลุมแมบานเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตร(2546ก) ประกอบดวย 1) คณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร ประกอบดวย 5 ตําแหนงคือ

(1) ประธานทําหนาที่เปนประธานในที่ประชุม กําหนดเรื่องหรือวาระประชมุและแผนการประชุมเพื่อใหไดมติกลุมในการทํางานใหดีที่สุด วางแผนแนวทางและนโยบายของกลุม ชวยช้ีแนะวิธีการใหกลุมทําโครงการขอรับการสนับสนุนจากแหลงงบประมาณตางๆ และปฏิบัติตามมติที่ประชุม

(2) รองประธาน ทําหนาทีแ่ทนประธานเมื่อประธานไมอยู รวมปฏิบตัิงานกับประธานอยางใกลชิด จดัทําบัญชีครุภัณฑทรัพยสินของกลุม และควบคุมการนําไปใชใหเกดิประโยชนแกกลุมสมาชิก และปฏิบัติงานอื่นใดที่ประธานและที่ประชุมมอบหมาย (3) เลขานกุารทําหนาที่ จัดทาํเอกสารและรายงานการประชุม จดัทําทะเบียน และสถานะของสมาชกิทกุคน ตดิตอประสานงานกับหนวยงาน หรือบคุคลที่เกีย่วของ และปฏิบัติงานอ่ืนใดที่ประธานและทีป่ระชุมมอบหมาย

(4) เหรัญญิก ทําหนาที่ควบคุมและแสดงรายการเงนิ แลจดัทําบัญชีรับจายของกลุม ใหคาํแนะนําแกสมาชิกในการจดบันทึกและจดัทําบัญชี ปฏิบัติงานอื่นใดที่ประธานและ ที่ประชุมมอบหมาย

Page 21: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

13

(5) ประชาสัมพันธทําหนาทีก่ระจายขาว ความรูไปสูสมาชิก ประชาสัมพันธ เผยแพรผลงานของกลุม ประสานงาน และนัดหมายสมาชิกรวมกจิกรรมกลุมและปฏิบัติงานอื่นใด ที่ประธานและที่ประชุมมอบหมาย 2) สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร เปนสตรีในภาคเกษตร อายุ 20 ปขึ้นไปหรือแตงงานแลว มีความสมัครใจที่จะรวมทํางานกันในการพัฒนาแกไขปญหา มีศรัทธาและเชื่อมั่นในพลังกลุม มีบทบาทหนาที่ เขารวมการประชุมกลุมละแสดงความคิดเห็น รวมกําหนดแนวทางแกไขปญหาตางๆ ที่กลุมยกขึ้นมา ใหขอมูลขาวสารหรือหาขอมูลใหกลุม ใหความชวยเหลือนําความรูที่ไดไปปรับปรุงครอบครัวและอาชีพ รวมถึงเผยแพรแกผูอ่ืน กระตุนใหผูนํากลุมและเพื่อนสมาชิกปฏิบัติงานตาง ๆ ที่เกิดประโยชนแกหมูสมาชิกสวนใหญ ใหความรวมมือสนับสนุนในการดําเนินกิจกรรมกลุมอยางตอเนื่อง หรือขยายกิจกรรมใหกวางขวางยิ่งขึ้น ใหคําแนะนําเพื่อนบานที่ไมไดเปนสมาชิกใหเห็นถึงคุณคาความสําคัญของการทํางานเปนกลุม ปฏิบัติตามมติ ขอบังคับของกลุม และใหความรวมมือกับราชการในโอกาสอันสมควร และไมกระทําเรื่องที่เสื่อมเสียแกกลุมสมาชิก 3) ที่ปรึกษากลุมแมบานเกษตรกร มีบทบาทใหคําปรึกษาแนะนําแกคณะกรรมการกลุม และชวยเหลือการดําเนินกิจกรรมของสมาชิก

2.2.6 บทบาทของกลุมแมบานเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตรไดกําหนดบทบาทของกลุมแมบานไว รวม 3 ดาน ดังนี ้ 1) ดานเศรษฐกจิ ไดแก ชวยเพิม่มูลคาสินคาเกษตร ชวยผลักดันนโยบายหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภณัฑ พัฒนาสินคาเกษตรจากภูมิปญญาทองถ่ิน และเปนตัวจักรสําคัญในการระดมทุน และบริหารจัดการกองทุนทองถ่ิน 2) ดานสังคม มีสวนรวมในการสรางความมั่นคงดานอาหารของทองถ่ิน สรางความเขมแข็งใหชุมชน โดยใชกลไกลศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล และสภากลุมแมบานเกษตรกร เปนแกนนําในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และเพิ่มประสิทธิภาพการเปนผูนาํและการบริหารจัดการกลุมแกผูนํากลุมและสมาชิก 3) ดานวิชาการ เปนแกนนําในการรับและถายทอดความรูดานการเกษตรและเคหกิจเกษตรแกสมาชกิครอบครัวและชุมชน นําการเปลี่ยนแปลงดานเทคโนโลยีการแปรรูปผลิตผลเกษตรและการพัฒนาผลิตภัณฑใหมีคุณภาพปลอดภัยตอผูบริโภค

Page 22: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

14

2.2.7 เปาหมายการดําเนินงานกลุมแมบานเกษตรกร กําหนดไวดังนี ้ 1) เกิดการพฒันาเชิงคุณภาพ ไดแก กลุมสามารถบริหารตนเองไดอยางดี สรางและพัฒนาผูนําและวิทยากรทองถ่ิน พัฒนาครัวเรือนและการบรหิารบานเรือน พัฒนารากฐานระบอบประชาธิปไตย 2) เกิดการพฒันาอาชีพภายในชุมชน ไดแก สรางงานในชุมชนและปองกัน การยายถ่ินฐาน พฒันารายไดภาคเกษตรใหสม่ําเสมอและเพิม่ขึ้น พัฒนาการประกอบอาชีพการเกษตร สูธุรกิจและวสิาหกิจชุชน 3) เกิดการพัฒนาการบริหารเงินทุนชุมชนโดยชุมชนไดแก มีการออมและระดมทุนภายในชมุชนอยางเปนระบบ พฒันากองทุนชุมชนใหเชื่อมโยงกบัสถาบันการเงิน เกดิการคืนกําไรสูชุมชน และนําไปสูการจัดการทรัพยากรอื่น ๆ อยางมีคุณคามากขึ้น 4) เกิดการพัฒนาสิ่งแวดลอม ไดแก รักษาและจัดการทรัพยากรในชุมชนอยางเปนระบบ พัฒนาสิ่งแวดลอมที่สัมพันธกับความเปนอยู ลดมลพิษในชุมชน และพัฒนาทรัพยากร ธรรมชาติและพลังงานตาง ๆ อยางสมดุล 5) เกิดการพฒันาอนามัยชุมชนที่ดี ไดแก ใหสุขภาพดีถวนหนา รักษาสุขาภิบาลชุมชน บําบัดตนใหพนโรคภัย และประหยัดปจจัยในการรักษา

2.2.8 แนวทางการดําเนนิงาน 1) จัดการประชุมกลุมเปนประจํา เพื่อทราบปญหาความตองการของสมาชิกและสรางความรวมมือในการทํางาน 2) ใหมแีผนงานประจําปและเปาหมายของกลุมที่ชัดเจนโดยมติของสมาชิก 3) รับความรูวชิาการจากเจาหนาที่ และขอคําแนะนําในการกําหนดโครงการ ใหสอดคลองกับความตองการของสมาชิกและสภาพทองถ่ิน 4) สนับสนุนการเรียนรูของสมาชิกและการมีสวนรวมทํางานกลุมในกิจกรรมตาง ๆ 5) ใหมกีิจกรรมหลักที่สรางรายไดแกกลุม และใหการสนับสนุนกิจกรรมตามความถนัดของสมาชิก 6) ใหมกีองทนุเพื่อสนับสนนุการดําเนนิงานกลุมอยางตอเนื่อง 7) ใหมีทะเบยีนสมาชิกและระเบียบขอตกลงของกลุมที่สมาชิกทุกคนรับทราบและถือปฏิบัติได 8) ประสานและรวมมือกับกลุมองคกรอื่น ๆ เพื่อทราบความเปนไปไดของโครงการตาง ๆ และชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ใหเกดิการพัฒนาอยางยัง่ยืน

Page 23: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

15

9) ตดิตามตรวจสอบการดําเนนิงานและประเมินผลเพื่อการปรับปรุงงานใหดียิง่ขึ้น 10) ประชาสัมพันธผลงานและการดําเนนิงานกลุมใหแพรหลาย

3. แนวคิดเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการเกษตรในองคกรเกษตรกร

3.1 ความเปนมาของกองทนุ กรมสงเสริมการเกษตร (2546ก) การพัฒนาประเทศไทยภายใตแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 มีจุดมุงหมายในการแกไขปญหาความยากจนและยกระดับคุณภาพชีวิตของคนสวนใหญของประเทศ ซ่ึงไดใหความสําคัญกับการสรางความมั่นคงของเศรษฐกิจชุมชนโดยยึดหลักแนวทาง “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง” ซ่ึงเปนแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนกาวทันตอโลกยุคปจจุบัน ใหยึดทางสายกลางอยูบนพื้นฐานของความสมดุล พอดี และความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน การนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการทุกขั้นตอน รวมทั้งเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย สุจริต ใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญา และรอบคอบ เพื่อนําไปสูสังคมที่มีคุณภาพ ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง สามารถพึ่งพาตนเองได

3.2 ความหมายของกองทุน ทุน ความหมายตามแนวคิดเศรษฐศาสตรทุนนิยมใหความสําคัญกับทุนที่เปนเงินตราหรือที่เปนวัตถุสงผลใหมีการมุงสั่งสมทุน ความมั่งคั่ง และกําไร เมื่อมีการพัฒนาสั่งสมทุนไดมากขึ้น จะนําทุนไปใชในการขยายการผลิต นําไปสูการแขงขันและเรงการผลิตโดยใชทรัพยากรตาง ๆ เปนตนทุนในการผลิตมากขึ้นเรื่อย ๆ เกิดผลกระทบที่ไมพึงประสงคตามมามากมาย เชน การเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ การกระจายรายไดไมเทาเทียมกัน เปนตน กรมการพัฒนาชุมชน (2547) ไดกลาวถึง แนวคิดทีใ่หความสําคัญกับการพัฒนาอยางยั่งยืน แนวคิดนี้ใหความสําคัญกับทุน 4 ประเภท คือ 1 ทุนธรรมชาติ หมายถึงทรพัยสินที่เกดิขึน้โดยธรรมชาติ รวมถึงการใชประโยชน จากทรัพยากรธรรมชาติในทุกรูปแบบ ทั้งที่สามารถฟนฟูขึ้นมาใหม และใชแลวหมดไป ตลอดจนผลประโยชนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากระบบนิเวศของโลกดวย เชน แรธาตุ ปาไม น้ํา ดิน และความหลากหลายทางธรรมชาติ

Page 24: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

16

2 ทุนฝมือมนุษย หมายถึง ทรัพยสินที่มนุษยสรางขึ้น ทั้งในรูปตัวเงินและในรูปกายภาพ สามารถสรางขึ้นใหมทดแทนที่ใชแลวหมดสภาพหรือเสื่อมโทรมได โดยใชทรัพยสินอื่นมาเปนปจจัยการผลิต เชน เงินสด โรงงานและเครื่องจักร 3 ทุนสังคม หมายถึง ผลกระทบของความสัมพันธในอดีตที่มีตอระบบเครือญาติและการควบคุมของสังคม ซ่ึงรวมถึงความสัมพันธระหวางคนในสังคมดวยกันเอง ระหวางองคกรกับองคกร ระหวางคนกับองคกรตาง ๆ และระบบเครือญาติ ทุนสังคมเปรียบเสมือนตัวเชื่อมประสานใหสังคมแนบแนนอยูดวยกันได เชน ความสามัคคี การใหความเคารพผูเฒาผูแก การชวยเหลือเกื้อกูลกัน เปนตน 4 ทุนมนุษย หมายถึง การบริโภคในอดีต ประสบการณ ภูมิปญญา คุณธรรม และทักษะ ที่มีตอความเปนอยูในอนาคต เชน ภูมิปญญาเกี่ยวกับสมุนไพร การนวดไทย ศิลปะการปองกันตัว เปนตน กรมสงเสริมการเกษตร (2546ข) ไดใหความหมายคําวา กองทุน กองทุนเพื่อการเกษตร และองคกรเกษตรกร ไวดังนี้ กองทุน หมายถึง แหลงรวมทุนและทรัพยากร เชน เงิน สัตว พืช ปจจัยการผลิต วัสดุอุปกรณ เครื่องจักร ภูมิปญญา ทรัพยากรธรรมชาติ ที่สามารถนําไปใชหมุนเวียนในกลุมหรือ ชุมชน เพื่อดําเนินกิจการตามวัตถุประสงค กองทุนเพื่อการเกษตร คือ การนํากองทุนตาง ๆ ที่มีอยู ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยสินที่มนุษยสรางขึ้น ไดแก เงินสด ปจจัยการผลิต เครื่องจักร โรงสี ลานตากผลผลิต ภูมิปญญา ประสบการณ มารวมกัน แลวมีการบริหารจัดการโดยองคกรเกษตรกรเพื่อใหเกิดประโยชนตอเกษตรกรในองคกรเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตร องคกรเกษตรกร หมายถึง กลุมเกษตรกร กลุมแมบานเกษตรกร กลุมยุวเกษตรกร และกลุมสงเสริมอาชีพการเกษตรตาง ๆ มีความคิดที่จะมีการดําเนินกิจกรรมกองทุนเพื่อการเกษตร เพื่อบริการสมาชิกเพิ่มเติมจากกิจกรรมอื่น ๆ ที่มีการดําเนนิการในองคกรเกษตรกร ดังนั้น กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร รวมอยูในความหมายกองทุนเพื่อการเกษตรในองคกรเกษตรกรดวย ซ่ึงหมายถึง การนํากองทุนตาง ๆ ที่มีอยูทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยสินที่กลุมสรางขึ้น ไดแก เงินสด ปจจัยการผลิต ลานตากผลผลิต เครื่องจักรโรงสี ประสบการณภูมิปญญา มารวมกันแลวมีการบริหารจัดการโดยกลุมแมบานเกษตรกร คณะกรรมการ และสมาชิก เพื่อบริการใหแกสมาชิกกลุม นําไปใชในกิจกรรมตามวัตถุประสงค

Page 25: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

17

3.3 ความสําคญัของกองทุน กรมสงเสริมการเกษตร (2546ข) ไดใหความสําคัญของกองทุนมีความสําคัญตอคนในชุมชนหลายประการ 3.3.1 สงเสริมพัฒนาอาชีพในการประกอบอาชีพ โดยเฉพาะคนสวนใหญในชนบทประกอบอาชพีการเกษตรหรือเกี่ยวเนื่องกบัการเกษตร ซ่ึงการประกอบอาชีพตองมีทุนที่จะนํามาใชซ้ือปจจัยการผลิต จางแรงงานการเกษตร เปนตน 3.3.2 บรรเทาเหตุฉุกเฉินหรือความจําเปนเรงดวน คนในชุมชนอาจจะประสบเหตุฉุกเฉิน เชน เจบ็ปวย ประสบอุบตัิเหตุ หากคนในชุมชนมกีองทุนก็สามารถบรรเทาความเดือดรอนในชุมชนได 3.3.3 เกิดการเรียนรูดานการบริหารจัดการกองทุน การดําเนินงานกองทุนตองมีความรูดานตาง ๆ เชน การบริหารเงิน การบริหารคน การจัดทําบัญชี เปนตน เมื่อมีการดําเนินการกองทุนก็จะเกดิการเรียนรูการบริหารจัดการกองทุน โดยเฉพาะอยางยิ่งคณะกรรมการผูดูแลกองทุน

3.4 ท่ีมาของกองทุนเพื่อการเกษตรในองคกรเกษตรกร กองทุนเพื่อการเกษตรในองคกรเกษตรกร กรมสงเสริมการเกษตร(2546ข) มีที่มา 2 ลักษณะ คือ 3.4.1 กองทุนที่เกิดขึ้นโดยเกษตรกร เมื่อเกษตรกรในทองถ่ินหรือองคกรเกษตรกรมีการตระหนักถึงปญหาเรื่องทุน อาจริเร่ิมจัดตั้งกองทุนขึ้น โดยการระดมหุนเปนเงินทุนจาํนวนหนึง่จากสมาชิก กําหนดระเบียบ กฎ กติกาในการใชเงินทุนนั้นใหกระจายไปในหมูสมาชิก และคัดเลือกสมาชิกที่มีความซื่อสัตย เสียสละ และมีคุณธรรม เปนกรรมการเขามาบริหารจัดการเงินกองทุนนั้น ตัวอยาง คือ ธนาคารหมูบาน เงินทุนหมุนเวียนในกลุมเกษตรกร กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร 3.4.2 กองทุนที่เกิดขึ้นจากโครงการหรือกิจกรรมพัฒนาของสวนราชการและองคกรพัฒนาเอกชน โดยปกติโครงการหรือกิจกรรมสงเสริมพัฒนาอาชีพของหนวยงานราชการและองคกรพัฒนาเอกชนตาง ๆ มักจะมีการสนับสนุนเงินหรือวัสดุปจจัยการดําเนินงานในลักษณะใหเปลาแกเกษตรกรในชุมชน เพื่อใหเกษตรกรชวยปฏิบัติโครงการหรือกิจกรรมนั้น ๆ ทุนสนับสนุนที่จัดใหแกเกษตรกรสามารถนํามาเปนทุนริเริ่มดําเนินการในรูปแบบของกองทุน โดยเตรียมกลุมเปาหมายใหเขาใจและตระหนักถึงประโยชนที่จะไดรับจากการดําเนินงานในลักษณะกองทุน เชน กองทุนอาหารหมูบาน กองทุนเมล็ดพันธุพืช กองทุนแปรรูปผลผลิตเกษตร กองทุนศูนยสงเสริมและผลิตพันธุขาวชุมชน เปนตน กองทุนเหลานี้มีการดําเนินการในกลุมสงเสริมการเกษตรหลายกลุมซึ่งไดผลเปนอยางดีและยังมีการดําเนินการอยางตอเนื่อง

Page 26: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

18

3.5 ขั้นตอนในการสงเสริมการจัดตั้งกองทุนเพื่อการเกษตรขององคกรเกษตรกร กองทุนขององคกรเกษตรกร นอกจากเปนเครื่องมือที่นํามาใชเพื่อลดปญหาเรื่องทุนโครงการพัฒนาอาชีพของเกษตรกรแลว ยังเปนเครื่องมือในการสรางกระบวนการเรียนรูการบริหารจัดการเงินอีกดวย ซ่ึงจะนําไปสูการพึ่งพาตนเองได

3.6 โครงสรางการบริหารกองทุนเพื่อการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร (2546ข) ไดกลาวถึง โครงสรางการบริหารกองทุนเพื่อการเกษตร มีองคประกอบของคณะกรรมการบริหารจํานวนเทาใด แผนกและฝายใดบางก็ใหเปนไปตามมติที่ประชุมองคกรตามความเหมาะสมของแตละองคกร องคกรเกษตรกรที่มีสมาชิกมาก องคประกอบของคณะกรรมการบริหารอาจตองเพิ่มขึ้น หรือมีผูชวยในแตละฝาย องคกรเกษตรกรที่มีสมาชิกมากนอยอาจลดไดโดยคณะกรรมการบริหาร บางฝายอาจทํางานหลายหนาที่ควบคูกันไป องคประกอบของคณะกรรมการประกอบดวย 1 ที่ปรึกษา ทําหนาที่ใหคําปรึกษาแกคณะกรรมการกองทุน 2 ประธานกรรมการ ทําหนาที่อํานวยการดําเนินงานกองทุนเพื่อการเกษตร การแกไขปญหาการบริหารกองทุน

3 รองประธานกรรทําหนาที่ชวยอํานวยการดําเนินงานกองทุนเพื่อการเกษตร การแกไขปญหาการบริหารกองทุน และทาํหนาที่แทนประธานกรณีทีป่ระธานติดภารกิจ 4 ฝายเลขานุการ ทําหนาที่ช้ีแจง เชิญชวนสมาชิกองคกรเกษตรกรเปนสมาชิกกองทุนเพื่อการเกษตร และเผยแพรขาวสารผลงานที่เกี่ยวกับกองทุน จัดเตรียมสถานที่ประชุม ตอนรับ ดูแลผูเขาประชุม จัดเตรียมการประชุม ออกจดหมายเชิญคณะกรรมการกองทุนประชุม และบันทึกการประชุม 5 ฝายการเงินและบัญชี ทําหนาที่รับ–จายเงินกองทุน คาธรรมเนียมแรกเขารับคาหุน จายเงินปนผล จายเงินสินเชื่อใหสมาชิก จัดทํางบดุลในแตละเดือนเพื่อแจงใหประธานหรือรองประธานลงนาม ทําหนาที่เปดบัญชีฝากเงินแกสมาชิกที่ประสงคจะฝากเงินเขากองทุนขององคกรเกษตรกร จัดทําทะเบียนผูถือหุน และลงรายการในทะเบียนชื่อผูฝากเงินรายบุคคล เงินหุนสะสมทรัพยใหครบถวนในสมุดกองทุน และคืนสมุดกองทุนใหสมาชิกเก็บไว จัดทําบัญชีเงินสดแสดงรายรับ – จาย ทุกวันใหเปนปจจุบัน 6 ฝายสินเชื่อ ทําหนาทีก่ล่ันกรองพิจารณาการกูเงนิของสมาชิกแลวนาํเขาพิจารณาของคณะกรรมการบริหารกองทุน สอดสอง ดแูล ติดตาม ความเคลื่อนไหวของสมาชิกผูกูเงนิกองทนุ

Page 27: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

19

7 ฝายสวัสดิการ ทําหนาที่พจิารณาใหความชวยเหลือสมาชิกในดานอืน่ ๆ นอกเหนือจากการประกอบอาชีพ เชน ดานฌาปนกิจสงเคราะห ดานการศึกษา การเจบ็ปวย การประสบภัย เปนตน และทําหนาที่พิจารณาพัฒนาสมาชิกใหเกิดการเรียนรูวิชาการและความรู ดานตาง ๆ เพือ่นํามาพัฒนาการประกอบอาชีพและการบริหารจัดการทรัพยากรในทองถ่ิน 8 ฝายตรวจสอบ ทําหนาที่ตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน บัญชี ทะเบียน กิจกรรม และโครงการตาง ๆ ของกองทุน

3.7 ระเบียบและกิจกรรมกองทุนเพื่อการเกษตร 3.7.1 คณะกรรมการบริหารกองทุน 1) การสรรหาคณะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อการเกษตร ควรมีคณุสมบัติ ดังนี้ มีคุณธรรม ซ่ือสัตย มีความสามารถ เสียสละ ริเร่ิม สรางสรรค 2) กําหนดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน จะตองมีการประชุมอยางสม่ําเสมอ เพื่อแลกเปลี่ยนขาวสารการดําเนินงานกองทุน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันในการพัฒนากองทุน การแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น โดยมีขอตกลงรวมกันวาจะประชุมวันใดของเดือน จะประชุมกี่คร้ังตอเดือน การประชุมคณะกรรมการตองเกินกึ่งหนึ่งของคณะกรรมการจึงถือวาครบองค ทั้งนี้ฝายเลขานุการตองมีหนังสือเชิญคณะกรรมการบริหารกองทุนเขารวมประชุม รวมทั้งกําหนดวาระการประชุมใหดวย 3) กําหนดวันทําการคณะกรรมการบริหารกองทุนใหชัดเจนวาจะทําการวันใดบางของเดือน เดือนละกี่วัน เพื่อใหสมาชิกมาติดตอในวันทําการ ทั้งนี้การกําหนดวนัทาํการควรใหสมาชิกมีสวนรวมในการกําหนดดวย 4) กําหนดคาตอบแทนคณะกรรมการบริหารกองทุน ควรใหมีคาตอบแทนคณะกรรมการบริหารกองทุนและเจาหนาที่ที่มาปฏิบัติงาน โดยกําหนดวาจะใหเทาใดตอการทํางานในแตละครั้งในวันทําการของคณะกรรมการ 5) วาระการดํารงตําแหนงของคณะกรรมการ ควรกําหนดวาระการดํารงตําแหนงคณะกรรมการบริหารกองทุนและเจาหนาที่ที่มาปฏิบัติงานคราวละ 2 ป แลวมีการสรรหากันใหม เพื่อเปนการเปดโอกาสใหสมาชิกทุกคนเขามามีสวนรวมและเรียนรูการบริหารจัดการกองทุน .

