ข...

14
I

Upload: others

Post on 17-Mar-2021

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

I

Page 2: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

II

ขอมูลทางบรรณานุกรม

Publication Data

หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL หัวขอ โอกาสและความทาทายการจัดการเรียนการสอนในชวงภาวะวิกฤต Covid-2019 และ New Normal

บรรณาธิการ

สิรินธร สินจินดาวงศ

จัดทําโดย ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม www.spu.ac.th/department/tlc

สิรินธร สินจินดาวงศ. (บรรณาธิการ).

หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL หัวขอ โอกาสและความทาทายการจัดการเรยีนการสอนในชวงภาวะวิกฤต Covid-2019 และ New Normal กรุงเทพฯ: ศูนยสนับสนุนและพัฒนาการเรยีนการสอน มหาวิทยาลยัศรีปทุม, 2563. 586 หนา.

ISBN (e-Book) 978-974-655-467-1

Page 3: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

III

หนังสือประมวลบทความในงานประชุมวิชาการ

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

เรื่อง

โอกาสและความทาทายการจัดการเรียนการสอน

ในชวงภาวะวิกฤต Covid-2019 และ New Normal

วันท่ี 31 กรกฎาคม 2563

ณ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน

กรุงเทพมหานคร

จัดทําโดย

ศูนยสนับสนุนและพฒันาการเรยีนการสอน

มหาวิทยาลยัศรีปทุม

Page 4: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

IX

สารบัญ หนา

การสอนออนไลนแบบ Creativity-Based Learning Model CBL ในภาวะวิกฤตโควิด-19

: จิตรลดา วิวัฒนเจริญวงศ, รองเอก วรรณพฤกษ, พรรณทิพย อยางกล่ัน 1

โอกาสและความทาทายของการนําเขาสินคาจากประเทศจีนเพ่ือการคาออนไลน

: เรวดี สุขสราญรมย 16

คุณภาพของการจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลนของสาขาทองเท่ียว คณะวัฒนธรรมสิ่งแวดลอม

และการทองเท่ียวเชิงนิเวศ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

: คมสิทธิ์ เกียนวัฒนา, กฤติกา สายณะรัตรชัย, ศรัญญา ศรีทอง, อุษณีย วัชรไพศาลกุล 37

การพัฒนาบทเรียนออนไลนใหกาวไกลในยุคฐานวิถีชีวิตใหม (New Normal)

: ปรัชญาเมธี เทียนทอง 47

การพัฒนาการเรียนการสอนคณิตศาสตร ในยุคแหงเทคโนโลยีดวยรูปแบบ DITTECE

: รักเกียรติ ศรีสุนทร 57

จัดการเรียนการสอนอยางไรในภาวะวิกฤต: กรณีการแพรระบาดของเชื้อโควิด-19

: จิราพร ลุนพรหม 65

เทคนิคการปรับบุคลิกภาพอาจารย และเทคนิคการเตรียมการสอนแบบการเรียนรูโดยยังไมไดรับ

รางวัล (Latent Learning) สาํหรับการสอนออนไลน

: พรรณภา สงแสงแกว 75

นิเทศศาสตรกับการแสวงหาแนวทางการพัฒนาการเรียนรูในสภาวการณ COVID-19

: ตรัยรัตน ปล้ืมปติชัยกุล 82

การเสริมสรางนวัตกรรมการเรียนรูในการเรียนดานนิติศาสตรผานสื่อออนไลนยุคโควิด-19

: นพพรศิริ เหลืองาม, อัตนัย สายรัตน 90

การเปรียบเทียบการใชแอปพลิเคชันตอบคําถามออนไลนเพ่ือการจัดการเรียนรูของนักศึกษา

ท่ีลงทะเบียนเรียนรายวิชาการจัดการโลจิสติกสและโซอุปทาน ภายใตสถานการณไวรัสโคโรนา 2019

: วีรวิชญ เลิศไทยตระกูล 95

ผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติเชิงบูรณาการระหวางวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2 กับ

วิชาการออกแบบสถาปตยกรรม 3 ในชวงสถานการณ COVID-19

: ธราดล เสารชัย 107

ความปกติใหมของการเรียนรูเชิงรุก

: ณัฐธยาน ตรีผลา 116

ped
Highlight
Page 5: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

107

ผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติเชิงบูรณาการระหวางวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2 กับ

