๒๕๖๐ · 2019-06-14 ·...

166
ประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมทรัพยำกรน� ้ำ รำยงำนประจ�ำปี

Upload: others

Post on 25-Jul-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • ประจ�ำปี พ.ศ.

    รำยงำนประจ�ำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ กรมทรัพยำกรน�้ำ

    ๒๕๖๐กรมทรัพยำกรน�้ำ

    รำยงำนประจ�ำปี

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    1 1

    กรมทรพัยากรน�า้ กระทรวงทรพัยากรธรรมชาติและสิง่แวดล้อม มภีารกิจส�าคญัในการบรหิารจดัการทรพัยากรน�า้

    อย่างบูรณาการ เน้นการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในพื้นท่ี เพื่อให้เกิดความส�านึกร่วมกันของภาคประชาชน

    ในการใช้ทรพัยากรน�า้อย่างเป็นธรรมและยัง่ยนื ตามวสิยัทศัน์ของกรมทรพัยากรน�า้ทีต้่องการให้มกีารบรหิารจดัการ

    ทรัพยากรน�า้แบบบูรณาการเป็นระบบลุ่มน�า้ โดยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อความ

    มัน่คง มัง่คัง่ และยัง่ยนื สอดคล้องกบับทบาทหน้าทีข่องกรมทรพัยากรน�า้ในการเสนอแนะนโยบาย แผน กฎหมาย และ

    มาตรการทีเ่กีย่วกบัทรพัยากรน�า้ ทัง้ในการบรหิาร พฒันา อนรุกัษ์ ฟ้ืนฟ ูรวมทัง้การควบคมุ ดแูล ก�ากบั ประสาน ตดิตาม

    ตลอดจนการประเมินผลและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน�้า

    การด�าเนินงานในปี ๒๕๖๐ กรมทรัพยากรน�้าได้ด�าเนินโครงการส�าคัญหลายด้านโดยเฉพาะการด�าเนินงาน

    ตามยทุธศาสตร์ของกรมทรพัยากรน�า้ ทัง้ในเรือ่งของการพฒันากลไกการบริหารจดัการทรพัยากรน�า้แบบบรูณาการ

    โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งน�้า และแหล่งน�้าธรรมชาติ เพื่อจัดหาน�้าต้นทุน

    และเพ่ิมประสิทธิภาพการกระจายน�้า ตลอดจนการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยจากพิบัติภัยทางธรรมชาติ

    นอกจากนี้กรมทรัพยากรน�้ายังสนองตอบนโยบายส�าคัญเร่งด่วนของรัฐบาลที่ต้องการช่วยเหลือประชาชนให้ม ี

    ความเป็นอยูท่ี่ดีขึน้ ซึง่จะต้องแก้ไขปัญหาเรือ่งน�า้โดยด�าเนนิโครงการพฒันาระบบกระจายน�า้ด้วยพลงังานแสงอาทิตย์

    สามารถบรรเทาปัญหาภัยแล้ง ประชาชนสามารถน�าน�้าไปใช้ได้อย่างสะดวก และประหยัดค่าใช้จ่าย รองรับ

    การเพาะปลูกพชืผกัต่างๆ ไว้บรโิภคในครวัเรอืนและขายเพือ่สร้างรายได้ ท�าให้คุณภาพชวีติดขีึน้ สร้างความพงึพอใจ

    ให้กับประชาชนเป็นอย่างมาก

    การสร้างการมีส่วนร่วมกับประชาชนน้ันได้ด�าเนินการจัดงานวันน�้าโลกและสัปดาห์ทรัพยากรน�้าแห่งชาติ

    รวมถึงวันอนุรักษ์และพัฒนา แม่น�้า คู คลอง แห่งชาติ เพื่อปลูกจิตส�านึกให้ประชาชนได้เห็นความส�าคัญ

    ของทรัพยากรน�้า และร่วมกันอนุรักษ์ฟื้นฟูแหล่งน�้าที่มีจ�านวนมาก และดูแลรักษาทรัพยากรน�้าในแหล่งน�้าต่างๆ

    ให้เกิดความยั่งยืน

    รายงานประจ�าปี ๒๕๖๐ ฉบบันี ้ได้น�าเสนอเรือ่งราว สถิต ิตลอดจนผลการด�าเนนิงานของปีงบประมาณ ๒๕๖๐

    ซึ่งจะส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐตลอดจนสถาบันต่างๆ องค์กร ภาคประชาชน และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้รับรู้

    ผลการด�าเนินงานของกรมทรัพยากรน�้าตามภารกิจในการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าต่อไป

    คํานํา

  • 2

    ส่วนที ่๑ ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน ๓ ข้อมูลภาพรวม ๕ ผู้บริหารองค์กร ๗ โครงสร้างองค์กร ๘ อัตรากําลัง ๑๐ งบประมาณรายจ่ายประจําปี ๑๒

    ส่วนที ่๒ รายงานผลการปฏิบัติราชการ ๑๕ ผลการดําเนินงานตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ ๑๗ (มาตรา ๔๔) ยุทธศาสตร์ที ่๑ พัฒนากลไกและเครื่องมือการบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา ๒๑ แบบบูรณาการ โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์ที ่๒ การอนุรักษ์ ฟ ื้นฟู พัฒนาแหล่งน้ําและพื้นที่ชุ่มน้ํา ๕๓ ยุทธศาสตร์ที ่๓ การเพิ่มศักยภาพระบบพยากรณ์และเตือนภัยด้านน้ํา ๘๕

    ส่วนที ่๓ รายงานการเงิน ๙๕

    ส่วนที ่๔ ผลงานสําคัญอื่น ๑๐๑

    ส่วนที ่๕ ภาคผนวก ๑๑๙

    สารบัญ

  • 2

    ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงานส่วนที ่๑

  • 4

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    4 5

    กรมทรัพยากรน�้าเป็นองค์กรหลักด้านทรัพยากรน�้าของแผ่นดินสังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาต ิ

    และสิ่งแวดล้อม ก่อตั้งตามพระราชบัญญัติปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยกรมทรัพยากรน�้า

    มีภารกิจเก่ียวกับการเสนอแนะในการจดัท�านโยบายและแผน มาตรการทีเ่กีย่วข้องกบัทรพัยากรน�า้ บรหิารจดัการ

    พัฒนา อนุรักษ์ ฟื้นฟู รวมท้ังควบคุม ดูแล ก�ากับ ประสานติดตาม ประเมินผล และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ

    ทรัพยากรน�้า พัฒนาวิชาการ ก�าหนดมาตรฐาน และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านทรัพยากรน�้า ทั้งระดับภาพรวม

    และระดับลุ่มน�้า เพื่อการจัดการทรัพยากรน�้าที่เป็นเอกภาพและยั่งยืน

    วิสัยทัศน์ “บรหิารจดัการทรพัยากรน�า้แบบบรูณาการเป็นระบบลุ่มน�า้ โดยการมส่ีวนร่วมจากทุกภาคส่วน ตามหลกั

    ธรรมาภิบาล เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน”

    พันธกิจ ๑. จัดท�านโยบายและแผน ส่งเสริมความร่วมมือการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าแบบบูรณาการอย่าง

    เป็นระบบระดับประเทศและระหว่างประเทศ

    ๒. ส่งเสริม สนับสนุน และเพิ่มศักยภาพการขับเคลื่อนองค์กรและเครือข่ายลุ่มน�้า

    ๓. อนุรักษ์ ฟื ้นฟู พัฒนา เพิ่มประสิทธิภาพ และรักษาความสมดุลระบบนิเวศของแหล่งน�้าและ