Page 28: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

20

3.7.2 สมาชิกกองทุน สมาชิกกองทุนเมื่อมีการดําเนินกิจกรรมกองทุน ควรมกีารชวยกันกําหนดคุณสมบัติผูที่จะเปนสมาชกิกองทุน รวมทัง้การแบงประเภทของสมาชิก เชน สมาชิกประเภทสามญั สมาชิกประเภทวิสามัญ สมาชิกประเภทกิตติมศักดิ์

3.7.3 การระดมทุน เมื่อมีการจัดตัง้กองทุนเพื่อการเกษตรขึ้นในองคกรเกษตรกรแลว ควรมีการขยายกองทนุใหกองทุนเตบิโตขึน้ เพื่อจะไดสามารถบริการสมาชิกไดอยางทัว่ถึง ดังนัน้ในการขยายกองทนุใหเติบโตขึ้นควรมกีารระดมทุนจากสมาชกิเพื่อมาเขากองทุน ซ่ึงสามารถดําเนินงานได ดงันี้ 1) สงเสริมใหสมาชิกองคกรเกษตรกรมีการออมเงิน ซ่ึงนอกจากเปนการสรางนิสัยการออมแกสมาชิกองคกร และฝกใหสมาชิกมีวินัยทางการเงินแลว ยังเปนการนําเงินของสมาชิกมารวมกัน หากมีการออมมากจํานวนกองทุนก็มีมาก สามารถนํามาหมุนเวียนบริการสมาชิกไดมากขึ้น โดยการดําเนินงานใหสมาชิกมีการออมนั้น คณะกรรมการบริหารกองทุนจัดจะประชุมสมาชิกกองทุนเพื่อหาขอตกลงรวมกันวา จะมีการออมอยางสม่ําเสมอเดือนละเทาไร ทุกวันที่เทาไร เงินออมจากสมาชิกจะนําไปใชประโยชนอยางไร และผลตอบแทนที่สมาชิกจะไดรับจากการออมเงินอยางไร 2) ระดมทุนจากเงินคาหุน ผูที่เปนสมาชิกกองทุนควรมีการกําหนดเก็บเงินจากสมาชิก ดังนี ้ (1) คาลงทะเบียนแรกเขาเพื่อเปนคาใชจายในการบริหารกองทุน จะเก็บจํานวนเทาใดใหเปนไปตามมติที่ประชุมสมาชิก (2) หุนกองทุน โดยกําหนดราคาหุนแลวใหสมาชิกกองทุนแตละคนชาํระเงินคาหุนตามจํานวนที่ตองการ และกําหนดใหสมาชิกมีการเพิ่มหุนกองทุน อาจจะเปนปละ 1 คร้ัง หรือปละ 2 คร้ัง ทั้งนี้ตองกําหนดวาสมาชิกแตละคนจะมีหุนไดไมเกนิรอยละ 50 ของเงินหุนทั้งหมด เงินออมจากเงนิคาหุนหามถอนออก จะคนืใหสมาชิกตอเมื่อสมาชิกลาออกจากสมาชิกกองทุน (3) นอกจากนี้อาจมีการระดมหุนเฉพาะกิจเพิ่มเติมอีก เชน หุนฌาปนกิจสําหรับชวยเหลือเกี่ยวกับการตาย หุนสงเคราะหเกีย่วกบัประสบภัยตาง ๆ เปนตน 3) โครงการ/กิจกรรมพัฒนาอาชีพที่ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการและองคกรพัฒนาเอกชน เมื่อไดรับงบประมาณหรือวัสดุอุปกรณมาแลว หากสมาชิกคนใดนําไปดําเนินการก็ควรมีการเรียกคืนเขากองทุน ไมควรเปนการใหเปลา ๆ การคืนมาที่กองทุน อาจคืนในรูปวัสดุอุปกรณ หรือเงินตามมูลคาวัสดุอุปกรณที่นําไปดําเนินการ

Page 29: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

21

4) กรณีที่การสะสมทุนการระดมทุนขององคกรเกษตรกรยังมีไมมากนัก แตสมาชิกหลายรายมีความตองการเงินทุนไปใชในการประกอบอาชีพเปนจํานวนมากกวากองทุนที่มีอยู เมื่อคณะกรรมการพิจารณาเห็นวากิจกรรมที่สมาชิกนําเงินไปดําเนินการจะเกิดประโยชนตอสมาชิกและทองถ่ิน อาจมีการหาเงินทุนเพิ่มเติมจากแหลงเงินทุนที่คิดดอกเบี้ยต่ํา เชน แหลงเงินทุนจากหนวยงานภาครัฐที่มีการใหกูยืม หรือธนาคารที่ใหการสนับสนุนองคกรเกษตรกร ทั้งนี้คณะกรรมการควรศึกษาเงื่อนไข หลักเกณฑ การใหกูยืมของแหลงเงินทุนตาง ๆ เพื่อจะไดเลือกแหลงเงินทุนที่คํานึงถึงประโยชนขององคกรเกษตรกรมากที่สุด

3.7.4 การใหสินเชื่อ เมื่อองคกรเกษตรกรมีกิจกรรมดําเนินงานกองทุนเพื่อการเกษตร และสามารถระดมทุนจากสมาชิกไดแลว รวมทั้งนํากิจกรรม/โครงการ พัฒนาอาชีพจากหนวยงานราชการและองคกรพัฒนาเอกชนมาเขากองทุนเพื่อการเกษตร องคกรเกษตรกรควรมีการบริหารกองทุนใหเกิดประโยชนตอสมาชิกมากที่สุดเทาที่จะมากได กิจกรรมหนึ่งที่เปนประโยชนตอสมาชิกมาก คือ การใหสมาชิกยืมเงินจากกองทุนไปใชสําหรับเปนทุนในการประกอบอาชีพตาง ๆ เพื่อใหเกิดรายไดตอครอบครัว นอกจากนี้หากสมาชิกมีเร่ืองเดือดรอนเรงดวน เชน ประสบภัยธรรมชาติ เจ็บปวย ประสบอุบัติเหตุ สามารถกูเงินจากกองทุนได สมาชิกกองทุนควรมีการประชุมรวมกันเพื่อชวยกันกําหนดวาจะมีการใหสินเชื่อกี่ประเภท แตละประเภทจะใหกูไดไมเกินเทาใด ตองชําระคืนภายในกี่เดือน จะคิดดอกเบี้ยเทาใด ทั้งนี้การชําระคืนทั้งหมดทั้งตนและดอกแลว จึงจะมีสิทธิกูใหมได สําหรับการใหสินเชื่อหรือใหสมาชิกกูยืม อาจแบงเปน 3 ประเภท โดยใชระยะเวลาการกูและการชําระเปนตวักําหนด เชน ประเภทที่ 1 กูระยะสั้น กูไดรายละไมเกนิ 5,000 บาท ชําระเงินตน พรอมดอกเบี้ยภายใน 6 เดือน ประเภทที่ 2 กูระยะปานกลาง กูไดรายละไมเกนิ 10,000 บาท ชําระเงินตนพรอมดอกเบี้ยภายใน 6 เดือน ประเภทที่ 3 กูระยะยาว กูไดรายละไมเกนิ 20,000 บาทชําระคืนเงินตน พรอมดอกเบี้ย ภายใน 20 เดือน การกําหนดวงเงินกูแตละประเภทและระยะเวลาการชําระคืน ปรับเปลี่ยนตามความตองการของสมาชิกสวนใหญและเงนิทุนที่มีอยู ตามประเภทการกูยืมตามระยะการกู และการชําระคืน องคกรเกษตรกรอาจมีการกําหนดประเภทการกูยืมตามวัตถุประสงคและเหตุผลการกูยืม เชน ประเภทเงินกูสามัญ เปนการกูเงิน

Page 30: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

22

นําไปประกอบอาชีพตาง ๆ และประเภทเงินกูฉุกเฉิน เปนการกูเงินเพื่อแกไขปญหาความเดือดรอนที่เกิดขึ้นอยางกะทันหัน เชน ประสบอุบัติเหตุ ประสบภัยตาง ๆ การใหสินเชื่อหรือใหสมาชิกกูยืมเงิน นอกจากกําหนดประเภทการใหกูยืมแลว อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาคืนเงินแลว ตองกําหนดระเบียบอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ไดแก การสงใบคําขอกู การจัดทําสัญญากูเงิน การทําสัญญาค้ําประกัน สมาชิกที่จะกูตองเปนสมาชิกกองทุนไมต่ํากวา 6 เดือน สมาชิกสงคําขอกูตอคณะกรรมการฝายสินเชื่อภายในเวลาที่กําหนด คณะกรรมการฝายสินเชื่อพิจารณาเสนอคณะกรรมการบริหารอนุมัติ เมื่ออนุมัติแลวคณะกรรมการฝายสินเชื่อแจงสมาชิกที่ขอ กูเงินเพื่อทําสัญญายืมเงิน และสัญญาค้ําประกัน และการค้ําประกัน โดยถาผูกูกูเทากับมูลคาหุนที่ตนเองมีอยู ไมตองมีสมาชิกคนอื่นค้ําประกัน ถาหากผูกูกูเกินมูลคาหุนตองใหสมาชิกในกลุมค้ําประกัน 2 คน

3.7.5 การบริหารการเงิน การดําเนินงานของกองทนุ ตองกําหนดระเบียบปฏิบัติเกีย่วกบัการบรหิารการเงนิในเรื่องตอไปนี้ 1) การเก็บรักษาเงิน มีการแตงตั้งกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปดบัญชีกองทุนในการเบิกจายเงินตองลงลายมือช่ือทั้ง 3 คน ตองกําหนดวาจะมีเงินสําหรับทดรองจายในการบริการสมาชิกจํานวนเทาใด เงินที่เกินกวานั้นตองนําฝาก ณ ธนาคารแหงใดแหงหนึ่งภายในระยะเวลาที่ตกลงกันในกลุม อาจเปน 3 วัน หรือ 5 วัน เปนตน 2) จัดทําบัญชกีารเงินขององคกร ตองมีการทําบัญชีการเงิน บัญชีการใชจายใหเปนปจจุบนั เมื่อถึงวันสิ้นปของทุกป คณะกรรมการสงงบดุลใหผูสอบบัญชีตรวจสอบกอนมีการประชุมใหญ 3) คณะกรรมการรายงานการใชจายเงนิและงบดุลขององคกรใหสมาชกิทราบในวนัประชุมใหญ 4) การจัดสรรผลกําไรจากกองทุน คณะกรรมการตองกําหนดเปนหลักการในเบื้องตน วาจะใชจายเรื่องตาง ๆ เปนสัดสวนเทาใด เชน - ปนผลใหสมาชิกตามจํานวนหุน รอยละ 60 - คาตอบแทนคณะกรรมการ รอยละ 15 - ทุนสํารองของกองทุนองคกร รอยละ 10 - เปนกองทุนสวัสดิการของสมาชิก รอยละ 10 - เปนกองทุนสาธารณะประโยชน รอยละ 5 .

Page 31: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

23

3.7. 6 การเรียนรู 1) องคกรเกษตรกรเมื่อจะดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับกองทุนแลว คณะกรรมการบริหารกองทุนตองเรียนรูขั้นตอนการดําเนินงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยอาจไปศึกษาดูงานองคกรที่มีการดําเนินงานเกี่ยวกับกองทุนองคกรเกษตรกรอื่น ๆ ที่ประสบผลสําเร็จ หรือเชิญวิทยากรมาอบรมใหความรูเร่ืองการบริหารจัดการกองทุน 2) คณะกรรมการบริหารกองทุนควรมีกิจกรรมพัฒนาสมาชิก โดยจัดเวทีเรียนรูหรือศึกษาดูงาน ทั้งดานอาชีพการเกษตร การทําธุรกิจ การพัฒนาองคกร ตามความตองการของสมาชิกและความจําเปนในการพัฒนา

3.7.7 การดําเนินงานกองทนุของกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก 1) ความเปนมาของกองทนุ

สํานักงานเกษตรจังหวัดตาก (2549) ไดสรุปขอมูลกลุมแมบานเกษตรกร ไวดังนี้สํานักงานเกษตรจังหวัดตาก ไดเร่ิมดําเนินการจัดตั้งกลุมแมบานเกษตรกร ตั้งแต ป พ.ศ.2523 ในระยะแรกการจัดตั้งกลุมดําเนินการโดยเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเขาไปจัดตั้ง มีการระดมเกษตรกรใหเขามาประชุมรวมกัน ช้ีแจงวัตถุประสงค และขอดีของการรวมกลุม พรอมดําเนินการขึ้นทะเบียนไว ณ สํานักงานเกษตรอําเภอ กลุมแมบานเกษตรกรมีจุดมุงหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของครอบครัวเกษตรกรใหดีขึ้น ปจจุบันนี้จังหวัดตากไดขึ้นทะเบียนกลุมแมบานทั้งสิ้น จํานวน 363 กลุม มีสมาชิก 15,706 ราย โดยไดจัดตั้งกองทุนในกลุมแมบานเกษตรกร และไดสนับสนุนงบประมาณโครงการใหแกกลุมแมบานเกษตรกรดําเนินการระหวางป พ.ศ. 2539 – 2549 รวมทั้งสิ้น 47,721,151 บาท

กองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก มีการดําเนนิการที่ตอเนื่องเปนรูปธรรม มีกฎระเบยีบ ขอบังคับ ที่ชัดเจน สมาชิกมสีวนรวมในการดําเนินการทกุขั้นตอน จึงเปนเปาหมายหลักในการพฒันาอาชีพการเกษตรทุก ๆ ดาน สํานักงานเกษตรจังหวัดมีนโยบายสนับสนุนโครงการทุกโครงการผานองคกรกลุม และดําเนินการบริหารเปนกองทุนหมุนเวยีน

2) แหลงที่มาของกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก สํานักงานเกษตรจังหวัด ใหความสําคัญการพัฒนากลุมแมบานเกษตรกร โดยนํานโยบายของกรมสงเสริมการเกษตรที่ใหการสนับสนุนงบประมาณโครงการ/กิจกรรม ตาง ๆ ผานกลุมสถาบันเกษตรกร โดยใหกลุมสถาบันเกษตรกรดําเนินการเปนกองทุนหมุนเวียนภายในกลุมใหมีความเขมแข็ง มีศักยภาพในการประกอบอาชีพอยางยั่งยืน โดยเฉพาะกลุมแมบานเกษตรกรอําเภอเมืองตาก ไดรับการสนับสนุนโครงการ/กิจกรรม จากภาครัฐและเอกชน ดังตอไปนี้ (1) กองทุนจากโครงการพิเศษตามขอเสนอของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร

Page 32: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

24

(2) กรมสงเสริมการเกษตร (3) องคการบริหารสวนจังหวัดตาก (4) องคการบริหารสวนตําบล (5) เทศบาลเมอืงแมสอด (6) เทศบาลตาํบล (7) โครงการเงินออมเฉลิมพระเกยีรติ 72 พรรษา มหาราชา (8 ) จากการระดมหุนของสมาชิกกลุม (9) จากผลกําไรจากการดําเนินกิจกรรมกองทุน

3) ลักษณะการดําเนินงานกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก ไดแก (1) การสนับสนุนกิจกรรม/งานโครงการตาง ๆ ทุกโครงการใหแกกลุมแมบานเกษตรกร กลุมจะตองดําเนินการในรูปของกองทุนหมุนเวยีนในกลุม (2) ปรับปรุงกฎระเบยีบขอบังคับของกลุมที่เปนขอจํากดัในการดําเนนิงาน ใหสอดคลองกับสภาพการณปจจุบนั และสนองตอบความตองการของสมาชิกในกลุมอยางสูงสุด (3) ลดความยากจนในความคิดของสมาชิกกลุม โดยการสรางเครือขายการเรียนรูในระดบัตําบล อําเภอ เครือธุรกิจ ขอมูลขาวสาร (4) ประสานงานกับหนวยงานตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งภาครฐั เอกชน และองคกรพัฒนาเอกชนเพื่อผนกึกําลังพัฒนากิจกรรมของกลุม (5) พัฒนาศกัยภาพของสมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรทกุ ๆ ดาน ทั้งดานรางกาย จิตใจและสติปญญา (6) ใหความสาํคัญกับสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรโดยใหเขามามีสวนรวมในการพัฒนาตั้งแตการวเิคราะหปญหา กาํหนดแนวทางแกไข การตดัสินใจในการดาํเนินกจิกรรมของกลุมตามความสามารถ (7) กําหนดใหกลุมแมบานเกษตรกรเปนกลุมเปาหมายในแผนเยี่ยมของนักวิชาการสงเสรมิการเกษตรประจําตาํบล เพื่อตดิตามแนะนาํและใหคาํปรึกษาแกกลุมเมื่อเกิดปญหา 4) กฎระเบยีบขอบังคับของกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก (สํานักงานเกษตรจังหวัดตาก, 2543) เมื่อมีการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากไปไดในระยะหนึ่งพบวากลุมยังขาดทิศทางหรือแนวทางในการบริหารงานกลุมใหเปนระบบ สํานักงานเกษตรจังหวัดจึงไดจัดประชุมสัมมนาคณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกรระดับจังหวัด เพื่อจัดวางแนวทางการ

Page 33: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

25

ดําเนินการกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร เพื่อใหแตละกลุมนําไปปรับปรุงในการบริหารกองทุนของตนเอง และใหเปนไปแนวทางเดียวกัน โดยมีกฎระเบียบขอบังคับแบง ออกเปนหมวด ๆ ดังนี้ หมวดที่ 1 วาดวยช่ือกลุม สถานที่ตั้ง และวัตถุประสงค หมวดที่ 2 วาดวยคุณสมบัตขิองการเปนสมาชิกกองทุนกลุม และการพนสภาพการเปนสมาชิกกองทุน หมวดที่ 3 วาดวยคุณสมบัตขิองคณะกรรมการ การดํารงตําแหนง อํานาจหนาที่ และการพนจากการเปนคณะกรรมการกองทุน หมวดที่ 4 วาดวยการบริหารกองทุน แหลงที่มาของกองทุน การเก็บรักษาเงิน และการจดัสรรผลประโยชน หมวดที่ 5 วาดวยการกูยืมเงนิ หมวดที่ 6 วาดวยเร่ืองบทลงโทษ

ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ สมนึก ปญญาสิงห (2524) ศึกษาเรื่องปจจัยที่มีผลตอการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ในอําเภอศรีประจัน และอําเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสุพรรณบุรี พบวาการใหสมาชิกกูเงินไปลงทุนดานการประกอบอาชีพการเกษตรและบรรเทาความเดือดรอน ปรากฏวาสมาชิกกูเงินไดนอยมาก เพราะทุนในการดําเนินงานไมเพียงพอ ทําใหสมาชิกกูเงินจากแหลงอื่น ๆ อีก จึงเปนปญหาแบกภาระการสงเสริมหนี้สินหลายราย เปนผลกระทบถึงการสงเงิน ไมตรงตามกําหนดเวลา สมาชิกสวนใหญขาดความรูความเขาใจในหลักการและเจตนารมณของกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต และไมคอยมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นกับกลุม บัญญัติ สายพยัตฆ (2537) ศึกษาเรื่อง ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมในกิจกรรมกลุมของสมาชิกกลุมเกษตรกรจังหวัดระยอง สรุปไดวา กิจกรรมที่สมาชิกกลุมเกษตรกรเขารวมมาก คือ การรับบริการความรู การซื้อส้ินคาจากกลุม การประชุมใหญสามัญ การบําเพ็ญประโยชน และการประชุมหนวยตามลําดับ สวนกิจกรรมที่มีปญหามากที่สุด ในการมีสวนรวมคือ การรวบรวมผลผลิต เพื่อขาย และการซื้อสินคาจากกลุม การติดตอกับผูนํากลุม เปนปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ มากที่สุด ปจจัยที่เกี่ยวของรองลงมาไดแก การติดตอกับเจาหนาที่ของรัฐ รายได ขนาดพื้นที่ทําการเกษตร ตําแหนงทางสังคม และระดับการศึกษา ตามลําดับ