วิชาการออกแบบสถาปตยกรรม 3 ในชวงสถานการณโควิท 19

THE EFFECTS OF THE INTEGRATION OF PRACTICE-BASED INSTRUCTION

BETWEEN BUILDING TECHNOLOGY II AND ARCHITECTURAL DESIGN STUDIO III

IN THE COVID-19 SITUATION

ธราดล เสารชัย0

1

บทคัดยอ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาผลการสอนแบบบูรณาการขามวิชาระหวางวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2

กับวิ ชาปฏิบั ติการออกแบบสถาปตยกรรม 3 ของนัก ศึกษาชั้ นป ท่ี 2 สาขาวิ ชาสถาปตยกรรม

คณะสถาปตยกรรมศาสตรมหาวิทยาลัยศรีปทุม ซ่ึงเปนการแกไขปญหาในการเรียนการสอน ระหวางการเกิด

สถานการณการแพรระบาดของโรค COVID-19 งานวิจัยชิ้นนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง โดยการปรับเปลี่ยน

เครื่องมือ รูปแบบการเรียนการสอน และใชวิธีบูรณาการระหวางวิชาเปนการแกปญหาการเรียนภาคปฎิบัติใน

สถานการณท่ีไมปกติ กลุมตัวอยางไดแก นักศึกษาชั้นปท่ี 2 จํานวน 30 คนซ่ึงทําการคัดเลือกโดยใชวิธีการสุม

ตัวอยางแบบเจาะจง เครื่องมือในการวิจัยไดแก แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน ผลการศึกษาพบวา

นักศึกษามีผลการเรียนดีข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 และการบูรณาการระหวางรายวิชาสามารถ

ใชทดแทนรูปแบบการเรียนในภาวะปกติได

คําสําคัญ: โควิด-19 การบูรณาการ การทดสอบกอนและหลังการเรียน สถาปตยกรรม เทคโนโลยีอาคาร

ABSTRACT

The purpose of this research was to study the effect of integrated teaching across

the course between the Building Technology II and the Architectural Design Studio III courses.

These two courses are for second - year students in the Department of Architecture, School

of Architecture, Sripatum University which was a solution to teaching and learning problems

during the COVID- 19 pandemic. This research was an experimental research by changing the

tools, teaching methods and using Integration of practice - based Instruction to solved practical

problems in abnormal situations. Sample groups include the 30 second year students selected

1 ผูชวยศาสตราจารยธราดล เสารชัย

อาจารยประจํา คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

Page 6: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

108

by purposive sampling method. Research tools were the one group pretest - posttest design

methods. The study found that Students had significantly improved academic performance at

the level of 0. 05, and integration between courses can be used to replace normal learning

methods.

KEYWORDS: COVID-19, Integrated teaching, Pretest Posttest methods, Architecture, Building

Technology

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

จากปญหาการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ในประเทศไทย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม (2563) ไดมีคําสั่งปดอาคารสถานท่ีชั่วคราว และใหปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน

จากวิธีการปกติเปนระบบการเรียนการสอนออนไลน ซ่ึงไดสงผลกระทบตอการเรียนการสอนในรายวิชา ARC

246 เทคโนโลยีอาคาร 2 ของนักศึกษาชั้นปท่ี 2 สาขาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย

ศรีปทุม ซ่ึงผูวิจัยเปนผูสอน

ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนไดแกปญหาสภาพแวดลอมทางการศึกษาของท้ังนักศึกษาและตัวผูสอนเองได

เปลี่ยนไปดวยความไมพรอมจากวัสดุ อุปกรณ หองปฏิบัติการ เวลา และปญหาสวนตัวอ่ืนๆ ไมสามารถ

ดําเนินการเรียนการสอนในสวนของงานภาคปฏิบัติไดตามปกติ ซ่ึงมีเนื้อหาท่ีตองสอนในลําดับสุดทายของวิชา

คือหัวขอเรื่อง องคประกอบโครงสรางอาคาร โดยมีกิจกรรมการเรียนการสอนเปนการปฏิบัติงานจัดทํา

