หัวข อวจัย...

41
หัวขอว จัย การสร างบทเรยนสําเร็จรูปสําหรับส งเสร มการเร ยนรู เร ่องการจําแนก ่งม ต ว ชาช วว ทยาพ นฐาน ผูดําเน นการว จัย นายยุธยา อยู เย็น นางสาวท มา นวลบุญ หนวยงาน คณะว ทยาศาสตรและเทคโนโลย มหาว ทยาลัยราชภัฏสวนดุสต การศ กษา 2552 ……………………………………..…………………………………………………………………………………………. บทคัดยอ การว จัยน วัตถุประสงค เพ ่อสร างบทเร ยนสําเร็จรูปสําหรับส งเสร มการเร ยนรู เร ่องการจําแนก ่งมวต วชาชววทยาพ นฐาน ท ่มประสทธภาพตามเกณฑ 80/80 ศกษาผลสัมฤทธ ์การเรยนรูของ นักศกษาท ่เรยนวชาชววทยาพ นฐาน และศกษาความพงพอใจของนักศกษาท ่มตอการเรยนรูโดยใช บทเรยนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู เร ่องการจําแนกส ่งมวต วชาชววทยา ภาคเรยนท ่ 1 ปการศกษา 2551 จํานวน 46 คน ซ ่งไดมาดวยวธการเลอกแบบเจาะจง (purposive sampling) เคร ่องม อท ่ใช ในการศ กษาได แก บทเร ยนสําเร็จรูปสําหรับส งเสร มการเร ยนรู เร ่อง การจําแนกส ่งมวต วชาชววทยาพ นฐาน จํานวน 5 หนวยยอย คอ หลักการจัดจําพวกส ่งมวต อาณาจักรโมเนอรา อาณาจักรโปรต สตา อาณาจักรพ ช และอาณาจักรสัตว แผนการจัดการเร ยนรู จํานวน 5 แผน แบบวัด ผลสัมฤทธ ์ทางการเร ยนชน ดเล อกตอบ 4 ตัวเล อก จํานวน 30 ข อ ซ ่งม าความยากง ายตั งแต 0.27 ถ 0.80 ค าอํานาจจําแนกตังแต 0.33 ถง 0.75 มาความเช ่อมั่นทังฉบับเทากับ 0.85 และแบบประเมความพ งพอใจของนักศ กษาท ่ม อการเร ยนรู โดยบทเร ยนสําเร็จรูปสําหรับส งเสร มการเร ยนรู เร ่องการ จําแนกส ่งมวต วชาชววทยาพ นฐาน สถตท ่ใชในการวจัยไดแก รอยละ คาเฉล ่ย สวนเบ ่ยงเบน มาตรฐาน และทดสอบค t แบบ dependents samples จากการศ กษาพบวาบทเรยนสําเร็จรูปสําหรับ งเสร มการเร ยนรู เร ่องการจําแนกส ่งม ต ว ชาช วว ทยาพ นฐาน ม ประสทธภาพเทากับ 83.72/80.20 ่งสูงกวาเกณฑท ่ตังไว คะแนนการทําแบบวัดผลสัมฤทธ ์ทางการเรยนกอนและหลังการใชบทเรยน สําเร็จรูปสําหรับส งเสร มการเร ยนรู เร ่องการจําแนกส ่งม ต ว ชาช วว ทยาพ นฐาน แตกตางกันอยางม นัยสําคัญย ่ง (p-value<.01) และนักศกษามความพงพอใจตอการเรยนรูดวยบทเรยน สําเร็จรูปสําหรับส งเสร การเร ยนรู เร ่องการจําแนกส ่งม ต ว ชาช วว ทยาพ นฐานในระดับมาก ่สุด

Upload: others

Post on 07-Mar-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมิการเรยีนรู เรื่องการจําแนก

สิ่งมีชีวติ วชิาชีววทิยาพื้นฐาน

ผูดําเนนิการวจัิย นายยุธยา อยูเย็น

นางสาวทฐิมิา นวลบุญ

หนวยงาน คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปการศกึษา 2552

……………………………………..………………………………………………………………………………………….

บทคัดยอ

การวจิัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางบทเรยีนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมิการเรยีนรู เรื่องการจําแนก

สิ่งมีชีวิต วิชาชีววิทยาพื้นฐาน ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80/80 ศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนรูของ

นักศึกษาที่เรียนวิชาชีววิทยาพื้นฐาน และศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีตอการเรียนรูโดยใช

บทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสริมการเรียนรู เรื่องการจําแนกสิ่งมีชีวิต วิชาชีววิทยา ภาคเรียนที่ 1

ปการศึกษา 2551 จํานวน 46 คน ซ่ึงไดมาดวยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling)

เครื่องมือที่ใชในการศกึษาไดแก บทเรยีนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมิการเรยีนรูเรื่อง การจําแนกสิ่งมีชีวิต

วิชาชีววิทยาพื้นฐาน จํานวน 5 หนวยยอย คือ หลักการจัดจําพวกสิ่งมีชีวิต อาณาจักรโมเนอรา

อาณาจักรโปรตสิตา อาณาจักรพชื และอาณาจักรสัตว แผนการจัดการเรยีนรู จํานวน 5 แผน แบบวัด

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนชนดิเลอืกตอบ 4 ตัวเลอืก จํานวน 30 ขอ ซ่ึงมีคาความยากงายตัง้แต 0.27 ถงึ

0.80 คาอํานาจจําแนกตั้งแต 0.33 ถึง 0.75 มีคาความเช่ือม่ันทั้งฉบับเทากับ 0.85 และแบบประเมิน

ความพึงพอใจของนักศกึษาที่มีตอการเรยีนรูโดยบทเรยีนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมิการเรยีนรู เรื่องการ

จําแนกสิ่งมีชีวิต วิชาชีววิทยาพื้นฐาน สถิติที่ใชในการวิจัยไดแก รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน และทดสอบคา t แบบ dependents samples จากการศกึษาพบวาบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับ

สงเสรมิการเรยีนรู เรื่องการจําแนกสิ่งมีชีวติ วชิาชีววทิยาพื้นฐาน มีประสิทธิภาพเทากับ 83.72/80.20

ซ่ึงสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว คะแนนการทําแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการใชบทเรียน

สําเร็จรูปสําหรับสงเสรมิการเรยีนรู เรื่องการจําแนกสิ่งมีชีวติ วชิาชีววทิยาพื้นฐาน แตกตางกันอยางมี

นัยสําคัญยิ่ง (p-value<.01) และนักศึกษามีความพึงพอใจตอการเรียนรูดวยบทเรียน

สําเร็จรูปสําหรับสงเสรมิ การเรยีนรู เรื่องการจําแนกสิ่งมีชีวติ วชิาชีววทิยาพื้นฐานในระดับมาก

ที่สุด

Page 2: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การเปดรับขาวสาร ความรู ความตระหนัก และพฤติกรรมการมีสวนรวมใน

การชวยลดภาวะโลกรอนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏใน เขต

กรุงเทพมหานคร

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวสุตตมา แสงวเิชียร

หนวยงาน หลักสูตรนเิทศศาสตร คณะวทิยาการจัดการ มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………

บทคัดยอ

การวจิัยเรื่อง “การเปดรับขาวสาร ความรู ความตระหนัก และพฤตกิรรมการมีสวนรวมในการ

ชวยลดภาวะโลกรอนของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงคเพื่อ

ศกึษาและวเิคราะหความสัมพันธระหวางการเปดรับขาวสาร ความรู ความตระหนัก และพฤติกรรม

การมีสวนรวมในการชวยลดภาวะโลกรอนของนักศกึษามหาวทิยาลัยราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร

การวจิัยครัง้นี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) คนหาความสัมพันธระหวางตัวแปร

ตางๆ โดยใชการวัดแบบครัง้เดยีว (One-Shot Descriptive Study) และใชแบบสอบถาม (Questionnaire)

เปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล การสุมกลุมตัวอยางใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบแบงช้ัน

(Stratified random Sampling) ประชากรที่ใชในการศกึษาวจิัย คอื นักศกึษามหาวิทยาลัยราชภัฎในเขต

กรุงเทพมหานคร ระดับปรญิญาตร ีช้ันปที ่1- 4 ภาคปกติ จํานวน 398 คน

สถติทิี่ใชในการวเิคราะหขอมูล คอื สถติเิชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยการแจกแจง

ความถี่ (Frequency) และรอยละ (Percentage) เพื่ออธิบายขอมูลเกี่ยวกับการเปดรับขาวสารความรู

ความตระหนัก และพฤตกิรรมการมีสวนรวมในการชวยลดภาวะโลกรอน สวนการทดสอบสมมติฐาน

การวจิัยนัน้มีการใชสถติไิคสแควร (Chi-Square) มาวเิคราะหเพื่อหาความสัมพันธ

ผลการวจิัยพบวา

ขาวสารเกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอนที่กลุมตัวอยางสวนใหญสนใจที่สุด คอื เรื่องแนวทางหรือ

วธิกีารปองกันและแกไขปญหาภาวะโลกรอน รองลงมา ไดแก เรื่องขาวประชาสัมพันธกจิกรรมรณรงค

ตางๆที่เกี่ยวกับการชวยลดภาวะโลกรอน เรื่องสาเหตุและผลกระทบที่เกิดข้ึน และเรื่องสถานการณ

เกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอนที่เกดิข้ึนทั่วโลก ตามลําดับ

ความรูเกี่ยวกับเรื่องปญหาภาวะโลกรอนในภาพรวมนั้น กลุมตัวอยางสวนใหญมีความรู

เกี่ยวกับเรื่องปญหาภาวะโลกรอนอยูในระดับมาก และประเด็นคําถามที่ตอบถูกมากที่สุด คือ รูวาการ

เผาผลาญพลังงานเช้ือเพลิงจากการใชยานพาหนะในการเดินทางและขนสงสินคานั้นกอใหเกิดกาซ

คารบอนไดออกไซดซ่ึงเปนสาเหตุทําใหเกิดปญหาภาวะโลกรอน สวนประเด็นคําถามที่กลุมตัวอยาง

Page 3: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

ตอบถูกนอยที่สุดหรือมีความรูนอย คือ อุณหภูมิของโลกที่เพ่ิมข้ึนจะสงผลทําใหเช้ือโรคเจริญเติบโต

อยางรวดเร็วและเกดิการแพรระบาดของโรครายตางๆ

ความตระหนักในการแกไขปญหาภาวะโลกรอนในประเด็นตางๆ นั้น ในภาพรวมกลุมตัวอยาง

สวนใหญมีความตระหนักในการแกไขปญหาภาวะโลกรอนมาก โดยเห็นดวยในประเด็นที่วาปญหาภาวะ

โลกรอนที่เกิดข้ึนนี้สวนใหญเปนผลมาจากการกระทําของมนุษยมากที่สุด รองลงมา คือ เห็นดวยวา

การปลูกฝงและรณรงคเรื่องการลดภาวะโลกรอนใหกับประชาชนทุกคนเปนสิ่งจําเปนและควรทําอยาง

ตอเนื่อง และเห็นดวยวาควรชวยกันปลูกตนไมตามอาคารบานเรือนและสถานที่ตางๆ เพื่อชวยรักษา

สิ่งแวดลอม ตามลําดับ

พฤตกิรรมการมีสวนรวมในการชวยลดปญหาภาวะโลกรอนในภาพรวมนั้น กลุมตัวอยางสวน

ใหญมีพฤตกิรรมการมีสวนรวมในการชวยลดปญหาภาวะโลกรอนบอยครัง้ โดยเฉพาะในเรื่องของการ

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการใชชีวิตประจําวันของตนเองเพื่อชวยลดภาวะโลกรอน เชน เดินข้ึนบันได

แทนการใชลฟิท ใชถุงผาแทนถุงพลาสตกิ และใชน้ําอยางประหยัดมากที่สุด รองลงมา คือ คนควาหา

ขอมูลเพ่ิมเตมิเกี่ยวกับสาเหตุที่มาและผลกระทบของปญหาภาวะโลกรอน และจัดกจิกรรมรณรงคชวย

ลดภาวะโลกรอนข้ึนในมหาวทิยาลัยกับเพื่อนๆ ตามลําดับ

ในสวนของการหาความสัมพันธระหวางการเปดรับขาวสาร ความรู ความตระหนัก และ

พฤตกิรรมการมีสวนรวมในการชวยลดภาวะโลกรอนนัน้ พบวา

การเปดรับขาวสารเกี่ยวกับเรื่องปญหาภาวะโลกรอนจากสื่อมวลชนและสื่อกิจกรรม

มีความสัมพันธกับความรูเกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอน

การเปดรับขาวสารเกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอนจากสื่อสิ่งพิมพ สื่ออินเตอรเน็ต และสื่อ

กจิกรรมมีความสัมพันธกับความตระหนักในการแกไขปญหาภาวะโลกรอน

ความรูเกี่ยวกับปญหาภาวะโลกรอนมีความสัมพันธกับความตระหนักในการแกไขปญหาภาวะ

โลกรอน

ความตระหนักในการแกไขปญหาภาวะโลกรอนมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการมีสวนรวมใน

การชวยลดปญหาภาวะโลกรอน

Page 4: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การปลูกฝงพฤตกิรรมการบรโิภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอนวัยเรียน:

กรณศีกึษาเทศบาลเมืองบางกรวยจังหวัดนนทบุรี

ผูดําเนนิการวจัิย รองศาสตราจารยวัชร ีตระกูลงาม

รองศาสตราจารยอําไพ อินทรประเสรฐิ

อาจารยศุภลักษณ วัฒนาวทิวัส

อาจารยวาร ีศริริะเวทยกุล

อาจารยจริาพร รอดพวง

หนวยงาน คณะครุศาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………………………………………………………………………….

บทคัดยอ

การวจิัยนี้มีวัตถุประสงค 3 ประการ ไดแก 1) เพื่อศึกษาสภาพปจจุบันและปญหาพฤติกรรม

การบรโิภคอาหารของเด็กกอนวัยเรยีน กรณศีกึษาเทศบาลเมืองบางกรวย จังหวัดนนทบุรี 2) สรางชุด

ฝกอบรมที่ใชในการปลูกฝงพฤตกิรรมการบรโิภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอนวัยเรยีน 3) ศึกษา

ผลการใชชุดฝกอบรมในการปลูกฝงพฤตกิรรมการบรโิภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอนวัยเรียน

ประชากรที่ใชในการศกึษาสภาพปจจุบันและปญหาพฤตกิรรมการบริโภคอาหารของเด็กกอนวัยเรียน

คอื ผูปกครองของเด็กกอนวัยเรยีน ในศูนยพัฒนาเด็กเล็กสังกัดเทศบาลเมืองบางกรวย 7 ศูนย จํานวน

257 คน กลุมทดลอง คอื เด็กกอนวัยเรยีนในศูนยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรยีนวัดสําโรง จํานวน 2 หองเรยีน

หองละ 30 คน ไดมาโดยใชวธิกีารสุมตัวอยางอยางงาย และจับฉลากเขากลุมทดลองและกลุมควบคุม

อยางละ 1 หอง โดยเปนการวิจัยเชิงทดลองตามแบบแผนการวิจัยแบบ Randomized control-group

pre-test post-test design เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย (1) แบบสอบถามความคิดเห็นของ

ผูปกครองเกี่ยวกับสภาพปญหาและพฤตกิรรมการบรโิภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอนวัยเรียน

(2) ชุดฝกอบรม ไดแก คูมือชุดการฝกอบรมสําหรับผูปกครอง แผนการจัดกจิกรรมเสรมิสรางความรู 3

แผน นทิาน 7 เรื่อง รูปแบบการจัดกจิกรรมเสรมิสําหรับผูปกครอง 3 กจิกรรม และกจิกรรมคุยกับลูก

สําหรับครูและผูปกครอง (3) แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอน

วัยเรียน (4) รายการอาหารไทยเพื่อสุขภาพ (5) แบบบันทึกผลการใชชุดการฝกอบรมสํา หรับ

ผูปกครอง (6) แบบบันทกึพฤตกิรรมการรับประทานอาหารของเด็กกอนวัยเรียนการวิเคราะหขอมูล

ใชการหาคาความถี ่รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวเิคราะหเนื้อหา