ศิริมา เพ็งนรพัฒน (2530) ไดศึกษาพบวา ปจจัยที่มีผลตอการเขารวมรับความรูเทคโนโลยี การเกษตรของกลุมแมบานเกษตรกรภาคตะวันตก พบวา แมบานเกษตรกรสวนใหญ มีบทบาทสําคัญในการตัดสินใจ และมีสวนรวมในการประกอบอาชีพทางการเกษตรของครอบครัว และมีความตองการที่จะเขารวมรับความรูวิชาการเกษตร เพื่อพัฒนาอาชีพของตนเอง วิธีการที่เหมาะสมสําหรับเจาหนาที่ในการเผยแพรความรูทางการเกษตร คือ เขาเยี่ยมพบ ใหคําแนะนําแกแมบานเกษตรกร

Page 34: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

26

เปนรายบุคคล สําหรับปจจัยที่มีผลตอการเขารวมรับรูของแมบานเกษตรกร ขึ้นอยูกับระดับการศึกษาของแมบานเกษตรกร สําหรับปญหาที่สําคัญที่มีผลตอความสําเร็จในการปฏิบัติงานสงเสริมการเกษตรแกแมบานเกษตรกร คือแมบานไมคอยมีเวลามารวมกิจกรรม เนื่องจากมีภาระหลายดาน ปรารมภ ยานะวิมุติ (2541) ไดวิจัยเร่ือง การมีสวนรวมในกิจกรรมแปรรูปผลผลิตเกษตรของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในจังหวัดยะลาผลการวิจัยสรุปดังนี้ 1) สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มีรายไดสูง มีสวนรวมในกิจกรรมแปรรูปผลผลิตเกษตรในดานรวมคิดสูง กวาสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มีรายไดต่ํา 2) สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มี เจตคตติอกิจกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตรสูงมี สวนรวมในกจิกรรมแปรรูปในผลผลิตเกษตรในดานรวมรับผลประโยชนสูง กวาสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มี เจตคตติอกิจกรรมแปรรูปผลผลิตการเกษตรต่ํา 3) สมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรที่มีที่ม ีเจตคติตอเจาพนกังานเคหกจิเกษตรสูงและปานกลาง มีสวนรวมที่มใีนกิจกรรมแปรรูปผลผลิตเกษตรในดานรวมคิด รวมตดัสินใจ และรวมประเมินผล สูงกวาสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มีที่ม ีเจตคติตอเจาพนักงานเคหกิจเกษตรต่ํา

4) สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่ อายุ รายได จํานวนปที่ศึกษาในโรงเรียน ความรูเกี่ยวกับกิจกรรมการแปรรูปผลผลิตเกษตรไมแตกตางกัน

5) สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่มีเขารวมในกิจกรรมแปรรูปผลผลิตเกษตร สวนใหญมีปญหาในเรื่องของเวลา ซ่ึงมีเวลาวางนอยไมสามารถเขารวมประชุม หรือเขารวมปฏิบัติกิจกรรมไดตามเวลา ทําใหไมสามารถทราบวาระการประชุมตางๆ และขาดความรูในขั้นตอนการปฏิบัติกิจกรรม ซ่ึงเปนผลใหสมาชิกขาดความมั่นใจในตัวเอง จึงไมกลาแสดงความคิดเห็นตางๆในที่ประชุม รุงสุรีย เล้ียงประยูร (2544 ) ศึกษาวิจัยเร่ือง การมีสวนรวมของตวัแทนเกษตรกรในการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตรระดับชุมชนแบบมีสวนรวม ในเขตจังหวัดสุพรรณบุรี สรุปไดวา ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมของตัวแทนเกษตรกรในการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตรระดบัชมุชนแบบมสีวนรวมในทางบวก ไดแก ระดับการศึกษา จํานวนพื้นที่ถือครอง ความพึงพอใจของตัวแทนเกษตรกร และรายไดจากการประกอบอาชีพทั้งหมด สวนเพศ อายุ ระยะเวลาที่อาศัยอยูในชุมชน ความคาดหวังในการเปนตัวแทนเกษตรกร และวิธีการคัดเลือกตัวแทนเกษตรกร ไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมของตัวแทนเกษตรกรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ กรมการพัฒนาชุมชน (2524) ศึกษาเรื่องปจจัยที่สนับสนุนและเปนอปุสรรคตอการดําเนินงานของกลุมสตรี พบวา ปจจยัที่มีผลตอการดําเนนิงานของกลุมสตรี มีดังนี ้

1. ความสามารถของคณะกรรมการบริหารงานกลุม 2. กิจกรรมตอเนื่อง หลังจากมีการรวมกลุมและทําการฝกอบรมแลว

Page 35: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

27

3. การสนับสนุนเอาใจใสของเจาหนาที่ทกุระดับ และผูนําทองถ่ิน 4. การสนับสนุนวัสดุอุปกรณและเงินทุนหมุนเวียนในการดําเนินงาน 5. ความรวมมอืของสมาชิกกลุม 6. การตลาดในการจําหนายผลิตภัณฑที่ผลิตได

ปญหาในการดําเนินงานของกลุมสตรี มดีังนี้ 1. สมาชิกบางคนไมมีเวลาในการเขารวมกิจกรรม เพราะตองประกอบอาชีพและบางคนอยูหางไกล ทําใหลําบากในการติดตอ

2. ขาดวัสดุอุปกรณที่ตองใชในการฝกอบรมหรือเพิ่มพนูความรูใหแกสมาชิกกลุม 3. สมาชกิบางคนไมมเีงนิทุนพอทีจ่ะนําความรูที่ไดรับจากการฝกอบรมไปใชประกอบอาชีพ

4. การอนุมัตโิครงการลาชาไมสอดคลองกับระยะเวลาที่สมาชิกสวนใหญวางจากการประกอบอาชพี

5. คณะกรรมการบริหารกลุมไมเขาใจในบทบาทหนาทีข่องตนเอง 6. เจาหนาทีพ่ฒันาชุมชนมีไมเพียงพอ ทําใหการดําเนินงานไมตอเนื่อง

7. สมาชิกไมมั่นใจวาผลิตภณัฑที่ตนเองผลิตไดจะสามารถจําหนายไดตลอดไป มนัสชนก ศรีอิสาณ (2547: บทคัดยอ) ศึกษาปจจัยที่สงผลตอการมีสวนรวมของประชาชน

ในกองทุนหมูบาน 1 ลานบาทตามนโยบายของรัฐบาล:กรณีศึกษาเฉพาะเขตเทศบาล เมืองขลุง จังหวัดจันทบุรี พบวา การศึกษา รายไดรวมของครอบครัว แรงจูงใจ ความรูความเขาใจและทัศนคติ เปนปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวม สวนอายุ ระยะเวลาที่อยูในชุมชนและความสัมพันธกับคณะกรรมการ ไมมีความสัมพันธกับการมีสวนรวมแตอยางใด ขอเสนอแนะของกลุมตัวอยางจะมุงเนนเรื่องการจัดระบบงาน การประชาสัมพันธ การขยายวงเงินกูยืม และบทบาทของกองทุนหมูบานในฐานะที่เปนตัวชวยสงเสรมิกระบวนการพัฒนา

ปยะ ปจนํา (2546) ศึกษาความคิดเห็นของผูกูเงินตอความสําเร็จในการดําเนินงานกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองในเขตอําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี พบวา ผูกูมีความคิดเห็นวากองทุนหมูบานและชุมชนเมืองประสบความสําเร็จในระดับปานกลาง มีความรูความเขาใจในวัตถุประสงคในระดับสูง ไดเขามีสวนในระดับปานกลาง และไดรับการสนับสนุนในระดับปานกลาง ปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของสมาชิกผูกูตอความสําเร็จในการดําเนินงานกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง ไดแก ปจจัยดานรายไดของครอบครัวและจํานวนเงินกู ปจจัยดานความคิดเห็นเกี่ยวกับการมีสวนรวมของสมาชิกผูกูเงิน และปจจัยดานความคิดเห็นเกี่ยวกับการไดรับการสนับสนุนจากบุคคลและองคกรที่เกี่ยวของ

Page 36: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

28

แนวความคดิการวิจัยและสมมติฐาน

แนวความคิด จากการตรวจเอกสารและผลงานวิจยัที่เกีย่วของ เกี่ยวกับการมีสวนรวมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ผูวิจัยได กําหนดตัวแปรอิสระไดแก อายุ จํานวนสมาชิกในครัวเรือน ระยะเวลาในการเปนสมาชิกกลุม รายไดในภาคเกษตร รายไดนอกภาคเกษตร รายไดรวม ภาวะหนี้สิน การระดมทุน การออมทรัพย และเงินปนผล ใดบางที่มีความสัมพันธกับตัวแปรตาม การมีสวนรวมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ในการมีสวนรวมในการประชุมวางแผน การมีสวนรวมในการปฏิบัติ การมีสวนรวมในการประชาสัมพันธ และการมสีวนรวมในภาพรวม ตามภาพ

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

- อาย ุ - จํานวนสมาชิกในครัวเรือน - ระยะเวลาการเปนสมาชิกกลุม - รายไดในภาคเกษตร - รายไดนอกภาคเกษตร - รายไดรวม - ภาวะหนี้สิน - การระดมทนุ - การออมทรัพย - เงินปนผล

การมีสวนรวมในการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากในดาน

- การมีสวนรวมประชมุวางแผน

- การมีสวนรวมปฏิบัตงิานกิจกรรม

- การมีสวนรวมประชาสัมพันธงาน

- การมีสวนรวมในภาพรวม

Page 37: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

บทที่ 3 วิธีการวิจัย

การวิจยัเร่ืองปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก เปนการวิจัยเชิงสํารวจ( survey research) ไดดําเนินการวิจัย ดังนี้

ประชากร ประชากร ประชากรที่ศึกษา คือ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่ดําเนินงานกองทุน

ในกลุม รวม 9 อําเภอ ของจังหวัดตาก จํานวน 363 กลุม สมาชิก 15,706 คน โดยศึกษาการมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ในปที่ผานมา(ตารางที่ 1)

ตารางที่ 1 จํานวนประชากรในการศึกษา

อําเภอ จํานวนกลุม (กลุม) จํานวนสมาชิก (คน) เมืองตาก 83 2,754 บานตาก 63 2,365 สามเงา 33 1,228 วังเจา 21 797 แมสอด 89 5,630 แมระมาด 30 1,393 ทาสองยาง 9 371 พบพระ 27 779 อุมผาง 8 389 รวม 363 15,706

ที่มา: สํานักงานเกษตรจังหวดัตาก (2549)

Page 38: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

30

กลุมตัวอยางและการคัดเลือกกลุมตัวอยาง 1.กลุมตัวอยาง การกําหนดขนาดกลุมตัวอยาง โดยคัดเลือกจํานวนกลุมตัวอยางจากกลุมแมบานเกษตรกรที่มีการดําเนินการกองทุนทั้ง 363 กลุม จํานวนสมาชิก 15,706 คน จํานวนกลุมตัวอยาง 155 คน โดยกําหนดขนาดกลุมตัวอยางทีจ่ะศึกษาจากสูตรของ Taro Yamane (1973) อางโดย เบญจมาศ อยูประเสริฐ (2544) โดยกําหนดความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหมไีดจากการสุม รอยละ0.08 (ระดบัความเชื่อมั่นรอยละ 0.92) ดังนี ้ n = N 1+N(e)2 n = จํานวนตวัอยางที่ตองการ N = จํานวนประชากรทั้งหมด e = คาสัดสวนที่ยนิยอมใหมีความคลาดเคลื่อนจากประชากร การคัดเลือกประชากรจากสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในการศึกษา

n = 15,706 1 + 15,706(0.08)2

= 154.710 ปดเปน 155 = 155 คน ดงันัน้จะไดกลุมตวัอยางจากประชากรทีเ่ปนสมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรที่สุมได

จํานวน 155 คน 2.การเลือกกลุมตัวอยาง จากกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจยัมีจํานวนทั้งสิ้น จํานวน 363 กลุม สมาชิก 15,706 คน ผูวิจยัพิจารณาแลวเพื่อใหประชากรมีโอกาสถูกเลือกมาเปนกลุมตัวอยาง จึงใชวิธีการ ดังนี้

1) กําหนดสมาชิกแมบานเกษตรกรทุกกลุม ทกุอําเภอ 2) สุมกลุมตัวอยางในแตละกลุมแบบมีระบบ (systematic sampling) โดยนํา

รายช่ือทะเบยีนสมาชิกมาเรียงตามลําดับ แลวเร่ิมนับและกําหนดชวงเปน 101ในการเลือกตัวอยาง (เบญจมาศ อยูประเสริฐ, 2548) ดังนี ้ จํานวนประชากร ชวงในการเลือก = จํานวนกลุมตัวอยาง

= 15,706 155 = 101.329 การคิดชวงชั้น = 101

Page 39: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

31

เมื่อทราบจํานวนตัวอยางที่จะสุมและชวงในการเลือกสุมแลว นํารายชื่อสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรแตละกลุมในตําบลมาจัดเรียงกัน แลวดําเนินการสุมตามชวงในการเลือก จนไดจํานวนครบตามที่กําหนดไว 155 คน ดังรายละเอียดตารางที่ 3.2

ตารางที่ 2 จํานวนประชากรและกลุมตัวอยางของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่ใชในการวจิัย

ประชากรทั้งหมด* จํานวนกลุมตวัอยาง ตําบล

จํานวนกลุม (กลุม) จํานวนคน (คน) จํานวนคน (คน)

เมืองตาก 83 2,754 27 บานตาก 63 2,365 23 สามเงา 33 1,228 12 วังเจา 21 797 8 แมสอด 89 5,630 56 แมระมาด 30 1,393 14 ทาสองยาง 9 371 3 พบพระ 27 779 8 อุมผาง 8 389 4

รวม 363 15,706 155

การเก็บรวมรวมขอมูล ใชวิธีการสัมภาษณ แบบพบกันโดยตรงระหวางผูสัมภาษณกับผูใหสัมภาษณ พรอมทั้งการ

สังเกตสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร โดยไดช้ีแจงวัตถุประสงคของการวิจัย แลวสัมภาษณตามแบบเปนรายบุคคล ตามหมายเลขที่สุมไดในกรณีสมาชิกตัวแทนที่สุมไดไมพบ ใหเลือกหมายเลขสุมกอนหรือหลัง จํานวน 1 รายเพื่อแทนหมายเลขที่สุมไดแตไมพบตัวหรือสัมภาษณไมได ซ่ึงสามารถเก็บรวบรวมขอมูลที่สมบูรณของกลุมตัวอยางไดครบตามจํานวนที่ตองการ จํานวน 155 คน 1. เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมลู ชนิดของเครื่องมือที่ใชในการศึกษาวิจยัคร้ังนี้ คือ แบบสัมภาษณ จํานวน 155 ชุด คําถามที่ไดกําหนดคําตอบไวใหเลือกตอบในแบบสัมภาษณ คือ คําถามแบบปลายปด (close – ended question) และคําถามแบบปลายเปด (open – ended question) แบบสัมภาษณประกอบดวย 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ขอมูลพื้นฐานทั่วไปทางสังคมและเศรษฐกจิของสมาชิกกลุมแมบาน เกษตรกรจังหวัดตาก

Page 40: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

32

ตอนที่ 2 การมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก ตอนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะในการมสีวนรวมการดาํเนินงานกองทุนของ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก

2. เกณฑใหคะแนนและหลักเกณฑการวดั 2.1 แบบสัมภาษณที่เกีย่วกบัระดับการมสีวนรวม และระดับปญหา มี 5 ระดับ มากที่สุด = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอย = 2 นอยที่สุด = 1

1) เกณฑการวัดระดับการมสีวนรวมกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร โดยใช คาชวงคะแนนเฉลี่ย คือ ชวงการวดั = คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด = 5 – 1 = 0.80 จํานวนระดับที่แบง 5 2) ผูศึกษาใชเกณฑคาชวงคะแนนดังกลาวแปลความหมายของคะแนน ดังนี้ - ชวงคะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายความวา มากที่สุด - ชวงคะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 หมายความวา มาก - ชวงคะแนนเฉลี่ย 2.61-3.4 0 หมายความวา ปานกลาง - ชวงคะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายความวา นอย - ชวงคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายความวา นอยที่สุด 2.2 เกณฑการวัดระดับความรูความเขาใจเกีย่วกบัการดําเนนิงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ผูศึกษาใชเกณฑแปลความหมายของคะแนน ดังนี ้ - ตอบถูกตอง 11 – 15 ขอ หมายความวา มีความรูความเขาใจมาก - ตอบถูกตอง 6 – 10 ขอ หมายความวา มีความรูความเขาใจปานกลาง - ตอบถูกตอง 1 – 5 ขอ หมายความวา มีความรูความเขาใจนอย

3. การทดสอบแบบสัมภาษณ ผูวิจัยนําแบบสัมภาษณไปทดลองใช(pretest)กับสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรที่ดําเนินงานกองทุนในจังหวัดตาก ที่ไมใชกลุมตัวอยาง จํานวน 20 คน เพื่อทดสอบความเชื่อมั่น

Page 41: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

33

ของแบบสัมภาษณ และนํามาแกไขปรับปรุงใหสมบูรณกอนนําไปลงรหัส(coding) และใชในการเก็บรวบรวมขอมูลนํามาวิเคราะหทางสถิติโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป

การวิเคราะหขอมูล นําขอมูลที่ไดมาตรวจสอบความถูกตองครบถวนแลววิเคราะหขอมูลทางสถิติดวย

เครื่องมือคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป Statistical Package for Social Sciences for Windows Version 10 (SPSS for Version 10) คํานวณคาสถิติตอไปนี้ 1 สถิติความถี่ คารอยละ คาเฉล่ีย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชวิเคราะหปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และขอมูลในอันดบัเดียวกัน

2 สถิติสหสัมพันธ ใชวิเคราะหดวยสถิติถดถอยพหุแบบขั้นตอน (stepwise multiple regression) หาความสัมพันธระหวางตัวแปรปจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ และปจจัยอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวของ กับตัวแปรการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร

ระยะเวลาการวิจัย เสนอโครงการวิจัย(ว.1) เมษายน 2551 สรางและทดสอบเครื่องมือวิจัย เมษายน 2551 เก็บรวบรวมขอมูล พฤษภาคม 2551 วิเคราะหขอมูล พฤษภาคม 2551 เขียนรายงานขอมูล มิถุนายน 2551 นําเสนอผลขอมูล มิถุนายน 2551

Page 42: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

บทที่ 4 ผลการวิจัยและขอวิจารณ

การวิจัยเร่ืองปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก เปนการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณกลุมตัวอยาง จํานวน 155 ราย วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร นําเสนอการวิเคราะหขอมูลโดยใชวิธีบรรยายประกอบตาราง แบงออกเปน 4 ตอน คือ ตอนที่ 1 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และปจจยัอ่ืนๆของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ตอนที่ 2 การมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจงัหวดัตาก ตอนที่ 3 ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ตอนที่ 4 สภาพปญหาและขอเสนอแนะของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุน

ตอนที่ 1 สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และปจจัยอ่ืนๆของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก .ซ่ึงพบวา อายุ กลุมตวัอยางรอยละ 36.8 มีอายุระหวาง 46-55 ป ซ่ึงถือวาชวงสูงสุด รองลงมารอยละ

34.8 มีอายุระหวาง 36-45 ปโดยอายุต่ําสดุ 29 ป อายุสูงสดุ 68 ปและอายุเฉลี่ย 47.90 ป(ตารางที่ 3)

ตารางที่. 3 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามอาย ุ n =155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ ชวงอายุ (ป) นอยกวาหรือเทากับ 35

36-45 46-55 56-65 มากกวาหรือเทากับ 66

11 54 57 30 3

7.10 34.8 36.8 19.4 1.9

รวม 155 100 อายุต่ําสุด = 29 อายุเฉลี่ย = 47.90 อายุสูงสุด = 68 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 8.535

Page 43: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

35

ระดับการศึกษาสูงสุด กลุมตัวอยางรอยละ 74.8 จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ป.6) รองลงมารอยละ11.6 จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) รอยละ11.0 จบการ ศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6-ปวช.) และรอยละ 2.6 จบการศึกษาในระดับอนุปริญญา (ปวส.) (ตารางที่ 4)

ตารางที่ 4 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามระดับการศึกษา n =155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ ระดับการศึกษา ช้ันประถมศึกษาภาคบังคับ(ป.1- ป. 6) 116 74.8 ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน (ม.3) 18 11.6 ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม. 6- ปวช.) 17 11.0 อนุปริญญา (ปวส.) 4 2.6 อ่ืน ๆ(ระบุ)....................................