    พื้นที่ชุ่มน�้า

    ๔. พัฒนาองค์ความรู้ ระบบข้อมูล ก�าหนดมาตรฐานด้านบริหารจัดการทรัพยากรน�้า และระบบเตือนภัย

    แบบบูรณาการ เพื่อให้เกิดการน�าไปใช้ของทุกภาคส่วน ตลอดจนสนับสนุนการพัฒนาระบบน�้าอุปโภคและบริโภค

    ส่วนที ่๑ ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน

    ประเด็นยุทธศาสตร์ ๑. พัฒนากลไกและเครื่องมือการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าแบบบูรณาการ โดยการมีส่วนร่วมของ

    ทุกภาคส่วน

    ๒. อนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งน�้าและพื้นที่ชุ่มน�้า เพื่อจัดหาน�้าต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพการกักเก็บ

    และการระบายน�้า รวมถึงการรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ

    ๓. พัฒนา ติดตั้ง และเพิ่มประสิทธิภาพระบบเฝ้าระวัง เตือนภัยจากพิบัติภัยทางธรรมชาติและรองรับ

    การเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ

  • 6

    เปา้ประสงค์ ๑. กลไกในการบริหารจดัการทรพัยากรน�า้ได้รบัการพฒันาแบบบรูณาการทกุระดบัโดยการมส่ีวนร่วม

    จากทุกภาคส่วน

    ๒. แหล่งน�้าได้รับการอนุรักษ์ พัฒนา ฟื้นฟู และเพิ่มประสิทธิภาพ ในการกักเก็บและการระบาย

    รวมทั้งการฟื้นคืนความสมบูรณ์ และรักษาระบบนิเวศ

    ๓. ระบบบริหารจัดการน�้าที่สอดคล้องกับความจ�าเป็นในการด�ารงชีวิต การผลิต และรักษานิเวศ

    รวมทั้งแก้ไขและบรรเทาปัญหาอุทกภัยและภัยแล้ง

    ๔. เฝ้าระวังและเตือนภัยจากวิกฤติน�้าเพ่ือลดความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน โดยการมีส่วนร่วม

    จากทุกภาคส่วน

    ๕. เตรียมความพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการ

    ทรัพยากรน�้า

    กลยุทธ์ ๑. จัดท�าแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าอย่างเป็นระบบ และพัฒนากลไกการบริหารจัดการน�้า

    แบบบูรณาการ รวมทั้งแผนการอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งน�้าและฟื้นที่ชุ่มน�้า เพื่อการบรรเทาปัญหาอุทกภัย

    และภัยแล้ง รวมทั้งรักษาระบบนิเวศ โดยกระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน

    ๒. ส่งเสรมิความรู ้ความเข้าใจ และกระบวนการมส่ีวนร่วมของประชาชน องค์กรลุม่น�า้ เครอืข่ายองค์กร

    ปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า การจัดสรรน�้าและการเพ่ิม

    ประสิทธิภาพการใช้น�้า

    ๓. พัฒนากลไก เครื่องมือ กฎ ระเบียบ การจัดสรรน�้า ระบบข้อมูลสารสนเทศทรัพยากรน�้า การวิจัย

    ด้านทรัพยากรน�้า เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า

    ๔. ประสานความร่วมมือระหว่างประเทศด้านการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าทั้งในระดับทวิภาคีและ

    พหุภาคี

    ๕. อนรุกัษ์ ฟ้ืนฟ ูพฒันาแหล่งน�า้ และพืน้ทีชุ่ม่น�า้ เพือ่เพิม่ประสทิธภิาพแหล่งน�า้ บรรเทาปัญหาอทุกภยั

    และภัยแล้ง ฟื้นคืนความอุดมสมบูรณ์ และรักษาระบบนิเวศ

    ๖. พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบเฝ้าระวังป้องกัน และเตือนภัยจากพิบัติภัยด้านน�้าและรองรับ

    การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ

    ผลผลิต ผลผลิตที่ ๑ : การเพิ่มศักยภาพกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า

    ผลผลิตที่ ๒ : การอนุรักษ์ ฟื้นฟู พัฒนาแหล่งน�้า/พื้นที่ชุ่มน�้า และบริหารจัดการน�้า

    ผลผลิตที่ ๓ : การเพิ่มศักยภาพระบบพยากรณ์และการเตือนภัยด้านน�้า

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    6 7

    นายวรศาสน์ อภัยพงษ์อธิบดี

    นายวิวัฒน์ โสเจยยะรองอธิบดี

    นายภาดล ถาวรกฤชรัตน์ รองอธิบดี

    นายสมนึก สุขช่วย รองอธิบดี

    ผู้บริหารองค์กร

  • 8

    อธิบดี

    รองอธิบดี รองอธิบดีรองอธิบดี

    กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มตรวจสอบภายใน

    กลุ่มงานนิติการ

    สำานักงานเลขานุการกรม(สำานักบริหารกลาง)

    สำานักนโยบายและแผนทรัพยากรนำ้า

    สำานักพัฒนาแหล่งนำ้า สำานักอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งนำ้า

    สำานักบริหารจัดการนำ้าสำานักส่งเสริม

    และประสานมวลชนสำานักวิจัย พัฒนา

    และอุทกวิทยาสำานักประสาน

    ความร่วมมือระหว่างประเทศ

    สำานักผู้ตรวจราชการ

    ศูนย์ป้องกันวิกฤตินำ้า ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรนำ้า

    สำานักบริหารจัดการลุ่มนำ้าโขง

    กองสื่อสารพัฒนาการ

    สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๑ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๒ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๓

    สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๔ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๕ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๖

    สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๗ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๘ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๙

    สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๑๐ สำานักงานทรัพยากรนำ้าภาค ๑๑

    แบ่งส่วนราชการตามกฎกระทรวง

    จัดตั้งขึ้นภายในส่วนราชการ

    โครงสร้างองค์กร

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    8 9

    แผนทีส่ํานักงานทรัพยากรน้ําภาคกรมทรัพยากรน้ํา

    สัญลักษณ์ แม่น�้ำ

    ขอบเขตจังหวัด

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรภำค

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๑(ล�ำปำง)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๒(สระบุรี)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๓(อุดรธำนี)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๔(ชอนแก่น)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๕(นครรำชสีมำ)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๖(ปรำจีนบุรี)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๗(รำชบุรี)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๘(สงขลำ)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๙(พิษณุโลก)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๑๐(สุรำษฏร์ธำนี)

    ส�ำนักงำนทรัพยำกรน�้ำภำค๑๑(อุบลรำชธำนี)

  • 10

    อัตรากําลัง ข้อมูล ณ วันที ่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐

    ข้าราชลูกจ้าพนักง

    เจชการ งประจํา งานราชการ

    ลกู

    050

    100150200250300350400450

    จํานว

    น (คน

    )