ผลการวจิัย

Page 5: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

1. ผลการศกึษาสภาพปจจุบันและปญหาพฤตกิรรมการบรโิภคอาหารของเด็กกอนวัย

เรียน พบวา เด็กรับประทานขาว นม ไข น้ําเปลา ช็อกโกแลต ไอศกรีม ขนมขบเค้ียว และเลือก

รับประทานอาหารเฉพาะที่ตนเองชอบอยูในระดับมาก สวน ถั่ว ผัก น้ําอัดลม อาหารที่มีกลิ่นสมุนไพร

ของหมักดอง แฮมเบอรเกอร พิซซา และเครื่องในสัตว รับประทานอยูในระดับนอย ผูปกครองของเด็ก

กอนวัยเรยีนมีความเห็นวา อาหารไทยเพื่อสุขภาพที่ควรจัดใหเด็กกอนวัยเรียนในแตละประเภท มีดังนี้

อาหารคาว ไดแก ไขเจียว ไขตุน ผัดฟกทอง ผัดถั่วฝกยาวใสหมู แกงสมผักรวม กวยเตี๋ยวน้ํา ขาว

เหนียวไกยาง อาหารหวาน ไดแก ลูกชุบ กลวยบวชชี ลอดชองน้ํากะทิ อาหารวาง ไดแก น้ําผลไม

ซาลาเปา ขาวโพดตม ขนมปงสังขยา สวนวิธีการปลูกฝงพฤติกรรมเพื่อใหเด็กรับประทานอาหารไทย

เพื่อสุขภาพ ไดแก การจัดสิ่งแวดลอมที่เอ้ือตอการปลูกฝงพฤติกรรมการใหความรู การศึกษาจาก

ประสบการณจรงิ เชน พาไปตลาด การใชวธิจีูงใจ ช้ีชวนใหลองรับประทาน ใชนทิานเปนสื่อ และใหเด็ก

มีสวนรวมในการประกอบอาหาร นอกจากนี้การจัดอาหารใหเด็กรับประทาน ควรใชวิธีตกแตงอาหาร

ใหมีสีสัน รูปทรงและหนาตาใหนารับประทาน ตั้งช่ือใหไพเราะเพื่อกระตุนความสนใจ สับเปลี่ยน

หมุนเวยีน ประเภทของอาหารอยาใหจําเจ และปรุงอาหารใหงายตอการรับประทาน

2. แนวทางการปลูกฝงพฤติกรรมการบริโภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอนวัย

เรียน คือ การใชแผนปฏิบัติการอบรมแบบมีสวนรวมโดยใหความรูแกผูปกครองและผูชวยวิจัย

ประกอบกับการจัดกจิกรรมรวมกันระหวางพอแมลูกและครู โดยเนนประสบการณตรงเพื่อเปดโอกาส

ใหเด็กไดคิดและลงมือปฏิบัติจริงจนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ใชนิทานเปนสื่อกระตุนใหคิด และจัด

เมนูอาหารไทยเพื่อสุขภาพใหไดรับประทานในม้ือกลางวันที่โรงเรยีนอยางตอเนื่อง

3. ผลการใชชุดฝกอบรมการปลูกฝงพฤตกิรรมการบริโภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของ

เด็กกอนวัยเรยีน พบวา

3.1 ผลการวเิคราะหพฤตกิรรมการบรโิภคอาหารไทยเพื่อสุขภาพของเด็กกอน

วัยเรยีนกอนและหลังการทดลอง ตามความคิดเห็นของผูปกครอง พบวา พฤตกิรรมการบริโภคอาหาร

ไทยเพื่อสุขภาพที่เพ่ิมข้ึนจาก 1-2 วัน/สัปดาห เปน 3-4 วัน/สัปดาห ไดแก ปลาหมึก ถั่วลันเตา สวนที่

เพ่ิมข้ึนจาก 1-2 วัน/สัปดาห เปน 5-6 วัน/สัปดาห ไดแก หัวผักกาด และที่เพ่ิมข้ึนจาก 3-4 วัน/สัปดาห

เปน 5-6 วัน/สัปดาห ไดแก ปลา ถั่วประเภทตาง ๆ ผักกาดขาว ผักบุง ผักชี กระเทยีม

3.2 ผลการบันทึกปริมาณอาหารไทยเพื่อสุขภาพที่เด็กรับประทานม้ือกลาง

วันที่โรงเรยีนโดยครูประจําช้ันพบวา รายการอาหารไทยเพื่อสุขภาพที่เด็กกอนวัยเรยีนรับประทานหมด

มากที่สุด เปนชุดรายการอาหารที่ประกอบดวย ตมยําจาวสมุทร รวมมิตร ทอดกรอบ ขาวสวย และ

ทับทมิสยาม

3.3 ผลการบันทกึการทํากิจกรรมโดยผูปกครองตามแผนกิจกรรมเลานิทาน

และกจิกรรมเสรมิ พบวา คําตอบของลูกจากคําถามชวนคิด หลังจากฟงนทิานจบ เด็กสวนใหญจะตอบ

คําถามไดถูกตอง แตมีบางคําถามที่ผูปกครองตองอธบิายขยายความเพ่ิมเตมิ เพราะเด็กไมเขาใจ สวน

Page 6: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

พฤตกิรรมของลูกหลังจากฟงนิทาน สวนใหญจะชอบฟงซํ้า โดยเฉพาะ นิทานที่เกี่ยวกับผักและผลไม

เรื่องที่ถูกขอใหเลาซํ้า 2-3 ครัง้ คอื สมจี๊ดไปตลาด และผักกาดขาวผูใจดี

หัวขอวจัิย การประยุกตใชแกนตะวันในผลติภัณฑอาหาร

ผูดําเนนิการวจัิย นางจันทรจนา ศริพัินธวัฒนา และคณะ

วจัิย ท่ีปรึกษา รศ.ดร.สนั่น จอกลอย

หนวยงาน หลักสูตรวทิยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยมีหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………….………………………………………………………………

บทคัดยอ

งานวิจัยช้ินนี้มีวัตถุประสงคเพื่อประยุกตใชแกนตะวันในผลิตภัณฑอาหาร และศึกษาความ

เปนไปไดในการผลิตเชิงการคา โดยไดนําแกนตะวันมาใชประโยชนในผลิตภัณฑอาหาร 9 ผลิตภัณฑ

ประกอบดวย 1) การประยุกตใชแกนตะวันผงในผลติภัณฑโยเกริต 2) การผลติและการใชผงแกนตะวัน

ในผลติภัณฑอูดงสด 3) การลดการดูดซับน้ํามันในแกนตะวันแทงทอดกรอบแบบน้ํามันทวม 4) การใช

แกนตะวันในผลิตภัณฑแหนม5) การใชแกนตะวันทดแทนแปงสาลีบางสวนในผลิตภัณฑคุกกี้ 6)

การศกึษาสูตรและกรรมวธิทีี่เหมาะสมการผลติเฟรนชฟรายแกนตะวันแชเยอืกแข็ง 7) การใชแกนตะวัน

ทดแทนแปงสาลีในแผนเกี๊ยวซา 8) การพัฒนาผลิตภัณฑอาหารเชาสําเร็จรูปชนิดแผนเสริมเสนใย

อาหารจากแกนตะวัน 9) การพัฒนาผลติภัณฑขนมปงที่มีอินนูลนิสูงโดยใชแกนตะวัน ซ่ึงเปนการพัฒนา

ผลภัิณฑผลติภัณฑเพ่ิมทางเลอืกใหกับผูบรโิภคที่ใสใจสุขภาพ เนื่องจากแกนตะวันเปนพชืที่มีอินนูลนิสูง

และเพ่ิมโอกาสใหกับเกษตรกรผูปลูกแกนตะวันเพื่อสนับสนุนใหเปนพืชเศรษฐกิจและมีโอกาสนําไปสู

การบริโภคเปนอาหาร ผลิตภัณฑทั้งหมดไดรับความสนใจจากกลุมเปาหมายปนอยางดี รวมทั้งมี

แนวโนมในการนําเทคโนโลยกีระบวนการผลติไปใชในการผลติเชิงการคา

Page 7: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย อินเทอรเน็ตบรอดคาสติ้งนวัตกรรมสรางสรรคดานการศึกษาเพื่อพัฒนาครู

ผูดูแลเด็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็กทั่วประเทศไทย

ผูดําเนนิการวจัิย ผศ.ดร. พรรณ ีสวนเพลง และคณะ

หนวยงาน สํานักวทิยบรกิารและเทคโนโลยสีารสนเทศ มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวิจัยเรื่อง อินเทอรเน็ตบรอดคาสติ้งนวัตกรรมสรางสรรคดานการศึกษาเพื่อพัฒนาครู

ผูดูแลเด็กเล็กในศูนยพัฒนาเด็กเล็กทั่วประเทศไทย มีวัตถุประสงคการวจิัยเพื่อ 1) ศกึษาสภาพปจจุบัน

ของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของศูนยพัฒนาเด็กเล็กทั่วประเทศ 2) ศึกษาความ

ตองการระบบอินเทอรเน็ตบรอดคาสติ้ง (SDIB) และรูปแบบรายการสําหรับการจัดการศึกษาของศูนย

พัฒนาเด็กเล็ก 3) ตดิตัง้ระบบ SDIB ในศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเปนการนํารอง

และโรงเรียนอนุบาลในแตละจังหวัด จํานวน 74 แหง มีวิธีการวิจัยแบบบูรณาการใชการวิจัยแบบ

ผสมผสาน (Mix Methodology) ระหวางการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิง

คุณภาพ การวจิัยเชิงปรมิาณมีการเก็บขอมูลทัง้ 4 สวน ดังนี้ 1) การเก็บขอมูลเพื่อศกึษาสภาพปจจุบัน

การใช ICT และศกึษาความตองการระบบ SDIB โดยใชแบบสอบถาม กลุมตัวอยางจํานวน 948 คน 2)

การเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อคนหาขอเท็จจรงิ (Fact Finding) 3) การออกแบบตัวกระจายสัญญาณเพื่อให

สามารถออกอากาศผานทางโทรทัศน (SET-TOP-BOX) จํานวน 1 ระบบ 4) การเก็บจาก

แบบสอบถามการประเมินผลการฝกอบรมใชระบบ SDIB กลุมตัวอยาง 250 คน การวจิัยเชิงคุณภาพ มี

การเก็บขอมูล ดังนี้ 1) การเก็บขอมูลเพื่อศกึษาสภาพปจจุบันการใช ICT และศกึษาความตองการระบบ

SDIB โดยใชการจัดประชุมระดมความคิดเห็น (Focus Groups) 2) การวิเคราะหความตองการ

ระบบ SDIB โดยใชเทคนคิ Joint Application Design (JAD) 3) การประชุมปฏิบัติการ (Working Groups)

เพื่อออกแบบระบบ SDIB และ 4) ประชุมเพื่อจัดหาระบบ SDIB และเตรียมความพรอมในการติดตั้ง

ระบบ

ผลการวจิัยเชิงปรมิาณพบวา

1. แบบสอบถามการศึกษาสภาพปจจุบันของการใช ICT ของครูผูดูแลเด็กเล็ก

พบวา

1.1 ระดับปญหาการใช ICT ของนักศึกษาในโครงการความรวมมือในภาพ

รวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ยเทากับ 2.88) เม่ือจําแนกตามรายดาน พบวา มีปญหามากที่สุด คอื

Page 8: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

ดาน Hardware ดาน Network ดาน Database ดาน Software และดาน People ware เรียงตามลําดับ

(คาเฉลี่ยเทากับ 3.04, 2.98, 2.89, 2.78 และ 2.72)

1.2 ระดับปญหาการใช ICT ในศูนยพัฒนาเด็กเล็กและองคการบริหารสวน

ตําบลที่ปฏิบัตงิานในภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือจําแนกตามรายได พบวา อันดับที่ 1 คอื งบประมาณ

ที่สนับสนุนดานเทคโนโลยสีารสนเทศจาก อบต. ไมเพียงพอ (คาเฉลี่ยเทากับ 4.00) อันดับที่ 2 คอื ขาด

การสงเสริมสนับสนุนการใชเทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับการเรียนการสอน (คาเฉลี่ยเทากับ 3.97)

และอันดับสุดทายคอื ขาดการยอมรับการใชนวัตกรรมใหมจากชุมชน (คาเฉลี่ยเทากับ 3.36)

1.3 ภาพรวมของความตองการรูปแบบสาระที่นําเสนอผานระบบ SDIB

ภาพรวมอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 4.17) เม่ือจําแนกตามรายดาน ดังนี้ ดานรายการ (คาเฉลี่ย

เทากับ 4.27) ดานการเห็นประโยชนของ SDIB (คาเฉลี่ยเทากับ 4.23) ดานการอบรมเกี่ยวกับ SDIB

(คาเฉลี่ยเทากับ 4.19) ตามลําดับ

2. ผลการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อคนหาขอเท็จจริง (Fact Finding) สรุปได หนังสือ

ตําราจากตางประเทศ 12 เลม (สั่งซ้ือหนังสอืผานระบบ Online) เอกสารประกอบ 5 เอกสาร เว็บไซตที่

เกี่ยวของ 20 เว็บไซต

3. การสรางตนแบบ ของ SET TOP BOX รวมกันระหวางคณะผูวิจัยผูเช่ียวชาญ

บริษัทที่เปนตัวแทนจําหนายและผลิตในประเทศไทย (บริษัท ZDNA) ไดพัฒนา SDIB SET TOP BOX

version 1.0

4. ผลการศกึษาการประเมินผลการฝกอบรมสาธิตการใชระบบ SDIB ภาพรวมอยู

ในระดับมาก (คาเฉลี่ยเทากับ 3.82)

ผลการวจิัยเชิงคุณภาพพบวา

1. ผลจากการ Focus Group: นักศกึษามีความภาคภูมิใจ และใหมีการติดตั้งระบบ

SDIB ในศูนยพัฒนาเด็กเล็ก เพื่อใชเปนตนแบบในการนําความรูไปใชในการปฏิบัตงิาน

2. จากผลการวเิคราะหความตองการรูปแบบและเนื้อหารายการของระบบพบวา

สวนมากมีความตองการเนื้อหาทางดานการศึกษาปฐมวัยมากข้ึน คณะผูวิจัยและผูพัฒนาไดรวมกัน

พัฒนาเนื้อหาทัง้สิ้นจํานวน 70 รายการ 929 ตอน

3. ผลการประชุม (Working Group) เพื่อสรางแบบของ SET TOP BOX Version 1.0

4. ผลการประชุมเพื่อจัดหาระบบ SDIB ไดจําทําแผนการติดตั้งใหกับโรงเรียน

ตัวอยางเพื่อเปนการนํารองทัง้หมด 74 โรงเรยีน

Page 9: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การใชชีวติอยางมีความสุขของนักศกึษาในมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวสรินิาถ แพทยังกุล

นายณัฐพล แยมฉมิ

นายปญญเดช พันธุวัฒน

หนวยงาน คณะวทิยาการจัดการ มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………….………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวิจัยเรื่องการใชชีวิตอยางมีความสุขของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตครั้งนี้

ใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชการสนทนากลุมเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจากกลุม

ตัวอยางที่เปนนักศกึษาของมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ และศูนยการศกึษาของมหาวทิยาลัย จํานวน

กลุมตัวอยางทัง้สิ้น 198 คน เพื่อศกึษาถงึการใชชีวติอยางมีความสุขของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยราช

ภัฎสวนดุสติในดานความหมายของความสุข สภาพแวดลอม เพื่อน/สังคม การจัดการศึกษา ความสุข

และความพอเพียง และดานการใชชีวติอยางมีความสุข

ผลการวจิัยพบวา นักศกึษาไดใหความหมายของความสุขวา ความสุข คอื รอยยิ้ม ความสบาย

ใจ การมีสุขภาพกายและใจที่ด ีและการไดทําในสิ่งที่รัก โดยความสุขของนักศึกษาในดานตางๆ มีดังนี้

1) ดานสภาพแวดลอม คอืการไดอยูในสภาพแวดลอมที่รมรื่น บรรยากาศในการเรียนที่ดี มีสิ่งอํานวย

ความสะดวก สถานที่มีความสะอาด การมีเครื่องสาธารณูปโภค จุดพักผอนตางๆ ใหกับนักศึกษา การ

มีเทคโนโลยไีวใหบรกิาร การอํานวยความสะดวกดานวิชาการ การใหบริการที่ทันสมัยเปนสากล การ