จํานวนสมาชกิในครอบครัว กลุมตัวอยางรอยละ 62.6 มีจํานวนสมาชิกในครอบครัว 4-5 คน รองลงมารอยละ 27.1 มีจํานวนสมาชิก 1-3 คน รอยละ 10.3 มีจํานวนสมาชิก 6-7 คน โดยจํานวนสมาชิกในครอบครัวต่ําสุด 1 คน สูงสุด 7 คน และเฉลี่ย 4.12 คน(ตารางที่ 5) ตารางที่.5 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามจํานวนสมาชิกใน

ครัวเรือน n = 155

รายการ จํานวน(คน) รอยละ จํานวนสมาชกิในครอบครัว(คน) 1 - 3 42 27.1 4 - 5 97 62.6 6 - 7 16 10.3 รวม 155 100.00

จํานวนสมาชิกในครัวเรือนต่ําสุด = 1 คน จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย = 4.12 คน จํานวนสมาชิกในครัวเรือนสูงสุด = 7 คน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 1.124 สถานภาพในกลุมแมบานเกษตรกร กลุมตัวอยางรอยละ 84.5 ไมเปนคณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร และที่เหลือรอยละ 15.5 เปนคณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร

Page 44: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

36

สถานภาพการเปนผูนําในทองถิ่น กลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 81.9 ไมเปนผูนําทองถ่ิน ที่เหลืออีกรอยละ 18.2 มีสถานภาพการเปนผูนําทองถ่ิน โดยที่รอยละ 13.6 เปนกรรมการหมูบาน รอยละ 4.5 เปนสมาชิกองคการบริหารสวนตําบล /องคการบริหารสวนจังหวัด (อบต./อบจ.) ในกลุมตัวอยางนี้ไมเปนกํานันหรือผูใหญบาน เนื่องจากตําแหนงกํานัน หรือผูใหญบานเปนบุคคลที่มีความรูความสามรถ เปนที่เคารพนับถือของประชาชนในหมูบาน และหนวยงานราชการ จึงไดรับการแตงตั้งจากกลุมแมบานเกษตรกรใหเปนที่ปรึกษาโดยตําแหนง(ตารางที่ 6)

ตารางที่6 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามสถานภาพในกลุมแมบานเกษตรกร

n =155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ สถานภาพในกลุมแมบานเกษตรกร ไมเปนคณะกรรมการกลุม 131 84.5 เปนคณะกรรมการกลุม 24 15.5 สถานภาพการเปนผูนาํในทองถิ่น ไมเปนผูนําทองถ่ิน 127 81.9 เปนผูนําทองถ่ิน 28 18.1 ผูใหญบาน/กํานัน 0 0.0 กรรมการหมูบาน 21 13.6 สมาชิก อบต./อบจ. 7 4.5

แรงจูงใจที่เขารวมการดําเนนิงานกองทุน กลุมตัวอยางสวนใหญ

รอยละ 88.4 ตองการความรูและเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม รองลงมา รอยละ 85.8 ตองการแหลงเงินทนุดอกเบี้ยต่ําในการประกอบอาชีพ รอยละ 77.4 ตองการไดรับการสนับสนุนและ ติดตอกับเจาหนาที่ และรอยละ 67.1 มีอาชีพเสริม คาตอบแทน และรายไดเสริม(ตารางที่ 7)

Page 45: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

37

ตารางที่ 7 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามแรงจูงใจที่เขารวมการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร

n =155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ แรงจูงใจที่เขารวมการดําเนนิงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ตองการแหลงเงินทุนดอกเบี้ยต่ําในการประกอบอาชีพ 133 85.8 มีอาชีพเสริม คาตอบแทน และรายไดเสริม 104 67.1 ตองการความรูและเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม 137 88.4 ตองการไดรับการสนับสนุนและติดตอกับเจาหนาที่ 120 77.4 ระยะเวลาการเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร กลุมตัวอยางรอยละ 39.4 เปนสมาชิกกองทุนระยะเวลา 6-10 ป รองลงมารอยละ 31.6 เปนสมาชิก 11-15 ป โดยเปนสมาชิกต่ําสุด 1 ป สูงสุด 30 ป และเปนสมาชกิกองทุนเฉลี่ย 10.95 ป (ตารางที่ 8)

ตารางที่ 8 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามระยะเวลาการเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร

n =155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ ระยะเวลาการเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร (ป) ระยะเวลาการเปนสมาชิกนอยกวาหรือเทากับ 5 25 16.1 6 – 10 61 39.4 11 – 15 49 31.6 16– 20 14 9.0 ระยะเวลาการเปนสมาชิกมากกวาหรือเทากับ 21 6 3.9 รวม 155 100.00

ระยะเวลาการเปนสมาชิกต่ําสุด 1 ป ระยะเวลาการเปนสมาชิกสูงสุด 30 ป ระยะเวลาการเปนสมาชิกเฉลี่ย 10.95 ป คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 5.250

อาชีพหลัก กลุมตัวอยาง รอยละ 29.7 ประกอบอาชีพทําไร รองลงมารอยละ 26.5 และ 18.7 ประกอบอาชีพทําสวนและคาขาย ตามลําดับ(ตารางที่ 9)

Page 46: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

38

ตารางที่ 9 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามอาชีพหลัก n =155

รายการ จํานวน(คน) รอยละ อาชีพหลัก ทํานา 15 9.7 ทําไร 46 29.7 ทําสวน 41 26.5 เล้ียงสัตว 8 5.2 ประมง 0 0.0 รับจาง 13 8.4 คาขาย 29 18.7 ขาราชการ/รัฐวิสาหกจิ 3 1.9 รวม 155 100.00

อาชีพรอง กลุมตัวอยางรอยละ 41.9 ประกอบอาชีพรองเล้ียงสัตว รองลงมารอยละ 37.4 และ 32.3 ประกอบอาชีพรับจาง และทํานา(ตารางที่ 10)

ตารางที่ 10 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามอาชีพรอง n =155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ อาชีพรอง (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ทํานา 50 32.3 ทําไร 24 15.5 ทําสวน 33 21.3 เล้ียงสัตว 65 41.9 ประมง 0 0.0 รับจาง 58 37.4 คาขาย 26 16.8 ขาราชการ/รัฐวิสาหกจิ 0 0.0 รวม 155 100.00

Page 47: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

39

รายไดในภาคเกษตรในรอบ 1 ป กลุมตัวอยางรอยละ 35.5 มีรายไดในภาคเกษตรระหวาง 30,001 – 80,000 บาท รองลงมารอยละ 19.3 มีรายไดระหวาง 80,001 – 130,000 บาท และรอยละ 15.5 มีรายไดนอยกวาหรือเทากับ 30,000 บาท และในกลุมตัวอยางนี้รอยละ 15.5 ไมมีรายไดในภาคเกษตร โดยมีรายไดต่ําสุด 10,000 บาท สูงสุด 330,000 บาท และเฉลี่ย 88,984.73 บาท (ตารางที่ 11)

ตารางที่ 11 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามรายไดในภาคเกษตร n = 155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ

รายไดของครอบครัวใน 1 รอบป 1. ในภาคเกษตร (บาท) รายไดนอยกวาหรือเทากับ 30,000 24 15.5 30,001 – 80,000 55 35.5 80,001 – 130,000 30 19.3 130,001 - 180,000 9 5.8 รายไดมากกวาหรือเทากับ 180,001 13 8.4 ไมมีรายไดในภาคเกษตร 24 15.5 รวม 155 100.00

รายไดในภาคเกษตรต่ําสุด = 10,000 บาท รายไดในภาคเกษตรสูงสุด = = 330,000 บาท รายไดในภาคเกษตรเฉลี่ย = 88,984.73 บาท คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 67,235.863

รายไดนอกภาคเกษตร กลุมตัวอยางรอยละ 42.6 มีรายไดระหวาง 20,001 – 90,000 บาท รองลงมารอยละ 26.5 มีรายไดนอยกวาหรือเทากับ 20,000 บาท รอยละ 3.2 มีรายไดระหวาง 90,001–160,000บาท และในจํานวนกลุมตัวอยางนี้มีรอยละ 17.4 ไมมีรายไดนอกภาคเกษตรโดยมีรายไดต่ําสุด 2,000 บาท สูงสุด 500,000 บาท และเฉลี่ย 70,528.90 บาท(ตารางที่ 12)

Page 48: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

40

ตารางที่ 12 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกรายไดนอกภาคเกษตร n = 155 รายการ จํานวน(คน) รอยละ 2 นอกภาคเกษตร (บาท) รายไดนอยกวาหรือเทากับ 20,000 41 26.5 20,001 – 90,000 66 42.6 90,001 – 160,000 5 3.2 160,001 - 230,000 6 3.8 รายไดมากกวาหรือเทากับ 230,001 10 6.5 ไมมีรายไดนอกภาคเกษตร 27 17.4 รวม 155 100.00

รายไดนอกภาคเกษตรต่ําสุด = 2,000 บาท รายไดนอกภาคเกษตรเฉลี่ย = 70,528.90 บาท รายไดนอกภาคเกษตรสูงสุด = 500,000 บาท คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 96,064,662

รายไดรวมท้ังหมด กลุมตัวอยางรอยละ 61.2 มีรายไดระหวาง 25,001 – 125,000 บาท รองลงมารอยละ 20.6 มีรายไดระหวาง 125,001 – 225,000 บาท และรอยละ 3.9 มีรายได นอยกวาหรือเทากับ 25,000 บาท โดยมีรายไดต่ําสุด 18,000 บาท สูงสุด 600,000 บาท และเฉลี่ย 135,517.42 บาท(ตารางที่ 13)

ตารางที่ 13 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามรายไดรวมท้ังหมด n = 155 3. รายไดรวมท้ังหมด (บาท) รายไดนอยกวาหรือเทากับ 25,000 6 3.9 25,001 – 125,000 95 61.2 125,001 – 225,000 32 20.6 225,001 – 325,000 8 5.2 รายไดมากกวาหรือเทากับ 325,001 14 9.1 รวม 155 100.00

รายไดรวมทั้งหมดต่ําสุด = 18,000 บาท รายไดรวมทั้งหมดสูงสุด = 600,000 บาท รายไดรวมทั้งหมดเฉลี่ย = 135,517.42 บาท คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 112,128.234

ภาวะหนี้สิน กลุมตัวอยางรอยละ 46.5 มีภาวะหนี้สินระหวาง 10,001 – 50,000 บาท รองลงมารอยละ 17.4 มีภาวะหนี้สินระหวาง 50,001 – 100,000 บาท และรอยละ 2.6 มีภาวะหนี้สินระหวาง 100,001 – 150,000 บาท และในจํานวนกลุมตัวอยางนี้รอยละ 20.0 ไมมีภาวะหนี้สินโดยมีภาวะหนี้สินต่ําสุด 5,000 บาท สูงสุด 300,000 บาท ภาวะหนี้สินเฉลี่ย 46,725.00 บาท(ตารางที่ 14)

Page 49: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

41

ตารางที่ 14 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามภาวะหนี้สิน

รายการ จํานวน(คน) รอยละ ภาวะหนี้สิน(บาท) หนี้สินนอยกวาหรือเทากับ 10,000 16 10.3 10,001 – 50,000 72 46.5 50,001 – 100,000 27 17.4 100,001 – 150,000 4 2.6 หนี้สินมากกวาหรือเทากับ150,001 5 3.2 ไมมีภาวะหนีสิ้น 31 20.0 รวม 155 100.00 หนีสิ้นต่ําสุด = 5,000 บาท หนี้สินเฉลี่ย = 46,725.00 บาท หนีสิ้นสูงสุด = 300,000 บาท คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 44,865.873

แหลงเงินกูในการประกอบอาชีพ กลุมตัวอยางรอยละ 74.8 กูเงินจากกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร รองลงมารอยละ 57.4 และรอยละ 40.0 กูเงินจากกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง และธนาคาร ตามลําดับ (ตารางที่ 15)

ตารางที่ 15 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามแหลงเงินกู รายการ จํานวน(คน) รอยละ แหลงเงินกูในการประกอบอาชีพ(ตอบไดมากกวา 1ขอ) กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง 89 57.4 กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร 116 74.8 กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต 52 33.5 ธนาคาร 62 40.0 พอคา 3 1.9 ญาติพี่นอง 13 8.4 อ่ืนๆระบุ 0 0

Page 50: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

42

การออมทรัพย กลุมตัวอยางรอยละ 53.6 มีการออมทรัพยระหวาง 2,001 – 7,000 บาท รองลงมารอยละ 23.2 มีการออมทรัพยนอยกวาหรือเทากับ 2,000 บาท และรอยละ 3.2 มีการออมทรัพยมากกวาหรือเทากับ 17,001 บาท โดยมีการออมทรัพยต่ําสุด 1,000 บาท สูงสุด 30,000 บาท เฉลี่ย 5,635.06 บาท(ตารางที่ 16)

ตารางที่ 16 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามการออมทรัพย รายการ จํานวน(คน) รอยละ

1. การออมทรัพย(บาท) การออมทรัพยนอยกวาหรือเทากับ 2,000 36 23.2 2,001-7,000 83 53.6 7,001-12,000 23 14.8 12,001-17,000 8 5.2 การออมทรัพยมากกวาหรือเทากับ 17,001 5 3.2 รวม 155 100.00

ออมทรัพยต่ําสุด = 1,000 บาท ออมทรัพยเฉลี่ย = 5,635.06 บาท ออมทรัพยสูงสุด = 30,000 บาท คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 4,964.798

การไดรับเงินปนผล กลุมตัวอยางรอยละ 36.2 ไดรับเงินปนผลระหวาง 171 – 270 บาท รองลงมารอยละ 32.9 ไดรับเงินปนผลนอยกวาหรือเทากับ 700 บาท และรอยละ 4.5 ไดรับเงินปนผลมากกวาหรือเทากับ 471 บาท โดยมีการปนผลต่ําสุด 70 บาท สูงสุด 700 บาท เฉลี่ย 247.89 บาท (ตารางที่ 17) การไดรับสวัสดิการ เปนผลตอบแทนจากการเขารวมกิจกรรมกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรที่ไมใชตัวเงิน ไดแก ปจจัยการผลิต ของชํารวย การพาไปทัศนศึกษาดูงาน ในกลุมตัวอยาง ไมไดรับสวัสดิการจากการดําเนินงานกองทุน(ตารางที่ 17)

Page 51: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

43

ตารางที่ 17 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามรูปแบบการไดรับผลประโยชน รายการ จํานวน(คน) รอยละ รูปแบบการไดรับผลประโยชนจากกองทุน

1. เงินปนผล(บาท) นอยกวาหรือเทากับ 170 51 32.9 171 – 270 56 36.2 271 - 370 21 13.5 371 - 470 20 12.9 มากกวาหรือเทากับ 471 7 4.5 รวม 155 100.00 2. สวัสดิการ 0 0.00

ไดรับเงินปนผลต่ําสุด = 70 บาท ไดรับเงินปนผลเฉลี่ย = 274.89 บาท ไดรับเงินปนผลสูงสุด = 700 บาท คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 126.392

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

ผลการศึกษาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก โดยกลุมตัวอยางรอยละ 100 มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุนสูงสุด ในประเด็น (1) เลขานุการทําหนาที่ในการจัดทําทะเบียนสมาชิก จดบันทึกการประชุม จัดเตรียมสถานที่ประชุม จัดเตรียมวาระการประชุม (2) การเก็บรักษาเงิน การจายเงินกองทุน การจัดทํางบดุลเปนหนาที่ของฝายการเงินและบัญชี (3) คุณสมบัติของคณะกรรมการจะตองมีคุณธรรม ซ่ือสัตย มีความสามารถ เสียสละ มีความคิดริเร่ิม ขยันอดทน ใฝหาความรู (4) การเก็บรักษา มีการแตงตั้งกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปดบัญชีกองทุน ในการเบิกจายตองลงลายมือช่ืออยางนอยไมต่ํากวา 2 คน (5) กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงเงินทุนหมุนเวียนใหแกสมาชิกในการประกอบอาชีพ (6) กองทุน มีวัตถุประสงคเพื่อใหสมาชิกมีสวนรวมในการชวยเหลือซ่ึง กันและกันภายในกลุมและชุมชน โดยเนนการมีสวนรวมคิด รวมมือ รวมแรง รวมใจ (7) สมาชิกกลุมจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ รองลงมารอยละ 99.4 มีความรูความเขาใจในประเด็น การกูเงินกองทุน ผูกูจะตองมีสมาชิกค้ําประกัน 2 คน และจะตอง เปนสมาชิกกองทุนไมต่ํากวา 6 เดือน รอยละ 98.7 มีความรูความเขาใจในประเด็น หนาที่ของสมาชิกกลุมคือเขารวมประชุมประจําเดือนอยางสม่ําเสมอ รอยละ 98.1 มีความรูความเขาใจในประเด็นการพนจากสภาพ

Page 52: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

44

การเปนสมาชิกกองทุน เนื่องจาก ตาย ลาออก ยายภูมิลําเนา จงใจฝาฝนขอบังคับ ระเบียบกองทุน รอยละ 92.9 มีความรูความเขาใจในประเด็นคณะกรรมการกองทุน ควรมีไมนอยกวา 5 ตําแหนง กลุมตัวอยางรอยละ 36.8 ที่มีความรูความเขานอยที่สุด ในประเด็นคณะกรรมการกองทุน จะอยูในวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป รองลงมารอยละ 80.6 ในประเด็นการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน บัญชี ทะเบียนกิจกรรมและโครงการตาง ๆ เปนหนาที่ของประธาน สมาชิกไมมีสิทธิ์ในการตรวจสอบ(ตารางที่ 18)

ตารางที่ 18 จํานวนและรอยละของความรูความเขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

n=155

มีความรูความเขาใจถูกตอง ประเด็น เฉลยคําตอบ จํานวน(คน) รอยละ

1 คณะกรรมการกองทุน ควรมีไมนอยกวา 5 ตําแหนง

ถูก

144

92.9

2 เลขานุการทําหนาที่ในการจดัทําทะเบยีนสมาชิก จดบันทึกการประชุม จัดเตรียมสถานที่ประชุม

ถูก

155

100

3 การเก็บรักษาเงิน การจายเงนิกองทุน การจัดทํา งบดุลเปนหนาที่ของฝายการเงินและบัญช ี

ถูก 155 100

4 การประชุมประจําเดือน หรือการประชุมใหญ คณะกรรมการกองทุนจะประชุมชี้แจง รายงานผลการดําเนนิงานและปญหาตาง ๆแกสมาชิก

ถูก

136

87.7 การตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน บญัชี

ทะเบียนกิจกรรมและโครงการตาง ๆ เปนหนาที่ของประธานสมาชิกไมมีสิทธิ์ในการตรวจสอบ

ผิด

125

80.6 6 คุณสมบัติของคณะกรรมการจะตองมีคุณธรรม

ซ่ือสัตย มีความสามารถ เสียสละ มีความคิดริเร่ิม ขยัน อดทน ใฝหาความรู

ถูก

155

100

7 การเก็บรักษา มีการแตงตั้งกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปดบัญชีกองทุน ในการเบิกจายตองลงลายมือช่ืออยางนอยไมต่ํากวา 2 คน

ถูก

155

100

Page 53: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

45

ตารางที่ 18 (ตอ) มีความรูความเขาใจถูกตอง ประเด็น เฉลย

คําตอบ จํานวน(คน) รอยละ 8 การกูเงินกองทุน ผูกูจะตองมีสมาชิกค้ําประกัน 2

คน และจะตอง เปนสมาชิกกองทุนไมต่ํากวา 6 เดือน

ถูก

154

99.4

9 การพนจากสภาพการเปนสมาชิกกองทุน เนื่องจาก ตาย ลาออก ยายภูมิลําเนา จงใจฝาฝนขอบังคับ ระเบียบกองทุน

ถูก

152

98.1

10 กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงเงนิทุนหมุนเวียนใหแกสมาชิกในการประกอบอาชีพ

ถูก 155 100

11 กองทุน มีวัตถุประสงคเพื่อใหสมาชิกมีสวนรวมในการชวยเหลือซ่ึง กันและกันภายในกลุมและชุมชน โดยเนนการมสีวนรวมคิด รวมมือ รวมแรง รวมใจ

ถูก

155

100

12 หนาที่ของสมาชิกกลุมคือเขารวมประชุมประจําเดือนอยางสม่ําเสมอ

ถูก 153 98.7

13 สมาชิกกลุมจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบยีบ ขอบังคับ

ถูก 155 100

14 การควบคุมและติดตามการดาํเนินงานกองทุนควรเปนหนาที่ของคณะกรรมการกองทุนเทานัน้

ผิด 126 81.3

15 คณะกรรมการกองทุน จะอยูในวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป

ผิด 57 36.8

ระดับความรูความเขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ผลการศึกษากลุมตัวอยางรอยละ 100 มีความรูความเขาใจการดําเนินงานกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากในภาพรวมระดับมาก(ตารางที่ 19)

Page 54: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

46

ตารางที่ 19 จํานวนและรอยละของของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามระดบัความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก

n=155 ตอบถูกตอง

(ขอ) ระดับความรู จํานวน

(คน) รอยละ

10-15 มาก 155 100 6-9 ปานกลาง 0 0 1-5 นอย 0 0

การสนับสนุนจากหนวยงานราชการ ผลการศึกษากลุมตัวอยางไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการ มีดังนี ้ การไดรับการสนับสนุนในระดับบอย ๆ กลุมตัวอยางรอยละ 64.5 ไดรับการเยี่ยมเยียน/พบปะ รอยละ 47.7 ไดรับการใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการนําเงินทุนไปประกอบอาชีพ การอบรมถายทอดความรู/สาธิต และจัดหาเอกสารวิชาการมาให การไดรับการสนับสนุนในระดับ นาน ๆ คร้ัง กลุมตัวอยางรอยละ 78.8 ไดรับการสนับสนุนดานทัศนศึกษาดูงาน รอยละ 61.9 ไดรับการสนับสนุนดานการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ และรอยละ 58.1 การรวมจัดเวทีประชาคมเพื่อวางแผน การไมเคยไดรับการสนับสนุน กลุมตัวอยางบางสวนรอยละ 31.0 ไมเคยไดรับการสนับสนุนปจจัยการผลิต เชน พันธุพืช พันธุสัตว เงินทุน ปุยเคมี วัสดุอุปกรณ รองลงมารอยละ 17.4 ไมเคยไดรับการสนับสนุนดานทัศนศึกษาดูงาน และรอยละ 7.7 ในดานการรวมจัดเวทีประชาคมเพื่อวางแผน การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการ ทั้ง 9 ประเด็น เมื่อพิจารณาแตละประเด็นผลเปนดังนี้ เยี่ยมเยียน/พบปะ กลุมตัวอยางรอยละ 64.5 ไดรับการสนับสนุนในระดับบอย ๆ ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการนําเงินทุนไปประกอบอาชีพ กลุมตัวอยางรอยละ 51.1 ไดรับการสนับสนุนในระดับนาน ๆ คร้ัง ใหคําแนะนําแกไขปญหา กลุมตัวอยางรอยละ 52.3 ไดรับการสนับสนุนในระดับนาน ๆ คร้ัง การอบรมถายทอดความรู/สาธิต กลุมตัวอยางรอยละ 47.7 เทากันที่ไดรับการสนับสนุนในระดับบอย ๆ และนาน ๆ คร้ัง ทัศนศึกษาดูงาน กลุมตัวอยางรอยละ 78.7 ไดรับการสนบัสนุนในระดบันาน ๆ คร้ัง สนับสนุนปจจัยการผลิต เชน พันธุพืช พันธุสัตว เงินทุน ปุยเคมี วสัดุอุปกรณ กลุมตัวอยางรอยละ 46.5 ไดรับการสนับสนุนในระดับ นาน ๆ คร้ัง