    อัตรากาํ

    จ้าหน้าที ่

    รวม

    แผนภูมิแส

    กจ้างประจํา21.51

    พนักงา19

    ผู้บริห

    ารระ

    ดับสูง

    -ต้นผู้เชี่

    ยวชา

    ญผู้ต

    รวจร

    าชกา

    รกรม

    เจ้าพนั

    กงาน

    โสตทัศ

    นศกึษ

    24 7 2 4 2

    าลัง (ตามก

    สดงอัตรากาํล

    านราชการ9.66

    เจ้าพนั

    กงาน

    การเงิ

    นและ

    บัญชี

    เจ้าพนั

    กงาน

    ธุรกา

    รเจ้า

    พนักง

    านพสั

    ดุเจ้า

    พนักง

    านวิท

    ยาศา

    สตร์

    เจ้าพนั

    กงาน

    อทกวิ

    ทยา

    2776

    18 43

    ข้า

    การปฏบิัตงิ

    จาํ

    ลงัข้าราชการ

    เจาพน

    กงาน

    อทุกว

    ทยา

    นักจัด

    การงา

    นทั่วไป

    นักทร

    ัพยาก

    รบุคค

    ลนัก

    ธรณีว

    ิทยา

    นักปร

    ะชาส

    ัมพันธ

    34 47 13 6 3

    าราชการกรม

    งาน) ข้อมลู

    านวน (คน) 1,368 500 457

    2,325

    ร แยกตามปร

    นกปร

    ะชาส

    มพนธ

    นักวิเค

    ราะห์

    นโยบ

    ายแล

    ะแผน

    นักวิเท

    ศสมัพ

    ันธ์

    นักวิช

    าการ

    เงินแล

    ะบัญชี

    นักวิช

    าการ

    เผยแพ

    ร่

    3

    402

    9 11 11

    มทรัพยากรนํ้

    ล ณ วันที่

    ระเภทสายงาน

    ข้าราชก58.84

    นักวิช

    าการ

    คอมพิ

    วเตอร

    ์นัก

    วิชาก

    ารตร

    วจสอ

    บภาย

    ในนัก

    วิชาก

    ารพัส

    ดุนัก

    วิชาก

    ารสิ่ง

    แวดล

    อ้ม

    1 6 4 10 8

    นํ้า

    30 กันยา

    ร้อยละ 58.8421.5119.66

    100.00

    การ4

    นักวิท

    ยาศา

    สตร์

    นักอุท

    กวิทย

    านา

    ยช่างเ

    ขียนแ

    บบ,เค

    รือ่งก

    ล,เทค

    นิคนา

    ยช่างโ

    ยธา

    นิติกร

    14 21 17

    353

    1

    ายน 2560

    7

    4 1 6 0

    นตกร

    วิศวก

    รวิศ

    วกรเค

    รื่องก

    ลวิศ

    วกรโย

    ธา

    13 29 4

    191

    0

    ข้าราชลูกจ้าพนักง

    เจชการ งประจํา งานราชการ

    ลกู

    050

    100150200250300350400450

    จํานว

    น (คน

    )

    อัตรากาํ

    จ้าหน้าที ่

    รวม

    แผนภูมิแส

    กจ้างประจํา21.51

    พนักงา19

    ผู้บริห

    ารระ

    ดับสูง

    -ต้นผู้เชี่

    ยวชา

    ญผู้ต

    รวจร

    าชกา

    รกรม

    เจ้าพนั

    กงาน

    โสตทัศ

    นศกึษ

    24 7 2 4 2

    าลัง (ตามก

    สดงอัตรากาํล

    านราชการ9.66

    เจ้าพนั

    กงาน

    การเงิ

    นและ

    บัญชี

    เจ้าพนั

    กงาน

    ธุรกา

    รเจ้า

    พนักง

    านพสั

    ดุเจ้า

    พนักง

    านวิท

    ยาศา

    สตร์

    เจ้าพนั

    กงาน

    อทกวิ

    ทยา

    2776

    18 43

    ข้า

    การปฏบิัตงิ

    จาํ

    ลงัข้าราชการ

    เจาพน

    กงาน

    อทุกว

    ทยา

    นักจัด

    การงา

    นทั่วไป

    นักทร

    ัพยาก

    รบุคค

    ลนัก

    ธรณีว

    ิทยา

    นักปร

    ะชาส

    ัมพันธ

    34 47 13 6 3

    าราชการกรม

    งาน) ข้อมลู

    านวน (คน) 1,368 500 457

    2,325

    ร แยกตามปร

    นกปร

    ะชาส

    มพนธ

    นักวิเค

    ราะห์

    นโยบ

    ายแล

    ะแผน

    นักวิเท

    ศสมัพ

    ันธ์

    นักวิช

    าการ

    เงินแล

    ะบัญชี

    นักวิช

    าการ

    เผยแพ

    ร่

    3

    402

    9 11 11

    มทรัพยากรนํ้

    ล ณ วันที่

    ระเภทสายงาน

    ข้าราชก58.84

    นักวิช

    าการ

    คอมพิ

    วเตอร

    ์นัก

    วิชาก

    ารตร

    วจสอ

    บภาย

    ในนัก

    วิชาก

    ารพัส

    ดุนัก

    วิชาก

    ารสิ่ง

    แวดล

    อ้ม

    1 6 4 10 8

    นํ้า

    30 กันยา

    ร้อยละ 58.8421.5119.66

    100.00

    การ4

    นักวิท

    ยาศา

    สตร์

    นักอุท

    กวิทย

    านา

    ยช่างเ

    ขียนแ

    บบ,เค

    รือ่งก

    ล,เทค

    นิคนา

    ยช่างโ

    ยธา

    นิติกร

    14 21 17

    353

    1

    ายน 2560

    7

    4 1 6 0

    นตกร

    วิศวก

    รวิศ

    วกรเค

    รื่องก

    ลวิศ

    วกรโย

    ธา

    13 29 4

    191

    0

    แผนภูมิแสดงอัตรากำาลังข้าราชการ แยกตามประเภทสายงาน

    พนักงำนรำชกำร๑๙.๖๖

    ลูกจ้ำงประจ�ำ๒๑.๕๑

    ข้ำรำชกำร๕๘.๘๔

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    10 11

    แผนภูมิแสดงอัตรากำาลังลูกจ้างประจำา แยกตามประเภทสายงาน

    050

    100150200250300350400

    จํานว

    น (คน

    )

    0

    50

    100

    150

    200

    250

    จํานว

    น (คน

    )แผนภูมิแสด

    แผนภูมิแสดง

    พนักง

    านขับ

    รถยน

    ต์

    26

    กลุ่มเท

    คนิค

    55

    ดงอัตรากาํลงั

    งอัตรากาํลงัพ

    พนักง

    านธุร

    การ

    ช่างสํ

    ารวจ

    61

    ลูกจ้างป

    กลุ่มบ

    ริการ

    5

    1

    พนักงาน

    งลกูจ้างประจํ

    พนกังานราชก

    ชางส

    ารวจ

    พนักง

    านช่า

    งเจาะ

    ทางธร

    ณีวิทย

    1 2

    ประจํากรมท

    กล่มง

    านบริ

    หารท

    ั่วไป

    194

    นราชการกรม

    จาํ แยกตามป

    การ แยกตาม

    ช่างฝี

    มือสน

    าม

    396ทรัพยากรนํ้า

    กลุมง

    านบร

    หารท

    วไป

    202

    มทรัพยากรนํ้

    ประเภทสายงา

    มประเภทสาย

    พนักง

    านพิม

    พ์

    พนักง

    านทั่ว

    ไป

    12 1

    กลุ่มว

    ิชาชีพ

    เฉพาะ

    2

    นํ้า

    าน

    ยงาน ช่า

    งเจาะ

    สํารว

    1 1

    เชี่ยวช

    าญเฉพ

    าะ

    4

    8

    050

    100150200250300350400

    จํานว

    น (คน

    )