หุนจําลองระบบโครงสรางอาคาร ท้ังนี้ เ ม่ือพิจารณาเนื้อหาการสอนในวิชา ARC 218 การออกแบบ

สถาปตยกรรม 3 ซ่ึงผูวิจัยเปนผูสอนรวม มีหัวขอการสอนภาคปฏิบัติเรื่องการสรางหุนจําลองทาง

สถาปตยกรรม ท่ีกําหนดใหนักศึกษาออกแบบและสรางหุนจําลองดวยโปรแกรม 3 D ท่ีเหมาะสมกับการ

แกปญหาท่ีเกิดข้ึนในสถาณการณไมปกติดังกลาว จึงเปนโอกาสดีท่ีจะใชวิธีบูรณาการการสอนในงานภาคปฏิบัติ

โปรแกรมนี้รวมกัน โดยปรับปรุงโปรแกรมใหงานใหครอบคลุมเนื้อหาท่ีตองการท้ัง 2 วิชา ดําเนินการสอน

รวมกัน และดําเนินการวิจัยเพ่ือศึกษาผลการสอนแบบบูรณาการระหวางวิชา

วัตถุประสงคของการวิจัย

เพ่ือศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนภาคปฎิบัติเชิงบูรณาการระหวางวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2 กับ

วิชาการออกแบบสถาปตยกรรม 3 ในชวงสถานการณโควิท 19

Page 7: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

109

สมมติฐานของการวิจัย

การบูรณาการการสอนภาคปฏิบัติระหวางรายวิชามีผลตอผลการเรียนรูของนักศึกษาหลังการเรียน

สูงข้ึนอยางมีนัยยะสําคัญท่ีระดับ 0.05

ขอบเขตของการวิจัย

1. กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา ทําการคัดเลือกโดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive

sampling) ไดแกนักศึกษาชั้นปท่ี 2 สาขาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีปทุม

ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2562 ท่ีลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ARC 246 เทคโนโลยีอาคาร 2 และรายวิชา

ARC 218 ปฏิบัติการออกแบบสถาปตยกรรม 3 และเขารวมทําแบบทดสอบกอนและหลังการเรียนจํานวน

30 คน

2. การวิจัยใชรูปแบบของการทดลองแบบ Single Group แบบ Pretest - Posttest Design โดยใช

หัวขอการเรียนการสอนปฏิบัติการจัดสรางหุนจําลองโครงสรางเปนการทดลอง ท้ังนี้มีการเก็บคะแนนจาก

แบบทดสอบกอนเรียน (Pretest) ไวในสัปดาหแรกของการเรียนแลว ซ่ึงมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียน

การสอนโดยใหนักศึกษาเขาเรียนและปฏิบัติงานท่ีบาน สงงานและนําเสนอผลงานผานระบบ online

เม่ือสิ้นสุดการเรียนแลวจึงทําการทดสอบหลังการเรียน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบผลลัพธการเรียนรู

3. ตัวแปรในการวิจัย กําหนดใหตัวแปรตนคือการเรียนการสอนงานภาคปฏิบัติดวยการบูรณาการ

ระหวางวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2 กับวิชาการออกแบบสถาปตยกรรม 3 ตัวแปรตามคือผลการจัดการเรียน

การสอนภาคปฎิบัติเชิงบูรณาการ

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยนี้ใชวิธีการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เพ่ือทดลองใชวิธีการบูรณาการแทน

การเรียนการสอนรูปแบบเดิมโดยใชการทดสอบแบบ One-group pretest-posttest design (Fitz, G., 1987,

pp. 113) เพ่ือวัดคาทางสถิติวานักศึกษามีผลการเรียนรูสูงข้ึนจริง ในการศึกษาในการดําเนินการวิจัยนี้

ดําเนินการตามข้ันตอนดังนี้

1. ศึกษาคนควาขอมูล แนวความคิด ทฤษฎี ท่ีเก่ียวของ

2. เครื่องมือ และสถิติท่ีใชในการวิจัย

4. การดําเนินการทดลอง

5. การวิเคราะหขอมูล

6. สรุปผลการวิจัย

Page 8: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

110

เนื้อหา

การศึกษาคนควาขอมูล แนวความคิด ทฤษฎ ีท่ีเกี่ยวของ

ผูวิจัยไดศึกษาขอมูลการปฐมภูมิจากหนังสือ ตํารา และขอมูลทุติยภูมิจากเอกสารเอกสาร รายงาน