Page 55: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

47

จัดหาเอกสารวิชาการมาให กลุมตัวอยางรอยละ 47.7 ไดรับการสนับสนุนในระดับบอย ๆ ประสานงานกับหนวยงานที่เก่ียวของ กลุมตัวอยางรอยละ 61.9 ไดรับการสนับสนุนในระดับนาน ๆ คร้ัง การรวมจัดเวทีประชาคมเพือ่วางแผน กลุมตัวอยางรอยละ 58.1 ไดรับการสนับสนุนในระดับนานๆ คร้ัง (ตารางที่ 20) ตารางที่ 20 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามการไดรับการ

สนับสนุนจากหนวยงานราชการ n=155

ระดับความถี ่ประเด็น บอย ๆ จํานวน

(รอยละ)

นาน ๆ คร้ัง จํานวน

(รอยละ)

ไมเคย จํานวน

(รอยละ) 1. เยี่ยมเยยีน/พบปะ 100

(64.5) 54

(34.8) 1

(0.6) 2. ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับการนําเงินทุนไปประกอบ อาชีพ

74 (47.7)

79 (51.0)

2 (1.3)

3. ใหคําแนะนาํแกไขปญหา 73 (47.1)

81 (52.3)

1 (0.6)

4. อบรมถายทอดความรู/สาธิต 74 (47.7)

74 (47.7)

7 (4.5)

5. ทัศนศึกษาดูงาน 6 (3.9)

122 (78.7)

27 (17.4)

6. สนับสนุนปจจัยการผลิต เชน พันธุพืช พันธุสัตว เงินทุน ปุยเคมี วัสดุอุปกรณ

35 (22.6)

72 (46.5)

48 (31.0)

7. จัดหาเอกสารวิชาการมาให 74 (47.7)

71 (45.8)

10 (6.5)

8. ประสานงานกับหนวยงานที่เกีย่วของ 53 (34.2)

96 (61.9)

6 (3.9)

9. การรวมจัดเวทีประชาคมเพื่อวางแผน 53 (34.2)

90 (58.1)

12 (7.7)

Page 56: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

48

ตอนที่ 2 การมสีวนรวมการดาํเนนิงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก การมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากการศึกษาวิจัยการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ใน 3 ดาน ไดแก การประชุมวางแผน การปฏิบัติงาน และการประชาสัมพันธ ผลการศึกษาแสดงการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากในภาพรวมระดับมาก ( X = 3.82) และเมื่อพิจารณาแตละดาน รวม 3 ดาน ผลเปนดังนี้

ดานการประชุมวางแผน กลุมตัวอยางมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมระดับมาก ( X = 4.15) เมื่อพิจารณาประเด็นยอยแลว พบวาการมีสวนรวมระดับมากที่สุด ไดแก ประชุมกลุมทุกครั้ง ( X = 4.40) ประเด็นที่มีสวนรวมในระดับเดียวกัน ตามลําดับดังนี้ การกําหนดกฎ กติกา และขอบังคับ การยอมรับแผนเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ ( X = 4.32) ประเด็นที่มีสวนรวมมากในระดับเดียวกันตามลําดับดังนี้ การวางแผนในการในการปฏิบัติ และในการระดมความคิดแกไขปญหา ( X = 4.05) การกําหนดวัตถุประสงค ( X = 3.97) และการวิเคราะหปญหาความตองการ ( X = 3.92) ดานการปฏิบัติ กลุมตัวอยางมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมระดับมาก ( X =3.68) เมื่อพิจารณาประเด็นยอยแลวพบวา การมีสวนรวมระดับมากที่สุด ตามลําดับดังนี้ การระดมทุนหรือลงหุน/ออมทรัพย การปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารกองทุน และการปฏิบัติงานในลักษณะเสียสละ แรงงาน บริจาคเงิน และวัสดุส่ิงของ ( X = 4.74, 4.69,4.68 และ 4.57) ตามลําดับ การมีสวนรวมระดับมาก ไดแก การกูเงินกองทุน รวมปฏิบัติงานของกลุมตามที่ไดรับมอบหมาย รวมรับผิดชอบในการบริหารงานกลุม รวมเรงรัดเงินกูใหใชคืนภายในเวลาที่กําหนดในการติดตาม การชําระหนี้สิน และรวมพิจารณาดําเนินการ วางแผนการใชจายเงินกองทุนกลุม ( X = 4.12,4.05,4.01,3.94 และ 3.81) ตามลําดับ การมีสวนรวมระดับปานกลาง ไดแก ติดตาม ตรวจสอบการใชเงินของกลุมใหเปนไปตามวัตถุประสงค การรวมประสานงานการจัดเครือขายกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร ( X = 3.72 และ 3.38) การมีสวนรวมในระดับเดียวกัน ตามลําดับดังนี้ การรวมประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดหางบประมาณ และเขารับการอบรมถายทอดความรูจากหนวยงานตาง ๆ ( X = 3.34) การมีสวนรวมระดับนอย ไดแก รวมเปนวิทยากรในการถายทอดความรูแกสมาชิกกลุม หรือกลุมอื่นๆ การซื้อ – ขายปจจัยการผลิต และจัดหาตลาดเพื่อกระจายสินคาของสมาชิก ( X = 2.39,2.08 และ 2.04) ตามลําดับ ดานการประชาสัมพันธ กลุมตัวอยางมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมระดับมาก( X = 3.80) เมื่อพิจารณาประเด็นยอยแลวพบวา การมีสวนรวมระดับมาก ตามลําดับดังนี้ ประชาสัมพันธใหเพื่อนบานสมัครเขารวมเปนสมาชิกกองทุน รวมใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการ

Page 57: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

49

ดําเนินงานกองทุน และรวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกันทั้งในและนอกกลุมเพื่อพัฒนากองทุน ( X = 3.94, 3.79 และ3.67) ตามลําดับ (ตารางที่ 21)

ตารางที่ 21 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตามการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก n =155

การมีสวนรวม ประเด็น 5

จํานวน (รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน (รอยละ)

X (S.D)

ความ หมาย

การประชุมวางแผน 4.15 (0.528)

มาก

1 ประชุมกลุมทุกครั้ง 70 (45.2)

77 (49.7)

8 (5.2)

0 (0.0)

0 (0.0)

4.40 (0.587)

มากท่ีสุด

2 การกําหนดวัตถุประสงค 28 (18.1)

96 (61.9)

30 (19.4)

1 (0.6)

0 (0.0)

3.97 (0.633)

มาก

3 การวางแผนในการปฏิบัติงาน

37 (23.9)

91 (58.7)

26 (16.8)

1 (0.6)

0 (0.0)

4.05 (0.657)

มาก

4 วิเคราะหปญหาความ ตองการ

24 (15.5)

99 (63.9)

29 (18.7)

3 (1.9)

0 (0.0)

3.92 (0.645)

มาก

5 ในการระดมความคิดแกไขปญหา

38 (24.5)

89 (57.4)

27 (17.4)

1 (0.6)

0 (0.0)

4.05 (0.666)

มาก

6 กําหนดกฎ ระเบียบ ขอบังคับ

59 (38.1)

87 (56.1)

9 (5.8)

0 (0.0)

0 (0.0)

4.32 (0.580)

มากท่ีสุด

7 ยอมรับแผนเพือ่นําไปสูการปฏิบัติ

64 (41.3)

79 (51.0)

11 (7.1)

1 (0.6)

0 (0.0)

4.32 (0.635)

มากท่ีสุด

ดานการปฏิบัติงาน 3.68 (0.399)

มาก

8 กูเงินกองทุน 89 (57.4)

35 (22.6)

2 (1.3)

20 (12.9)

9 (5.8)

4.12 (1.272)

มาก

Page 58: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

50

ตารางที่ 21 (ตอ) n=155

การมีสวนรวม

ประเด็น 5

จํานวน (รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน

(รอยละ)

X S.D

ความ หมาย

9 ปฏิบัติงานในลักษณะเสียสละแรงงาน บริจาคเงิน วัสดุสิ่งของ

94

(60.6)

57

(36.8)

3

(1.9)

1

(0.6)

0

(0.0)

4.57

(0.569)

มากท่ีสุด

10 ระดมทุนหรือลงหุน/เงินออม

118 (76.1)

35 (22.6)

2 (1.3)

0 (0.0)

0 (0.0)

4.74 (0.464)

มากท่ีสุด

11 รวมรับผิดชอบในการบริหารงานกลุม

27 (17.4)

105 (67.7)

22 (14.2)

1 (0.6)

0 (0.0)

4.01 (0.586)

มาก

12 เขารับการอบรมถายทอดความรูจากหนวยงานตาง ๆ

20

(12.9)

35

(22.6)

79

(51.0)

20

(12.9)

1

(0.6)

3.34

(0.885)

ปานกลาง

13 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ

112 (72.3)

40 (25.8)

2 (1.3)

1 (0.6)

0 (0.0)

4.69 (0.526)

มากท่ีสุด

14 รวมปฏิบัติงานของกลุมตามที่ไดรับมอบหมาย

33

(21.3)

100

(64.5)

20

(12.9)

2

(1.3)

0

(0.0)

4.05

(0.626)

มาก 15 ซื้อ - ขายปจจัยการ

ผลิต 1

(0.6) 12

(7.7) 26

(16.8) 76

(49.0) 40

(25.8) 2.08

(0.889)

นอย 16 จัดหาตลาดเพื่อกระจาย

สินคาของสมาชิก 3

(1.9) 14

(9.0) 18

(11.6) 72

(46.5) 48

(31.0) 2.04

(0.982)

นอย 17 รวมเปนวิทยากรใน

การถายทอดความรูแกสมาชิกกลุม หรือกลุมอื่นๆ

9

(5.8)

26 (16.8)

24 (15.5)

54 (34.8)

42 (27.1)

2.39 (1.214)

นอย

Page 59: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

51

ตารางที่ 21 (ตอ) n=155

การมีสวนรวม

ประเด็น 5

จํานวน (รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน

(รอยละ)

X S.D

ความ หมาย

18 รวมพิจารณาดําเนินการวางแผนการใชจายเงินกองทุนกลุม

18

(11.6)

100

(64.5)

29

(18.7)

7

(4.5)

1

(0.6)

3.81

(0.715)

มาก 19 คัดเลือกคณะกรรมการ

บริหารกองทุน 110

(71.0) 41

(26.5) 4

(2.6) 0

(0.0) 0

(0.0) 4.68

(0.519) มากท่ีสุด

20 รวมเรงรัดเงินกูใหใชคืนภายในเวลาที่กําหนดในการติดตาม การชําระหนี้สิน

21 (13.50

106 (68.4)

27 (17.4)

1 (0.6)

0 (0.0)

3.94 (0.578)

มาก 21 รวมประสานงานกับ

องคกรปกครองสวนทองถิ่นหรอืหนวยงานท่ีเกี่ยวของในการจัดหางบประมาณ

13 (8.40

41 (26.5)

89 (57.4)

11 (7.1)

1 (0.6)

3.34 (0.761)

ปานกลาง

22 รวมประสานงานการจัดเครือขายกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร

12

(7.7)

48

(31.0)

84

(54.2)

9

(5.8)

2

(1.3)

3.38

(0.766)

ปานกลาง

23 ติดตาม ตรวจสอบการใชเงินของกลุมใหเปนไปตามวัตถุประสงค

13 (8.4)

86 (55.5)

56 (36.1)

0 (0.0)

0 (0.0)

3.72 (0.608)

ปานกลาง

Page 60: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

52

ตารางที่ 21 (ตอ) n=155

การมีสวนรวม

ประเด็น 5

จํานวน (รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน

(รอยละ)

X S.D

ความ หมาย

ดานการประชาสัมพันธ 3.80 (0.605)

มาก

24 ประชาสัมพันธใหเพื่อนบานสมัครเขารวมเปนสมาชิกกองทุน

25 (16.1)

99 (63.9)

30 (19.4)

0 (0.0)

1 (0.6)

3.94 (0.642)

มาก 25 รวมใหขอมูลขาวสาร

เกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุน

19

(12.3)

87

(56.1)

48

(31.0)

0

(0.0)

1

(0.6)

3.79

(0.671)

มาก 26 รวมแลกเปลี่ยนเรียนรู

กันทั้งในและนอกกลุมเพื่อพัฒนากองทุน

16

(10.3)

77

(49.7)

59

(38.1)

2

(1.3)

1

(0.6)

3.67

(0.701)

มาก

โดยภาพรวม 3.82 (0.377)

มาก

Page 61: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

53

ตอนที่ 3 ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร จังหวัดตาก ปจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม และปจจัยอ่ืน ๆ จํานวน 10 ตัวแปร ไดแก อายุ จํานวนสมาชิกในครัวเรือน ระยะเวลาการเปนสมาชิกกลุม รายไดในภาคเกษตร รายไดนอกภาคเกษตร รายไดรวมทั้งหมด ภาวะหนี้สิน การระดมทุน การออมทรัพย เงินปนผล วามีตัวแปรอะไรบางที่มีความเกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากในดานการประชุมวางแผน การปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธ และการมีสวนรวมโดยภาพรวม ผลการศึกษามีดังนี้ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรอิสระจํานวน 10 ตัวแปร ที่ใชในการทดสอบสมมติฐานการวิจัย โดยผลการวิเคราะหเบื้องตน พบวา สมาชิกกลุมตัวอยางมีอายุเฉลี่ย 47.90 ป จํานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.12 คน ระยะเวลาการเปนสมาชิกกลุมเฉลี่ย 10.95 ป รายไดในภาคเกษตร เฉลี่ย 88,984.73 บาท รายไดนอกภาคเกษตรเฉลี่ย 70,528.90บาท รายไดรวมทั้งหมดเฉลี่ย 135,517.42 บาท ภาวะหนี้สินเฉลี่ย 46,725.00 บาท การระดมทุน เฉลี่ย 1,415.80 บาท การออมทรัพย เฉลี่ย 5,635.06 บาท และเงิน ปนผล เฉลี่ย 247.89 บาท(ตารางที่ 22)

ตารางที่ 22 แสดงคา ตัวแปร คาเฉลี่ย และสวนเบีย่งเบนมาตรฐานของตัวแปรที่ใชในการวิเคราะห n=155

ตัวแปร คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตัวแปรอิสระ อายุ (X1 ) (ป) 47.90 8.535 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน (X2 ) (คน) 4.12 1.124 ระยะเวลาการเปนสมาชิกกองทุน (X3 ) (ป) 10.95 5.250 รายไดในภาคเกษตร (X4 ) (บาท) 88,984.73 67,235.863 รายไดนอกเกษตร (X5 ) (บาท) 70,528.90 96,064.662 รายไดรวมทั้งหมด (X6 ) (บาท) 135,517.42 112,128.234 ภาวะหนี้สิน (X7 ) (บาท) 46,725.00 44,865.873 การระดมทุน (X8 ) (บาท) 1,415.80 794.824 การออมทรัพย (X9) (บาท) 5,635.06 4,964.798 เงินปนผล (X10 ) (บาท) 247.89 126.392

Page 62: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

54

ตารางที่ 22 (ตอ) ตัวแปร คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตัวแปรตาม การมีสวนรวมดานการประชมุวางแผน( Y1 ) 4.15 0.528

การมีสวนรวมดานการปฏิบตัิ (Y2 ) 3.68 0.399 การมีสวนรวมดานการประชาสัมพันธ ( Y3 ) 3.80 0.605 การมีสวนรวมในภาพรวม (Y ) 3.82 0.377

ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการประชุมวางแผน ผลการศึกษาสามารถอธิบายไดวา ผลการวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการประชุมวางแผน พบวา ตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัวแปร มีอํานาจในการพยากรณตัวแปรตามของการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการประชมุวางแผนคิดเปนรอยละ 17.1 โดยตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันเชิงบวก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ เงินปนผล(ตารางที่ 23)

ตารางที่ 23 การวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการประชุมวางแผน

ตัวแปร คาสัมประสิทธิ์ถดถอย (b)

คาสถิติ (t)

คานัยสําคัญ (Sig)

คาคงที ่ 2.040 13.744 0.010 เงินปนผล 1.430E-02 2.082 0.04*

2R = 0.171 SEE = 0.49633 F=12.587 Sig of F=.010

*ตัวแปรอิสระที่มีความเกีย่วของกับตัวแปรตามอยางมีนยัสําคัญยิ่งทางสถิติที่ระดับ 0.05

ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการปฏิบัติงาน ผลการศึกษาสามารถอธิบายไดวา ผลการวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการปฏิบัติงานกองทุน พบวา ตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัวแปร มีอํานาจในการพยากรณตัวแปรตามของการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการปฏิบัติงาน คิดเปนรอยละ 10.2 โดยตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันเชิงลบอยางมีนัยสําคัญทาง

Page 63: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

55

สถิติที่ระดับ 0.05 คือ รายไดในภาคเกษตร และตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ภาวะหนี้สิน(ตารางที่ 24)

ตารางที่ 24 การวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการปฏิบัติงาน

ตัวแปร คาสัมประสิทธิ์ถดถอย (b)

คาสถิติ (t)

คานัยสําคัญ (Sig)

คาคงที ่ 2.805 13.202 0.002 รายไดในภาคเกษตร -1.1158E-06 -2.459 0.015* ภาวะหนี้สิน 1.726E-06 2.220 0.028*

2R = 0.102 SEE = 0.37177 F=13.422 Sig of F=.002

*ตัวแปรอิสระที่มีความเกีย่วของกับตัวแปรตามอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการมีมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานประชาสัมพันธ ผลการศึกษาสามารถอธิบายไดวา ผลการวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการประชาสัมพันธ พบวา ตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัวแปร มีอํานาจในการพยากรณตัวแปรตามของการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการปฏิบัติงาน คิดเปนรอยละ 3.2 โดยตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันเชิงลบอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ รายไดในภาคเกษตร และตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันเชิงบวก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ภาวะหนี้สิน(ตารางที่ 25)

ตารางที่ 25 การวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงาน กองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตากดานการประชาสัมพันธ ตัวแปร คาสัมประสิทธิ์ถดถอย

(b) คาสถิติ

(t) คานัยสําคัญ

(Sig) คาคงที ่ 4.080 37.885 0.000 รายไดในภาคเกษตร -1.1158E-06 -2.276 0.025* ภาวะหนี้สิน 1.726E-06 2.220 0.028*

2R = 0.032 SEE = 0.57822 F=5.180 Sig of F=.025

*ตัวแปรอิสระที่มีความเกีย่วของกับตัวแปรตามอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 64: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

56

ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากในภาพรวม ผลการศึกษาสามารถอธิบายไดวา ผลการวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในภาพรวมพบวา ตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัวแปร มีอํานาจในการพยากรณตัวแปรตามของการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรดานการปฏิบัติงาน คิดเปนรอยละ 10.6 โดยตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพันธกันเชิงลบ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ รายไดในภาคเกษตร และตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่มีความเกี่ยวของสัมพนัธกนัเชิงบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คือ ภาวะหนี้สิน(ตารางที่ 26)

ตารางที่ 26 การวิเคราะหถดถอยพหุของปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากในภาพรวม ตัวแปร คาสัมประสิทธิ์ถดถอย

(b) คาสถิติ

(t) คานัยสําคัญ

(Sig) คาคงที ่ 2.588 13.071 0.003 รายไดในภาคเกษตร -1.174E-06 -2.593 0.011* ภาวะหนี้สิน 1.555E-06 2.079 0.040*

2R = 0.106 SEE = 0.35752 F=1.489 Sig of F=.003

*ตัวแปรอิสระที่มีความเกีย่วของกับตัวแปรตามอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

การทดสอบสมมติฐาน จากการศึกษาหาความเกี่ยวของสัมพันธของปจจัยสวนบุคคล เศรษฐกิจ สังคม และ ปจจัย

อ่ืน ๆ ทั้ง 10 ตัวแปร กับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ทั้ง 3 ดาน ไดแก ดานประชุมวางแผน ดานการปฏิบัติ และดานการประชาสัมพันธ จึงพิสูจนไดวา ปจจัยดานเงินปนผลมีความเกี่ยวของสัมพันธกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการประชุมวางแผน ปจจัยดานรายไดในภาคเกษตร และภาวะหนี้สิน มีความเกี่ยวของสัมพันธกับการ มีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตากดานการปฏิบัติงาน ดานการประชาสัมพันธ และในภาพรวม

Page 65: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

57

ตอนที่ 4 ปญหาและขอเสนอแนะการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร จังหวัดตาก การศกึษาปญหาเกีย่วกบัการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ในดานการประชมุวางแผน ดานการปฏิบัติ และดานการประชาสัมพันธ ผลการศกึษามดีังนี้ ดานการประชมุวางแผน กลุมตัวอยางมีปญหาในภาพรวมอยูในระดับนอยที่สุด ( X = 1.78) เมื่อพิจารณาประเด็นยอยแลวพบวาปญหาในระดับปานกลาง ไดแก สมาชิกมีภารกิจมาก ไมมีเวลา ( X = 2.71) สวนปญหาระดับนอยที่สุด ไดแก สมาชิกไมมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น สมาชิกไมกลาแสดงออก กําหนดวันประชุมไมแนนอน และ คณะกรรมการไมตรงตอเวลา ( X = 1.76, 1.74.1.71 และ1.63) ตามลําดับ(ตารางที่ 27)