    0

    50

    100

    150

    200

    250

    จํานว

    น (คน

    )แผนภูมิแสด

    แผนภูมิแสดง

    พนักง

    านขับ

    รถยน

    ต์

    26

    กลุ่มเท

    คนิค

    55

    ดงอัตรากาํลงั

    งอัตรากาํลงัพ

    พนักง

    านธุร

    การ

    ช่างสํ

    ารวจ

    61

    ลูกจ้างป

    กลุ่มบ

    ริการ

    5

    1

    พนักงาน

    งลกูจ้างประจํ

    พนกังานราชก

    ชางส

    ารวจ

    พนักง

    านช่า

    งเจาะ

    ทางธร

    ณีวิทย

    1 2

    ประจํากรมท

    กล่มง

    านบริ

    หารท

    ั่วไป

    194

    นราชการกรม

    จาํ แยกตามป

    การ แยกตาม

    ช่างฝี

    มือสน

    าม

    396ทรัพยากรนํ้า

    กลุมง

    านบร

    หารท

    วไป

    202

    มทรัพยากรนํ้

    ประเภทสายงา

    มประเภทสาย

    พนักง

    านพิม

    พ์

    พนักง

    านทั่ว

    ไป

    12 1

    กลุ่มว

    ิชาชีพ

    เฉพาะ

    2

    นํ้า

    าน

    ยงาน ช่า

    งเจาะ

    สํารว

    1 1

    เชี่ยวช

    าญเฉพ

    าะ

    4

    8

    050

    100150200250300350400

    จํานว

    น (คน

    )

    0

    50

    100

    150

    200

    250

    จํานว

    น (คน

    )แผนภูมิแสด

    แผนภูมิแสดง

    พนักง

    านขับ

    รถยน

    ต์

    26

    กลุ่มเท

    คนิค

    55

    ดงอัตรากาํลงั

    งอัตรากาํลงัพ

    พนักง

    านธุร

    การ

    ช่างสํ

    ารวจ

    61

    ลูกจ้างป

    กลุ่มบ

    ริการ

    5

    1

    พนักงาน

    งลกูจ้างประจํ

    พนกังานราชก

    ชางส

    ารวจ

    พนักง

    านช่า

    งเจาะ

    ทางธร

    ณีวิทย

    1 2

    ประจํากรมท

    กล่มง

    านบริ

    หารท

    ั่วไป

    194

    นราชการกรม

    จาํ แยกตามป

    การ แยกตาม

    ช่างฝี

    มือสน

    าม

    396ทรัพยากรนํ้า

    กลุมง

    านบร

    หารท

    วไป

    202

    มทรัพยากรนํ้

    ประเภทสายงา

    มประเภทสาย

    พนักง

    านพิม

    พ์

    พนักง

    านทั่ว

    ไป

    12 1

    กลุ่มว

    ิชาชีพ

    เฉพาะ

    2

    นํ้า

    าน

    ยงาน ช่า

    งเจาะ

    สํารว

    1 1

    เชี่ยวช

    าญเฉพ

    าะ

    4

    8

    ๒๖๒๑

    ๑ ๒ ๑๒ ๑ ๑

    ๓๙๖

    แผนภูมิแสดงอัตรากำาลังพนักงานราชการ แยกตามประเภทสายงาน

    050

    100150200250300350400

    จํานว

    น (คน

    )

    0

    50

    100

    150

    200

    250

    จํานว

    น (คน

    )แผนภูมิแสด

    แผนภูมิแสดง

    พนักง

    านขับ

    รถยน

    ต์

    26

    กลุ่มเท

    คนิค

    55

    ดงอัตรากาํลงั

    งอัตรากาํลงัพ

    พนักง

    านธุร

    การ

    ช่างสํ

    ารวจ

    61

    ลูกจ้างป

    กลุ่มบ

    ริการ

    5

    1

    พนักงาน

    งลกูจ้างประจํ

    พนกังานราชก

    ชางส

    ารวจ

    พนักง

    านช่า

    งเจาะ

    ทางธร

    ณีวิทย

    1 2

    ประจํากรมท

    กล่มง

    านบริ

    หารท

    ั่วไป

    194

    นราชการกรม

    จาํ แยกตามป

    การ แยกตาม

    ช่างฝี

    มือสน

    าม

    396ทรัพยากรนํ้า

    กลุมง

    านบร

    หารท

    วไป

    202

    มทรัพยากรนํ้

    ประเภทสายงา

    มประเภทสาย

    พนักง

    านพิม

    พ์

    พนักง

    านทั่ว

    ไป

    12 1

    กลุ่มว

    ิชาชีพ

    เฉพาะ

    2

    นํ้า

    าน

    ยงาน

    ช่างเจ

    าะสํา

    รวจ

    1 1

    เชี่ยวช

    าญเฉพ

    าะ

    4

    8

  • 12

    9

    รายการ งบประมาณตาม พ.ร.บ. ปี 2560 ร้อยละ ผลการใช้จา่ย

    งบประมาณป ี2560 ร้อยละ

    งบบุคลากร 756,836,300 9.56 741,754,045.07 98.01 งบดําเนินงาน 144,981,600 1.83 140,342,103.44 89.46 งบลงทุน 6,788,136,400 85.73 2,477,822,877.24 42.15 งบเงินอุดหนุน 30,591,800 0.39 30,526,614.40 96.59 งบรายจ่ายอ่ืน 197,615,700 2.49 153,709,195.73 76.19

    รวม 7,918,161,800 100 3,544,154,835.88 50.44

    งบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปงีบประมาณ พ.ศ. 2560 (ข้อมูล ณ วนัที่ 30 กันยายน 2560)

    หน่วย : บาท

    756.84144.98

    6,788.14

    30.59 197.62741.75

    140.34

    2,477.82

    30.53 153.710

    1000

    2000

    3000

    4000

    5000

    6000

    7000

    8000

    งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอ่ืน

    งบประมาณปี 2560 ผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2560

    งบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๐)

    9

    รายการ งบประมาณตาม พ.ร.บ. ปี 2560 ร้อยละ ผลการใช้จา่ย

    งบประมาณป ี2560 ร้อยละ

    งบบุคลากร 756,836,300 9.56 741,754,045.07 98.01 งบดําเนินงาน 144,981,600 1.83 140,342,103.44 89.46 งบลงทุน 6,788,136,400 85.73 2,477,822,877.24 42.15 งบเงินอุดหนุน 30,591,800 0.39 30,526,614.40 96.59 งบรายจ่ายอ่ืน 197,615,700 2.49 153,709,195.73 76.19

    รวม 7,918,161,800 100 3,544,154,835.88 50.44

    งบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจําปงีบประมาณ พ.ศ. 2560 (ข้อมูล ณ วนัที่ 30 กันยายน 2560)

    หน่วย : บาท

    756.84144.98

    6,788.14

    30.59 197.62741.75

    140.34

    2,477.82

    30.53 153.710

    1000

    2000

    3000

    4000

    5000

    6000

    7000

    8000

    งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอ่ืน

    งบประมาณปี 2560 ผลการใช้จ่ายงบประมาณปี 2560

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    12 13

    10

    รายการ งบประมาณ ผลการเปรียบเทียบ ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕60 เพ่ิมขึ้น(+)/ลดลง(-) ร้อยละ งบบุคลากร 739,248,4๐๐ 756,836,300 +17,587,9๐๐ 2.38

    งบดําเนินงาน 142,217,6๐๐ 144,981,600 +2,764,00๐ 1.94 งบลงทุน ๖,572,462,0๐๐ 6,788,136,400 +215,674,4๐๐ 3.28 งบเงินอุดหนุน ๒6,221,6๐๐ 30,591,800 +4,370,2๐๐ 16.67 งบรายจ่ายอ่ืน 643,810,6๐๐ 197,615,700 -446,194,9๐๐ -69.31