การวิจัยตางๆ ท้ังในประเทศและตางประเทศเพ่ือศึกษาหาแนวความคิด ทฤษฎ ีเครื่องมือ ตัวอยางในการตรวจ

วัดผล และแนวทางในการดําเนินการวิจัยในลักษณะของการบูรณาการ เพ่ือวางแผนการดําเนินการเรียน

การสอน โดยสามารถ สรุปโดยยอเฉพาะประเด็นสําคัญไดดังนี้

1. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ ในการวิจัยนี้ใชการสอนแบบบูรณาการเปนเครื่องมือในการ

แกปญหา จึงตองศึกษาเขาใจความหมายในวิธีการสอนซ่ึง Lardizabal, A. (1970, pp. 141) ไดอธิบายวา

“การสอนแบบบูรณาการหมายถึง การสอนโดยจัดกิจกรรมการเรียนท่ีสอดคลองกับวัตถุประสงค เพ่ือใหผูเรียน

สามารถแกไขปญหาไดดวยตนเอง ยังผลใหเกิดการพัฒนาในดานบุคลิกภาพในทุกๆ ดาน ผูเรียนสามารถ

ปรับตัวและตอบสนองตอทุกสถานการณ การแกปญหานี้ข้ึนอยูกับประสบการณ และความรูพ้ืนฐาน การสอน

แบบบูรณาการจะใหความสําคัญกับผูสอนและผูเรียน โดยเทาเทียมกัน”

2. ประเภทของการบูรณาการ Jacobs, H. (1998, p. 137) ไดเสนอรูปแบบของการบูรณาการไว 5

ลักษณะ เรียกวา Five option for integration ดังนี้

1) Discipline Based เนนเนื้อหาของแตละรายวิชา สอนแยกกัน

2) Parallel เปนการสอน 2 วิชาในเนื้อหารวมกัน (Concurrent Event)

3) Multidisciplinary เปนการสอนหลายวิชาแยกกัน แตสอนในหัวเรื่อง (Theme) เดียวกัน

4) Interdisciplinary เปนการสอนหลายวิชารวมกันในหัวเรื่อง (Theme) เดียวกัน

5) Integrated เปนการรวมระหวางการผสมผสานเนื้อหาหลายวิชากับกิจกรรมการเรียนการสอน

งานวิจัยชิ้นนี้เลือกใชการบูรณาการแบบ Integrated ซ่ึงเปนการรวมระหวางการผสมผสานเนื้อหา

หลายวิชากับกิจกรรมการเรียนการสอน เนื่องจากมีความเหมาะสมตอสถานการณท่ีเกิดข้ึนโดยนักศึกษาและ

ผูสอนไมสามารถออกจากท่ีพักอาศัยของตนเองได ไมสะดวกในการจัดซ้ือ วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ ปญหาเรื่อง

เวลาท่ีใชในการปฏิบัติงานไมสามารถควบคุมไดอันเนื่องมาจากสภาพแวดลอมในครอบครัวท่ีแตกตางกัน

เครื่องมือ และสถิติท่ีใชในการวิจัยในการวิจัย

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยนี้ไดแก

1. แผนการสอนท่ีปรับปรงุในชวงสถานการณ โดยปรับปรุงใหเขากับระยะเวลาท่ีเหลือ ปรับใหมี

วิธีการสอนแบบบูรณาการขามรายวิชา

2. โปรแกรมงานท่ีปรับปรุง

3. Software ท่ีใชในการสรางหุนจําลอง

4. แบบฟอรมการประเมินผลฉบับปรับปรุง

5. สื่อการสอนออนไลนไดแก Facebook Line ระบบ E-Learning ระบบประชุมออนไลน

Page 9: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

111

6. ระบบจัดเก็บผลงาน

7. แบบทดสอบผลลัพธการเรียนรู กอนและหลังการเรียน

8. สถิติท่ีใชในการวิจัย ไดแก การทดสอบคา t-test การหาคาเฉลี่ย (Mean) และ การหาคา

เบี่ยงเบนมาตรฐาน Standard deviation โดยผูวิจัยอางอิงจาก ภุชงค โรจนแสงรัตน (2543, pp. 110-111)