ตดิเครื่องปรับอากาศทัง้ในหองอาหารและหองเรยีน 2) ความสุขดานเพื่อน สังคมในมหาวิทยาลัย คือ

ความสุขที่เกิดจากเพื่อน หรือสังคมในมหาวิทยาลัย คือ การมีเพื่อนที่ดี การชวยเหลือซ่ึงกันและกัน

พูดคุยปรึกษาเม่ือมีปญหา การแลกเปลี่ยนความรู การไดรวมทํากิจกรรม ความเปนกันเองของ

อาจารยผูสอน ความเปนกันเองของคนในสวนดุสิต แมไมรูจักก็สามารถยิ้มใหกันได 3) ความสุขดาน

การจัดการศกึษา คอืการมีอาจารยที่ด ีมีความเปนกันเอง สามารถปรึกษาไดทุกเรื่อง อาจารยมีความ

ทุมเทในการสอน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณของอาจารยผูสอน มหาวิทยาลัยนําเทคโนโลยีที่

ทันสมัยมาใช 4) ดานความสุขกับความพอเพียง พบวา นักศกึษาสวนมากมีความเห็นสอดคลองกันวา

ความสุขกับความพอเพียงมีความเกี่ยวของกัน เพราะความสุขสวนใหญเกดิจากเม่ือรูสกึพอแลว และถา

รูจักความพอด ีพอมี พออยู ความสุขก็จะเกดิข้ึน

Page 10: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การจัดการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยอยางยั่งยนืในโรงงาน

อุตสาหกรรมตนแบบ กรณีศึกษาโรงงานบีสไพพฟตติ้งอินดัสตรี จํากัด

จังหวัดสมุทรสาคร

ผูดําเนนิการวจัิย ดร.เบ็ญจา เตากล่ํา

นางศรีสุดา วงศวเิศษกุล

นางเนตรรัชนี ตั้งภาคภูมิ

นางชรรนิ ขวัญเนตร

หนวยงาน คณะพยาบาลศาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………

บทคัดยอ

การวจิัยเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยอยาง

ยั่ งยืนในโรงงานอุตสาหกรรมตนแบบ กรณีศึกษาโรงงานบีสไพพฟตติ้ง อินดัสตรี จํากัด

จังหวัดสมุทรสาคร ประกอบดวยการวจิัย 2 สวน คอื สวนที่ 1 การศกึษาปจจัยที่สัมพันธกับพฤตกิรรม

สุขภาพ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยของพนักงานและลูกจางโรงงานบีสไพพ ฟตติ้งอินดัสตร ี

จํากัด ไดแกปจจัยดานปจเจกบุคคล ปจจัยดานสภาพแวดลอม และปจจัยดานระบบบริการสุขภาพ

กลุมตัวอยาง คือ พนักงานและลูกจางในแผนกตางๆของโรงงาน จํานวน 250 คน ที่ไดจากการสุม

ตัวอยางแบบมีระบบ รวบรวมขอมูลดวยแบบสอบถาม และวิเคราะหขอมูลดวยสถิติเชิงบรรยาย และ

สถติสิหสัมพันธเพียรสัน สวนที่ 2 การพัฒนาแนวทางการจัดการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และอาชี

วอนามัยในโรงงานบีสไพพ ฟตติ้งอินดัสตรี จํากัด ดวยการมีสวนรวมของผูมีสวนเกี่ยวของ

(Stakeholder)โดยใชเทคนิคการประชุมเชิงปฏิบัติการเอ ไอ ซี (Appreciation – Influenced - Control,

A.I.C.) กลุมตัวอยางคอื ผูแทนจากฝายบรหิาร หัวหนางาน และผูแทนพนักงานในแผนกตางๆ จํานวน

30 คน จากการสุมตัวอยางแบบเจาะจง รวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามความคิดเห็นของผูเขาสัมมนา

และรายงานสรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัตกิารและการอภิปรายกลุม วิเคราะหขอมูลดวย ความถี่ รอย

ละ และการวเิคราะหเนื้อหา

ผลการวจิัย พบวา

1. ปจจัยดานปจเจกบุคคล ปจจัยดานสิ่งแวดลอม และปจจัยดานระบบสุขภาพของพนักงาน

และลูกจางโรงงานบีสไพพ ฟตติ้งอินดัสตรี จํากัด จังหวัดสมุทรสาคร มีความสัมพันธกับพฤติกรรม

สุขภาพในระดับปานกลางอยางมีนัยสําคัญทางสถติิ

Page 11: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

2. แนวทางเชิงระบบการจัดการดานสุขภาพ ความปลอดภัย และอาชีวอนามัยในโรงงานบสี

ไพพ ฟตติ้งอินดัสตร ีจํากัด จังหวัดสมุทรสาครประกอบดวย

2.1 ปจจัยนําเขา ประกอบดวย ผูแทนจากฝายบรหิาร หัวหนางาน และผูแทนพนักงาน

ในแผนกตางๆ และผลการศกึษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพ ความปลอดภัย และอา

ชีว อนามัยของพนักงาน และลูกจาง

2.2 กระบวนการ ประกอบดวย กจิกรรมเพื่อสรางการมีสวนรวม และการประชุมเชิง

ปฏิบัตกิาร เอ ไอ ซี (Appreciation – Influenced - Control, A.I.C.)

2.3 ผลลัพธ ประกอบดวย คณะกรรมการเพื่อสุขภาพในองคกร และโครงการที่ไดจาก

การประชุมเชิงปฏิบัติการ 6 โครงการคือโครงการสรางมนุษยสัมพันธใหม โครงการสรางเครือขาย

โครงการสรางสิ่งแวดลอมใหม โครงการสรางความตอเนื่องของกิจกรรม 5 ส. โครงการสรางการ

พัฒนาจติวญิญาณ และโครงการสรางบรกิารสุขภาพ

กลไกความสําเร็จคอื การประเมินผลการปฏิบัตติามแผน และการนําเสนอการดําเนินงานในที่

ประชุมผูบรหิารเพื่อแสดงใหเห็นผลลัพธเกดิข้ึน ดังนัน้ ผูบรหิารระดับสูงควรนําหลักการมีสวนรวมและ

การประชุมเชิงปฏิบัตกิาร เอ ไอ ซี (Appreciation – Influenced - Control, A.I.C.) ไปใชในการกระตุนให

คณะกรรมการเพื่อสุขภาพในองคกรสรางสรรคกิจกรรมเพื่อสุขภาพอยางสมํ่าเสมอ นอกจากนี้

คณะกรรมการเพื่อสุขภาพในองคกรควรไดรับการเพ่ิมพูนศักยภาพดานการสรางเสริมสุขภาพสําหรับ

สถานประกอบการเพื่อใหการจัดการสุขภาพเกดิข้ึนในทุกภาคสวนขององคกรอยางตอเนื่องและยั่งยนื

Page 12: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย ทัศนะของประชาชนทองถิ่นตอผลกระทบทางสิ่งแวดลอมจากการพัฒนา

การทองเที่ยว ณ เกาะเสม็ด จังหวัดระยอง

ผูดําเนนิการวจัิย นางไพรนิ เวชธัญญะกุล

หนวยงาน หลักสูตรอุตสาหกรรมทองเที่ยวและบรกิาร คณะวทิยาการจัดการ

มหาวทิยาลัย ราชภัฏสวนดุสิต

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………………

บทคัดยอ

เกาะเสม็ดตัง้อยูบรเิวณชายฝงทะเลดานอาวไทยในเขตทองที่ตําบลเพ อําเภอเมือง อยูหางจาก

ชายฝงบานเพประมาณ 6.5 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ 3,125 ไร มีลักษณะเปนเกาะรูปสามเหลี่ยม

สวนฐานของเกาะอยูดานทศิเหนอื ซ่ึงหันเขาสูฝงบานเพ มีภูเขาสลับซับซอนกันอยู 2-3 ลูก มีที่ราบอยู

ตามรมิฝงชายหาด สวนใหญจะอยูทางดานเหนอืและตะวันออก เหตุที่มีช่ือวา “เกาะเสม็ด” เพราะเกาะ

นี้มีตนเสม็ดขาว และเสม็ดแดงข้ึนอยูมาก ซ่ึงในอดีตชาวบานนํามาใชทําไตจุดไฟ บนเกาะเสม็ดไมมี

แมน้ํา ลําคลอง ประมาณ 80% ของพื้นที่ เปนภูเขาและปาไมเบญจพรรณ (การทองเที่ยวแหงประเทศ

ไทย, 2551)

งานวจิัยครัง้นี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาถึงทัศนะของประชาชนทองถิ่นที่อาศัยอยูบริเวณเกาะ

เสม็ด จังหวัดระยองตอผลกระทบทางสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ สภาพทางสังคมและ

วัฒนธรรมและสิ่ งแวดลอมทางธรรมชาติที่ เกิด ข้ึนจากการเจริญเติบโตของการทองเที่ยว

โดยแบบสอบถามเปนเครื่องมือที่ใชในการเก็บขอมูลจากประชาชนที่อาศัยอยูในบริเวณเกาะเสม็ด

(อาวกลาง หาดทรายแกว อาวไผ อาวพุทรา อาวทับทิม อาวนวล อาวชอ และอาววงเดือน) จังหวัด

ระยอง จํานวน 400 คน

จากผลการวิจัยพบวาผลกระทบทางลบที่เกิดข้ึนกับระบบเศรษฐกิจที่ประชาชนทองถิ่นมาก

ที่สุดเปนลําดับที่หนึ่งคือ การจางงานของธุรกิจทองเที่ยวที่จางคนนอกพื้นที่มาทํางานบนเกาะเสม็ด

ผลกระทบทางลบที่เกิดข้ึนกับระบบสังคมและวัฒนธรรมทองถิ่นคอื การเพ่ิมข้ึนของการประกอบอาชีพ

โสเภณี ปญหาอาชญากรรมและยาเสพตดิ และผลกระทบทางลบที่เกดิข้ึนกับสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ

ประกอบไปดวย ปญหาขยะ รวมถงึการเหยยีบย่ําและทําลายพันธุพืชและพันธุสัตวทะเลโดยการดําน้ํา

การรุกล้ําเขาไปในเขตพันธุพืชทางธรรมชาติของการขยายพื้นที่ในการสรางสิ่งอํานวยความสะดวก

ใหกับนักทองเที่ยว เชน การสรางที่พักสําหรับนักทองเที่ยว การเก็บพันธุพืชและพันธุสัตวทะเลเพื่อ

นํามาเปนสนิคาที่ระลกึ

Page 13: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การสื่อสารการตลาดของภาพยนตไทย

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวผุสดี วัฒนสาคร

หนวยงาน หลักสูตรนเิทศศาสตร ศูนยระนอง 2 มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………..……………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวจิัยนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศกึษาประเภทของสื่อที่มีผลตอการตัดสนิใจเลอืกชมภาพยนตร

ไทยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครและ 2) เพื่อศกึษาการใชประโยชนและความพึงพอใจจากการ

สื่อสารการตลาดของภาพยนตไทยของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร การวจิัยครัง้นี้ไดใชวธิกีารวิจัย

เชิงบูรณาการ (Integrated Method) การเก็บรวบรวมขอมูลโยวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ไดใชวิธีการ

สัมภาษณแบบเจาะลึกจากกลุมผูใหขอมูลสําคัญซ่ึงเปนผูเช่ียวชาญที่ไดรับการยอมรับในวงการ

ภาพยนตไทย จํานวน 24 คน การเก็บรวบรวมขอมูลโดยวธิกีารวจิัยเชิงปริมาณเปนการวิจัยเชิงสํารวจ

(Survey Research) จากกลุมตัวอยางที่เปนประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครที่ชมภาพยนตรไทยในโรง

ภาพยนตเฉลี่ย 3 เดอืนตอครัง้ จํานวน 450 คน

1. ผลการวจิัยเชิงคุณภาพ มีดังนี้ (1) ในปจจุบันภาพยนตรไทยตองมีการวางแผนการ

สื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเปนอยางด ีโดยยึดหลักการมองความตองการของผูบริโภคเปนหลัก

(Outside-in) และกระทําอยางตอเนื่อง อีกทัง้ไมสามารถใชเครื่องมือสื่อสารประเภทใดประเภทหนึ่งได

แตตองผสมผสานเครื่องมือหลายประเภทเขาดวยกัน โดยสื่อโทรทัศนจะมีอิทธพิลตอการตัดสนิใจเลอืก

ชมภาพยนตรไทยของผูบรโิภคเปนอยางมาก ควบคูไปกับสื่ออินเทอรเน็ตที่กําลังเริ่มเปนกลุมเปาหมาย

ของภาพยนตรไทย นอกจากนี้ผูผลติภาพยนตรไทยยังนิยมจัดกิจกรรมทางการตลาดควบคูไปกับการ

สื่อสารมวลชนในการสื่อสารการตลาดใหแกภาพยนตรไทย อยางไรก็ตามการใชเครื่องมือสื่อสาร

การตลาดดังกลาวใหเกดิประสทิธภิาพสูงสุดผูผลติตองคํานึงการกําหนดระยะเวลาและความถี่ในการ

สื่อสารไปถึงผูบริโภคอยางตอเนื่องและสมบูรณดวย (2) ผูบริโภคมีการใชประโยชนจากการสื่อสาร

การตลาดของภาพยนตรไทยหลายประการ คือ 1) เพื่อติดตามความเคลื่อนไหวของภาพยนตรอยาง

ใกลชิด 2) เพื่อนําขอมูลขาวสารของภาพยนตรไปใชเปนประเด็นในการพูดคุยกับบุคคลอ่ืน 3) เพื่อนํา

ขอมูลจากสื่อตางๆที่ไดรับมาพิจารณาวาภาพยนตรเรื่องนัน้ๆ มีความคุมคาพอที่จะเสียเงินซ้ือบัตรเขา

ไปชมภาพยนตรหรือไม 4) เพื่อนําขอมูลขาวสารที่ไดรับไปใชในการศึกษาหาความรู และ 5) เพื่อ

แสวงหาความบันเทงิ อีกทัง้ผูบรโิภคมีความพึงพอใจจากการสื่อสารการตลาดของภาพยนตรไทยใน 3

ประเด็น คือ 1) ความพึงพอใจจากความหลากหลายของสื่อ 2)ความพึงพอใจจากรูปแบบขาวสารที่

นําเสนอ และ 3 ) ความพึงพอใจจากขอมูลขาวสารที่นําเสนอ (3) ธุรกจิภาพยนตรไทยมีแนวโนมที่จะให

ความสําคัญกับการเขาใจพฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer Insight) เพื่อใชในการสรางสรรคการ

Page 14: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

สื่อสารการตลาดใหมๆ มากข้ึน อีกทั้งมีจะแสวงหาความรวมมือในรูปแบบของพันธมิตรทางธุรกิจ

(Strategic Partner) เนื่องจากการลงทุนสรางภาพยนตรและการสื่อสารการตลาดของภาพยนตรตองใช

งบประมาณที่สูง นอกจากนี้ผลจากความสําเร็จของภาพยนตรไทยหลายเรื่องในตลาดตางประเทศจะ

ทําใหผูผลิตภาพยนตรไทยมุงเนนการสื่อสารการตลาดในตลาดตางประเทศเพ่ิมมากข้ึน ในสวนของ

เครื่องมือสื่อสารการตลาดของภาพยนตรไทยมีแนวโนมที่จะใหความสําคัญกับสื่อโทรทัศนเปนอันดับ

แรกอยู ขณะที่สื่ออินเทอรเน็ตจะเปนที่นยิมของผูผลติภาพยนตรไทยอยางแพรหลายมากข้ึน อยางไรก็

ตามจากภาวะเศรษฐกิจที่ซะลอตัว ประกอบกับมีการปรับลดงบประมาณในการโฆษณาผานสื่อที่มี

คาใชจายสูงสุด สงผลใหผูผลติภาพยนตรืไทยตองเรงแสวงหาเครื่องมือสื่อสารใหมๆ ผนวกกับการใช

ความคิดสรางสรรคไอเดยีที่แปลใหมไมจําเจ เพื่อการชวนเช่ือ และสรางกระแสการรับรูใหผูบรโิภคมาก

ยิ่งข้ึน

2. ผลการวจิัยเชิงปรมิาณ พบวา กลุมตัวอยางเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย โดยสวน