ดานการปฏิบัติ กลุมตัวอยางมีปญหาในภาพรวมระดับนอยที่สุด ( X = 1.62) เมื่อพิจารณาประเด็นยอยแลวพบวาปญหาในระดับมาก ไดแก เงินกูมีนอยไมเพียงพอ ( X = 3.52) ปญหาระดับนอย ไดแก บัญชีรายรับจายของกลุมไมตอเนื่อง ( X = 1.83) สวนปญหานอยที่สุด ไดแก สมาชิก ไมสามารถสงเงินคืนตามกําหนด คณะกรรมการไมมีการรายงานสถานการณการเงินใหแกสมาชิก สมาชิกไมปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ และ อัตราดอกเบี้ยสูงกวาแหลงอื่น ๆ ( X = 1.69, 1.66, 1.63, และ 1.60) ตามลําดับ(ตารางที่ 27) ดานการประชาสัมพนัธ กลุมตัวอยางมีปญหาในภาพรวมอยูในระดับนอยที่สุด ( X = 1.66) เมื่อพจิารณาประเดน็ยอยแลวพบวาปญหาในระดับนอยทีสุ่ด ไดแก คณะกรรมการไมมีแผนตรวจสอบ ไมมีการเผยแพรขอมูลขาวสารและเครือขายกลุมแมบานเกษตรกรสมาชิกไมกลาสอบถามหรือตรวจสอบการบริหารกองทุนของคณะกรรมการ ( X = 1.74,1.65 และ 1.59)ตามลําดับ(ตารางที่ 27)

ปญหาโดยภาพรวม กลุมตัวอยางมีปญหาโดยภาพรวมทั้ง 3 ดานอยูในระดับนอยที่สุด ( X = 1.68) เมื่อพิจารณาประเด็นยอยแลวพบวาปญหาระดับมาก ไดแก เงินกูมีนอยไมเพียงพอ ( X = 3.52) ปญหาระดับปานกลาง ไดแก สมาชิกมีภารกิจมาก ไมมีเวลา ( X = 2.71) ปญหาระดับนอย ไดแก บัญชีรายรับจายของกลุมไมตอเนื่อง ( X = 1.83) ปญหานอยที่สุด ไดแก สมาชิกไมมีโอกาสแสดงความคิดเห็น ( X = 1.76) ประเด็นปญหาระดับเดียวกันตามลําดับดังนี้ คณะกรรมการไมมีแผนตรวจสอบ และสมาชิกไมกลาแสดงออก( X = 1.74) การกําหนดวันประชุมไมแนนอน สมาชิกไมสามารถสงเงินคืนตามกําหนด คณะกรรมการไมมีการรายงานสถานการณการเงินใหแกสมาชิก และไมมีการเผยแพรขอมูลขาวสารและเครือขายแกสมาชิก ( X = 1.71, 1.69, 1.66 และ 1.65) ตามลําดับ (ตารางที่ 27)

Page 66: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

58

ตารางที่ 27 จํานวนและรอยละของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจําแนกตาก ปญหาการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร

n=155 ระดับของปญหา

ประเด็น 5 จํานวน

(รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน

(รอยละ)

X (S.D)

ความ หมาย

การประชุมวางแผน 1.78 (0.568)

นอย ท่ีสุด

1 สมาชิกมีภารกิจมาก ไมมีเวลา

10 (6.5)

43 (27.7)

35 (22.6)

27 (17.4)

40 (25.8)

2.71 (1.293)

ปานกลาง

2 สมาชิกไมมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น

0 (0.0)

2 (1.3)

6 (3.9)

101 (65.2)

46 (29.7)

1.76 (0.579)

นอยที่สุด

3 สมาชิกไมกลาแสดงออก 2 (1.3)

1 (0.6)

6 (3.9)

92 (59.4)

54 (34.8)

1.74 (0.682)

นอยที่สุด

4 กําหนดวันประชุมไมแนนอน

0 (0.0)

2 (1.3)

12 (7.7)

81 (52.3)

60 (38.7)

1.71 (0.662)

นอยที่สุด

5 คณะกรรมการไมตรงตอเวลา

0 (0.0)

0 (0.0)

11 (7.1)

70 (45.2)

72 (46.5)

1.63 (0.674)

นอยที่สุด

6 คณะกรรมการไมเด็ดขาด 1 (0.6)

0 (0.0)

5 (3.2)

73 (47.1)

75 (48.4)

1.58 (0.653)

นอยที่สุด

7 คณะกรรมการเลนพรรคเลนพวก

0 (0.0)

0 (0.0)

7 (4.5)

22 (14.2)

125 (80.6)

1.25 (0.601)

นอยที่สุด

การปฏิบตัิงาน 1.62 (0.382)

นอย ท่ีสุด

8 สมาชิกไมปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ

0 (0.0)

2 (1.3)

3 (1.9)

87 (56.1)

63 (40.6)

1.63 (0.590)

นอยที่สุด

9 คณะกรรมการไมมีความโปรงใส

0 (0.0)

0 (0.0)

0 (0.0)

34 (21.9)

118 (76.1)

1.26 (0.510)

นอยที่สุด

10 คณะกรรมการไมทําตามบทบาทหนาที่

0 (0.0)

1 (0.6)

4 (2.6)

59 (38.1)

91 (58.7)

1.45 (0.583)

นอยที่สุด

11 บัญชีรายรับจายของกลุมไมตอเนื่อง

0 (0.0)

3 (1.9)

11 (7.1)

98 (63.2)

43 (27.7)

1.83 (0.632)

นอยที่สุด

Page 67: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

59

ตารางที่ 27 (ตอ)

n=155 ระดับของปญหา

ประเด็น 5 จํานวน

(รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน

(รอยละ)

X (S.D)

ความ หมาย

12 อัตราดอกเบี้ยสูงกวาแหลงอื่น

4 (2.6)

5 (3.2)

10 (6.5)

42 (27.1)

94 (60.6)

1.60 (0.936)

นอยที่สุด

13 เงินกูมีนอยไมเพียงพอ 41 (26.5)

59 (38.1)

20 (12.9)

11 (7.1)

24 (15.5)

3.52 (1.364)

มาก

14 คณะกรรมการมีการทุจริตและเรียกรองผลประโยชน

0 (0.0)

2 (1.3)

3 (1.9)

21 (13.5)

129 (83.2)

1.21 (0.534)

นอยที่สุด

15 ระบบการกูเงินยุงยาก ขั้นตอนมาก

0 (0.0)

2 (1.3)

1 (0.6)

46 (29.7)

106 (68.4)

1.34 (0.565)

นอยที่สุด

16 สมาชิกไมสามารถสงเงินคืนตามกําหนด

1 (0.6)

2 (1.3)

4 (2.6)

89 (57.4)

59 (38.1)

1.69 (0.650)

นอยที่สุด

17 คณะกรรมการไมมีการรายงานสถานการณการเงินใหแกสมาชิก

0

(0.0)

2

(1.3)

6

(3.9)

85

(54.8)

62

(40.0)

1.66

(0.616)

นอยที่สุด

18 สมาชิกไมทราบแหลงที่จะไปรองเรียนที่ไหน เมื่อพบเห็นการทุจริต

0

(0.0)

2

(1.3)

1

(0.6)

30

(19.4)

122

(78.7)

1.24

(0.526)

นอยที่สุด

19 มีผูยุยงใหสมาชิกไมยอมปฏิบัติตามกฎระเบียบ

1 (0.6)

2 (1.3)

3 (1.9)

27 (17.4)

122 (78.7)

1.27 (0.629)

นอยที่สุด

20 กองทุนทําใหมีหนี้สินเพิ่มขึ้น

0 (0.0)

2 (1.3)

3 (1.9)

55 (35.5)

95 (61.3)

1.43 (0.603)

นอยที่สุด

Page 68: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

60

ตารางที่ 27 (ตอ)

n=155 ระดับของปญหา

ประเด็น 5 จํานวน

(รอยละ)

4 จํานวน

(รอยละ)

3 จํานวน

(รอยละ)

2 จํานวน

(รอยละ)

1 จํานวน

(รอยละ)

X (S.D)

ความ หมาย

การประชาสัมพันธ 1.66 (0.531)

นอยท่ีสุด

21 ไมมีการเผยแพรขอมูลขาวสารและเครือขายกลุมแมบานเกษตรกร

0

(0.0)

0

(0.0)

8

(5.2)

85

(54.8)

62

(40.0)

1.65

(0.576)

นอยที่สุด

22 สมาชิกไมกลาสอบถามหรือตรวจสอบการบริหารกองทุนของคณะกรรมการ

0 (0.0)

1 (0.6)

3 (1.9)

83 (53.5)

68 (43.9)

1.59 (0.566)

นอยที่สุด

23 คณะกรรมการไมมีแผนการติดตาม ตรวจสอบ

0 (0.0)

2 (1.3)

7 (4.5)

96 (61.9)

50 (32.3)

1.74 (0.598)

นอยที่สุด

โดยภาพรวม 1.68 (0.394)

นอย ท่ีสุด

2. ขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร

จังหวัดตาก ขอเสนอแนะเกี่ยวกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ในดานการประชุมวางแผน ดานการปฏิบัติ และดานการประชาสัมพันธ มีดังนี้

2.1 ขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก ดานการประชุมวางแผน ดังตอไปนี ้

1) ควรจัดกําหนดวันประชมุที่แนนอน 2) ควรมีการจดัประชุมกลุมยอยเพื่อใหสมาชิกทุกคนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และเสนอแนวทางการดําเนินงาน 3) ตองการใหมีระเบียบหรือบทลงโทษสมาชิกผูที่กูเงินไปใชผิดวัตถุประสงค 4) ตองการใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเขารวมประชุมรวมวางแผนเปนประจําอยางสม่ําเสมอ

Page 69: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

61

2.2 ขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบาน

เกษตรกรจังหวัดตาก ดานการปฏิบัติ ไดแก 1) ตองการใหสนับสนุนเงินกูอยางเพยีงพอกับสมาชิกกลุม 2) ตองการหาตลาดซื้อขาย ปจจัยการผลิตที่ราคาถูกแกสมาชิก 3) การจัดทําเอกสารการเงิน ทะเบียนสมาชิก การกูเงนิ อยางเปนระบบ โดยการจดัหาวิทยากรมาถายทอดความรู 4) ควรชี้แจงใหสมาชิกเขาใจในหลักการ วิธีการ กฎระเบียบ ขอบังคับใหชัดเจนมากขึ้น 5) ดําเนนิการโดยยดึระเบยีบขอบังคับอยางจริงจังไมเลือกปฏิบัติ 6) ควรจัดตั้งเครือขายกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรระดบัจังหวดั เพื่อเปนแหลงความรูเทคโนโลยี เครือขายแลกเปลี่ยนเรยีนรู และเปนแหลงเงินทนุดอกเบี้ยต่ํา เพือ่ชวยเหลือสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร 2.3 ขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบาน จังหวดัตาก ดานการประชาสัมพันธ ไดแก 1) ตองการใหคณะกรรมการกลุมดําเนินการประชาสัมพันธขอมูลขาวสาร รายงานฐานะการเงินของกลุม สาเหตุที่สมาชิกกลุมไมปฏิบัติตามกฎกติกา 2) ตองการใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรมาติดตามผลเปนประจําสม่าํเสมอ

3) ควรจัดใหมีเวทีเสวนาเครือขายกลุมแมบานเกษตรกรระดับจังหวัดเพื่อใหสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรแตละอําเภอไดมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แลกเปลี่ยนประสบการณ และสรางเครือขาย

วิจารณ จากผลการศึกษาปจจยัทางสังคม เศรษฐกจิ และปจจัยอ่ืน ๆ ไดแก ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทนุ การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการ ที่เกี่ยวของ กับการมีสวนรวมการดาํเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก ตลอดจนปญหาขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร มีประเด็นที่ควรอภิปรายดงัตอไปนี ้ 2.1 ปจจัยทางสังคม ผลการศึกษาพบวาสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร มีอายุเฉลี่ย 47.90 ป สวนใหญไมเปนคณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร และผูนําในทองถ่ิน ทั้งนี้เนื่องจาก

Page 70: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

62

คณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกรในภาพรวมทั้งจังหวดั รอยละ 11.6 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมด ซ่ึงโอกาสที่ถูกสุมเปนกลุมตัวอยางจึงมีนอย สวนผูนําทองถ่ิน เชน กํานัน ผูใหญบาน ซ่ึงเปนผูมีความรู ความสามารถ และเปนที่เคารพนบัถือของประชาชนในหมูบาน จึงไดรับการแตงตั้งจากกลุมแมบานเกษตรกรใหเปนที่ปรึกษาโดยตําแหนง 2.2 ปจจัยทางเศรษฐกิจ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีอาชีพหลัก คือทาํไรและยังมีอาชีพรองคือ อาชีพรับจาง รายไดเฉลี่ย 135,517.42 บาท โดยมสีมาชิกบางสวนจะประกอบอาชีพในภาคการเกษตรหรือนอกภาคการเกษตรอยางใดอยางหนึ่งเทานั้น แตจะมกีิจกรรมที่หลากหลายและสรางรายไดสูงใหแกครอบครัว และเพยีงพอในการประกอบอาชีพ สวนแหลงเงินทุนในการประกอบอาชพีสมาชิกสวนใหญจะกูเงนิจากแหลงเงนิทนุหลาย แหลงโดยเฉพาะ กับกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง ธนาคาร กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ทั้งนี้แสดงใหเห็นวา สมาชกิกลุมไมไดจํากดัเฉพาะจะเปนกลุมแมบานเกษตรกรเทานัน้ มีการเปดโอกาสให เขามาเปนสมาชิกกลุมอื่น ๆได จึงเปนทางเลือกใหเขาถึงแหลงทุนไดมากกวา 1 กลุม จึงสงผลใหสมาชิกมีภาวะหนีสิ้นเพิ่มมากโดยเฉลี่ย 46,725.00 บาท แตในขณะเดียวกนัยงัสงเสริมใหสมาชิกรูจักการออมเงิน ในรปูแบบตาง ๆ ไดแก การระดมหุน โดยเฉลี่ย1,415.80 บาท การฝากเงินออมทรัพยเปนประจําทกุเดอืน โดยมีการออมทรัพยเฉลี่ย 5,636.06 บาท เพื่อใหเกิดความมั่นคงในชีวิต เปนการสรางความรวมมือ กอเกิดกฎ กติกา แนวทางปฏิบัติรวมกัน และมีหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเขาไปสนบัสนุนชวยเสริมสรางความเขมแข็ง ความมั่นคง ตลอดจนแนวทางการบริหารจัดการกองทุนใหเปนระบบมากยิ่งขึ้น 2.3 ความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก กลุมตวัอยางมีความรูความเขาใจโดยภาพรวมในระดับมาก โดยเฉพาะในประเด็นทีก่ลุมตัวอยางเขาใจสูงสุด ไดแก ในประเด็น (1) เลขานุการทาํหนาที่ในการจัดทําทะเบียนสมาชิก จดบนัทึกการประชุม จัดเตรียมสถานที่ประชุม จัดเตรียมวาระการประชุม (2) การเก็บรักษาเงิน การจายเงนิกองทุน การจัดทํางบดุลเปนหนาที่ของฝายการเงินและบัญชี (3) คุณสมบัติของคณะกรรมการจะตองมีคุณธรรม ซ่ือสัตย มีความสามารถ เสียสละ มีความคิดริเร่ิม ขยันอดทน ใฝหาความรู (4) การเก็บรักษา มีการแตงตั้งกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปดบัญชีกองทุน ในการเบิกจายตองลงลายมือช่ืออยางนอยไมต่ํากวา 2 คน (5) กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงเงนิทนุหมุนเวียนใหแกสมาชิกในการประกอบอาชีพ (6) กองทุน มีวัตถุประสงคเพื่อใหสมาชกิมีสวนรวมในการชวยเหลือซ่ึง กันและกันภายในกลุมและชุมชน โดยเนนการมีสวนรวมคดิ รวมมือ รวมแรง รวมใจ (7) สมาชิกกลุมจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ ซ่ึงเปนวัตถุประสงค และกฎระเบยีบของกลุม หมายความวาสมาชิกทุกคนมีความคาดหวังวากองทุนจะชวยลดปญหาความ

Page 71: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

63

เดือดรอนแกสมาชิก หากสมาชิกทุกคนมคีวามรูความเขาใจในการดําเนินกองทุนมาก รวมกนัปฏิบัติอยางถูกตอง จะชวยใหกองทุนมีความมั่นคงเขมแข็งสามารถพึ่งพาตนเองไดในที่สุด สวนประเด็นที่กลุมตัวอยางบางสวนมีความรูความเขาใจนอยที่สุด ไดแก คณะกรรมการกองทุนจะอยูในวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป ทั้งที่วาระเพยีง 2 ป เทานั้น แสดงใหเห็นวาบุคคลที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนคณะกรรมการบริหารกองทนุจะทําหนาที่เปนตัวแทนของกลุมในการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ จนมีความรูความสามารถ มีความเขาใจในกิจกรรมของกลุมเปนอยางดี สรางความเชื่อมั่นใหแกหนวยงานทัง้ภาครัฐและเอกชนที่จะสนับสนุนกิจกรรมตาง ๆ แกกลุม พรอมทั้งมีคุณสมบัติที่มีความซื่อสัตย ยตุิธรรม มีความโปรงใสในการทํางาน และมีความกระตือรือรน เต็มใจใหบริการแกสมาชิกโดยไมหวังผลตอบแทน ๆ และสมาชิกมีความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะพัฒนากลุมไปสูเปาหมายได ดังนั้นแมวาเมื่อครบวาระการดํารงตําแหนง ก็ยังไดรับความไววางใจจากสมาชิกคัดเลือกใหดํารงตําแหนงอีกหลาย ๆ วาระติดตอกนั 2.4 การมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรจังหวัดตาก โดยภาพรวมอยูในระดับมาก สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีสวนรวมดําเนินงานกองทนุดานการประชุมวางแผน ดานการปฏิบัติ และดานการประชาสัมพันธ ทั้ง 3 ดานระดับมากเชนกัน จึงควรอภิปรายผลถึงมูลเหตุของการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนทั้ง 3 ดาน ดังนี ้ 2.4.1 ดานการประชุมวางแผน การมีสวนรวมในภาพรวมระดับมาก ประเด็นการมีสวนรวมสูงสุด คือ การประชุมกลุมทกุครั้ง รองลงมา คือ การกําหนดกฎกติกาขอบังคับ และการยอมรับแผนเพื่อนําไปสูการปฏิบัติ ซ่ึงการเขาประชมุกลุมทุกครั้ง สมาชิกจะไดรับสิทธิตาง ๆ ตามเงื่อนไขกฎระเบียบทีก่ําหนดไว การไดรับรูขาวสารความเคลื่อนไหว การไดแสดงความคิดเหน็เพื่อรักษาสิทธิผลประโยชนที่พึงจะไดรับ จึงสงผลใหสมาชิกเขารวมประชุมกลุมทกุครั้ง ทําใหมีความรูความเขาเกี่ยวกับการดาํเนินงานกองทุนมากขึ้น ซ่ึงจะนําไปสูการปฏิบัติที่ถูกตอง 2.4.2 ดานการปฏิบตัิ การมสีวนรวมในภาพรวมระดับมาก ประเดน็ที่มสีวนรวมสูงสุด คือ การระดมทุนหรือหุน รองลงมา คือ การปฏิบัติตามกฎระเบยีบขอบังคับ การคัดเลือกคณะกรรมการบริหารกองทุน และการปฏบิัติงานในลักษณะเสียสละแรงงาน บริจาคเงิน และวัสดุส่ิงของ ทั้งนี้เนื่องมาจากความคาดหวังของสมาชิกกองทนุที่ตองการมแีหลงเงินทนุในการประกอบอาชีพในอัตราดอกเบี้ยต่ํากวาแหลงเงินทนุจากภายนอก โดยเฉพาะสมาชิกกลุมมีวัตถุประสงครวมกันในการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และการสรางศักยภาพของกลุมใหมีความเขมแขง็ดวยระบบการบริหารเงินกองทุน รวมทั้งเพื่อสรางอํานาจการตอรองในการเขาถึงแหลงทุนอื่น ๆ ได และยังไดรับการสนับสนุนจากเจาหนาทีจ่ากภาครัฐและเอกชนอกีดวย จึงทําใหสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติในประเดน็ดังกลาวมากที่สุด

Page 72: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

64

ประเด็นการมสีวนรวมปฏิบตัิในระดับนอย คือ การเปนวิทยากรในการถายทอดความรูแกสมาชิกกลุมหรือกลุมอื่น ๆ ทั้งนี้เนื่องจากการรบัการถายทอดความรูดานวิชาการตาง ๆ จากภาครัฐและเอกชนจะมุงเนนการถายทอดความรูใหกับผูนํากลุมมากกวาสมาชิก เพราะเชื่อมั่นวาผูนําสามารถที่จะถายทอดความรูแกสมาชิกได และสมาชกิกลุมบางสวนมีภารกจิมาก ไมมีเวลาที่จะมารับความรูไดบอย ๆ ประกอบกับสมาชกิบางรายขาดทกัษะในการพูดในที่สาธารณะจึงขาดความมั่นใจทีจ่ะถายทอดความรูแกผูอ่ืนได หรือไมกลาแสดงออกนั่นเอง 2.4.3 ดานการประชาสัมพนัธ การมีสวนรวมในภาพรวมระดับมาก ประเด็นมีสวนรวมสูงสุด คือ ประชาสัมพันธใหเพื่อนบานสมัครเขาเปนสมาชิกกองทุน เพราะวาสมาชิกกลุมความเชื่อมั่นวาหากในชุมชนมีเงินหมนุเวยีนมากขึน้เรื่อย ๆ จะเปนแหลงเงินทุนในการประกอบอาชีพมีอัตราดอกเบี้ยต่ํากวาเงินกูนอกระบบ จะชวยลดปญหาขาดแหลงเงินทุนในการประกอบอาชีพ หรือไมสามารถเขาถึงแหลงทุนอื่น ๆ ปญหาตนทุนการผลิตสูง หากคนในชุมชนทุกคนเขารวมเปนเจาของกองทุน จะสรางความมั่นคงทางการเงินแกกลุม ยอมหมายถึงความรวมมือของชุมชนในการพัฒนาอาชีพการเกษตรใหยั่งยืนสืบตอไป