การดําเนินการทดลอง

1. ศึกษาปญหาผลกระทบท่ีเกิดข้ึนหลังจากประกาศของมหาวิทยาลัยใหงดใชอาคาร สถานท่ี โดยใช

วิธีการสัมภาษณผานระบบ Zoom Meeting Online พบวาปญหาหลักสวนใหญของนักศึกษาคือ การขาด

แคลนวัสดุ อุปกรณ เครื่องมือในการทํางาน การเดินทางขามเขต การสื่อสารระหวางผูเรียนผูสอนผาน

สื่อออนไลนเดิมไมตอบสนองตามความตองการ นักศึกษาสวนใหญตองกลับไปทํางานท่ีบานจะพบปญหาเรื่อง

เวลาในการทํางานตองแบงเวลาชวยทํางานใหครอบครัว และปญหาสวนตัวอ่ืนๆ

จากการศึกษาปญหาดังกลาว ผูวิจัยไดนําเสนอปญหา ผลกระทบตางๆ กับหัวหนาสาขาวิชาฯ และมี

การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคณาจารย ผูบริหารคณะฯ ผานระบบ Zoom Meeting Online และนําผล

ขอเสนอแนะตางๆ ประยุกตใช ศึกษาวิธีการสอนท่ีเหมาะสมเพ่ือกําหนดแนวความคิด วิธีการ และเครื่องมือใน

การแกไข

2. การเตรียมความพรอมผูสอน เริ่มทําการศึกษาและจัดเตรียมในดาน Software สื่อการสอน

ระบบสื่อออนไลนตางๆ ซอฟตแวรท่ีใชในการตรวจงาน รวมท้ังผูสอนเขาฝกอบรมการใชโปรแกรม Zoom

Meeting Online

3. การเตรียมความพรอมใหกับนักศึกษา โดยในสัปดาหแรกของการเรียนผานระบบ Online ผูสอน

เริ่มสรางประสบการณใหกับนักศึกษาในการใชโปรแกรม Zoom Meeting Online การใชเครื่องมือตางๆ

ในระบบ การบรรยาย การตรวจงานภาคปฏิบัติ และการเรียกดูโปรแกรมสรางหุนจําลองดวยระบบ

คอมพิวเตอร เพ่ือการนําเสนอ

4. ดําเนินการเรียนการสอน โดยเริ่มทํากิจกรรมการเรียนการสอน การปฏิบัติงานสรางหุนจําลอง

โดยบูรณาการรวมกับรายวิชาปฏิบัติการออกแบบสถาปตยกรรม 3 โดยใชการสรางหุนจําลองโครงสรางท่ี

นักศึกษาสรางข้ึน เพ่ือเรียนรูในประเด็นเรื่ององคประกอบโครงสรางในวิชาวิชาเทคโนโลยีอาคาร 2 และ

ประเด็นเรื่องการออกแบบในวิชาปฏิบัติการออกแบบสถาปตยกรรม 3 มีการสงงาน และนําเสนอความกาวหนา

ของงานทุกสัปดาหตอผูวิจัยและทีมผูสอนในรายวิชาปฏิบัติการออกแบบสถาปตยกรรม 3 หลังจากนั้นจึงทํา

การสงงานในข้ันตอนสุดทายผานระบบ Cloud Computing และนักศึกษานําเสนอผลงานของตนเองผาน

ระบบ Zoom Meeting Online มีการตรวจประเมินผลงานของนักศึกษาทุกครั้ง

หลังจากนั้นจึงดําเนินการจัดเก็บขอมูลเพ่ือการวัดผลโดยแบบทดสอบหลังการเรียน (Posttest)

ซ่ึงใชแบบทดสอบชุดเดียวกัน ท้ังนี้มีการเตรียมการมากอนหนาการดําเนินการวิจัยนี้แลว โดยไดจัดเก็บผล

การทดสอบกอนการเรียน (Pretest) ไวในสัปดาหแรกของการเรียนการสอนกอนเกิดสถานการณ COVID-19

Page 10: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

112

ภาพท่ี 1 ผลการเรียนการสอนกอนและหลังการสอนดวยการบูรณาการงานภาคปฏิบัติระหวางวิชา

การวิเคราะหขอมูล

เม่ือเก็บขอมูลจากแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนแลว ผูวิจัยไดดําเนินวิเคราะหขอมูลโดย