ใหญมีอายุต่ํากวา 18 ป ระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี มีสถานภาพเปนนักเรียน/นิสิต/นักศึกษา

รายไดเฉลี่ยตอเดือนนอยกวา 5,000 บาท ประเภทของสื่อที่มีผลตอการตัดสินใจเลือกชมภาพยนตร

ไทย โดยรวมอยูในระดับมาก คาเฉลี่ยเทากับ 3.56 เรยีงลําดับ 5 อันดับแรก ไดดังนี้ คอื (1) สื่อบุคคล

(ปากตอปาก) (2) สื่อโทรทัศน (3) สื่อโรงภาพยนตร (4) สื่ออินเทอรเน็ต และ (5) สื่อหนังสือพิมพ

การใชประโยชนจาการสื่อสารการตลาดของภาพยนตรไทยและความพึงพอใจจาการสื่อสารการตลาด

ของภาพยนตรไทย โดยรวมอยูในระดับมาก คาเฉลี่ยเทากับ 3.42 และ 3.68 ตามลําดับ

Page 15: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพชีวติของพนักงานในสถานประกอบการ

อุตสาหกรรมเอกชน จังหวัดนนทบุร ี

ผูดําเนนิการวจัิย ผูชวยศาสตราจารยอรรนพ เรอืงกัลปวงศ

ผูชวยศาสตราจารยสราวรรณ เรอืงกัลปวงศ

หนวยงาน คณะวทิยาการจัดการ มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

……………………………………………………..…………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอคุณภาพชีวิตของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรม

เอกชน จังหวัดนนทบุร ี มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศกึษาคุณภาพชีวติของพนักงานในสถานประกอบการ

อุตสาหกรรมเอกชน 2) เพื่อเปรยีบเทยีบคุณภาพชีวติของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรม

เอกชน จําแนกตามปจจัยสวนบุคคล ปจจัยดานชีวิตสวนตัวและปจจัยชีวิตการทํางาน และ 3) เพื่อ

ศกึษาปจจัยสงผลตอคุณภาพชีวติของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชน กลุมตัวอยาง

ใน การวิจัยมี 2 กลุม คือ กลุมที่ 1 ผูบริหาร พนักงาน นักวิชาการ และนักกฎหหมายดาน

ทรัพยากรมนุษย จํานวน 15 คน ซ่ึงเปนผูใหขอมูลจากการสัมภาษณแบบเจาะลึก กลุมที่ 2 เปน

พนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชน ตามหมวด G ที่ดําเนนิธุรกจิประกอบกจิการขายสง

การขายปลกี การซอมแซมยานยนต จักรยานยนต ของใชสวนบุคคล และของใชครัวเรือนใน

จังหวัดนนทบุร ีจํานวน 396 คน เครื่องมือที่ใชในการวจิัยเปนแบบสอบถาม ปจจัยที่สงผลตอคุณภาพ

ชีวติของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชนจังหวัดนนทบุรี มีคาความเช่ือม่ันทั้งฉบับ

ตามวิธีการของครอนบาค เทากับ .952 การวิเคราะหขอมูลใชวิธีการหาคารอยละ คาเฉลี่ย สวน

เบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, One-way ANOVA ทดสอบความแตกตางรายคูโดยใช Scheffe test และ

การวเิคราะหถดถอยพหุคูณ (Muliiple Regression Analysis)

ผลการวจิัยพบวา

1. ปจจัยสวนบุคคล พนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชนจังหวักนนทบุรี ที่เปน

กลุมตัวอยางสวนใหญเปนเพศหญิงรอยละ 63.89 อายุไมเกิน 30 ป รอยละ 62.63 สถานภาพโสด

รอยละ 58.08 จํานวนสมาชิกในครอบครัว (รวมผูตอบแบบสอบถาม) อยูระหวาง 3-4 คน รอยละ

48 .99 ระดับการศกึษาปรญิยาตรหีรอืสูงกวา รอยละ 38.13 รายไดปจจุบันตอเดือน 7,001-10,000

บาท รอยละ 30.05 และประสบการณการทํางานในสถานประกอบการ 1-3 ป รอยละ 30.56

2. พนักงานในสถานประกอบการที่เปนกลุมตัวอยางมีปจจัยดานชีวิตสวนตัวในภาพรวมอยูใน

ระดับมาก อันดับแรกดานคุณธรรม จรยิธรรม รองลงมาคอื ดานความอบอุนของครอบครัว สวนอันดับ

Page 16: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

สุดทายอยูในระดับปานกลาง คอื ดานความเปนอยูทางรางกาย ปจจัยดานชีวติการทํางานในภาพอยูใน

ระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวาอยูในระดับมาก จํานวน 3 ดานโดยอันดับแรก คือ

ดานความสัมพันธและยอมรับจากเพื่อรวมงาน รองลงมา คอืดานความกาวหนาและความม่ันคงในงาน

และดานสภาพแวดลอมและความปลอดภัยในงาน เปนอันดับที่ 2 และ 3 สวนอันดับสุดทายอยูใน

ระดับกลาง คอื ดานผลประโยชนตอบแทนและสวัสดกิาร

3. คุณภาพชีวติของพนักงานในภาพรวมมีคุณภาพชีวิตอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนราย

ดานพบวามีคุณภาพชีวติอยูในระดับมาก โดยอันดับแรก คอื คุณภาพชีวติของพนักงานดานความสุขใจ

รองลงมา คอื คุณภาพชีวติของพนักงานดานความสุขกาย

4. พนักงานในสถานประกอบการที่เปนกลุมตัวอยางที่มีปจจัยสวนบุคคลดาน เพศ อายุ

สถานภาพ จํานวนสมาชิกในครอบครัว และประสบการณทํางานในสถานประกอบการตางกัน

มีคุณภาพชีวิตไมแตกตางกัน สวนระดับการศึกษารายไดตอเดือน ปจจัยดานชีวิตสวนตัว และปจจัย

ดานชีวติการทํางานตางกันมีคุณภาพชีวติแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถติทิี่ ระดับ .001

5. ปจจัยที่สงผลตอคุรภาพชีวิตของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชนไดแก

ปจัจยดานชีวิตสวนตัว ปจจัยดานชีวิตการทํางาน ระดับการศึกษา และอายุมีความเช่ือม่ันในการ

พยากรณรอยละ 59 แสดงเปนสมการดังนี้

คุณภาพชีวติของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชน = 0.894 + 0.513 (ปจจัย

ดายชีวติสวนตัว) + 0.255 (ดานชีวติการทํางาน) + 0.042 (ระดับการศกึษา) – 0.049 (อายุ)

6. การสัมภาษณแบบเจาะลึกจากผูบริหาร พนักงาน นักวิชาการ และนักกฎหมายดาน

ทรัพยากรมนุษยเกี่ยวกับคุณภาพชีวติของพนักงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมเอกชนดานชีวิต

สวนตัว ดานชีวิตการทํางาน ดานความสุขกาย และดานความสุขใจของพนักงาน พบวา ดาน

ชีวติสวนตัว พนักงานมีครอบครัวที่อบอุนไมมีปญหาเรื่องทะเลาะเบาะแวงกัน พนักงานสวนใหญเปนผูที่

มีคุณธรรม จรยิธรรม มองโลกในแงด ีใชหลักคําสอนของศาสนาเขามาบรหิารชีวติ ดานชีวติการทํางาน

ผูประกอบการควรศกึษาถึงมาตรฐานสากลดานความปลอดภัยเพื่อใหพนักงานมีสภาพแวดลอมและ

ความปลอดภัยที่ดีข้ึน สวนความกาวหนาและความม่ันคงในงานนั้นสถานประกอบการที่มีขนาดเล็ก

ความม่ันคงในงานจะนอยกวาสถานประกอบการที่มีขนาดคอนขางใหญ สวนดานผลประโยชนตอบแทน

และสวัสดกิารที่คอนขางด ีดานความสุขกายพนักงานสามารถจัดหาปจจัยที่จําเปนในการดํารงชีพใหแก

ตนเองและครอบครัวได มีที่อยูอาศัยที่เหมาะสม ดานความสุขใจพนักงานจะมีความพึงพอใจในสภาพที่

เปนอยูและพอใจสภาพการทํางาน ประเด็นคุณภาพชีวิตของพนักงานเม่ือเปรียบเทียบกับสถาน

ประกอบการอ่ืนนั้นพบวาไมแตกตางจากสถานประกอบการอ่ืนที่มีขนาดใกลเคียงกัน สถาน

ประกอบการหลายแหงพยายามที่จะสรางความสมดุลระหวางชีวิตสวนตัวและชีวิตการทํางานใหกับ

พนักงาน

Page 17: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การพัฒนารูปแบบการสื่อสารภายในองคการเพื่อการสนับสนุนวัฒนธรรม

องคการของมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ผูดําเนนิการวจัิย ผศ.ดร.ขนษิฐา ปาลโมกข

ท่ีปรึกษา รศ.ดร.ศโิรจน ผลพันธนิ

ผศ.ดร.วรรณวภิา จัตุชัย

หนวยงาน หลักสูตรนเิทศศาสตร คณะวทิยาการจัดการ มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………..………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวจิัยครัง้นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. ศกึษารูปแบบการสื่อสารภายในองคการเพื่อการสนับสนุน

วัฒนธรรมองคการของมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 2. เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของบุคลากร

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตตอรูปแบบการสื่อสารภายในองคการ จําแนกตามสถานภาพ สังกัด

(คณะ/ศูนย/สํานัก) ตําแหนงทางวิชาการ สายงาน และระยะเวลาการปฏิบัติงาน และ 3. พัฒนา

รูปแบบ การสื่อสารภายในองคการเพื่อการสนับสนุนวัฒนธรรมองคการของมหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนดุสิต โดยใชวิธีวิจัยแบบผสม (Mixed Research) คือการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใชเครื่องมือการ

สัมภาษณเชิงลกึ การสนทนากลุม และการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใชเครื่องมือแบบสอบถามความ

คิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตตอรูปแบบ การสื่อสารภายในองคการ มีคาความ

เช่ือม่ันตามวธิขีองครอนบาคเทากับ .989 วเิคราะหขอมูลโดยใชคารอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน และเปรยีบเทยีบระดับความคิดเห็น โดยใช สถติทิดสอบที การวเิคราะหความแปรปรวนทาง

เดยีวและ การทดสอบรายคูตามวธิขีองเชฟเฟ

ผลการวจิัยพบวา

1. รูปแบบการสื่อสารภายในองคการเพื่อการสนับสนุนวัฒนธรรมองคการของมหาวทิยาลัย

ราชภัฏสวนดุสิต 13 ดาน นัน้สามารถสรุปเปนโมเดลดังนี้คอื “VALUE COMPACT + 3 I”

2. การเปรียบเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตตอ

รูปแบบการสื่อสารภายในองคการ 5 ดาน สรุป คือ ผูที่มีสถานภาพและสังกัด คณะ ศูนย สํานัก

ตางกัน มีความคิดเห็นตอรูปแบบการสื่อสารภายในองคการในภาพรวมแตกตางกัน และผูที่มีตําแหนง

ทางวิชาการ มีระยะเวลาการปฏิบัติงานและสายงานตางกัน มีความคิดเห็นตอรูปแบบการสื่อสาร

ภายในองคการในภาพรวมไมแตกตางกัน ยกเวนสายงานตางกันที่มีความแตกตางกัน คือ วัฒนธรรม

การเปนหนึ่งเดยีว วัฒนธรรมการการทํางานเชิงรุก วัฒนธรรมการคิดสรางสรรคสิ่งใหม วัฒนธรรมการ

Page 18: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

ทํางานเปนทมี วัฒนธรรมการสื่อสารแบบบูรณาการภายในองคการ สวนระยะเวลาการปฏิบัติงานมี

ความแตกตางกันเพียงดานเดยีวคอื วัฒนธรรมการใหเกียรติและใหโอกาส 3. การพัฒนารูปแบบการ

สื่อสารภายในองคการเพื่อการสนับสนุนวัฒนธรรมองคการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต อันดับ

แรกของแตละดานคือ 3.1 วัฒนธรรมการเปนหนึ่งเดียว มีแนวทางพัฒนาโดย การดําเนินการจัดตั้ง

ศูนยกลาง การสื่อสาร 3.2 วัฒนธรรมการบรหิารที่ใหความสําคัญกับสภาพแวดลอม มีแนวทาง

การพัฒนาโดย การดําเนนิการและใชเครื่องมือประชาสัมพันธอยางมีกลยุทธ 3.3 วัฒนธรรมการ

ทํางานเชิงรุก มีแนวทางการพัฒนาโดยการใหขาวสารเชิงบวกแกบุคลากร 3.4 วัฒนธรรมการใหเกยีรติ

และใหโอกาส มีแนวทางการพัฒนาโดยเริ่มจากนโยบายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต มีการ

กําหนดใชมาตรฐานเดียวกันทั้งองคการ 3.5 วัฒนธรรมการสรางสรรคสิ่งใหม มีแนวทางการพัฒนา

โดยเริ่มจากวิสัยทัศนผูนําหรือผูบริหาร มีการใหความสําคัญกับการสื่อสารแบบมีสวนรวม 3.6

วัฒนธรรมการมีลลีาในการทํางานของผูนําและองคการที่มีลักษณะเฉพาะ มีแนวทางการพัฒนาโดย

การกําหนดนโยบายดานการปฏิบัติงานที่ชัดเจนแกบุคลากร 3.7 วัฒนธรรมการทํางานเปนทีม มี

แนวทางการพัฒนาโดยการดําเนนิการสื่อสารรณรงคปลูกฝงความคิดและจติสํานกึดานการปฏิบัติงาน

3.8 วัฒนธรรมการสื่อสารแบบบูรณาการ มีแนวทางการพัฒนาโดย ดําเนนิการจัดตัง้ศูนยกลาง

การสื่อสารเพื่อทําหนาที่ดานการสื่อสารอยางเปนรูปธรรม 3.9 วัฒนธรรมการใสใจ มีแนวทางการ

พัฒนาโดยเริ่มจากการใหความสําคัญและใสใจกับ การใชอวัจนะภาษาในการสื่อสารรวมกัน

3.10 วัฒนธรรมการสรางเครอืขายพันธมิตร มีแนวทางการพัฒนาโดย ผูนําหรือผูบริหารริเริ่มและให

ความสําคัญ สนับสนุนการจัดตัง้เครอืขายอยางเปนรูปธรรม 3.11 วัฒนธรรมการใหความสําคัญ

กับเทคโนโลยี มีแนวทางการพัฒนาโดยผูสงสารหรอืผูผลติขาวสารผานระบบเทคโนโลยีดวยขาวสารที่

ทันสมัย นาสนใจ 3.12 วัฒนธรรมความผูกพันองคการ มีแนวทาง การพัฒนาโดยนําแนวคิดดาน

จิตวิทยาของมาสโลว หรือลําดับข้ันความตองการของมนุษยมาใชในการสื่อสารจูงใจ และ 3.13

วัฒนธรรมการสรางความแตกตางในงานมีแนวทางการพัฒนาโดยจัดทําคูมือความรู ทักษะความ

ชํานาญของบุคลากรดานตางๆ เพื่อเปนแนวทางปฏิบัตงิาน

Page 19: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย ความพรอมในการนําระบบพาณชิยอิเล็กทรอนกิสมืาใชดําเนนิธุรกิจโรงแรม

ในมหาวทิยาลัยราชภัฏ เขตกรุงเทพมหานคร

ผูดําเนนิการวจัิย นายนคเรศ ณ พัทลุง

หนวยงาน คณะวทิยาการจัดการ มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

……………………………………………...................................................………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมดานการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสของ

บุคลากรในโรงแรม 2) ศึกษาความพรอมในการนําระบบการพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาใช และ 3)

ศกึษาเปรยีบเทยีบความพรอมในการนําระบบการพาณชิยอิเล็กทรอนกิสมาใช จําแนกตามขอมูลทั่วไป

ของบุคลากรโรงแรมในมหาวทิยาลัยราชภัฏเขตกรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางเปนบุคลากรของโรงแรม

จํานวน 147 คน และสัมภาษณเชิงลึกกับผูบริหารระดับสูง จํานวน 6 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บ