Page 73: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

บทที่ 5 สรุปการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจยัเร่ืองปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ผูวิจัยไดนําเสนอประเด็นสําคัญโดยแบงออกเปน 3 สวน คือ สรุปการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ รายละเอียดดังนี ้สรุป

สวนสรุปการวิจัย จะนําเสนอเปน 4 ประเด็น คือ วัตถุประสงคของการวิจัย วิธีการดําเนินการวิจยั และผลการวจิัย ดังนี ้

1.สภาพพืน้ฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และปจจัยอ่ืนๆ ของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก 1.1 ปจจยัสวนบุคคลของสมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก ผลการศกึษาพบวากลุมตวัอยางรอยละ36.8 มีอายอุยูในชวง 46-55 ป ซ่ึงถือวาชวงสูงสุด มีอายเุฉลี่ย 47.90 ป รอยละ 74.8 จบการศกึษาสูงสดุระดับประถมศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ป.6) มีสมาชกิในครอบครัวเฉล่ีย 4.12 คน

1.2 ปจจัยทางสังคมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ผลการศึกษาพบวากลุมตวัอยาง รอยละ 15.5 เปนคณะกรรมการกลุมแมบานเกษตรกร รอยละ 18.1 เปนผูนําทองถ่ิน รอยละ 87.1 เปนสมาชิกกลุมกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองมากที่สุด

แรงจูงใจใหสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร เขารวมการดาํเนินงานกองทุนกลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 88.4 ตองการความรูและเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม รองลงมารอยละ 85.8 ตองการแหลงเงินทุนดอกเบีย้ต่ําในการประกอบ และรอยละ 39.4 เปนสมาชิกกองทนุกลุมแมบานเกษตรกรระยะเวลา6-10 ป โดยเฉลี่ย 10.95 ป 1.3 ปจจัยทางเศรษฐกิจของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยาง รอยละ 29.7 และ 26.5 มีอาชีพหลัก คือ ทําไร และทําสวน ตามลําดับ รอยละ 41.9 และ รอยละ 37.4 มีอาชีพรอง คือ เล้ียงสัตวและรับจาง ตามลาํดับ รอยละ 61.2 มีรายไดรวมทั้งหมดระหวาง 25,001 – 125,000 บาท รายไดเฉลี่ย 135,517.42 บาท รอยละ 46.5 มีภาวะหนี้สิน ระหวาง 10,001 – 50,000 บาท มีภาวะหนี้สินเฉลี่ย 46,725.00 บาท รอยละ 74.8 กูเงินจากกับกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร รองลงมา รอยละ 57.4 กูเงินกับกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง สวนรูปแบบการเขารวมกิจกรรม ผลการศึกษา พบวากลุมตัวอยางรอยละ 41.3 เขารวมกิจกรรมระดมหุนระหวาง 701 – 1,400 บาท รอยละ 53.6 เขารวมกิจกรรมการออมทรัพยระหวาง

Page 74: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

66

2,001 – 7,000 บาท รอยละ 36.2 ไดรับผลประโยชนจากการดําเนินงานกองทุนในรูปแบบของเงินปนผล ระหวาง 171 – 270 บาท 1.4 ความรูความเขาใจเกีย่วกับการดาํเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุม

แมบานเกษตรกร ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางรอยละ 100 มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรในภาพรวมระดับมาก โดยมีความรูความเขาใจเกี่ยวกบัการดําเนนิงานกองทุนสูงสุดในประเด็น ดังนี้ (1) เลขานุการทําหนาที่ในการจดัทําทะเบียนสมาชิก จดบันทกึการประชุม จัดเตรียมสถานที่ประชุม (2) การเก็บรักษาเงิน การจายเงนิกองทุน การจัดทํางบดุลเปนหนาที่ของฝายการเงินและบัญชี (3) คุณสมบัติของคณะกรรมการจะตองมีคุณธรรม ซ่ือสัตย มีความสามารถ เสียสละ มีความคิดริเร่ิม ขยัน อดทน ใฝหาความรู (4) การเก็บรักษา มีการแตงตั้งกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปดบัญชีกองทุน ในการเบกิจายตองลงลายมือช่ืออยางนอยไมต่ํากวา 2 คน (5) กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงเงินทุนหมนุเวียนใหแกสมาชิกในการประกอบอาชพี (6) กองทุน มีวัตถุประสงคเพื่อใหสมาชกิมีสวนรวมในการชวยเหลือซ่ึง กันและกนัภายในกลุมและชุมชน โดยเนนการมีสวนรวมคิด รวมมอื รวมแรง รวมใจ (7) สมาชิกกลุมจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ กลุมตัวอยางบางสวนเขาใจนอยที่สุด คือ คณะกรรมการกองทุนจะอยูในวาระดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป และการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงนิ บัญชี ทะเบียนกิจกรรมและโครงการตาง ๆ เปนหนาที่ของประธาน สมาชิกไมมีสิทธิ์ในการตรวจสอบ 1.5. การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการ ผลการศึกษาพบวากลุมตัวอยางสวนใหญไดรับการสนับสนุนในระดับบอย ๆ ไดแก การเยีย่มเยียน/พบปะ ในระดบันานๆ คร้ัง ไดแก การพาไปทัศนศกึษาดูงาน สวนประเดน็ที่กลุมตัวอยางบางสวนไมเคยไดรับการสนับสนุน ไดแก การสนับสนุนปจจยัการผลิต เชนพันธุพชื พันธุสัตว เงนิทุน ปุยเคมี วสัดุอุปกรณ 2.การมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร ผลการศึกษาพบวา 2.1 ดานการประชุมวางแผน กลุมตัวอยางมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมในระดับมาก เมื่อพจิารณาในประเด็นการมีสวนรวมในระดับมากที่สุด ไดแก การประชุมกลุมทุกครั้ง การกําหนดกฎกติกา ขอบังคบั การยอมรับแผนไปสูการปฏิบัติ 2.2 ดานการปฏิบัติ กลุมตวัอยางมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนในภาพรวมระดับมาก ประเด็นการมีสวนรวมดานการปฏิบัติระดับมากที่สุด ไดแก การระดมทุนหรือลงหุน/เงินออม การปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคบั การคัดเลือกคณะกรรมการกองทุน และการปฏิบัติงานในลักษณะเสียสละแรงงาน บริจาคเงิน และวัสดส่ิุงของ ประเด็นการมสีวนรวมในระดับมาก ไดแก การกูเงินกองทุน รวมปฏิบัติงานที่ไดรับมอบหมาย รวมรับผิดชอบในการบริหารงานกลุม รวมเรงรัด

Page 75: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

67

เงินกูใหใชคนืภายในเวลาที่กําหนด ประเด็นการมีสวนรวมในระดับปานกลาง ไดแก ติดตามตรวจสอบการใชเงินใหเปนไปตามวัตถุประสงค รวมประสานงานการจัดเครือขายกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร และรวมประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ประเด็นการมสีวนรวมในระดับนอย ไดแก รวมเปนวทิยากรในการถายทอดความรูแกสมาชิกกลุมหรือกลุมอื่น ๆ การซื้อ-ขายปจจยัการผลิต และการจัดหาตลาดเพือ่กระจายสินคาของสมาชิก 2.3 ดานการประชาสัมพันธ กลุมตัวอยางมีสวนรวมในการดําเนนิงานในภาพรวมระดับมาก ประเด็นการมีสวนรวมในระดบัมาก ไดแก การประชาสัมพันธใหเพื่อนบานสมัครเขารวมเปนสมาชกิกองทุน รวมใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุน และ รวมแลกเปลีย่นเรียนรูกันทั้งในและนอกกลุมเพื่อพัฒนากองทุน 3. ปจจัยท่ีเก่ียวของกับการมสีวนรวมการดาํเนินงานกองทุนของสมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก ในบรรดาตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัวแปร ปรากฏวามี 3 ตัวแปร ไดแก เงนิปนผล ที่มีความสัมพนัธกับตัวแปรตามอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในดานการประชุมวางแผน รายไดในภาคเกษตร และภาวะหนี้สิน ที่มีความสัมพันธกับตัวแปรตามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในดานการปฏิบตัิ การประชาสัมพันธและโดยภาพรวม

3.1 เงินปนผล มีความสัมพันธเชิงบวกกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก อยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในดานการประชุมวางแผน กลาวคือ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรไดรับเงินปนผลมาก จะมีผลตอการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในดานการประชุมวางแผนเพิ่มมากขึน้ ทั้งนี้เนื่องจากการลงทุนในรปูแบบของการระดมหุน และการออมทรัพย หากสมาชิกไดรับเงินปนผลมากและคุมคากับการลงทุน จะสงผลใหสมาชิกเขารวมกิจกรรมตาง ๆ มากขึ้น โดยเฉพาะในการประชุมเพื่อวางแผน จะเปนเวทีที่สมาชิกจะไดแสดงความคิดเห็น การกําหนดกฎกตกิา ขอบังคับ ของกองทุนเพือ่ใหตอบสนองตอความตองการของสมาชิก รวมทั้งการไดรูความเคลื่อนไหวของกองทุน ซ่ึงคณะกรรมการจะแจงใหทราบในวนัประชุมเทานั้น และในวันประชุมประจําเดือนกลุมจะกําหนดเปนวันออมทรัพยหรือวันระดมทุนหรือเปนวนักูเงินหรือปนผลจากกําไรที่ดําเนินการ สมาชิกจึงใหความสําคัญของการประชุมวางแผน

3.2 รายไดในภาคเกษตร มีความสัมพันธเชิงลบกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวดัตาก อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในดานการปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธ และโดยภาพรวม กลาวคือ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีรายไดในภาคเกษตรนอย แตมีผลตอเขามามีสวนรวมในการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในดานการปฏิบัติงาน ดานการประชาสมัพันธ และโดยภาพรวมเพิ่มมากขึ้น

Page 76: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

68

ทั้งนี้เนื่องจาก สมาชิกกลุมสวนใหญมีอาชพีหลักและอาชีพรอง คือ การเกษตร ซ่ึงอาชีพในการเกษตรเปนอาชพีที่มีรายไดนอยและไมแนนอน โดยเฉพาะหากอาศยัปจจัยทางธรรมชาติเปนหลัก และตองใชเงินลงทุนสงู หากสมาชิกไมมีเงินเปนของตนเองจะตองกูยืมเงินจากกองทุนตาง ๆ ทั้งที่อยูในชุมชน ธนาคาร พอคา และญาติพี่นอง โดยเฉพาะแหลงเงินทุนที่อยูในชุมชน ไดแก กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร เงินออมทรัพย กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง จะเปนแหลงเงินกูที่สําคัญมากของสมาชิกเนื่องจากดอกเบีย้ต่ํากวาแหลงอื่นๆ การกูเงินมีขัน้ตอนไมยุงยาก และงายโดยไมตองใชหลักทรัพยค้ําประกนั แตในการทีจ่ะใชสิทธิ์กูเงนิกองทุนไดสมาชิกกลุมจะตองปฏิบัตติามกฎ กติกา ระเบียบขอบังคับของกลุมที่วางไว โดยเฉพาะจะตองเปนสมาชิกกองทุน พรอมทั้งเขารวมกิจกรรม การระดมหุน การออมทรัพย และเขารวมกิจกรรมอื่น ๆ ของกลุมอยางสม่ําเสมอ

3.3 ภาวะหนี้สนิ มีความสัมพนัธเชิงบวกกับการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก อยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในดานการปฏิบัติงาน การประชาสัมพันธ และโดยภาพรวม กลาวคือ สมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรมีภาวะหนี้สินมาก จะมีผลตอการมีสวนรวมการดาํเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรในดานการปฏิบตัิงาน การประชาสัมพันธ และโดยภาพรวมเพิ่มมากขึ้น ทัง้นี้เนื่องจาก กองทุนในชุมชนตาง ๆ ไดแก กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร กองทุนหมูบานและชมุชนเมือง กองทุนเงินออมทรัพย กองทุนแกไขปญหาความยากจน กองทุนอาสาพัฒนาหมูบาน ซ่ึงกองทุนเหลานี้จะเปนแหลงเงินทุนในการประกอบอาชพีที่มีอัตราดอกเบี้ยต่ํากวาเงนิกูนอกระบบ สมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรจึงเขาถึงแหลงเงินทุนไดมากกวา 1 แหลง กอใหเกดิการเปนหนี้สินมากขึน้หากไมมีการจัดการที่ดีและใชเงนิไปอยางไมระมดัระวัง ดังนั้นสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจะกูเงินกองทนุกลุมไดจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบียบขอบังคับของกลุมที่ตั้งไว การเขารวมกิจกรรมของกลุมทุกกิจกรรมทุกครั้งและ สม่ําเสมอจะไดรับการพิจารณาเปนพเิศษ 4. สภาพปญหาและขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก ในดานการประชุมวางแผน ดานการปฏิบตัิงาน และดานการประชาสัมพันธการศึกษาพบวา 4.1 สภาพปญหาจากการศึกษาของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรตอการดําเนินงานกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก มีดังนี ้ 4.1.1 ดานการประชุมวางแผน กลุมตัวอยางมีปญหาการสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมระดับนอยที่สุด ประเด็นปญหาการมีสวนรวมการประชุมวางแผน ในระดบัปานกลาง ไดแก สมาชิกมีภารกจิมากไมมีเวลา ประเด็นปญหาการมีสวนรวมในระดับ

Page 77: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

69

นอยที่สุด ไดแก สมาชิกไมมีโอกาสในการแสดงความคดิเห็น สมาชกิไมกลาแสดงออก และการกําหนดวนัประชุมไมแนนอน 4.1.2 ดานการปฏิบตัิ กลุมตัวอยางมีปญหาการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมระดับนอยที่สุด โดยมีประเด็นปญหาการมีสวนรวมในระดับมาก ไดแก เงินกูมีนอยไมเพียงพอ ประเด็นปญหาการมีสวนรวมในระดบันอย ไดแก บัญชีรายรับจายของกลุมไมตอเนื่อง สวนประเด็นปญหาการมีสวนรวมในระดับนอยที่สุด ไดแก สมาชิกไมสามารถสงเงินคืนตามกําหนด รองลงมาไดแก คณะกรรมการไมมีการรายงานสถานการณการเงินใหแกสมาชิกคณะกรรมการไมใชเวทีประชาคมในการตดัสิน และอัตราดอกเบี้ยสูงกวาแหลงอื่น 4.1.3 ดานการประชาสัมพนัธ กลุมตัวอยางมีปญหาการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนในภาพรวมระดับนอยที่สุด ไดแก คณะกรรมการไมมีแผนการตดิตามตรวจสอบ และไมมีการเผยแพรขอมูลขาวสารและเครือขายกลุมแมบานเกษตรกร 4.2 ขอเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก 4.2.1 ดานการประชุมวางแผน กลุมตัวอยางเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร มปีระเด็นดังนี้ (1) ควรกําหนดวันประชุมที่แนนอน และมีบทลงโทษสําหรับสมาชิกที่ไมเขารวมประชุม (2) ควรมีการจัดประชมุกลุมยอยเพื่อใหสมาชิกทุกคนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็น และเสนอแนวทางการดําเนนิงานและ (3) ควรใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรเขารวมประชุมรวมวางแผนเปนประจําอยางสม่ําเสมอ 4.2.2 ดานการปฏิบตัิ กลุมตวัอยางเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร มีประเด็นดังนี้ (1) ควรสนับสนุนเงินกูอยางเพยีงพอแกสมาชิก และมอัีตราดอกเบี้ยต่ํากวาแหลงอืน่ ๆ (2) จัดหาตลาดซื้อขายปจจัยการผลิต ตลาดจําหนายผลิตภัณฑแกสมาชิกกลุม (3) กําหนดกฎระเบียบในสญัญาเงนิกูใหรัดกุม และ (4) มีการชี้แจงใหสมาชิกเขาใจในหลักการ วิธีการ กฎระเบยีบ ขอบังคับ และนําไปปฏิบตัิอยางจริงจังโดยไมเลือกปฏิบัติ 4.2.3 ดานการประชาสัมพนัธ กลุมตัวอยางเสนอแนะการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกร มปีระเด็นดังนี้ (1) คณะกรรมการกลุมดําเนินการประชาสัมพันธขอมูลขาวสาร รายงานสถานะการเงินของกลุม สาเหตุที่สมาชิกไมปฏิบัติตามกฎกติกา และ (2) ควรจดัใหมีเวทีเสวนาเครือขายกลุมแมบานเกษตรกรระดับจังหวัดเพื่อใหสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรแตละอําเภอไดมีการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แลกเปลี่ยน

Page 78: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

70

ประสบการณ และสรางเครือขาย (3) ใหเจาหนาที่สงเสริมการเกษตรมาติดตามผลเปนประจําสม่ําเสมอ

ขอเสนอแนะ 1.จากผลการศึกษาพบวา ปญหาที่พบมากทีสุ่ด คือ เงินกูมนีอยไมเพียงพอ จึงควรสนับสนุนใหกลุมแมบานเกษตรกรสรางเครือขายกองทุนระดับตําบล ระดับอําเภอ และจังหวัด ในรูปแบบการระดมทุน ระดมปจจัยการผลิต การจัดหาทนุดวยการกิจกรรมตาง ๆ และใหสมาชิกกลุมทุกคนมีสวนรวมเปนเจาของกองทุนโดยเขารวมกิจกรรมตางๆในทุกขั้นตอน เร่ิมตั้งแตการใหสมาชิกกลุมมีสวนรวมในการกําหนดกฎ ระเบียบ ขอบังคับ การคัดเลือกคณะกรรมการโดยมีการคัดเลือกทุก ๆ 2 ป เพื่อเปดโอกาสสมาชิกที่มีความรูความสามารถบริหารกองทุน การไดรับการบริการตาง ๆ ดวยความเสมอภาค การไดรับความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการกองทนุ และใหโอกาสในการเสนอความคิดเห็น ทัง้นี้ควรใหหนวยงานระดับทองถ่ิน เชน องคการบริหารสวนตําบล (อบต.) องคการบริหารสวนจงัหวัด(อบจ.) มีสวนรวมพัฒนากองทุนกลุมแมบานเกษตรกร เพื่อเสริมสรางความมั่นคงแกกองทุนกลุมมากยิ่งขึ้น 2. คณะกรรมการและสมาชกิกลุมควรจัดใหมีการประชมุกลุมเปนประจําอยางสม่ําเสมอ เพื่อสรางความเขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานกองทุนของกลุม แลกเปลี่ยนเรียนรูและแกไขปญหารวมกัน และควรเปดโอกาสใหสตรีในหมูบานสมัครเปนสมาชิกกลุมเพิ่มขึ้น 3. คณะกรรมการและสมาชกิกลุมควรไดรับการฝกอบรมเกี่ยวกับความรูเชิงธุรกิจ ระบบการบริหารกองทุนกลุม การจัดทําบัญชี การจัดระบบการกูเงนิ การคิดตนทุนการผลิต การจัดจําหนาย การพัฒนาผลิตภัณฑอยางสม่ําเสมอ 4. เจาหนาที่สงเสริมการเกษตร ควรใหความสําคัญแกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกรมากขึ้น โดยมแีผนการติดตามการดําเนนิกจิกรรมของกลุมอยางนอยเดอืนละ 1 คร้ัง แผนการประชุมคณะกรรมการสภากลุมแมบานเกษตรกรระดับตําบล ระดับอําเภอ และระดับจงัหวัดอยางสม่ําเสมอ เพื่อทราบปญหาและใหคําแนะนําเพื่อการแกไข แตไมใชบริหารจัดการแทน หรือแทรกแซงการดําเนินงานกองทุนของกลุม เพื่อสรางความเชื่อมั่นในการทํางานของเจาหนาที่ และความมั่นคงในการดําเนนิงานกองทุน

Page 79: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

71

เอกสารอางอิง

กรณิศ เชื้อศิริถาวร. 2544. ปจจัยที่มีผลตอการมีสวนรวมในกิจกรรมของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรอําเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธาน.ี วิทยานิพนธปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ บณัฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

กรมสงเสริมการเกษตร. 2546 ก. การจัดตั้งและดําเนินงานกลุมแมบานเกษตรกร. พิมพคร้ังที่ 1 กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย __________________. 2546 ข. การดําเนนิงานกองทุนเพื่อการเกษตร. เอกสารวิชาการ กรุงเทพมหานคร. กรมการพัฒนาชุมชน. 2524. รายงานการวจิัยเร่ืองปจจัยที่สนับสนุนและ เปนอุปสรรคตอการดําเนินงานของกลุมสตรี. กองวิจยัและประเมินผล กรุงเทพมหานคร. __________________.2547.แนวทางการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนดวยระบบมาตรฐาน

งานชุมชน. สํานักสงเสริมและพัฒนาศกัยภาพชุมชน. ชัยอนันต สมทุวาณิช. 2527. ระบบราชการกับการมีสวนรวมของชุมชน : พิจารณในแงมหภาค. ศูนยศึกษานโยบายสาธารณสุข. มหาวิทยาลัยมหิดล. ชูเกียรติ ภัยล้ี. 2536. การศึกษาเปรียบเทยีบการมีสวนรวมของประชาชนในการปองกันและ ปราบปรามอาชญากรรมและระหวางพืน้ที่ที่มีการปฏิบัติงานกับพื้นทีไ่มมีการปฏิบัติงาน ของตํารวจชุมชนและมวลชนสัมพันธในเขตจังหวดัพระนครศรี อยุธยา.วิทยานิพนธ ศิลปศาสตรมหาบณัฑติ ภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประสานศาสตร. มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร. ดุสิต เวชกจิ. 2535. “การมีสวนรวมของประชาชนและการระดมทรัพยากรเพื่อการปาไมชุมชน”

ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการปาไมชุมชน หนวยที่ 5 หนา 213-214 นนทบุรี สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. อางโดย

นพวรรณ เสวตานนต. 2546. ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดการทรัพยากรปาไมลุมน้ําคลองอูตะเภา จังหวดัสงขลา. วิทยานิพนธปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ บัณฑิตวิทยาลยั. มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช

นพวรรณ เสวตานนต. 2546. ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมของประชาชนในการจดัการ ทรัพยากรปาไมลุมน้ําคลองอูตะเภา จังหวดัสงขลา. วิทยานิพนธปริญญาเกษตรศาสตร มหาบัณฑิต แขนงวิชาสงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ บัณฑิตวิทยาลยั. มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช

Page 80: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

72

นุรุท พึ่งสุข. 2546. ปจจัยทีเ่กี่ยวของกับการมีสวนรวมในกิจกรรมของสมาชิกสหกรณการเกษตร พัฒนาจํากดั จงัหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช เบญจมาศ อยูประเสริฐ. 2544. การวิจยัการสงเสริมการเกษตรแบบมีสวนรวม. ประมวลสาระชุด

วิชาการวจิัยเพือ่การพัฒนาการสงเสริมการเกษตร.บัณฑิตศึกษา สาขาวชิาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

__________________.2547. การวิจยัการมีสวนรวมทางสงเสริมการเกษตร. ในประมวลสาระชุดวิชา การวจิัยเพื่อการพัฒนาการสงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ. นนทบุรี. มหาวิทยาลัยสุโขทยัธรรมาธิราช.