    รวมทั้งสิ้น 8,123,960,2๐๐ 7,918,161,800 -205,๗98,4๐๐ -2.53

    การเปรียบเทียบงบประมาณ ปี 2559 และปี 2560

    739.25142.22

    6,572.46

    26.22643.81756.84

    144.98

    6,788.14

    30.59 197.620

    1000

    2000

    3000

    4000

    5000

    6000

    7000

    8000

    งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอ่ืน

    งบประมาณปี 2559 งบประมาณปี 2560

    หน่วย : บาท

    10

    รายการ งบประมาณ ผลการเปรียบเทียบ ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕60 เพ่ิมขึ้น(+)/ลดลง(-) ร้อยละ งบบุคลากร 739,248,4๐๐ 756,836,300 +17,587,9๐๐ 2.38

    งบดําเนินงาน 142,217,6๐๐ 144,981,600 +2,764,00๐ 1.94 งบลงทุน ๖,572,462,0๐๐ 6,788,136,400 +215,674,4๐๐ 3.28 งบเงินอุดหนุน ๒6,221,6๐๐ 30,591,800 +4,370,2๐๐ 16.67 งบรายจ่ายอ่ืน 643,810,6๐๐ 197,615,700 -446,194,9๐๐ -69.31

    รวมทั้งสิ้น 8,123,960,2๐๐ 7,918,161,800 -205,๗98,4๐๐ -2.53

    การเปรียบเทียบงบประมาณ ปี 2559 และปี 2560

    739.25142.22

    6,572.46

    26.22643.81756.84

    144.98

    6,788.14

    30.59 197.620

    1000

    2000

    3000

    4000

    5000

    6000

    7000

    8000

    งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอ่ืน

    งบประมาณปี 2559 งบประมาณปี 2560

    หน่วย : บาท การเปรียบเทียบงบประมาณ ปี ๒๕๕๙ และปี ๒๕๖๐

    10

    รายการ งบประมาณ ผลการเปรียบเทียบ ปี ๒๕๕9 ปี ๒๕60 เพ่ิมข้ึน(+)/ลดลง(-) ร้อยละ งบบุคลากร 739,248,4๐๐ 756,836,300 +17,587,9๐๐ 2.38

    งบดําเนินงาน 142,217,6๐๐ 144,981,600 +2,764,00๐ 1.94 งบลงทุน ๖,572,462,0๐๐ 6,788,136,400 +215,674,4๐๐ 3.28 งบเงินอุดหนุน ๒6,221,6๐๐ 30,591,800 +4,370,2๐๐ 16.67 งบรายจ่ายอ่ืน 643,810,6๐๐ 197,615,700 -446,194,9๐๐ -69.31

    รวมทั้งสิ้น 8,123,960,2๐๐ 7,918,161,800 -205,๗98,4๐๐ -2.53

    การเปรียบเทียบงบประมาณ ปี 2559 และปี 2560

    739.25142.22

    6,572.46

    26.22643.81756.84

    144.98

    6,788.14

    30.59 197.620

    1000

    2000

    3000

    4000

    5000

    6000

    7000

    8000

    งบบุคลากร งบดําเนินงาน งบลงทุน งบเงินอุดหนุน งบรายจ่ายอ่ืน

    งบประมาณปี 2559 งบประมาณปี 2560

    หน่วย : บาท

  • 14

    สรุปงบประมาณประจำาปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ของกรมทรัพยากรนำ้า มีดังนี้

    ๑. กรมทรัพยากรน�้าได้รับงบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ�าปีงบประมาณ

    พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�านวน ๗,๙๑๘,๑๖๑,๘๐๐.๐๐ บาท

    ๒. พระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�านวน ๘๙๑,๘๒๖,๘๐๐.๐๐ บาท มีดังนี้

    แผนงานพืน้ฐานด้านการจัดการน�า้และสร้างการเตบิโตบนคณุภาพชวิีตทีเ่ป็นมติรกบัสิง่แวดล้อม

    อย่างยั่งยืน จ�านวน ๒๒,๖๘๐,๗๐๐.๐๐ บาท

    แผนงานบูรณาการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า จ�านวน ๘๖๙,๑๔๖,๑๐๐.๐๐ บาท

    ๓. งบสุทธิที่ได้รับหลังโอนเปล่ียนแปลง (พระราชบัญญัติโอนงบประมาณรายจ่าย พ.ศ. ๒๕๖๐)

    มจี�านวนคงเหลอื ๗,๐๒๖,๓๓๕,๐๐๐.๐๐ บาท และกรมทรพัยากรน�า้ได้น�างบสุทธทิีไ่ด้รับหลังโอนเปลีย่นแปลง

    ไปใช้ด�าเนินการ ดังนี้

    ใช้ด�าเนินโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ จ�านวน ๓,๕๔๔,๑๕๔,๘๓๕.๘๘ บาท

    งบเงินกันเหลื่อมปี ๒๕๖๑ จ�านวน ๑,๖๘๙,๐๐๐,๔๔๕.๗๒ บาท

    งบเหลอืจ่าย จ�านวน ๑,๗๐๘,๓๒๒,๗๗๘.๗๙ บาท น�าไปใช้จ่ายในโครงการส�าคญั เช่น โครงการ

    ก่อสร้างระบบกระจายน�้า จ�านวน ๑๒๔ แห่ง เป็นต้น

    งบประมาณคงเหลือคืนคลัง จ�านวน ๘๔,๘๕๖,๙๓๙.๖๑ บาท

    1414

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    14

    ส่วนที ่๒รายงานผลการปฏิบัติราชการ

  • 16

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    16 17

    ส่วนที ่๒ รายงานผลการปฏิบัติราชการ

    ผลการประเมินตนเองในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ปรากฏว่ากรมทรัพยากรน�้าสามารถผ่านเกณฑ์

    การประเมินในระดับเป็นไปตามเป้าหมาย จ�านวน ๔ องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ ๑ ประสิทธิภาพในการ

    ด�าเนินงานตามภารกิจพื้นฐาน (Function base) องค์ประกอบที่ ๒ ประสิทธิภาพในการด�าเนินงานตามภารกิจ

    ยุทธศาสตร์ หรือภารกิจที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ (Agenda base) องค์ประกอบที่ ๔ ประสิทธิภาพในการ

    บริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรม (Innovation base) และองค์ประกอบที่ ๕ การจัดท�าและด�าเนินการตาม

    แผนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ (Potential base) ส่วนองค์ประกอบที่ ๓ ประสิทธิภาพในการด�าเนินงาน

    ตามหลักภารกิจพื้นที่ (Area base) ของกรมทรัพยากรน�้าไม่มี สรุปรายละเอียดผลการประเมิน ดังนี้

    ๑. ผลการดำาเนินงานตามมาตรการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ (มาตรา ๔๔)

    ผ่านเประสิการดํองค์ปองค์ปองค์ปไม่มี ส องค์ปการป

    1. Fubase

    1 ผลการปร

    เกณฑ์การปรสิทธิภาพในกาดําเนินงานตาประกอบที่ 4 ประกอบที่ 5 กประกอบที่ 3 ปสรุปรายละเอี

    ประกอบ ประเมิน

    nctional

    1.ขอบริทร

    1.ขอ (กเป็

    1.ขอน้าํ1.ครัขาปรน้าํ

    ส่

    ผลการดาํระเมินตนเอระเมินในระดารดําเนินงานตามภารกิจยุทธ ประสิทธิภาพการจัดทําและประสิทธิภาพใยดผลการประ

    ประเด็นการ ประเมิน

    .1 ความสําเร็จ องการจัดทําแผริหารจัดการ รัพยากรน้ํา

    .2 ระดับคุณภาองแหล่งน้ําท่ีดีขึ้

    กรมควบคุมมลพิปนเจ้าภาพหลัก)