รวบรวมขอมูล ประกอบดวย แบบสอบถาม เรื่อง “การศึกษาความพรอมในการนําระบบพาณิชย

อิเล็กทรอนกิสมาใชดําเนนิธุรกจิโรงแรม ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ เขตกรุงเทพมหานคร” ที่ผูวิจัยสราง

ข้ึน โดยแบบสอบถามไดวัดคาความเช่ือม่ันทั้งฉบับตามวิธีของครอนบาคเทากับ .9420 และแบบ

สัมภาษณ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูลไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย ( X ) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(SD) t-test การวิเคราะหการแปรปรวนทางเดียว และการทดสอบรายคู โดยวิธี LSD ผลการวิจัย

พบวา

1. ขอมูลทั่วไปของบุคลากร เปนผูหญิงรอยละ 57.14 สวนใหญจบการศกึษาระดับปริญญาตรี

รอยละ 53.06 สวนใหญเปนพนักงานระดับปฏิบัติการ รอยละ 65.31 มีความสามารถในการใช

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร และเครือขายอินเตอรเน็ต รอยละ 91.84 และมีความชํานาญในการใช

เทคโนโลยีระดับปานกลาง รอยละ 72.59

2. พฤติกรรมการใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส พบวา ผูที่ไมเคยทําธุรกรรม ซ้ือ-ขายสินคาหรือ

บรกิารผานอินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ 61.22 โดยมีสาเหตุเนื่องมาจากข้ันตอนยุงยาก ไมม่ันใจดานการ

รับบริการ และสินคาไมตรงกับที่สั่ง สวนบุคคลที่เคยทําธุรกรรม ซ้ือ-ขายสินคาหรือบริการผาน

อินเทอรเน็ต คิดเปนรอยละ 38.78 โดยมีสาเหตุเนื่องมาจากสะดวก และประหยัดเวลา เปนรูปแบบ

ที่ทันสมัย และเปนสนิคาที่ไมมีขายตามทองตลาด

Page 20: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

3. ความพรอมในการนําระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาใชดําเนินธุรกิจโรงแรมมหาวิทยาลัย

ราชภัฏ เขตกรุงเทพมหานคร อยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา โรงแรมมีความพรอม

ทางดานปฏิบัตกิารเปนอันดับแรก รองลงมาเปนดานเศรษฐศาสตร และดานเทคนคิ ตามลําดับ

4. การทดสอบสมมติฐาน พบวา บุคลากรที่มีเพศ ระดับการศึกษา ตําแหนงงาน และความ

ชํานาญในการใชเทคโนโลยี ตางกัน มีระดับความคิดเห็นตอความพรอมในการนําระบบพาณิชย

อิเล็กทรอนกิสใชดําเนินธุรกิจโรงแรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏไมแตกตางกัน ทั้งภาพรวมและรายดาน

สวนบุคลากรที่มีอายุและประสบการณในการทํางานตางกันมีระดับความคิดเห็นตอความพรอมในการ

นําระบบพาณิชยอิเล็กทรอนิกสมาใชดําเนินธุรกิจโรงแรมในมหาวิทยาลัยราชภัฏแตกตางกันอยาง

มีนัยสําคัญทางสถติทิี่ระดับ.05

Page 21: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย ความสัมพันธระหวางสมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทศกับผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนของนักศึกษาระดับบัณฑติศึกษา มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ผูดําเนนิการวจัิย นายจติชิน จิตตสิุขพงษ

หนวยงาน หลักสูตรบรรณารักษศาสตรและสารนเิทศศาสตร

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………………

บทคัดยอ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาระดับสมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทศของ

นักศกึษา ระดับบัณฑติศกึษา มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ และศกึษาความสัมพันธระหวางสมรรถนะ

หลักดานการใชสารสนเทศกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยีนของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย

ราชภัฏสวนดุสติ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคสมทบ ปที่ 2 ป

การศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จํานวน 95 คน โดยใชวิธีการสุมตัวอยางอยางงาย

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคอื แบบทดสอบสมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทศมีคาความ

เช่ือม่ันตามวธิขีอง KR21 เทากับ .932 สถติทิี่ใชในการวเิคราะหขอมูลคอื คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสัมประสทิธิ์สหสัมพันธแบบพียรสัน

ผลการวจิัยสรุปไดดังนี้

1. นักศกึษามีสมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทศ โดยเฉลี่ยรวมทุกดานในระดับปานกลาง

เม่ือพิจารณาเปนรายดานพบวา สมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทสในดานความสามารถในการ

เขาถึงสารสนเทศดานความสามารถในการประเมินสารสนเทศ และดานความสามารถในการใช

สารสนเทศ มีสมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทศทุกดานในระดับปานกลาง

2. สมรรถนะหลักดานการใชสารสนเทศ มีความสัมพันธทางบวกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

อยางมีนัยสําคัญทางสถติทิี่ระดับ .01

Page 22: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวปาชายเลนเชิงนิเวศและการมีสวนรวมของ

ชุมชน กรณีศึกษาชุมชนในบริเวณพระเจดียกลางน้ํา อําเภอเมือง จังหวัด

ระยอง

ผูดําเนนิการวจัิย ผศ.สุรชาต ิ สนิวรณ

อาจารยณัฐบด ีวิรยิาวัฒน

อาจารยปฏิญญา สุขวงค

อาจารยกันต ปานประยูร

นายกติติศักดิ์ พฤกษกานนท

หนวยงาน คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การศกึษาครัง้นี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวปาชายเลนเชิงนิเวศในบริเวณ

รอบเจดยีกลางน้ํา เทศบาลนครระยอง จังหวัดระยอง ทําการศกึษาความคิดเห็นของนักทองเที่ยว และ

ประชาชนในทองถิ่นโดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บขอมูลจากนักทองเที่ยวจํานวน 110 ชุด

และประชาชนทองถิ่นจํานวน 41 ชุด และหนวยงานภาครัฐ 20 ชุด เพื่อนํามาพัฒนารูปแบบการ

ทองเที่ยวใหเหมาะสมกับปาชายเลนและระบบนิเวศในบริเวณรอบเจดียกลางน้ํา เทศบาลนครระยอง

จังหวัดระยอง โดยการมีสวนรวมของผูที่มีสวนเกี่ยวของตางๆ ซ่ึงจะแบงการวจิัย 3 สวน ใหญๆ โดย (1)

เปนการสํารวจพื้นที่เก็บขอมูลภาคสนาม การสัมภาษณนักทองเที่ยว ชุมชน และหนวยงานรัฐตางๆ ที่มี

สวนเกี่ยวของ โดยเทคนิค Rural Rapid Appraisal (RRA) และ Participatory Rural Appraisal (PRA)

(2) ดําเนนิการวเิคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมสถิติเพื่อการวิจัย การหาความสัมพันธของกิจกรรมใน

การพัฒนารูปแบบการทองเที่ยว โดยเทคนิค Compatibility Matrix และการหาระดับความสําคัญของ

กจิกรรมการทองเที่ยวแตละประเภท โดยเทคนคิ Analytical Hierarchy Process : AHP (3) การวเิคราะห

ความเหมาะสม (Optimal) ดานเศรษฐกิจ สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิตของชุมชน หากมีการพัฒนา

กิจกรรมตางๆ ในบริเวณปาชายเลน เจดียกลางน้ํา โดยเทคนิค โปรแกรมเชิงเสนตรง (Linear

Programming :LP) และการวิเคราะหทางเลือกที่เปนไปได (Feasibility) มากที่สุด โดยเทคนิค Fuzzy

Multiple Objectives Linear Programming (FMOLP) จากนั้นทําการวิเคราะหผลทางเศรษฐกิจใน

ภาพรวมโดยเทคนิควิเคราะหขอมูลเชิงเศรษฐศาสตรการทองเที่ยว โดยเทคนิควิธีการตัวทวีคูณ

(Proportional Multiplier Method, PMM) PDF created with pdfFactory Pro trial version

www.pdffactory.com

Page 23: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

ผลการศึกษาพบวา นักทองเที่ยวที่เดินทางมาทองเที่ยวสวนใหญอาศัยอยูในภาคตะวันออก

รอยละ 76.4 รองลงมา คอื ภาคกลาง รอยละ 10.9 โดยสวนมากจะเปนเพศหญิง รอยละ 51.8 มีอายุ

อยูในชวง 25-44 ปรอยละ 28.4 รองลงมาอายุ 15-24 ป รอยละ 19.1 อายุ 45-54 ป รอยละ 13.6

ในชวง 25-44 ป รอยละ 28.4 อายุ 55-64 ป รอยละ 5.5 อายุตํ่ากวา 15 ป รอยละ 4.5 และอายุ

มากกวา 65 ปข้ึนไป รอยละ 0.9 ระดับการศึกษาที่พบมากที่สุด คือ ระดับอุดมศึกษา รอยละ 31.8

ระดับประถมศกึษา รอยละ 24.5 ระดับมัธยมศกึษาตอนปลาย รอยละ 18.2 ระดับอาชีวศึกษา รอย

ละ 15.5 และระดับมัธยมศกึษา ตอนตน รอยละ 10.0 สวนใหญประกอบอาชีพพนักงาน/ลูกจางบริษัท

รอยละ 28.2 รองลงมา นักเรยีน/นักศึกษา รอยละ15.5 ประกอบกิจการสวนตัว รอยละ 14.5 แมคา/

พอคา รอยละ12.2 รับจางทั่วไป รอยละ 10 เกษตรกรรม/ประมง รอยละ 8.2 รับราชการ รอยละ

7.3 และแมบาน รอยละ 3.6 สวนรายไดเฉลี่ยตอเดือน 5000-10,000 บาท รอยละ 30.9 รองลงมา

รายไดตํ่ากวา 5,000 บาท รอยละ 22.7

นอกจากนี้จากการวเิคราะหคาระดับความสําคัญของกิจกรรมที่จะนํามาสูการพัฒนารูปแบบ

การทองเที่ยวปาชายเลนเชิงนเิวศในแตละดานพบวา ชุมชนสวนใหญยังใหความสําคัญกับกําไรที่ไดจาก

กิจกรรมตางๆมากกวาดานสิ่งแวดลอม ซ่ึงแสดงใหเห็นในดานคุณภาพชีวิต ซ่ึงชุมชนยังใหกิจกรรม

ผจญภัยที่ใหผลกําไรตอคนถึง 350 บาท มากกวากิจกรรมศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศ ในแง

วชิาการเราอาจมองวาคุณภาพชีวติที่ดตีองอยูในสิ่งแวดลอมที่ด ีในขณะที่ชุมชนอาจไมไดมองอยางนั้น

เสมอไป เนื่องจากชุมชนที่อาศัยอยูบริเวณเจดียกลางน้ําสวนใหญเปนชุมชนประมง มีรายไดจากการ

การประมง ซ่ึงมีรายไดตอหัวต่ํา ซ่ึงหากเปนไปได ชุมชนก็อยากจะเพ่ิมรายไดใหกับตนเองมากกวาอยู

กับสิ่งแวดลอมที่ดแีตรายไดจุนเจอืครอบครัวต่ํา แตอยางไรก็ตามไมไดหมายความวาชุมชนบริเวณรอบ

เจดยีกลางน้ําจะเห็นแตเฉพาะรายไดอยางเดยีว แตก็สะทอนความสําคัญของสิ่งแวดลอมออกมาในดาน

สิ่งแวดลอมจากการทํา Analytical Hierarchy Process (AHP) ดวย ซ่ึงใหกิจกรรมศึกษาธรรมชาติและ

ระบบนเิวศมีผลตอสิ่งแวดลอมนอยที่สุด นั่นแสดงใหเห็นถงึความรูและความตระหนักที่มีตอสิ่งแวดลอม

บรเิวณเจดยีกลางน้ํานั่นเอง

จากการวิเคราะหกิจกรรมตางๆวารูปแบบไหนเหมาะสมที่สุดในแตละดาน ซ่ึงไดแก

เศรษฐศาสตร สิ่งแวดลอม และคุณภาพชีวิต ซ่ึงจากการประมวลผลผานโปรแกรมเสนตรง

(Linear Programming) ซ่ึงใหคาที่เหมาะสมสําหรับกิจกรรมแตละกิจกรรมแตกตางกันออกไป ซ่ึงคา

ดังกลาวที่วเิคราะหออกมานั่นอาจไมใชทางที่เหมาะสมที่สุด หากมีการเปลี่ยนแปลทรัพยากรเพ่ิมข้ึน

หรอืลดลง รวมไปถึงทรัพยากรที่ไมไดใช อยางไรก็ตามเราสามารถปรับคาสมการเปาหมายตามการ

เปลี่ยนแปลงแตละชวง เพื่อหากิจกรรมที่เหมาะสมในแตละชวงเวลาได ซ่ึงเม่ือนําสมการจากการ

วเิคราะหความเหมาะสมในแตละดานมาหาความเหมาะสมรวม โดยเทคนิค Fuzzy Multiple Objectives

Linear PDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com Programing (FMOLP)

เพื่อวเิคราะหทางเลอืกที่เปนไปได (Feasibility) มากที่สุด พบวามีคา 0.61 Quite acceptable solution ซ่ึง

Page 24: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

เปนคาสําหรับทางเลือกที่พอรับได แตหากเราเปลี่ยนเงื่อนไข หรือ สมการเปาหมายในแตละดานก็

อาจจะทําใหคา Acceptable solution เพ่ิมข้ึนหรอืลดลงได ตองอาศัยการวางแผนและวเิคราะหเพื่อจะได

แนวทางสําหรับกจิกรรมในการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยวที่เหมาะสมที่สุด

หัวขอวจัิย การศกึษาประสทิธภิาพของสารสกัดผสมระหวางมะขามปอมและจอกที่มีผล

ยับยัง้เช้ือจุลนิทรยีกอโรคผิวหนัง

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวทฐิมิา นวลบุญ

นางสาวกัลยาภรณ จันตรี

หนวยงาน กลุมวชิาชีววทิยา คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏสวน

ดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

ทําการศกึษาประสทิธภิาพของสารสกัดผสมระหวางมะขามปอมและจอกที่มีประสทิธภิาพในการ

ยับยัง้เช้ือจุลนิทรยีที่กอโรคผิวหนังโดย ทําการทดลองหาฤทธิ์ตานเช้ือ Staphylococcus aureus, Candida

albican และ Proteus vulgaris ของสารสกัดสมุนไพรผสมระหวางจอกและมะขามปอมในอัตราสวน 1:1 ,

1:2 , 1:3 , 2:1 และ 3:1 พบวาอัตราสวน 1:3 มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเช้ือของ Staphylococcus

aureus และ Candida albicanไดดีที่สุด วัดคา Inhibition zone เฉลี่ยได 25.33 มิลลิเมตร, 24.22

มิลลเิมตร ตามลําดับ และอัตราสวน 3:1 มีประสทิธภิาพในการยับยัง้เช้ือ Proteus vulgaris ไดดสีุด วัดคา

Inhibition zone เฉลี่ยได 24 มิลลิเมตร นําอัตราสวนสารสกัดผสม 1:3 นํามาหาคาความเขมขนต่ําสุด

(MIC) ตอการยับยั้งการเจริญของเช้ือทั้ง 3 ชนิด พบวา Staphylococcus aureus ,Candida albican มีคา

เทากับ 7.81 มิลลกิรัมตอมิลลลิติร สวน Proteus vulgaris มีคาเทากับ 31.25 มิลลกิรัมตอมิลลลิติร

ดังนัน้ สารสกัดผสมระหวางมะขามปอมและจอก นาจะเปนทางเลือกใหม สําหรับพัฒนาเปน

ผลติภัณฑ ยับยัง้เช้ือจุลนิทรยีที่กอโรค ตอไปได

Page 25: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การสํารวจและประเมินภาวะโภชนาการและสุขภาพของบุคลากรใน

มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ผูดําเนนิการวจัิย ดร.อุบล ช่ืนสําราญ

อ.จันทรจนา ศริพัินธวัฒนา

ผศ. ยุพาภรณ ณ พัทลุง

อ.สมจติ นปิทธหัตถพงศ

อ.ชรรนิ ขวัญเนตร

อ.สริกิาญจน เดชวรกุล

หนวยงาน หลักสูตรเคมี คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

……………………………………………………..…………………………………………………………………………

บทคัดยอ

งานวจิัยนี้เปนการศกึษาแบบภาคตัดขวาง (Cross Sectional Study) โดยทําการสํารวจในชวงที่มี

การตรวจสุขภาพประจําปของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต โดยการสํารวจภาวะสุขภาพและปจจัย

ตางๆที่เกี่ยวของพรอมๆกัน แลวนํามาวิเคราะห พบวามีอาสาสมัครจํานวนทั้งสิ้น 490 ราย (เพศชาย

135 ราย และเพศหญิง 355 ราย) โดยมีอายุอยูในชวง 18-63 ป (คาเฉลี่ย 34.4±10.0 ป) ผลการวัด

สัดสวนของรางกาย (Anthropometric Assessment) ของกลุมตัวอยางไดคาเฉลี่ย (mean±SD) ดังนี้ เสน

รอบเอว (waist circumference) 76.0±12.4 เซ็นตเิมตร เสนรอบสะโพก (hip circumference) 95.7±8.9

เซ็นตเิมตร เสนรอบกึ่งกลางแขนซาย (midarm circumference) 28.4±4.3 เซ็นติเมตร ไขมันใตผิวหนัง

(skinfold thickness) บรเิวณกลามเนื้อกึ่งกลางแขนสวนบน (triceps) 22.3±7.9 มิลลเิมตร และใตกระดูก

สะบัก (subscapular) 20.8.8.3 มิลลเิมตร ผลการวิเคราะหจํานวนสารนําออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง

ปริมาณสารยูริคในเลือด และปริมาณไขมันในเลือดชนิด HDL พบวาในกลุมตัวอยางทั้งเพศชายและ

หญิงมีภาวะซีดใกลเคียงกัน และในเพศชายพบคา HDL ต่ํากวาเกณฑ นอกจากนี้ ผลการทดสอบดวย

สถิติ พบวาปริมาณน้ําตาลในเลือดสูงสัมพันธกับปริมาณ HbA1c (p<0.005) และยังพบวา การเพ่ิม

ปริมาณ SGOT, SGPT, และ alkaline phosphatase สัมพันธกับการดื่มแอลกอฮอล และพบ

ความสัมพันธระหวางคากลางของขอมูลของกลุมตัวอยางที่มีภาวะน้ําหนักเกิน (overweight) กับกลุม

ปกต ิ(control) โดยระบุความเสี่ยง (95% CI) ในปจจัยดานอายุ สัดสวนของรางกาย และสารชีวโมเลกุล

ในเลอืด

จากการศกึษาพบวาการมีนโยบายตรวจสุขภาพประจําปของมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเปน

สิ่งที่ดมีาก ควรจะมีการจัดทําอยางตอเนื่อง สําหรับปญหา “ภัยเงยีบ” ไดแก กลุมไขมัน กลุมโรคเกาต

Page 26: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

กลุมซีด กลุมโรคตับ และกลุมเลือดขน ซ่ึงควรมีการติดตามภาวะสุขภาพ (Cohort Study) โดยทีม

ที่มาจากบุคลากรหลายๆ หนวยงาน ทําการประชาสัมพันธเชิงรุก จัดโปรแกรมสุขภาพ ใหคําแนะนํา

เรื่องการรับประทานอาหารและการออกกําลังกาย คนหาและนําเสนอบุคลากรที่เปน Best Practice

พรอมใหรางวัลกับบุคลากรที่สามารถแกไขปญหาสุขภาพ (เชน โรคอวน) ของตนเองไดจากการเขา

โปรแกรมสงเสรมิสุขภาพ

Page 27: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การวิเคราะหยีนที่เปลี่ยนแปลงจากไพรเมอรแบบสุม AO16 โดย AP-PCR

ในเซลลมะเร็งทอน้ําดี

ผูดําเนนิการวจัิย ดร.อุบล ช่ืนสําราญ

รศ.ดร.โสพิศ วงศคํา

หนวยงาน หลักสูตรเคมี คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………..………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

มะเร็งทอน้ําดเีปนโรคที่เปนปญหาสาธารณสุขโดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย

ในปจจุบันกําลังมีการศึกษาตัวบงช้ีทางโมเลกุลสําหรับโรคนี้ การศึกษานี้เปนการศึกษาการ

เปลี่ยนแปลงของยนีในผูปวยชาวไทยที่เปนมะเร็งทอน้ําดทีี่อยูในตับดวยวธิกีารขยายยนีแบบสุม ดวยไพร

เมอรแบบสุม AO16 (ความยาว 10 เบส) โดยใชดีเอ็นเอที่สกัดจากเนื้อเยื่อที่เปนมะเร็งควบคูไปกับ

เนื้อเยื่อปกตใินคนไขแตละราย เพื่อใชในการเปรียบเทียบเปนคูๆ แลวสังเกตการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ

ของลายพิมพดเีอ็นเอที่เปลี่ยนไปพบวาแถบดเีอ็นเอที่เกดิข้ึนมีขนาดประมาณ 3, 2.5 และ 1.2 กิโลเบส

มีการเปลี่ยนแปลงจํานวนชุดของดีเอ็นเอสัมพันธกับปจจัยทางคลีนิกและพยาธิสภาพของผูปวย

โรคมะเร็งทอน้ําดี จึงโคลนยีนจากแถบดังกลาว และหาลําดับนิวคลีโอไทด พบวาตรงกับโครโมโซม

2q33-q36, 3p24, 3q23, 4q21, 5q31, 5q31.3, 6q25, 7q11, 7q21, 8p22, 9q33.3, 10p14, 10p15,

10p13, 12p12.3, 12p13.31, 12p12.2, 12p13.1, 18q12, และ 18q21.33 จากโครโมโซมดังกลาวพบวา

ลําดับนวิคลโีอไทดบรเิวณ 18q12 นัน้ อยูใน exon 1 ของยนี usp14 (Ubiquitin Specific Protease 14) ซ่ึง

เปนยนีใหมที่ยังไมมีในรายงานการคนพบในโรคมะเร็งทอน้ําดมีากอนจึงทําการศึกษาการเปลี่ยนแปลง

จํานวนชุดของดเีอ็นเอของยนีนี้ในผูปวยมะเร็งทอน้ําดี จํานวน 52 ราย โดยวิธี real-time PCR พบการ

เปลี่ยนแปลงจํานวนชุดของดีเอ็นเอบนยีน usp14 จํานวน 27 ราย (52%) ซ่ึงสวนใหญเปนการ

เปลี่ยนแปลงชนิด gene amplification จํานวน 25 ราย (48%) อยางไรก็ตาม ไมพบความสัมพันธกับ

ปจจัยทางคลีนิกและพยาธิสภาพของผูปวยโรคมะเร็งทอน้ําดี และอัตราการรอดชีวิตของผูปวย

(survival) เม่ือศกึษาการเปลี่ยนเปลงลําดับนวิคลโีอไทดของยีนแบบ Single Nucleotide Polymorphisms

(SNPs) บนยนี usp14 ดวยเทคนคิ PCR-SSCP จํานวน 6 บริเวณ พบวาบริเวณ rs3833195 (JSNP ID:

IMS-JST096385) มีโพลิมอฟสมแบบนิวคลีโอไทดหายไปสี่เบส [AGAG/-] ของผูปวย 12 ราย (23%)

อยางไรก็ตามไมพบความสัมพันธระหวางจโีนไทปลักษณะดังกลาวกับปจจัยทางคลนีกิและพยาธิสภาพ

ของผูปวยโรคมะเร็งทอน้ําด ีและอัตราการรอดชีวติของผูปวยโรคมะเร็งทอน้ําดี

Page 28: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การศึกษาคุณลักษณะการใชประโยชนและการบําบัดนํา้ทิ้งอยางยั่งยนืใน

โรงงาน

อุตสาหกรรมตนแบบ กรณีศกึษาโรงงาน บสีไพพฟตติ้งอินดัสตร ีจํากัด

จังหวัดสมุทรสาคร

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวประวรดา โภชนจันทร และคณะ

หนวยงาน ศูนยสิ่งแวดลอม มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

……………………………………………………………………………………………………….………………………..

บทคัดยอ

การศกึษาครัง้นี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศกึษาวเิคราะหคุณสมบัตบิางประการทางกายภาพและทาง

เคมีของนํ้าเสียจากกระบวนการชุบโลหะและเปรียบเทียบกับคามาตรฐาน และศึกษาแนวทางการ

จัดการนํา้เสยีที่เหมาะสมจากกระบวนการชุบโลหะของโรงงานผลิตขอตอเหล็กตนแบบ ผลการศึกษา

พบวา คุณลักษณะนํา้เสยีทางกายภาพโดยใชดัชนปีรมิาณของแข็งละลายนํา้ทัง้หมด (TDS) และ

คุณลักษณะนํ้าเสียทางเคมีโดยใชดัชนีคาความเปนกรดดาง (pH), คานํ้ามัน และไขมัน (O&G), คา

ไซยาไนด (Cyanide) และคาโลหะหนัก ไดแก เหล็ก (Fe),โครเมียม (Cr), ตะกั่ว (Pb), สังกะสี (Zn),

แมงกานสี (Mn) และแคดเมียม (Cd) เกนิคามาตรฐาน ตามประกาศ กระทรวงวทิยาศาสตร เทคโนโลยี

และสิ่งแวดลอม ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2539) ลงวันที่ 3 มกราคม 2539 เรื่องกําหนดมาตรฐานควบคุมการ

ระบายนํ้าทิ้ง จากแหลงกําเนิดประเภทโรงงานอุตสาหกรรม และนิคมอุตสาหกรรมจาก

กระบวนการชุบโลหะแบบจุมรอน (Galvanizing process) ไดแก การกําจัดคราบไขมันดวยโซดาไฟ การ

กําจัดคราบสนมิและการกระตุนผิวช้ินงานโดยการจุมในบอกรดไฮโดรคลอรกิ การจุมฟลักซเพื่อกระตุน

ผิวใหเกดิปฏิกริยิาระหวางเหล็กและสังกะสีโดยใชแอมโมเนียมคลอไรดกับซิงคคลอไรดผสมกัน และ

การชุบสังกะสใีนบอสังกะสหีลอมเหลว ซ่ึงจะมีผลกระทบตอคุณภาพนํา้ในแหลงนํา้ตามธรรมชาตอิยาง

มาก ดังนั้นจึงควรจัดการนํ้าเสียที่เหมาะสม จากกระบวนการชุบโลหะของบริษัทบีสไพพ ฟตติ้ง

อินดัสทรจีํากัด โดยการปรับปรุงกระบวนการชุบโลหะเพื่อเพ่ิมประสทิธภิาพของการผลติและลดมลพิษ

จากกระบวนการผลติ ทัง้การตรวจสอบความสะอาดช้ินงานในข้ันตอนการขจัดไขมันและการขจัดสนิม

เหล็ก และการกําหนดมาตรฐานระยะเวลาในการจุมและทําการยกช้ินในการจุมช้ินงานลงในบอสังกะสี

หลอมเหลว และเลอืกวธิกีาร บําบัดโลหะหนักที่ปนเปอนมากับนํา้เสยีจากกระบวนการชุบโลหะเพื่อแยก

โลหะหนักออกจากนํา้เสยีใหสามารถนํากลับมาใชไดใหมไดแก วธิกีารบําบัดดวยโบโรไฮไดรดรดีักชัน

Page 29: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การจัดการปญหาฝุนละอองอยางยั่งยืนในโรงงานอุตสาหกรรมตนแบบ

กรณศีกึษา โรงงานบสิไพพฟตติ้งอินดัสตร ี จังหวัดสมุทรสาคร

ผูดําเนนิการวจัิย ดร.สริวัลภ เรอืงชวย ตูประกาย

ผศ.ดร.เสรยี ตูประกาย

หนวยงาน หลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและอุตสาหกรรม

คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปริมาณฝุนรวมและฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน (PM10)

ที่เกิดข้ึนในสถานประกอบการผลิตขอตอทอเหล็กในโรงงานบิสไพพฟตติ้ง อินดิสตรีจํากัด จังหวัด

สมุทรสาคร และเปรียบเทียบกับคามาตรฐานตามมาตรฐานฝุนละอองในสถานประกอบการตาม

ประกาศกระทรวงมหาดไทย ออกตามประกาศตามคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 103 เรื่องความปลอดภัยในที่

ทํางานเกี่ยวกับสภาวะสิ่งแวดลอม ที่กําหนดใหมีฝุนรวมและฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน ไมเกิน 15

และ 5 มิลลิกรัม/ลูกบาศกเมตร ตามลําดับ การเก็บตัวอยางฝุนละอองใชเครื่องเก็บตัวอยาง

อากาศชนดิตดิตัวบุคคล (Personal Pump) สําหรับฝุนรวม และตดิตัง้พรอมชุดไซโคลนสําหรับฝุนขนาด

เล็กกวา 10 ไมครอน ที่ระดับความสูง 1.5 เมตร ครอบคลุมทั่วโรงงาน 12 แผน รวม 71 จุด สําหรับฝุน

รวม และ 33 จุด สําหรับฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนจากการศกึษาพบวา คาความเขมขนของฝุนรวม

และฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน มีคาอยูในชวง 0.33-23.58 และ 0.00-6.13 มิลลิกรัมตอลูกบาศก

เมตร ตามลําดับ คาเฉลี่ยของฝุนรวมและฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน เทากับ 14.60 และ 2.53

มิลลกิรัม/ลูกบาศกเมตร ตามลําดับ จํานวนจุดตรวจฝุนรวมและฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอนที่มีคา

เกนิมาตรฐานคิดเปนรอยละ 76 และ 6 ของจุดตรวจวัดทั้งหมดตามลําดับ จากการตรวจวัด และทํา

Contour Line พบวา บรเิวณแผนกเคาะเลอืกและโมทรายเปนแหลงกําเนดิฝุนรวมและฝุนขนาดเล็กกวา

10 ไมครอน สวนบรเิวณแผนกเจยีรนัยเปนแหลงกําเนดิฝุนขนาดเล็กกวา 10 ไมครอน

Page 30: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การพัฒนาสูตรปุยสําหรับเรงผล เรงใบ และเรงดอก และทดสอบการยอย

สลายเสร็จ สมบูรณของกากตะกอนจากระบบบําบัดน้ําเสยี

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวสมินัส ตรเีดชและคณะ

หนวยงาน ศูนยสิ่งแวดลอม คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ี

มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาสูตรปุยหมักจากตะกอนระบบบําบัดน้ําเสียที่มี

ประสทิธภิาพที่สามารถเรงผล เรงใบ และเรงดอก โดยจะทําการทดสอบเพื่อประเมินหาสูตรปุยหมัก

จากตะกอนที่มีความเหมาะสมผานการทดสอบการยอยสลายเสร็จสมบูรณและการทดสอบการ

เจรญิเตบิโตของพชื โดยสูตรปุยหมักที่ทําการศึกษาในที่นี้มี 3 สูตรไดแกปุยหมักกากตะกอนผสมกก

ปุยหมักกากตะกอนผสมธูปฤาษี และปุยหมักกากตะกอนผสมผักตบชวา ซ่ึงทุกสูตรมีคาอัตราสวน

คารบอนตอไนโตรเจนกอนหมักเริ่มตนที่ 25 เปอรเซ็นต โดยในสวนแรกของการศึกษาที่เปนเรื่องการ

ทดสอบการยอยสลายเสร็จสมบูรณของปุยหมักกากตะกอนทัง้ 3 สูตร พบวา ผลการทดสอบใหคาดัชนี

การงอกมากกวา 80 เปอรเซ็นต แสดงใหเห็นวาปุยหมักจากกากตะกอนดังกลาวไมมีสิ่งที่เปนพิษเจือ

ปนหากนําไปใชงาน และในการศึกษาการเจริญเติบโตของพืชเม่ือใชปุยหมักในแตละสูตร จะทําการ

ทดสอบที่อัตราสวนดินตอปุยจํานวน 3 อัตราสวน ไดแก 1.0:0.5, 1.0:1.0, 1.0:1.5 โดยใชพืชตัวแทน

จํานวน 4 ชนดิ ไดแก ผักบุงจีนตัวแทนพืชใบ มะเขือเทศตัวแทนพืชผล ดาวเรืองตัวแทนพืชดอก และ

หญานวลนอยตัวแทนพชืประดับ ทําการเก็บขอมูลการเจรญิเติบโตของพืชในดานตางๆ เชน ความสูง

จํานวนใบ ความกวางของทรงพุมที่เพ่ิมข้ึน จํานวนดอก การแตกกิ่งหรือยอด และน้ําหนักหลังการเก็บ