__________________. 2548. รายงานการประชุมทางวิชาการ เร่ือง ประชากรและกลุมตัวอยาง จัดโดยมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 25 – 27 พฤศจิกายน 2548 สาขาวิชา สงเสริมการเกษตรและสหกรณ (อัดสําเนา) บัญญัติ สายพยัตฆ. 2537. ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมในกิจกรรมกลุมของสมาชิกกลุม เกษตรกร จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธปริญญาเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชา สงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปรารมภ ยานะวิมุต.ิ 2541. การมีสวนรวมในการแปรรูปของสามชิกลุมแมบานเกษตรกร จังหวดั ยะลา.วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต(เกษตรศาสตร) สาขาสงเสริม การเกษตร ภาควิชาสงเสริมและนิเทศาสตรเกษตร.มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร. ปยะ ปจนํา. 2546. ความคิดเห็นของผูกูเงนิตอความสําเร็จในการดําเนนิงานกองทุนหมูบานและ ชุมชนเมืองในเขตอําเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี. วิทยานิพนธปริญญาศิลปะศาสตร มหาบัณฑิต (รัฐศาสตร) สาขารัฐศาสตร ภาควิชารัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. พิฑูร สาตราภยั. 2539. การมีสวนรวมของสตรีทางดานการเกษตร: ศึกษาเฉพาะกรณีสตรีใน

โครงการกระจายการผลิตชลประทานราษฎรภาคเหนือ โครงการยอยแมคําปอง จังหวัดแพร. วิทยานพินธปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสงเสริมการเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

Page 81: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

73

มนัสชนก ศรีอิสาณ. 2547. ศึกษาปจจัยทีส่งผลตอการมีสวนรวมของประชาชนในกองทุนหมูบาน 1 ลานบาท ตามนโยบายของรัฐบาล:กรณีศกึษาเฉพาะเขตเทศบาล เมืองขลุง จังหวดัจันทบรีุ. วิทยานพินธปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ. มหาวิทยาลัยบรูพา. ราชบัณฑิตยสถาน.2525. พจนานุกรมฉบบัราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพคร้ังที่ 5

กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพอักษรเจริญทัศน. รุงสุรีย เล้ียงประยูร. 2544. การมีสวนรวมของตัวแทนเกษตรกรในการจัดทําแผนพัฒนาการเกษตร ระดับชุมชนแบบมีสวนรวมในเขตจังหวดัสุพรรณบุรี. วิทยานพินธปริญญา เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาสงเสริมการเกษตร สาขาวิชาสงเสริมการเกษตร และสหกรณ บัณฑิตวิทยาลยั. มหาวิทยาลยัสุโขทัยธรรมาธิราช. ศิริมา เพ็งนรพัฒน.2530. รายงานการวิจยัเร่ืองปจจัยที่มผีลตอการเขารวมรับความรูเทคโนโลยี

กลุมแมบานเกษตรกร. สํานักสงเสริมการเกษตรภาคตะวนัตก.จังหวดัราชบุรี. สุชา จันทรเอม. 2526. จิตวทิยาทั่วไป. กรุงเทพ : สํานักพิมพดอกหญา. สุรพล จันทราปตย. 2544. การนิเทศในการบริหารโครงการสงเสริมการเกษตร ใน เอกสารการ สอนชุดวิชาการบริการและการนิเทศงานสงเสริมการเกษตร หนา 193 นนทบุรี สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สมศักดิ์ สุขวงศ. 2532. วนศาสตรชุมชน. ใน เอกสารวชิาการและแนวทางวิชาการเพื่อพัฒนาปาไม ของไทยในปจจุบัน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร : กรุงเทพมหานคร สมนึก ปญญาสิงห. 2524. ศึกษาเรื่องปจจยัที่มีผลตอการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกลุมออมทรัพย

เพื่อการผลิต ในอําเภอศรีประจัน และอําเภอเดิมบางนางบวช จังหวัดสพุรรณบุรี. วิทยานิพนธปริญญาโทคณะสังคมสงเคราะห.มหาวิทยาลัยมหดิล.

สํานักงานเกษตรจังหวดัตาก. 2543. ขอมูลสถาบันเกษตรกรจังหวดัตาก ป 2543. (อัดสําเนา) ______________________. 2549. สรุปผลการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร จังหวดัตาก (อัดสําเนา) อาภรณพนัธ จันทรสวาง. 2525. คําบรรยายวิชาทฤษฎแีละหลักการพฒันาชุมชน. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. (อัดสําเนา) Cohen,John M. Uphoff,Norman T. 1980. Rural Development Participation : Concepts and

Measures. For Project Design Implementation and Evaluation “Rural Development

Monongraph No.2 Rural Development Committee Center for International Studies. อางโดย เบญจมาศ อยูประเสรฐิ.2544.การวิจยัการสงเสริมการเกษตรแบบมีสวนรวม.ประมวล

Page 82: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

74

สาระชุดวิชาการวิจัยเพื่อการพัฒนาการสงเสริมการเกษตร.บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี : โรงพิมพ มหาวทิยาลัย

สุโขทัยธรรมาธิราช.

Yamance. Taro.1973. Statistices : An Introdue tory Analysis. อางโดย เบญจมาศ อยูประเสริฐ. 2544. การวิจยัการสงเสริมการเกษตรแบบมีสวนรวม. ประมวลสาระ

ชุดวิชาการวิจยัเพื่อการพฒันาการสงเสริมการเกษตร.บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาสงเสริม การเกษตรและสหกรณ.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. นนทบุรี : โรงพิมพ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Page 83: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

75

ภาคผนวก

Page 84: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

76

แบบสมัภาษณ

เลขที่แบบสัมภาษณ

ปจจัยที่เกี่ยวของกับการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิก กลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

คําชี้แจง 1. แบบสัมภาษณชุดนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปจจัยดานเศรษฐกิจ สังคม และปจจัยอ่ืน ๆ การมีสวนรวมดําเนินงานกองทุน ตลอดจนศึกษาปญหาและขอเสนอแนะในการดําเนินงานกองทุนของสมาชกิกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก 2. ผูสัมภาษณอานคําถาม ใหผูตอบฟงแลวผูสัมภาษณทาํเครื่องหมาย ลงใน ( ) หรือเตมิขอความในชองวาง ในแบบสอบสัมภาษณ ที่มีทั้งหมด 3 ตอน ดังนี ้ตอนที่ 1 สภาพขอมูลพื้นฐานทั่วไป ขอมูลดานสงัคม ขอมูลดานเศรษฐกิจ และปจจัยอ่ืนๆ ของสมาชิก

กลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

1. อายุ..............................ป A1 2. ระดับการศึกษาสูงสุด A2

( ) จบชั้นประถมศึกษาภาคบังคับ (ป.1-ป.6) ( ) จบชั้นมัธยมศึกษาตอนตน(ม.3) ( ) จบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย(ม.6/ปวช.) ( ) อนุปริญญา (ปวส.) ( ) อ่ืนๆ(ระบุ)....................................................

3 จํานวนสมาชิกในครัวเรือน...........................คน A3 4 สถานภาพการเปนคณะกรรมการในกลุมแมบานเกษตรกร A4 ( ) เปน A41 ( ) ไมเปน A42

5 สถานภาพการเปนผูนําในทองถ่ิน A5 ( ) ผูใหญบาน/กํานัน A51 ( ) กรรมการหมูบาน A52 ( ) สมาชิก อบต./อบจ. A53 ( ) อ่ืน ๆ (ระบุ).......................................... A54

Page 85: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

77

6 แรงจูงใจที่เขารวมการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรดวยความสมัครใจ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

A6

( ) ตองการแหลงเงินทุนดอกเบี้ยต่ําในการประกอบอาชีพ A61 ( ) มีอาชีพเสริม คาตอบแทน และรายไดเสริม A62 ( ) ตองการความรูและเทคโนโลยีการเกษตรแผนใหม A63 ( ) ตองการไดรับการสนับสนุนและติดตอกับเจาหนาที่ ( ) อ่ืน ๆ (ระบุ)................................................................ A64

7 ระยะเวลาการเปนสมาชิกกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร………………………ป A7 8 อาชีพหลัก (อาชีพหลัก คือ อาชีพที่สรางรายไดสูงสุดใหแกครอบครัวทานในรอบ 1

ปที่ผานมา) A8

( ) ทํานา A81 ( ) ทําไร A82 ( ) ทําสวน A83 ( ) เล้ียงสัตว A84 ( ) ประมง A85 ( ) รับจาง A86 ( ) คาขาย A87 ( ) อ่ืน ๆ (ระบุ)........................................................ A88

9 อาชีพรอง คือ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) A9 ( ) ทํานา A91 ( ) ทําไร A92 ( ) ทําสวน A93 ( ) เล้ียงสัตว A94 ( ) ประมง A95 ( ) รับจาง A96 ( ) คาขาย A97 ( ) อ่ืน ๆ (ระบุ)........................................................ A98

10 รายไดของครอบครัว ในรอบ 1 ป ที่ผานมา A10 ( ) ในภาคเกษตร............................................บาทตอป A101 ( ) นอกภาคเกษตร.........................................บาทตอป A102 ( ) รวมรายไดทั้งหมด...................................บาทตอป A103

11 ภาวะหนี้สิน .................................................................บาท A11

Page 86: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

78

12 แหลงเงินกูในการประกอบอาชีพ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) A12 ( ) กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง A121 ( ) กองทุนกลุมแมบานเกษตรกร A122 ( ) กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต A123 ( ) ธนาคาร A124 ( ) พอคา A125 ( ) ญาติพี่นอง A126 ( ) อ่ืน ๆ (ระบุ)................................................................ A127

13 การเขารวมกิจกรรมกองทุนของกลุม (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) A13 ( ) ระดมหุน .....................................บาท A131 ( ) ออมทรัพย.........................................บาท A132 ( ) อ่ืนๆ(ระบุ)................................บาท A133

14 รูปแบบการไดรับผลประโยชนจากกองทุน (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) A14 ( ) เงินปนผล........................................บาท A141 ( ) สวัสดิการ.........................................บาท A142 ( ) อ่ืน ๆ( ระบุ).................................................................. A143

15 ความรูความเขาใจเกีย่วกับการดําเนินงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกร ใหเติมเครื่องหมาย ลงในชองถูกหรือผิด ตามความคิดเห็น

ความรูความเขาใจ ประเด็น ถูก ผิด

1 คณะกรรมการกองทุน ควรมีไมนอยกวา 5 ตําแหนง A151 2 เลขานุการทําหนาที่ในการจดัทําทะเบยีนสมาชิก จดบนัทกึการ

ประชุม จัดเตรียมสถานที่ประชุม จัดเตรยีมวาระการประชุม A152

3 การเก็บรักษาเงิน การจายเงนิกองทุน การจัดทํางบดุลเปนหนาที่ของฝายการเงนิและบัญช ี

A153

4 การประชุมประจําเดือน หรือการประชุมใหญ คณะกรรมการกองทุนจะประชุมชี้แจง รายงานผลการดาํเนินงานและปญหาตาง ๆแกสมาชิก

A154

5 การตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเงิน บญัชี ทะเบียนกิจกรรมและโครงการตาง ๆ เปนหนาที่ของประธาน สมาชิกไมมีสิทธิ์ในการตรวจสอบ

A155

6 คุณสมบัติของคณะกรรมการจะตองมีคุณธรรม ซ่ือสัตย มีความสามารถ เสียสละ มีความคิดริเร่ิม ขยัน อดทน ใฝหาความรู

A156

7 การเก็บรักษา มีการแตงตั้งกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปดบัญชีกองทุน ในการเบิกจายตองลงลายมือช่ืออยางนอยไมต่ํากวา 2 คน

A157

Page 87: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

79

ความรูความเขาใจ ประเด็น

8 การกูเงินกองทุน ผูกูจะตองมีสมาชิกค้ําประกัน 2 คน และจะตอง เปนสมาชิกกองทุนไมต่ํากวา 6 เดือน

A158

9 การพนจากสภาพการเปนสมาชิกกองทุน เนื่องจาก ตาย ลาออก ยายภูมิลําเนา จงใจฝาฝนขอบังคับ ระเบียบกองทุน

A159

10 กองทุนมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแหลงเงนิทุนหมุนเวยีนใหแกสมาชิกในการประกอบอาชพี

A1510

11 กองทุน มีวัตถุประสงคเพื่อใหสมาชิกมีสวนรวมในการชวยเหลือซ่ึง กันและกันภายในกลุมและชุมชน โดยเนนการมีสวนรวมคิด รวมมือ รวมแรง รวมใจ

A1511

12 หนาที่ของสมาชิกกลุมคือเขารวมประชุมประจําเดือนอยางสม่ําเสมอ

A1512

13 สมาชิกกลุมจะตองปฏิบัติตามกฎ ระเบยีบ ขอบังคับ A1513 14 การควบคุมและติดตามการดาํเนินงานกองทุนควรเปนหนาที่ของ

คณะกรรมการกองทุนเทานัน้ A1514

15 คณะกรรมการกองทุน จะอยูในวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 4 ป

A1515

17 การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานราชการ A16 ระดับความถี ่ ประเด็น

บอย ๆ นานๆครั้ง ไมเคย

1. เยี่ยมเยยีน / พบปะ A161 2 ใหคําปรึกษาเกีย่วกับการนําเงินทุนไปประกอบอาชพี A162 3. แนะนําแกไขปญหา A163 4. อบรมถายทอดความรู/สาธิต A164 5. ทัศนศึกษาดูงาน A165 6. สนับสนุนปจจัยการผลิต เชน พันธุพืช พันธุสัตว

เงินทุน ปุยเคมี วัสดุอุปกรณ A166

7. จัดหาเอกสารวิชาการมาให A167 8. ประสานงานกับหนวยงานที่เกีย่วของ A168 9. การรวมจัดเวทีประชาคมเพื่อวางแผนพฒันา A169 10. อ่ืนๆ(ระบ)ุ......................... A1610

Page 88: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

80

ตอนที่ 2 การมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก B หมายเหตุ คะแนนการมีสวนรวม มี 5 ระดับ คือ 1. การมีสวนรวมมากที่สุด = 5 คะแนน 2. การมีสวนรวมมาก = 4 คะแนน 3. การมีสวนรวมปานกลาง = 3 คะแนน 4. การมีสวนรวมนอย = 2 คะแนน 5. การมีสวนรวมนอยที่สุด = 1 คะแนน

การมีสวนรวมการดําเนนิงานกองทุนของกลุมแมบานเกษตรกรในระดับใด ในประเดน็ดงัตอไปนี ้

ระดับการมีสวนรวม ประเภทของการมีสวนรวม 5 4 3 2 1

ดานการประชมุวางแผน

1. ประชุมกลุมทกุครั้ง B1 2. กําหนดวัตถุประสงคเปาหมาย B2 3. วางแผนในการปฏิบัติงาน B3 4. วิเคราะหปญหาความตองการ B4 5. ในการระดมความคิดแกไขปญหา B5 6. กําหนดกฎ ระเบียบ ขอบังคับ B6 7 ยอมรับแผนเพือ่นําไปสูการปฏิบัติ B7 ดานการปฏิบตัิงานของกองทุนกลุม

8. กูเงินกองทนุ B8 9. ปฏิบัติงานในลักษณะเสียสละแรงงาน บริจาค

เงิน วัสดุส่ิงของ B9

10. ระดมทุนหรือลงหุน/เงินออม B10 11. รวมรับผิดชอบในการบริหารงานกลุม B11 12. เขารับการอบรมถายทอดความรูจากหนวยงาน

ตาง ๆ B12

13. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ B13 14. รวมปฏิบัติงานของกลุมตามที่ไดรับมอบหมาย B14 15. ซ้ือ - ขายปจจยัการผลิต B15

Page 89: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

81

ระดบัการมีสวนรวม ประเภทของการมสีวนรวม

16. จัดหาตลาดเพือ่กระจายสินคาของสมาชิก B16 17. รวมเปนวิทยากรในการถายทอดความรูแก

สมาชิกกลุม หรือกลุมอื่นๆ B17

18. รวมพิจารณาดาํเนินการวางแผนการใชจายเงินกองทุนกลุม

B18

19. คัดเลือกคณะกรรมการบริหารกองทุน B19 20 รวมเรงรัดเงินกูใหใชคืนภายในเวลาที่กําหนดใน

การติดตาม การชําระหนี้สิน B20

21 รวมประสานงานกับองคกรปกครองสวนทองถ่ินหรือหนวยงานที่เกี่ยวของในการจดัหางบประมาณ

B21

22 รวมประสานงานการจัดเครือขายกองทุนกลุมแมบานเกษตรกร

B22

23. ติดตาม ตรวจสอบการใชเงนิของกลุมใหเปนไปตามวัตถุประสงค

B23

ดานการประชาสัมพันธ 5 4 3 2 1

24. ประชาสัมพันธใหเพื่อนบานสมัครเขารวมเปนสมาชิกกองทนุ

B24

25. รวมใหขอมูลขาวสารเกี่ยวกบัการดําเนนิงานกองทุน

B25

26. รวมแลกเปลี่ยนเรียนรูกนัทั้งในและนอกกลุมเพื่อพัฒนากองทุน

B26

Page 90: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

82

ตอนที่ 3 ปญหาและขอเสนอแนะในการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทนุของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

หมายเหตุ ระดับปญหาการมีสวนรวม มี 5 ระดับ คือ 1. ปญหาการมีสวนรวมมากที่สุด = 5 คะแนน 2. ปญหาการมีสวนรวมมาก = 4 คะแนน 3. ปญหาการมีสวนรวมปานกลาง = 3 คะแนน 4. ปญหาการมีสวนรวมนอย = 2 คะแนน 5. ปญหาการมีสวนรวมนอยที่สุด = 1 คะแนน

ระดับปญหาการมีสวนรวม ปญหาการมีสวนรวม 5 4 3 2 1

ดานการประชมุวางแผน

1. สมาชิกมีภารกจิมาก ไมมีเวลา C1 2. สมาชิกไมมีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น C2 3. สมาชิกไมกลาแสดงออก C3 4. กําหนดวนัประชุมไมแนนอน C4 5. คณะกรรมการไมตรงตอเวลา C5 6. คณะกรรมการไมเด็ดขาด C6 7 คณะกรรมการเลนพรรคเลนพวก C7 ดานการปฏิบตัิงานของกองทุนกลุม 8. สมาชิกไมปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับ C8 9. คณะกรรมการไมมีความโปรงใส C9 10. คณะกรรมการไมทําตามบทบาทหนาที ่ C10 11. บัญชีรายรับจายของกลุมไมตอเนื่อง C11 12. อัตราดอกเบี้ยสูงกวาแหลงอื่น C12 13. เงินกูมีนอยไมเพียงพอ C13 14. คณะกรรมการมีการทุจริตและเรียกรอง

ผลประโยชน C14

15. ระบบการกูเงนิยุงยาก ขั้นตอนมาก C15 16. สมาชิกไมสามารถสงเงินคืนตามกําหนด C16 17. คณะกรรมการไมมีการรายงานสถานการณ

การเงินใหแกสมาชิก C17

Page 91: ปก - research.doae.go.th€¦ · ทะเบียนวิจัยเลขท ี่ 51-51-006024-02-0009 รายงานการวิจัย เรื่อง ป

83

ปญหาการมีสวนรวม ปญหาการมีสวนรวม 5 4 3 2 1

18. สมาชิกไมทราบแหลงที่จะไปรองเรียนที่ไหน เมื่อพบเห็นการทุจริต

C18

19. มีผูยุยงใหสมาชิกไมยอมปฏบิัติตามกฎระเบยีบ

C19

20. กองทุนทําใหมีหนี้สินเพิ่มขึน้ C20 ดานการประชาสัมพันธ

21 ไมมีการเผยแพรขอมูลขาวสารและเครือขายกลุมแมบานเกษตรกร

C21

22 สมาชิกไมกลาสอบถามหรือตรวจสอบการบริหารกองทุนของคณะกรรมการ

C22

23 คณะกรรมการไมมีแผนการติดตาม ตรวจสอบ

C23

2. ขอเสนอแนะในการมีสวนรวมการดําเนินงานกองทุนของสมาชิกกลุมแมบานเกษตรกรจังหวัดตาก

1. ดานการประชมุวางแผน................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................

2. ดานการปฏิบตัิงานของกองทุนกลุม................................................................................. .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................

3. ดานการประชาสัมพันธ................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ................................................................................................................