    .3 ความสําเร็จ องการจัดหาแหาต้นทุนผิวดิน .4 จํานวน รัวเรือนในพื้นท่ี าดแคลนน้ําได้รัระโยชน์จากแหา (ผิวดิน)

    วนที ่2 รา

    าเนนิงานตาองในปีงบประดับเป็นไปตาตามภารกิจพ้ืธศาสตร์ หรือพในการบริหะดําเนินการตในการดําเนินะเมิน ดังนี้

    เป้าห

    25 ลุ่มน้ํแผนปฏิบท่ีสอดคล้เป้าหมายพ้ืนท่ีฯ

    าพ ขึน้

    พิษ)

    55 แหล(ยกระดับน้ํา 3 แหโดย 52 แยังคงอยู่รพอใช้ขึ้น

    ล่ง

    504

    ับ ล่ง

    144ครัว

    ายงานผลก

    ามมาตรการะมาณ พ.ศ. มเป้าหมาย ้นฐาน (Funcอภารกิจที่ได้ารจัดการแลามแผนการขั

    นงานตามหลัก

    หมาย

    น้าํมี บัติการ ล้องกับ ยเชิง

    25แผท่ีสเป้พ้ืน

    ล่งน้ํา บคุณภาพหล่ง แหล่งน้ําเดมิ ระดับ

    นไป)

    55(ยน้าํโดยังพอ

    4 แห่ง

    4,165 เรือน

    การปฏบิัตริ

    รปรบัปรุงปร 2560 ปรา จํานวน 4 อction base)ด้รับมอบหมาะพัฒนานวัตับเคล่ือนยุทธกภารกิจพ้ืนที่

    ผลการ ดําเนินงาน

    5 ลุ่มน้ํามี ผนปฏิบัติการ สอดคล้องกับ ป้าหมายเชิง นท่ีฯ 5 แหล่งน้ํา กระดับคุณภาพา 3 แหล่ง ย 52 แหล่งน้ําเดิงคงอยู่ระดับ อใช้ขึ้นไป)

    348 แห่ง 69.04%

    95,391 ครัวเรือน 66.17%

    ราชการ

    ระสทิธิภาพใากฏว่ากรมทงค์ประกอบ ) องค์ประกอบยเป็นพิเศษ กรรม (Innovธศาสตร์ชาติ ( (Area base)

    สรุปผการประ

    ผ่าน ไ

    ดิม

    ในการปฏิบตัิทรัพยากรนํ้า คือ องค์ประบที่ 2 ประสิท (Agenda vation baPotential b) ของกรมทรัพ

    ผล ะเมิน

    สรุปตไม่ผ่าน

    องค์ปเป็เป

    ตริาชการ (ม

    13

    าสามารถ ะกอบที่ 1 ทธิภาพใน

    base) ase) และase) ส่วนพยากรน้ํา

    รปผลการประเมิน ตนเอง ประกอบที ่1 ปน็ไปตามป้าหมาย

    มาตรา 44)

  • 18 14

    องค์ประกอบ การประเมิน

    ประเด็นการ ประเมิน เป้าหมาย

    ผลการ ดําเนินงาน

    สรุปผล การประเมิน

    สรุปผลการประเมิน ตนเอง ผ่าน ไม่ผ่าน

    2. Agenda base

    ตัวช้ีวัดการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ประชาชน 2.1 ร้อยละการ ดําเนินการตาม แผนการสร้างความรับรู้ความเข้าใจแก่ ประชาชน

    ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 องค์ประกอบท่ี 2 สูงกว่าเปา้หมาย

    2.2 ร้อยละการชี้แจงประเด็นสําคัญท่ีทันต่อสถานการณ์ (ถ้ามี)

    ร้อยละ 100 ร้อยละ 100

    3. Area base - ไม่มี - - ไม่มี - 4. Innovation base

    4.1 ประสิทธิภาพ การเบิกจ่าย งบประมาณ

    ร้อยละ 96 ร้อยละ 50.44 องค์ประกอบท่ี 4 เป็นไปตามเป้าหมาย

    4.2 ข้อเสนอ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรม ของส่วนราชการ

    จัดทําข้อเสนอ ประสิทธิภาพ จัดทําข้อเสนอ ในการบริหาร จัดการและพัฒนา นวัตกรรมของ ส่วนราชการ รอบท่ี 2

    การนําเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศมาใช้ในการประเมินและจัดทําพ้ืนท่ีเสี่ยงอุทกภัยและภัยแล้ง (Area base) เพ่ือจัดทําแผนบูรณาการแก้ไขปัญหา อุทกภัยและภัยแล้งในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

    5. Potential base

    5.1 การจัดทําและ ดําเนินการตาม แผนการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติ

    ดําเนินการตาม แผนฯ ถึงเดือน ก.ย. 60 ได้ ครบถ้วน ร้อยละ 100

    ดําเนินการตาม แผนฯ ถึงเดือน ก.ย. 60 ได้ ครบถ้วน ร้อยละ 100

    องค์ประกอบท่ี 5 สูงกว่าเปา้หมาย

    สรุปผลการประเมินตนเองของส่วนราชการ (กรมทรัพยากรน้ํา) อยู่ในระดับมาตรฐาน หมายเหตุ : 1. ตัวช้ีวัด การประเมินผลในแต่ละตัวช้ีวัด พิจารณาจากการดําเนินงานเทียบกับค่าเป้าหมายที่กําหนดไว้ โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 กรณี คือ “ผ่าน” หมายถึง ผลการดําเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย และ “ไม่ผ่าน” หมายถึง ผลการดําเนินงานตํ่ากว่าเป้าหมายที่ต้ังไว้ 2. องค์ประกอบ แบ่งเกณฑ์การประเมิน 3 กรณี คือ

    สรุปผลกำรประเมินตนเองของส่วนรำชกำร(กรมทรัพยำกรน�้ำ)อยู่ในระดับมำตรฐำน

    หมำยเหตุ : ๑. ตัวชี้วัด การประเมินผลในแต่ละตัวชี้วัด พิจารณาจากการด�าเนินงานเทียบกับค่าเป้าหมาย

    ที่ก�าหนดไว้ โดยมีเกณฑ์การประเมิน ๒ กรณี คือ“ผ่ำน” หมายถึง ผลการด�าเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายหรือ

    สูงกว่าเป้าหมาย และ “ไม่ผ่ำน” หมายถึง ผลการด�าเนินงานต�่ากว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    18 19

    ๒.องค์ประกอบ แบ่งเกณฑ์การประเมิน ๓ กรณี คือ

    สูงกว่าเป้าหมาย หมายถึง ผ่านทุกตัวชี้วัด, ผ่าน ๓ จาก ๔ ตัวชี้วัด, หรือผ่าน ๔ จาก ๕ ตัวชี้วัด

    เป็นไปตามเป้าหมาย หมายถึง ผ่าน ๑ จาก ๒ ตวัชีว้ดั, ผ่าน ๒ จาก ๓ ตวัชีว้ดั, ผ่าน ๒ จาก ๔ ตวัชีว้ดั,

    หรือผ่าน ๓ จาก ๕ ตัวชี้วัด

    ต�่ากว่าเป้าหมาย หมายถึง ไม่ผ่านทุกตัวชี้วัด หรืออื่นๆ ที่ไม่เข้าหลักเกณฑ์

    ๓. ส่วนรำชกำร เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานในภาพรวม ๕ องค์ประกอบของส่วนราชการ

    มีเกณฑ์การประเมิน ๓ ระดับ คือ

    ระดับคุณภาพ หมายถึง มีผลการด�าเนินงานอยู่ในระดับสูงกว่าเป้าหมายทุกองค์ประกอบ

    ที่ประเมิน

    ระดบัมาตรฐาน หมายถงึ มผีลการด�าเนนิงานอยูใ่นระดบัสงูกว่าเป้าหมายไม่ครบทกุองค์ประกอบ

    ที่ประเมิน แต่ไม่มีองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งได้รับการประเมินในระดับต�่ากว่าเป้าหมาย

    ระดับต้องปรับปรุง หมายถึง มีผลการด�าเนินงานอยูใ่นระดับต�า่กว่าเป้าหมายในองค์ประกอบใด

    องค์ประกอบหนึ่ง (แม้ว่าจะได้รับการประเมินในระดับองค์ประกอบอื่นในระดับเป็นไปตาม

    เป้าหมายหรือสูงกว่าเป้าหมาย)

    ๒. ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment – ITA)

    การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and

    Transparency Assessment - ITA) ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มุง่หวงัให้เกิดการบรหิารงานทีโ่ปร่งใสและ

    เป็นธรรมของหน่วยงานภาครัฐ และให้มีการจัดระดับ (Integrity Assessment) ตามผลที่ได้รับจากการประเมิน

    เพื่อให้แต่ละหน่วยงานน�าข้อมูลผลการประเมินไปช่วยในการพัฒนาและยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส

    การด�าเนนิงานของหน่วยงานตนเองได้อย่างเหมาะสม เพือ่ขบัเคลือ่นให้หน่วยงานภาครฐับรหิารงานภายใต้กรอบ

    ธรรมาภิบาลร่วมกัน รวมถึงสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการป้องกันการทุจริตของประเทศในภาพรวม

    รายงานผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�าเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity

    and Transparency Assessment - ITA) ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ประกอบด้วยผลคะแนนจากดัชนี

    ๕ ดัชนี ได้แก่ ๑) ดัชนีความโปร่งใส ๒) ดัชนีความพร้อมรับผิด ๓) ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติ

    งาน ๔) ดัชนีวัฒนธรรมคุณธรรมในองค์กร และ ๕) ดัชนีคุณธรรมการท�างานในหน่วยงาน โดยประเมินผลจาก

    แหล่งข้อมูลส�าคัญ ๓ แหล่ง ได้แก่ ๑) บุคลากรและเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานภาครัฐ (Internal) ๒) ผู้รับบริการ

    หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (External) และ ๓) จากข้อมูลเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence–Based)

    ซึ่งผลคะแนนจะสะท้อนให้เห็นถึงผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานในรอบปีงบประมาณ

  • 20

    กรมทรัพยากรน�้ามีผลคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการด�าเนินงานของหน่วยงาน

    ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment - ITA) ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ร้อยละ ๘๐.๕๙ จ�าแนก

    เป็นด้าน ดังนี้

    ๑. ข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (External Integrity and Transparency : EIT)

    ร้อยละ ๙๓.๑๘

    ๒. ข้อมลูจากบุคลากรและเจ้าหน้าทีใ่นหน่วยงานภาครฐั (Internal Integrity and Transparency : IIT)

    ร้อยละ ๖๘.๙๑

    ๓. ข้อมูลเอกสาร/หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Integrity and Transparency : EBIT)

    ร้อยละ ๗๗.๐๒

    ๔. ดัชนีความโปร่งใส ร้อยละ ๘๘.๙๒

    ๕. ดัชนีความพร้อมรับผิด ร้อยละ ๗๙.๗๘

    ๖. ดัชนีความปลอดจากการทุจริตในการปฏิบัติงาน ร้อยละ ๘๒.๐๒

    ๗. ดัชนีวัฒนธรรมในองค์กร ร้อยละ ๖๙.๗๖

    ๘. ดัชนีคุณธรรมการท�างานในหน่วยงาน ร้อยละ ๗๗.๒๔

    ทั้งนี้กรมทรัพยากรนำ้ามีผลการดำาเนินการด้านการสืบสวนข้อเท็จจริง และทางวินัย ดังนี้

    ผลการดำาเนินการด้านการสืบสวนข้อเท็จจริง ๑. เรื่องท่ีด�าเนินการสอบสวนแล้วเสร็จและเสนอความเห็น/เรื่องที่จัดท�าค�าชี้แจงหน่วยตรวจสอบ

    จ�านวน ๓๒ เรื่อง

    ๒. เรื่องที่อยู่ระหว่างการด�าเนินการของคณะกรรมการสืบสวน/จัดท�าค�าชี้แจง/ความเห็นเพิ่มเติม/

    ตรวจส�านวน จ�านวน ๑๖ เรื่อง

    ๓. เรื่องที่อยู่ระหว่างจัดท�าค�าสั่ง/เสนอค�าสั่ง จ�านวน ๗ เรื่อง

    ผลการดำาเนินการทางวินัย ๑. เรื่องสอบสวนวินัยแล้วเสร็จ และเสนอความเห็นต่อผู้สั่งแต่งตั้งคณะกรรมการฯ จ�านวน ๑๖ เรื่อง

    ๒. เรื่องสอบสวนที่อยู่ระหว่างด�าเนินการทางวินัย/ตรวจสอบเพิ่มเติม/ตรวจส�านวน จ�านวน ๗ เรื่อง

    ๓. เรื่องที่อยู่ระหว่างจัดท�าค�าสั่งเสนอ จ�านวน ๑ เรื่อง

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    20 21

    ๓. ผลการดำาเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์

    ยุทธศำสตร์ที่๑ พัฒนำกลไกและเครื่องมือกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกรน�้ำแบบบูรณำกำร

    โดยกำรมีส่วนร่วมของทุกภำคส่วน

    กรมทรัพยากรน�้าด�าเนินโครงการภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ โดยมีเป้าหมาย/ตัวชี้วัด ผลผลิต

    กิจกรรมหลัก และผลการด�าเนินงาน ดังนี้

    เป้ำหมำย/ตัวชี้วัด ๑. จ�านวนกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า จ�านวน ๑๔ เรื่อง

    ๒. องค์กรลุ่มน�้า เครือข่ายประชาชนได้รับการพัฒนาบริหารจัดการทรัพยากรน�้าจ�านวนไม่น้อยกว่า

    ๑๕,๐๐๐ คน

    ผลผลิตที่๑ การเพิ่มศักยภาพกลไกในการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า

    กิจกรรมหลัก

    ๑. จดัท�าข้อเสนอแนะ นโยบาย ยทุธศาสตร์ กลยทุธ์ แผน มาตรการ และตดิตามประเมนิผลการบรหิาร

    จัดการทรัพยากรน�้า

    ๒. พัฒนาเครื่องมือและกลไกบริหารจัดการทรัพยากรน�้า

    ๓. พัฒนาและสนับสนุนระบบงานโครงสร้างพื้นฐานด้านน�้าอุปโภคบริโภคของประเทศ

    ๔. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารและพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านน�้า

    ๕. เพิ่มประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสมในการบริหารจัดการ

    ทรัพยากรน�้า

    ๖. การสนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า

    ๗. พฒันาส่งเสรมิการมส่ีวนร่วมขององค์กรทกุระดบัในการบรหิารจัดการทรัพยากรน�า้ทกุลุม่น�า้

    ผลกำรด�ำเนินงำน

    การด�าเนินงานภายใต้ผลผลิตที่ ๑ สรุปได้ดังนี้

    ๑. จ�านวนกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า ได้แก่

    (๑) โครงการจ้างที่ปรึกษาศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม

    ข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังน�้าในแม่น�้าโขงสายประธาน