การหาคามัชฌิมเลขคณิต (x̄) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และคาความแตกตางของคาเฉลี่ยโดยการทดสอบ

คาที (t-test) และดําเนินการเปรียบเทียบความมีนัยยะสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางท่ี 1 แสดงตัวอยางขอมูลจากแบบทดสอบผลการเรียนรูกอนเรียนและหลังเรียนเพ่ือการวิเคราะห

ลําดับ แบบทดสอบกอนเรียน Pretest

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรียน Posttest

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

13 7 10

14 5 10

15 8 10

16 5 5

17 10 10

18 7 9

19 6 7

20 5 6

21 6 10

22 6 10

23 5 7

24 5 10

25 5 10

26 3 5

27 6 10

Page 11: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

113

ตารางท่ี 1 (ตอ)

ลําดับ แบบทดสอบกอนเรียน Pretest

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรียน Posttest

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

28 5 10

29 5 7

30 6 9

คะแนนเฉลีย่ (x�) 5.93 8.63

คาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) 1.36 1.63

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบทดสอบผลการเรียนรูกอนเรียนและหลังเรียน โดยใชฟงกชั่น Add in

Data analysis tools ในโปรแกรม Microsoft Excel (Microsoft Corporation, 2020) โดยเลือกเครื่องมือท่ี

ใชในการวิเคราะหคือ t-test Paired Two Sample for Means กําหนดคาความเชื่อม่ันท่ีระดับ 0.05 ไดผล

การวิเคราะหดังนี้

ตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบทดสอบผลการเรียนรูกอนเรียนและหลังเรียน

แบบทดสอบกอนเรียน Pretest

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

แบบทดสอบหลังเรียน Posttest

(คะแนนเต็ม 10 คะแนน)

Mean 5.93 8.63

Variance 1.86 2.65

Observations 30.00 30.00

Pearson Correlation 0.61

Hypothesized Mean Difference 0.00

df 29.00

t Stat 11.01

P(T<=t) one-tail 0.00

t Critical one-tail 1.70

P(T<=t) two-tail 0.00

t Critical two-tail 2.05

Page 12: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

114

จากตารางผลการวิเคราะหพบวา

คาเฉลี่ย มัชฌิมเลขคณิต (x�) หลังการเรียนมีคา = 8.63 มากกวากอนการเรียน ซ่ึงมีคา = 5.93

คา t Stat มีคาเทากับ 11.01 มากกวา คา t Critical one - tail ซ่ึงมีคาเทากับ 1.70 ดังนั้นผล

การวิเคราะห คือ ยอมรับสมมุติฐาน

คา P(T<=t) one - tail มีคาเทากับ 0.00 ซ่ึงนอยกวาคาระดับความเชื่อม่ันท่ีตั้งไวคือ 0.05 หรือเขียน

เปนรูปสมการไดวา p < 0.05 ดังนั้นผลการวิเคราะหคือ ยอมรับสมมุติฐาน

สรุปผลการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาผลการเรียนรูโดยการใชการบูรณาการระหวางวิชาโดยใชงาน

ภาคปฏิบัติรวมกันระหวางรายวิชาเปนเครื่องมือ โดยมีสมมติฐานการวิจัยวา การดําเนินการดังกลาวจะทําใหผล

การเรียนรูสูงข้ึนหลังการเรียน จากการวิเคราะหพบวานักศึกษาชั้นป 2 สาขาสถาปตยกรรม คณะสถาปตยกรรม

ศาสตร ท่ีใชการบูรณาการระหวางวิชามีผลการเรียนรูสูงข้ึนหลังการเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ

0.05

อภิปรายผลการวิจัย

จากสถานการณ COVID-19 ซ่ึงสงผลกระทบตอการจัดการเรียนการสอนเพ่ือรองรับสภาพแวดลอม

ทางการศึกษาท่ีเปลี่ยนไป เกิดปญหา ความไมสะดวกจากการท่ีตองเก็บตัวอยูในท่ีพักอาศัยของตนเอง

ท้ังนักศึกษาและผูสอนไมสามารถจัดการเรียนการสอนไดเหมือนในสภาวะปกติได การจัดการรายวิชาโดย

การปรับเปลี่ยนเครื่องมือ รูปแบบการเรียนการสอน โดยเฉพาะในงานวิจัยนี้เลือกใชวิธีบูรณาการระหวางวิชา

เปนการแกปญหาหลัก ซ่ึงจากผลการวิเคราะห ทําใหทราบไดวาการปรับเปลี่ยนเครื่องมือท่ีใชในการเรียน

การสอน สามารถทําใหผลการเรียนรูสูงข้ึนหลังการเรียน ดังนั้นวิธีบูรณาการระหวางวิชาจึงมีความเหมาะสมกับ

สถานการณ COVID-19 และสามารถใชเปนแนวทางการแกปญหาหากเกิดเหตุการณท่ีไมคาดคิด เชน

การระบาดรอบใหม ภัยพิบัติอ่ืนๆ ท่ีอาจสงผลกระทบตอสภาพแวดลอมทางการศึกษาในภายหนา หรืออาจ

กลาวไดวาการสอนดวยวิธีบูรณาการจะเปนสวนหนึ่งของ New Normal ดานการศึกษาตอไปในอนาคต

ขอเสนอแนะ

1. ควรมีการศึกษาเรื่องการบูรณาการระหวางวิชามากกวาสองวิชาเนื่องจากยังมีวิชาท่ีมีเนื้อหา

กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีมีโอกาสเชื่อมโยงรวมกันได ซ่ึงจะเปนประโยชนตอนักศึษาในดานการลดภาระงาน

สรางการเรียนรูความเชื่อมโยงขามวิชา รวมท้ังการประยุกตองคความรูจากความหลากหลายมาใชใน

การออกแบบ

2. ในการศึกษาผลการสอนแบบบูรณาการขามรายวิชาระหวางวิชา ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบกับ

ผลการสอนในวิธีการปกติยอนหลังในครั้งท่ีสอนกอนหนานั้นดวย วามีผลการจัดการสอนดีข้ึน หรือ ลดลง

Page 13: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท

SPU EDUCATIONAL TRANSFORMATION TO THE NEW NORMAL

115

อยางไร เพ่ือปรับปรุงวิธีการสอนตอไป ท้ังนี้วิชาท่ีทําการวิจัยเปนวิชาใหมตามหลักสูตรฉบับปรับปรุง 2561

(คณะสถาปตยกรรมศาสตร, 2561) จึงไมสามารถศึกษาเปรียบเทียบกับการสอนกอนหนานั้นได

3. ควรมีการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาท่ีมีตอการสอนแบบบูรณาการขามรายวิชาระหวาง

วิชา เพ่ือเปนการรับฟงความคิดเห็นจากดานนักศึกษา สนับสนุนหลักการสอนแบบบูรณาการซ่ึงจะให

ความสําคัญกับผูสอนและผูเรียน โดยเทาเทียมกัน

รายการอางอิง

คณะสถาปตยกรรมศาสตร. (2561). หลักสูตรสถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปตยกรรม

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ภุชงค โรจนแสงรัตน. (2543). ผลการบูรณาการการสอนโครงงานออกแบบในวิชาออกแบบพาณิชยศิลป

โดยอินเทอรเน็ตท่ีมีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต วิชาเอก

ศิลปศึกษา คณะครศุาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

มหาวิทยาลัยศรีปทุม. (2563). ประกาศมหาวิทยาลัยศรีปทุม ท่ี ปก.มศป.27/2563 เรื่อง มาตรการปองกัน

การแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

Fitz – Gibbon, C. T. & Morris, L. L. (1987). How to design a program evaluation. Newbury Park,

CA:Sage.

Jacobs, H. (1989). Design options for an integrated curriculum. Interdisciplinary curriculum:

Design and implementation. New York: ASCD.

Lardizabal, A. & Others. (1970). Methods and Principles of Teaching. Quezon City:

Alemar-Phoenix.

Microsoft Corporation. (2020). T.TEST function. Retrived from https://support.

microsoft.com/en-us/office.

Page 14: ข อมูลทางบรรณานุกรมdspace.spu.ac.th/bitstream/123456789/6879/1/ผล... · 2020. 8. 25. · หัวข อ โอกาสและความท