เกี่ยวผลผลิต เปนตน จากนั้นจะทําการจัดระดับคะแนนใหกับขอมูลการเจริญเติบโตของพืชในแตละ

สวนออกเปน 5 ระดับ โดยกําหนดใหระดับที่ 5 มีคาคะแนนสูงสุด ซ่ึงผลจากการจัดระดับคะแนนแยก

ตามชนดิของพชื จะพบวาปุยหมักที่มีประสิทธิภาพในการปลูกพืชใบมากที่สุดคือ ปุยหมักกากตะกอน

ผสมธูปฤาษใีนอัตราสวน ดนิตอปุย 1.0:1.5 มีคาคะแนนเฉลี่ย 4.57 คะแนน ปุยหมักที่มีประสทิธภิาพใน

การปลูกพชืผลมากที่สุดคือ ปุยหมักกากตะกอนผสมผักตบในอัตราสวนดินตอปุย 1.0:1.5 มีคาเฉลี่ย

คะแนน 4.88 คะแนน ปุยหมักที่มีประสทิธภิาพในการปลูกพชืดอกมากที่สุดคอืปุยหมักกากตะกอนผสม

กก ในอัตราสวนดนิตอปุย 1.0:1.5 มีคาคะแนนเฉลี่ย 4.91 คะแนน และปุยหมักที่มีประสทิธภิาพในการ

ปลูกพชืประดับมากที่สุดคอืปุยหมักกากตะกอนผสมธูปฤาษใีนอัตราสวนดนิตอปุย 1.0:1.5 มีคาคะแนน

4.33 คะแนน โดยปุยหมักในทุกสูตรที่กลาวมามีผลการประเมินอยูในระดับดมีาก นอกจากนี้เม่ือทําการ

Page 31: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

ประเมินภาพรวมจะพบวา ปุยหมักที่มีประสทิธภิาพมากที่สุดสามารถนําไปใชในการปลูกพชืทุกกลุมไดดี

ไดแก สูตรที่ใชปุยหมักกากตะกอนผสมกกในอัตราสวนดนิตอปุยที่ 1.0:1.5 มีผลการประเมินอยูในระดับ

ด ีมีคาเฉลี่ย 4.13 คะแนน

Page 32: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การปรับปรุงปรมิาณโพแทสเซียม และสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรเพื่อ

ผลติปุยสูตรเรงผล

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวประวรดา โภชนจันทร และคณะ

หนวยงาน ศูนยสิ่งแวดลอม มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตรในการเพ่ิมปริมาณ

โพแทสเซียมในกากตะกอนใหมีความเหมาะสมในการใชปุยสําหรับพชืผล

ผลการศึกษาพบวา คา C/N ratio และปริมาณ โพแทสเซียมทั้งหมดมีความสําคัญอยางมี

นัยสําคัญของวัสดุที่ใชในการหมักทําปุย คือ กก ผักตบชวา และธูปฤาษีโดยเฉพาะผักตบชวา

มีความถูกตองของสมการ (คา C/N ratio (%) = 2.703 K + 11.307) มากที่สุดคือ 41.50 % โดยใช

อัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจนเริ่มตนเทากับ 25 ตองใชอัตราสวนกากตะกอนตอผักตบชวาคือ

0.25:1.45 กิโลกรัม และสอดคลองกับงานวิจัยของ (สิมนัส ตรีเดชม, 2552) ที่ใชมะเขือเทศทดสอบ

ยอยสลายเสร็จสมบูรณของปุยสูตรเรงผลตามสูตรขางตน รวมถงึน้ําหนักหลังการเก็บเกี่ยวพบวา มีผล

การประเมินอยูในระดับดีมาก (คาคะแนนที่ไดเทากับ 4.88 เม่ือระดับที่ 5 = 4.21-5.00 คะแนน

แสดงวา ปุยหมักดังกลาวมีประสทิธภิาพในระดับดมีาก) และเม่ือเปรยีบปรมิาณโพแทสเซียมทัง้หมดกับ

มาตรฐานปุยมาตรฐานของกรมวชิาการเกษตร ป 2548 (ไมนอยกวา 0.5% โดยน้ําหนัก) พบวา วัสดุที่

ใชในการศกึษา คอื กากตะกอนและผักตบชวา อัตราสวน 0.25:1.45 กิโลกรัม มีปริมาณโพแทสเซียม

ทั้งหมดอยูในเกณฑมาตรฐานปุยอินทรียของกรมวิชาการเกษตร ป 2548 และเม่ือเปรียบเทียบกับ

มาตรฐานปุยหมัก (เมธี มณีวรรณ, 2542) ป 2542 (>0.5 ดีมาก) อยูในชวงดีมาก โดยธูปฤาษีมีคา

โพแทสเซียมทัง้หมดสูงที่สุด

Page 33: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การศกึษาแนวทางการแกไขและฟนฟูปญหาน้ําเสียและมูลฝอยบริเวณคลอง

วัดนอยและคลองวัดโพธนิมิิตร 5 ในเขตธนบุร ี

ผูดําเนนิการวจัิย รองศาสตราจารยนยิดา สวัสดพิงษ

นางสาวประวรดา โภชนจันทร

นางสาวพรธดิา เทพประสทิธิ์

นายรุงเกยีรต ิ ยิ่งเจรญิรุงโรจน

นางสาวพรรณทพิา กจิภักดกีุล

นางสาวเพียงกมล ยุวนานท

นายอนริุทธิ์ ศรเีลขา

นางสาวสุภาณ ี คูคูเมือง

นางสาวนงนุช ผองศรี

หนวยงาน ศูนยสิ่งแวดลอม คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏสวน

ดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การศกึษาครัง้นี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาคุณภาพน้ําและแนวทางการจัดการคุณภาพน้ํา และ

ศกึษาคุณลักษณะของมูลฝอยและแนวทางการจัดการมูลฝอย สําหรับชุมชน ของบริเวณวัดนอยและ

วัดโพธนิมิิต 5 ในเขตธนบุรี

ผลจากการศึกษา พบวา คุณภาพน้ําในเขตพื้นที่คลองวัดนอยและคลองวัดโพธินิมิต 5 เขต

ธนบุรี มีคุณภาพต่ําเม่ือเทียบกับคามาตรฐานที่กําหนด ทั้งของแข็งแขวนลอยในน้ําและของแข็ง

ละลายน้ํา คาน้ํามันและไขมัน คาบีโอดี คาซัลไฟด คาทีเคเอ็น และคาฟอสฟอรัสทั้งหมด เนื่องจาก

ชุมชนทัง้ 2 แหง ไมมีระบบบําบัดน้ําเสยี จงึปลอยระบายน้ําเสยีจากครัวเรอืนลงสูคลองธรรมชาติทั้ง 2

แหงโดยตรง รวมถงึสภาพของคลองทั้งสองแหงที่มีการทิ้งขยะมูลฝอยสูคลองเปนจํานวนมากในสวน

ของคุณภาพมูลฝอยในเขตพื้นที่ศึกษาทั้ง 2 แหง คือ พื้นที่คลองวัดนอยและคลองวัดโพธินิมิต 5 มี

ปรมิาณมูลฝอยเปนจํานวนมาก มีองคประกอบสวนใหญเปนเศษผักผลไม กระดาษ พลาสติก และเศษ

ไม และจากการศกึษาความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดการน้ําเสยีและการจัดการมูลฝอย พบวา ประชาชน

ในเขตพื้นที่ศกึษาทัง้ 2 แหง คอื พื้นที่คลองวัดนอยและคลองวัดโพธนิมิิต 5 มีความคิดเห็นที่สอดคลอง

กับปญหาที่เกดิข้ึนคอื เกดิปญหาน้ําเนาเสยีแลวในชุมชน และเกดิผลกระทบตอประชาชน เชน พาหะนํา

โรค เชน ยุงและแมลงสาบ แมลงหวี่ เปนตน โดยมีสาเหตุมาจากการทิ้งขยะมูลฝอยในแหลงน้ํา รวมทัง้

ความคิดเห็นดานปญหามูลฝอยก็พบปญหาแลวเชนกัน โดยจะเกดิผลกระทบ คอื พาหะนําโรค เชน ยุง

Page 34: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

และแมลงสาบ แมลงหวี่ และทําใหแหลงน้ําสกปรกเนาเสีย ดังนั้น จึงควรมีการแกไขอยางเปนระบบ

โดยสามารถดําเนนิการทัง้การสรางความรูและสรางจติสํานกึในการใชน้ํา การเกดิน้ําเสยีและการบําบัด

น้ําเสีย กิจกรรมการติดตั้งถังดักไขมัน การทําน้ํา EM และการใชเพื่อบําบัดน้ําเสีย การสรางระบบ

บําบัดน้ําเสียโดยใชพืชน้ํา และการสรางความรูและจิตสํานึกในการเกิดมูลฝอย การคัดแยกมูลฝอย

และ การจัดการมูลฝอย รวมทั้งการจัดตั้งธนาคารขยะชุมชนผานตัวกลางคือ ผูนําชุมชน เพราะ

ประชาชนทัง้ 2 พื้นที่มีทัศนคตทิี่ดใีนการเห็นความสําคัญของการจัดการปญหาทั้งน้ําเสียและขยะมูล

ฝอย โดยมีความยนิดทีี่จะมีสวนรวมในการจัดการทัง้การบรจิาคเงนิและแรงงาน เปนตน

Page 35: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การปรับปรุงปรมิาณไนโตรเจนในกากตะกอนจากระบบบําบัดน้ําเสยีและสราง

แบบจําลองทางคณติศาสตร เพื่อผลติปุยสูตรเรงใบ

ผูดําเนนิการวจัิย ดร.สริวัลภ เรอืงชวย ตูประกาย

ผศ.ดร.เสรยี ตูประกาย

หนวยงาน หลักสูตรการจัดการสิ่งแวดลอมเมืองและอุตสาหรรม

มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………..………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

การศกึษาครัง้นี้ มีวัตถุประสงคเพื่อสราง และทดสอบแบบจําลองทางคณติศาสตรในการผลิต

ปุยสูตรเรงใบ และเผยแพรวธิกีารผลติปุยสูตรเรงใบใหแกชุมชน หรือหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่

เกี่ยวของ โดยใชโปรแกรม Minitab สรางแบบจําลองทางคณติศาสตร และทดสอบความคลาดเคลื่อน

ของแบบจําลองโดยการหาคาความแตกตางของปริมาณไนโตรเจนที่ไดจากการคํานวณของแบบจําลอง

โดยการหาคาความแตกตางของปริมาณไนโตรเจนที่ไดจากการคํานวณของแบบจําลอง และการ

วเิคราะหในปุยหลัก 4 สูตร โดยใชกากตะกอนหมักรวมกับมูลคางคาว มูลไก เปลือกสับปะรดและ

หญาขน จากการศกึษาพบวา แบบจําลองทางคณิตศาสตรในการผลิตปุยสูตรเรงใบ คือ y = 5.56 –

0.0294 x 2 – 0.212 x 3 – 2.04 – 0.241x5 โดยที่ y = ไนโตรเจนของปุยหมัก (%โดยน้ําหนักแหง)

X1 = ไนโตรเจนของกากตะกอน X2 = ไนโตรเจนของมูลคางคาว X3 = ไนโตรเจนของหญาขน X4

= ไนโตรเจนของเปลอืกสับปะรด X5 = ไนโตรเจนของมูลไก และจากการทดสอบความคลาดเคลื่อน

ของแบบจําลองทางคณติศาสตรพบวา มีคารอยละความคิดพลาดอยูในชวงรอยละ 1.11-3.34 สวน

การเผยแพรวิธีการเพ่ิมไนโตรเจนในกากตะกอนดําเนินการในเขตพื้นที่ตําบลบางตะไนย อําเภอปาก

เกร็ด จังหวัดนนทบุร ีโดยใชกลุมตัวอยางจํานวน 200 ครัวเรือน พบวาหลังจากเขารวมกิจกรรมกลุม

ตัวอยางทั้งเพศชายและหญิง สวนใหญมีความรูเพ่ิมมากข้ึนเกี่ยวกับปุยและกากตะกอนน้ําเสีย และ

ทัศนคตทิี่กลุมตัวอยางสวนใหญเห็นดวยที่สุดคือ การนํากากตะกอนมาใชประโยชนในการทําปุยหมัก

เปนการชวยลดขยะและชวยรักษาทรัพยากรดนิ คิดเปนรอยละ 54.5 และพบวากลุมตัวอยางสวนใหญ

พอใจตอการจัดกจิกรรมเผยแพรความรู

Page 36: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย ระบบสารสนเทศสําหรับโครงการวิจัยพื้นที่จังหวัดนนทบุร ี

ผูดําเนนิการวจัิย นายกันต ปานประยูร

หนวยงาน ศูนยสิ่งแวดลอม มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

……………………………………………………………………………………..…………………………………………

บทคัดยอ

งานวจิัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศสิ่งแวดลอมเพื่อตอบสนอง

ความตองการใชงานผานเครอืขายอินเตอรเน็ต โดยสถาปตยกรรมของระบบประกอบดวย 2 สวนคือ

สวนฐานขอมูล และสวนติดตอผูใชงาน ในสวนของฐานขอมูลออกแบบดวยโปรแกรมสําเร็จรูป MS

Access มีฐานขอมูลที่สามารถรองรับ ขอมูลสิ่งแวดลอมทางดานกายภาพ ไดแก คุณภาพอากาศ และ

คุณภาพน้ํา และทรัพยากรชีวภาพ ไดแก พรรณไม และโปรโตซัว ในสวนการติดตอผูใชพัฒนาข้ึนดวย

ภาษา ASP (Active Service Pages) ซ่ึงระบบถูกออกแบบใหผูใชงานสามารถเพ่ิม คนหา แกไข และลบ

ขอมูลไดผานทางเครอืขายอินเตอรเน็ต นอกจากนั้นระบบสามารถเช่ือมโยงฐานขอมูลสิ่งแวดลอมเขา

กับฐานขอมูลแผนที่ของ Maps.google.com โดยแสดงผลในรูปแบบรายงานขอมูลคุณลักษณะที่มีการ

อางอิงพิกัดภูมิศาสตรได

Page 37: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การปรับปรุงปรมิาณฟอสฟอรัสในกากตะกอนจากการบําบัดน้ําเสียและสราง

แบบจําลองทางคณติศาสตร เพื่อผลติปุยสูตรเรงดอก (ระยะที2่)

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวจริาภรณ ทองตัน

นางสาววันปต ิ อาจเดช

นายยุทธนา พิมพทองงาม

หนวยงาน ศูนยเครื่องมือปฏิบัติการวทิยาศาสตรและโปรแกรมวชิาวทิยาศาสตร

เครื่องสําอาง คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………………………………………………………………………………

บทคัดยอ

งานวิจัยนี้ไดทําการศึกษาวิธีการผลิตปุยหมักจากกากตะกอนน้ําเสียและวัสดุเหลือใชทาง

การเกษตรสําหรับปลูกไมตัดดอกในเชิงพานชิย จากการทดลองพบวาชานออยจะชวยเพ่ิมประสทิธภิาพ

การดูดซึมสารอาหารของพืชดอก มูลคางคาวจะชวยเพ่ิมการออกดอกของไมดอกอยางมีนัยสําคัญ

สําหรับปุยที่ใหประสทิธภิาพในการกระตุนการออกดอกของพชืไดดทีี่สุดคอื ปุยสูตรที่ประกอบไปดวย

กากตะกอน ผักตบชวาตนเล็ก ชานออย และมูลคางคาว ในสัดสวน 1:1:1:1 จากการวิเคราะห

องคประกอบและปจจัยในการหมักของสูตรปุยที่มีประสทิธภิาพมากที่สุดพบวา คาอัตราสวนคารบอน

ตอไนโตรเจนมีคาเฉลี่ยประมาณ 12.2:1 อินทรยีวัตถุมีคาเฉลี่ยเทากับรอยละ 49.41 ปรมิาณไนโตรเจน

เฉลี่ยมีคาอยูในชวงรอยละ 3.51-3.53 คา pH เฉลี่ยมีคาเทากับ 6.52 และคาความช้ืนเฉลี่ยมีคาเทากับ