    (๒) โครงการด�าเนินงานตามกิจกรรมวันส�าคัญด้านทรัพยากรน�้า

    (๓) โครงการพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านทรัพยากรน�้า

    (๔) โครงการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมการร่วมคณะกรรมาธิการแม่น�้าโขง ครั้งที่ ๔๕

    และการประชุมประเทศคู่เจรจา (จีนและสหภาพเมียนมาร์) มีการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย

    ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อด�าเนินการจ้างที่ปรึกษาโครงการส�ารวจภูมิประเทศเพื่อก�าหนดขอบเขต

    พื้นที่เสี่ยงน�้าท่วมจังหวัดเชียงรายจากการพัฒนาโครงการไฟฟ้าพลังน�้าเขื่อนปากแบง สปป.ลาว

  • 22

    (๕) โครงการถ่ายโอนภารกิจหลักการบริหารจัดการลุ่มน�้าของ MRC สู่ประเทศสมาชิก

    (๖) โครงการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระหว่างประเทศ Water Demand Management

    among Competing Sectors

    (๗) โครงการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมือในสาขา

    ทรัพยากรน�้า ครั้งที่ ๑ (The 1st Meeting of Joint Steering Committee on China-Thailand Water

    Resources Cooperation)

    (๘) โครงการตรวจก�ากับประปาสัมปทาน

    (๙) โครงการนิเทศติดตามผลบ�ารุงรักษาและตรวจสอบคุณภาพน�้าระบบผลิตน�้าดื่มใน

    สถานศึกษาตามแผนพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชด�าริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

    สยามบรมราชกุมารี

    (๑๐) โครงการเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว

    (๑๑) โครงการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ด้านทรัพยากรน�้า

    (๑๒) โครงการพัฒนาประสิทธิภาพองค์กรและบุคลากร

    (๑๓) โครงการบ�ารุงรักษาระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย

    (๑๔) เงินอุดหนุนสมทบให้คณะกรรมาธิการแม่น�้าโขง

    จ�านวนกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรน�้าด�าเนินการได้ตามเป้าหมาย ๑๓ เรื่อง และไม่สามารถ

    ด�าเนินการได้ ๑ เรื่อง คือ โครงการเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมคณะกรรมการร่วมว่าด้วยความร่วมมือ

    ในสาขาทรัพยากรน�้า ครั้งที่ ๑ (The 1st Meeting of Joint Steering Committee on China-Thailand

    Water Resources Cooperation) เนื่องจากเป็นโครงการความร่วมมือระหว่างประเทศ กล่าวคือ ประเทศจีน

    ไม่สามารถเดินทางมาเข้าร่วมการประชุมได้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐

    ๒. บุคลากร ประชาชน องค์กรลุ่มน�้า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และเครือข่าย ได้รับการพัฒนา

    บรหิารจดัการทรพัยากรน�า้ รวมจ�านวน ๔๓,๓๑๖ คน จากเป้าหมายทีก่�าหนดไว้ ๑๕,๐๐๐ คน โดยด�าเนนิกจิกรรม

    หลัก ประกอบด้วย การสนับสนุนการบริหารประสานงานติดตามผลการจัดการองค์กรลุ่มน�้า การพัฒนาเครื่อง

    มือกลไกและการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรน�้า การเผยแพร่และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ

    ประชาชน โดยได้ด�าเนินโครงการหลักคือ

    (๑๕) โครงการด�าเนินงานบริหารจัดการองค์กรลุ่มน�้า ๒๕ ลุ่มน�้าหลัก

  • กรมทรพยากรน้ําปี พ.ศ.๒๕๖๐

    รายงานประจําปี

    22 23

    ผลงานสำาคัญภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ มีดังนี้

    ๑. โครงการจ้างท่ีปรกึษาศกึษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบส่ิงแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการไฟฟ้าพลังนำ้าในแม่นำ้าโขงสายประธาน

    สืบเนื่องจากมติคณะกรรมการแม่น�้าโขงแห่งชาติไทยในการประชุมครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๑๐

    มกราคม ๒๕๕๖ ได้มอบหมายให้กรมทรัพยากรน�้าและส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ

    สิ่งแวดล้อมด�าเนินการติดตามและประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนของแม่น�้าโขงที่อยู ่ในเขต

    ประเทศไทยทั้งระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว รวมระยะเวลา ๑๕ ปี กรมทรัพยากรน�้าโดยการสนับสนุน

    ทางวิชาการจากส�านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้

    ด�าเนินงานโครงการศึกษาผลกระทบและติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนจากโครงการ

    พัฒนาไฟฟ้าพลังน�้าในแม่น�้าโขงสายประธานมาอย่างต่อเนื่องนับต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗ จนถึง

    ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ผลการศึกษาท�าให้สามารถเริ่มมีการจัดท�าฐานข้อมูลของผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้าม

    พรมแดนด้านต่างๆ มากขึ้นตามล�าดับตลอดการด�าเนินงานโครงการที่ผ่านมา กรมทรัพยากรน�้าได้ศึกษาและ

    ปรับปรุงแนวทาง วิธีการศึกษา ขอบเขตพื้นที่ศึกษา และแสวงหาเครื่องมือต่างๆ ที่เหมาะสมมาใช้ในการศึกษา

    ผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน เพื่อเป้าหมายให้ได้ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ มีความถูกต้องทางวิชาการ

    และท�าให้ข้อมูลเหล่านั้นสามารถบ่งชี้ผลกระทบสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดนที่อาจเกิดขึ้น และน�าไปสู่การประเมิน

    แนวโน้มความเสี่ยงในพื้นที่ต่างๆ ตลอดแม่น�้าโขงสายประธานในอาณาเขตของประเทศไทย การศึกษาของ

    กรมทรพัยากรน�า้ได้ให้ความส�าคัญของการสร้างความเข้าใจของประชาชน ผู้มส่ีวนได้เสีย ให้ได้รบัข้อมลูข่าวสาร

    ที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือ ตลอดจนสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ทั้งในการแสดงความคิดเห็น

    ให้ข้อมูลเชิงประจักษ์ วิพากษ์ โต้แย้ง หรือเห็นด้วย ตลอดกระบวนการศึกษา และเชื่อมโยงข้อมูลด้านวิชาการ

    และวิทยาศาสตร์ของการศึกษาไปสู่การประเมินผลกระทบด้านสังคม เศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ของประชาชน

    อีกทัง้สามารถน�าข้อมลูจากการศกึษาไว้ใช้ในการแลกเปลีย่น การแจ้งให้สาธารณะได้รบัทราบ ทัง้ภายในประเทศ

    และกับประเทศเพื่อนบ้านในลุ่มน�้าโขง

    ผลการศึกษาของโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ซึ่งได้ทบทวนข้อมูลทุติยภูมิจากการศึกษา

    ก่อนหน้าระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ และเริ่มเน้นการปรับปรุงเพิ่มเติม ปิดช่องว่างของข้อมูล

    และกลั่นกรองความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ ความเก่ียวข้องเหมาะสมของข้อมูล เพื่อให้ได้ผลการศึกษาที่เป็น

    เป้าหมายระยะยาวของกรมทรัพยากรน�้า คือ การเตรียมความพร้อม การปรับปรุงฐานข้อมูลผลกระทบ

    สิง่แวดล้อมข้ามพรมแดน รวม ๗ ด้าน ประกอบด้วย ๑) การพงัทลายของตลิง่ ๒) ระดบัน�า้ ๓) อตัราการไหลของน�า้

    ๔) การประมง ๕) การใ