รอยละ 32.30 การสรางแบบจําลองทางคณติศาสตรเพื่อวิเคราะหการถดถอยโดยการหาสหสัมพันธ

ระหวางปรมิาณปุยหมักและปรมิาณฟอสฟอรัส พบวาปริมาณทั้งสองมีความสัมพันธกันแบบถดถอย

เชิงเสนดังสมการ y(x) = 0.06+0.067xi สําหรับผลการทดสอบความถูกตองของแบบจําลองทาง

คณติศาสตรพบวา การทดสอบมีความถูกตองใกลเคียงกับคาจรงิโดยพบวามีคาความผิดพลาดนอยสุด

เทากับรอยละ 0.15 และคาความผิดพลาดมากที่สุดเทากับรอยละ 6.56

Page 38: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การบําบัดน้ําเสียที่มีน้ํามัน cutting oil ผสม โดยใชระบบบําบัดแบบไมใช

ออกซิเจนอยางยั่งยนืในโรงงานอุตสาหกรรมตนแบบ กรณีศึกษาโรงงาน บีส

ไพพอินดัสตร ีจํากัด จังหวัดสมุทรสาคร

ผูดําเนนิการวจัิย นางสาวอมรรัตน สสีุกอง

นางสาวกัลยาภรณ จันตรี

นายมณชัย เดชสังกรานนท

หนวยงาน โปรแกรมวชิาชีววทิยาประยุกต คณะวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ี

มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

…………………………………………………………..……………………………………………………………………

บทคัดยอ

งานวจิัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ ศกึษาการบําบัดน้ําเสียที่มีน้ํามันหลอเย็นผสม โดยกระบวนการ

ทําใหเปนฟองลอย สารลดแรงตงึผิวที่ใชในการศกึษา คอื สารลดแรงตงึผิวชนิดไมมีประจุ (โพลีออกซี

เอททลิลนีซอบเิทนโมโนโอลเีอต, ทวนี 80) สารลดแรงตงึผิวชนดิประจุบอก (เฮกซะโดเดคซิลไตรเมททิ

ลแอมโมเนยีมโบรมายดมซีเทบ) สารลดแรงตงึผิวชนดิประจุลบ (โซเดยีมโดเดคซิลซัลเฟต) และสารลด

แรงตงึผิวผสมระหวาง ซีเทบ กับ ทวนี 80 ที่อัตราสวน (2:8) (5:5) และ (8:2) ซ่ึงใชสําหรับทําใหฟอง

มีเสถยีรภาพมากข้ึน มีการศกึษาผลของสารลดแรงตึงผิวความเขมขนและชนิดของอิเล็กโตรไลตตอ

ประสิทธิภาพการกําจัดน้ํามันหลอเย็น โดยในการศึกษาไดวิเคราะหคาซีตาโพเทนเชียล และคาการ

ดูดกลนืแสง เพื่อใชอธบิายผลการทดลอง จากการทดลองพบวา ประสทิธภิาพในการกําจัดน้ํามันหลอ

เย็นชนดิผสมน้ํา ข้ึนกับชนดิของสารลดแรงตงึผิว ชนดิ และปรมิาณของอิเล็กโตรไลต โดยเม่ือใช ทวีน

80 1 ซีเอ็มซี ความเขนขนของอะลูมิเนียมซัลเฟต ที่เหมาะสมคือ 160 มิลลิกรัมตอลิตร เม่ือใช ซีเทบ

0.25 ซีเอ็มซี ความเขมขนของอะลูมิเนยีมซัลเฟตที่เหมาะสมคอื 480 มิลลกิรัมตอลติร เม่ือใช เอสดี

เอส 0.25 ซีเอ็มซี ความเขมขนของอะลูมิเนียมซัลเฟตที่เหมาะสมคือ 280 มิลลิกรัมตอลิตร เม่ือใช

สารลดแรงตึงผิวผสมระหวาง ซีเทบ กับ ทวีน 80 ที่อัตราสวน (2:8) 1 ซีเอ็มซี ความเขมขนของ

อะลูมิเนยีมซัลเฟตที่เหมาะสมคอื 160 มิลลกิรัมตอลติร เม่ือใชสารลดแรงตึงผิวผสมระหวาง ซีเทบกับ

ทวนี 80 ที่อัตราสวน (5:5) 1 ซีเอ็มซี ความเขมขนของอะลูมิเนียมซัลเฟตที่เหมาะสมคือ 160

มิลลกิรัมตอลติร เม่ือใชสารลดแรงตงึผิวผสมระหวาง ซีเทบ กับ ทวีน 80 ที่อัตราสวน (8:2) 1 ซีเอ็มซี

กรณีนี้พบวาไมตองเติมอะลูมิเนียมซัลเฟต ประจุบวกจากอะลูมิเนียมไอออนมีผลในการทําลาย

เสถยีรภาพของน้ํามันอิมัลชันที่มีความเสถียร ผลจากการทดลองจะเห็นวาสามารถกําจัดน้ํามันหลอ

เย็นชนดิผสมน้ําที่มีเสถยีรภาพออกจากอิมัลชันของน้ําเสยีไดมากกวา 99 เปอรเซนต

Page 39: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การศกึษาปญหาและความตองการของอาจารยผูสอนนักศกึษาพิการเรียนรวม

ในมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ผูดําเนนิการวจัิย ผูชวยศาสตราจารยจรรยา ช่ืนเกษม

หนวยงาน หลักสูตรการศกึษาพิเศษ คณะครุศาสตร มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………..………………………………………………………………

บทคัดยอ

การศกึษาและความตองการของอาจารยผูสอนนักศกึษาพิการเรยีนรวมในมหาวทิยาลัยราชภัฏ

สวนดุสติ มีวัตถุประสงคเพื่อศกึษาปญหาและความตองการของอาจารยผูสอนนักศกึษาพิการเรยีนรวม

ในมหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ อาจารยผูสอนนักศึกษาพิการ

เรียนรวมในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต จํานวน 60 คน แตไดรับแบบสอบถามฉบับสมบูรณคืน

จํานวนทัง้สิ้น 33 ฉบับ คิดเปนรอยละ 55.0 เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามปญหา

และความตองการของอาจารยผูสอนนักศึกษาพิการเรียนรวมในมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และ

วเิคราะหขอมูลโดยใชสถติบิรรยาย คอื คํานวณคารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวจิัยพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชาย คิดเปนรอยละ 51.5 อายุระหวาง

30 – 40 ป คิดเปนรอยละ 45.5 มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาโท คิดเปนรอยละ 97.0 สวนใหญเปน

ขาราชการ คิดเปนรอยละ 69.7 และสวนใหญมีประสบการณในการสอนนักศึกษาพิการเรียนรวม 5 –

10 ป คิดเปนรอยละ 39.4 สําหรับปญหาของอาจารยผูสอนนักศึกษาพิการเรียนรวมในดานทักษะการ

สอน ดานเทคนิคการสอนดานความรูเชิงวิชาการทางการศึกษาพิเศษ ดานความรูทางดานการสอน

นักศกึษาพิการเรยีนรวม และดานสื่อวัสดุอุปกรณที่ใชในการสอน เปนปญหาที่อยูในระดับปานกลาง

ยกเวนในเรื่องการจัดสภาพแวดลอมในหองเรียนที่เหมาะสมสําหรับนักศึกษาพิการเรียนรวมที่เปน

ปญหาในระดับนอย สําหรับความตองการของอาจารยผูสอนนักศกึษาพิการเรยีนรวมในดานทักษะการ

สอนดานเทคนิคการสอน ดานความรูเชิงวิชาการทางการศึกษาพิเศษ ดานความรูทางดานการสอน

นักศกึษาพิการเรยีนรวมและดานสื่อวัสดุอุปกรณที่ใชในการสอนอยูในระดับมาก

Page 40: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

หัวขอวจัิย การศึกษารูปแบบและแนวทางปฏิบัติที่ดีของชุมชนตนแบบเพื่อการพัฒนาที่

ยั่งยนืตามปรัชญาเศรษฐกจิพอเพียง

ผูดําเนนิการวจัิย นายสมศักดิ์ เจรญิพูล

นางสาวโลมดาว ภุชงคกุล

หนวยงาน หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวทิยาลัยราชภัฏสวนดุสติ

ปการศกึษา 2552

………………………………………………………………………………………………………………………………….

บทคัดยอ

การศกึษารูปแบบและแนวทางปฏิบัตทิี่ดขีองชุมชนตนแบบเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตามปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง เปนการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อศึกษารูปแบบและแนว

ทางการปฏิบัตทิี่ดขีองชุมชนตนแบบตามปรัชญาเศรษฐกจิพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน และ 2) เพื่อ

ศกึษากระบวนการในการนําปรัชญาเศรษฐกจิพอเพียงไปใชในชุมชนตนแบบ โดยกลุมตัวอยางทําการ

สุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เก็บรวบรวมขอมูลจากการการสัมภาษณเจาะลึก (In-depth

Interviewing) ผูนําชุมชนและประชาชนในชุมชนตนแบบตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ชุมชนละ 5 คน

จํานวน 12 ชุมชนรวม 60 คน

จากการศกึษาพบวา รูปแบบของชุมชนตนแบบประกอบดวยบรบิทของชุมชนไดแก 1) ลักษณะ

ชุมชนเปนชุมชนเปนชุมชนเกษตรกรรม 2) ชุมชนมีการรวมกลุมเพื่อชวยเหลือกันตามวัตถุประสงคที่

หลากหลาย 3) ชุมชนมีวัฒนธรรมในรูปแบบของการใหชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และ 4) ชุมชนมีการ

จัดทําระบบขอมูลอยางงายสามารถใชประโยชนไดจริงในการดําเนินชีวิต ปจจัยนําเขา ไดแก 1) ผูนํา

ชุมชน 2) การมีแผนหรอืกจิกรรมที่มาจากการคิดรวมกันของชุมชนเพื่อพัฒนาหรอืแกไขปญหา

ที่เกิดข้ึน 3) การมีเครือขายและความสัมพันธที่ดีระหวางกลุมตางๆทั้งภายในและภายนอก

ชุมชน 4) การใหความ รวมมือที่ดขีองคนในชุมชน 5) การสนับสนุนการเรียนรูของคนในชุมชนทั้งในด

านการดําเนนิชีวติการประกอบอาชีพและภูมิปญญาทองถิ่น และ 6) วัฒนธรรมกาใหเสยีสละชวยเหลือ

ซ่ึงกันและกัน เพื่อใหเกิดการพ่ึงพาตนเองได กระบวนการจัดการภายในชุมชนที่ชวยสงเสริมใหการ

พัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประสบผลสําเร็จไดแก 1) การมีแผนกิจกรรม และดําเนินตาม

ข้ันตอนที่วางไวอยางโปรงใส 2) การสง เสรมิและชักชวนใหประชาชนในชุมชนรวมกันมีสวนรวม

ในกจิกรรมทุกข้ันตอน 3) การสรางความรวมมือระหวางกลุมใหมีความหลากหลายและเขมแข็งชวย

เหลอืกันไดจรงิ 4) การจัดกจิกรรมใหทั่วถึงกับคนทุกกลุม ทุกวัย ทุกอาชีพ 5) การจัดกจิกรรมมีการแจ

งข้ันตอนที่ชัดเจนและสรุปเปนความรู เพื่อใหประชาชนที่สนใจศึกษาได 6) การใชทรัพยากรอยาง

ประหยัดและคุมคา เพียงพอเทาที่จําเปน เพื่อใหคนอ่ืนไดมีโอกาสไดใช และ 7) การประเมินกิจกรรม

Page 41: หัวข อวจัย การสรางบทเรียนสําเร็จรูปสําหรับสงเสรมการเรยนรู ...research.dusit.ac.th/menu/abstra/abstract/52.pdfหัวข

เม่ือเสร็จสิ้น ทําดวยความโปรงใส ใหประชาชนไดรับทราบ และเขามามีสวนรวมในการประเมินดวย

ผลผลิตหรือผลตอบแทนของชุมชน ไดแก 1) ผลผลิตทางการเกษตร และผลิตภัณฑแปรรูปทางการ

เกษตร 2) เขาใจในหลักปรัชญาเศรษฐกจิพอเพียงมากข้ึน 3) ความรูในการดําเนินชีวิตอยางมีความสุข

พ่ึงพาตนเองได และ 4) คุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน และชุมชนตนแบบมีการปฏิบัติตามหลักของปรัชญา

เศรษฐกจิพอเพียงอยางถูกตอง กลาวคอื

ความพอประมาณ พบวาชุมชนตนแบบก็มีการผลิตไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม

เบยีดเบยีนตนเองและผูอ่ืนกลาวคือปลูกเพื่อใชกินเปนหลักเหลือถึงจะแบงกันหรือนําไปขายแตก็ยังมี

บางกลุมและคอนขางมากที่ปลูกพชืไร พชืสวน หรอืทํานาเปนหลัก และมีการปลูกพืชชนิดอ่ืนแซมตาม

รองสวนหรอืคันนา แตทัง้นี้การลงทุนก็เปนไปอยางระมัดระวังทําเทาที่ตนมี มีมากก็ทํามากมีนอยก็ทํา

นอย

ความมีเหตุผลชุมชนตนแบบนัน้มักมีผูนําชุมชนที่มีความมุงม่ันในการพัฒนาโดยเริ่มตั้งแตการ

พัฒนาตนเอง กอนโดยมองวาเม่ือตนเองทําใหทุกคนเห็นถึงผลสําเร็จของการทําเศรษฐกิจพอเพียง

แลวคนในชุมชนก็จะเห็นความสําคัญ ชุมชนตนแบบใหความสําคัญอยางยิ่งสําหรับการทรัพยากรของ

ชุมชนทัง้น้ําและปาไม อันถอืวา เปนจุดเริ่มตนของชีวติ รวมถงึการทําประชาคมซ่ึงเปนการใชเหตุผลของ

คนในชุมชนในการแกปญหาตามระบอบประชาธปิไตย

การมีภูมิคุมกันที่ดใีนตัวนัน้ คนในชุมชนตนแบบมีการเตรยีมความพรอมสําหรับเหตุการณที่ไม

คาดคิด เชน เม่ือราคาสนิคาเกษตรบางชนดิตกต่ํา พวกเขาก็ยังมีผลผลติชนดิอ่ืนที่ยังพอมีราคา พอที่จะ

ดําเนนิชีวติอยูไดอันเปนวถิขีองการเกษตรแบบผสมผสานซ่ึงพบเห็นไดในทุกชุมชนอันเปนการจัดการกับ

ความ เสี่ยงอยางด ีและยังมีการรวมกลุมแปรรูปผลิตภัณฑทางการเกษตรในชุมชนทั้งเก็บไวกินเอง

และจําหนายเปนการเพ่ิมรายไดอีกทาง รวมทั้งวัฒนธรรมของสังคมไทยโดยเฉพาะในชุมชนตนแบบ

เปนวัฒนธรรมของการใหการชวยเหลอืเกื้อกูลกัน

เงื่อนไขดานความรู พบวาคนในชุมชนใหความสนใจในความรู สองลักษณะคือความรู ทาง

วชิาการเพื่อการพัฒนาชุมชนและความรูเพื่อการประกอบอาชีพเพ่ิมรายได

เงื่อนไขดานคุณธรรมนั้นมุงเนนที่การมีสติในการดําเนินงานของตนเองและชุมชนการทํา

กิจกรรม เปนไปอยางมีเหตุผล โปรงใส ตรวจสอบได มีวัฒนธรรมการใหการเสียสละ มีความเอ้ือ

อาทร ตอกัน คํานงึถงึประโยชนสวนรวมเปนหลัก

โดยสรุปอาจกลาวไดวาชุมชนตนแบบนัน้ มีการปฏิบัตติามหลักปรัชญาเศรษฐกิจที่ครบถวนทั้ง

ดาน ความพอประมาณ รูจักประมาณตน ครอบครัว และชุมชน ดานการมีเหตุผล มีสติ ในการคิด

วเิคราะห และ สรางภูมิคุมกันที่ดใีหแกตนเองและชุมชน โดยเนนที่การบรหิารจัดการความเสี่ยงอยาง

งายๆ ในการประกอบอาชีพ และมีเงื่อนไขทัง้ดานความรูทางวิชาการเพื่อการพัฒนาชุมชนและความรู

เพื่อการประกอบอาชีพอยางครบถวน รวมทัง้การมีคุณธรรมในการกํากับสติความรู และพฤติกรรมใน

การดําเนนิงานของตนเองและชุมชน เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยนื