บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห...

63
คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ หนา 1 บทที่ 1 ขอปฏิบัติทั่วไปในหองปฏิบัติการเคมี 1.1 ขอแนะนําเกี่ยวกับความปลอดภัยและวิธีปฏิบัติในหองปฏิบัติการเคมี ในการทดลองปฏิบัติการทางเคมีนั้น จะตองเกี่ยวของกับสารเคมีหลายชนิดซึ่งสารเคมีบางชนิด อาจจะทําใหเกิดอันตรายแกรางกายทั้งโดยตรง ทางออม หรืออาจเกิดอุบัติเหตุในขณะทําการทดลองได การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นเสมอในการทดลอง เชน แผลไหมพองเพราะจับอุปกรณที่รอน ผิวหนังถูกกรด เขมขนหกรด เครื่องแกวแตกบาดมือ เปนตน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองทราบถึงการปองกันหรือแกไขเมื่อ เกิดอุบัติเหตุขึ้น 1.1.1 ขอควร ปฏิบัติสําหรับผูที่ทํางานกับสารเคมี เชน 1. กอนจะทําการทดลอง ควรถามตัวเองดูกอนวาจะเกิดอันตรายหรือไมในสิ่งที่จะทํา ถาสงสัยให ถามอาจารยผูควบคุมปฏิบัติการ 2. จัดอุปกรณที่ตองใชในการทดลองวางไวบนโตะปฏิบัติการใหครบกอนลงมือทําการทดลอง 3. สวมแวนตานิรภัยทุกครั้งที่ทําปฏิบัติการเพื่อชวยปองกันอุบัติเหตุจากสารเคมีกระเด็นเขาตา 4. สวมเสื้อปฏิบัติการทุกครั้งที่เขาหองปฏิบัติการ เพื่อปองกันสารเคมีหกรดผิวหนัง 5. อานฉลากกอนหยิบใชสารเคมีทุกครั้ง เพื่อปองกันการหยิบผิด 6. การแบงสารเคมีมาใชตองกะปริมาณใหพอดีไมใชสารเคมีมากเกินกวาที่จําเปน 7. ในการเทสารเคมีใหเทดานตรงขามฉลากเพื่อไมใหสารเคมีไหลเปอนฉลาก 8. ใชสารเคมีดวยความระมัดระวัง โดยเฉพาะกรดเขมขน เบสเขมขน สารออกซิไดสอยางแรง แกสพิษ ไอพิษ เชน แกสแฮโลเจน และสารเคมีที่มีกลิ่นเหม็น เชน แกสไฮโดรเจนซัลไฟด ให ทําการทดลองในตูดูดควัน

Upload: others

Post on 18-Aug-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 1

บทที่ 1 ขอปฏิบัติทั่วไปในหองปฏิบัติการเคมี

1.1 ขอแนะนําเกี่ยวกับความปลอดภัยและวิธีปฏิบัติในหองปฏิบัติการเคมี

ในการทดลองปฏิบัติการทางเคมีนั้น จะตองเกี่ยวของกับสารเคมีหลายชนิดซึ่งสารเคมีบางชนิด

อาจจะทําใหเกิดอันตรายแกรางกายทั้งโดยตรง ทางออม หรืออาจเกิดอุบัติเหตุในขณะทําการทดลองได

การบาดเจ็บที่อาจเกิดขึ้นเสมอในการทดลอง เชน แผลไหมพองเพราะจับอุปกรณที่รอน ผิวหนังถูกกรด

เขมขนหกรด เครื่องแกวแตกบาดมือ เปนตน ดังนั้นจึงจําเปนที่จะตองทราบถึงการปองกันหรือแกไขเมื่อ

เกิดอุบัติเหตุขึ้น

1.1.1 ขอควรปฏิบัติสําหรับผูที่ทํางานกับสารเคมี เชน

1. กอนจะทําการทดลอง ควรถามตัวเองดูกอนวาจะเกิดอันตรายหรือไมในสิ่งที่จะทํา ถาสงสัยให

ถามอาจารยผูควบคุมปฏิบัติการ

2. จัดอุปกรณที่ตองใชในการทดลองวางไวบนโตะปฏิบัติการใหครบกอนลงมือทําการทดลอง

3. สวมแวนตานิรภัยทุกครั้งที่ทําปฏิบัติการเพื่อชวยปองกันอุบัติเหตุจากสารเคมีกระเด็นเขาตา

4. สวมเสื้อปฏิบัติการทุกครั้งที่เขาหองปฏิบัติการ เพื่อปองกันสารเคมีหกรดผิวหนัง

5. อานฉลากกอนหยิบใชสารเคมีทุกครั้ง เพื่อปองกันการหยิบผิด

6. การแบงสารเคมีมาใชตองกะปริมาณใหพอดีไมใชสารเคมีมากเกินกวาที่จําเปน

7. ในการเทสารเคมีใหเทดานตรงขามฉลากเพื่อไมใหสารเคมีไหลเปอนฉลาก

8. ใชสารเคมีดวยความระมัดระวัง โดยเฉพาะกรดเขมขน เบสเขมขน สารออกซิไดสอยางแรง

แกสพิษ ไอพิษ เชน แกสแฮโลเจน และสารเคมีที่มีกลิ่นเหม็น เชน แกสไฮโดรเจนซัลไฟด ให

ทําการทดลองในตูดูดควัน

Page 2: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 2

9. เมื่อใชรีเอเจนตเสร็จแลว ใหปดฝา วางชอนตักสาร หรือหลอดหยดของแตละชนิดตามตําแหนง

เดิม

10. รักษาความสะอาดโตะและหองปฏิบัติการตลอดเวลาการทดลอง

11. เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน ควรลางมือดวยสบูและน้ําสะอาด

12. ทราบอันตรายของสารเคมีที่ตองใชในการปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถทราบไดจากเอกสารขอมูล

ความปลอดภัยเคมีภัณฑ (MSDS หรือ SDS) และฉลากของสารเคมี

13. ทราบวิธีการใชอุปกรณปองกันอันตรายตอตนเองที่เหมาะสมกับสารเคมีที่ใชงาน

14. ทราบตําแหนงที่เก็บอุปกรณสําหรับใชในเวลาฉุกเฉิน เชน เครื่องดับเพลิง ชุดปฐมพยาบาล

15. ทราบแนวทางการปฏิบัติในกรณีเกิดอุบัติเหตุ เชน เสนทางออกจากหองปฏิบัติการ วิธีปฏิบัติ

ตนเมื่อสัมผัสสารเคมีอันตราย

16. ทราบสถานที่และวิธีการเก็บรักษาสารเคมีที่เหมาะสม

17. ทราบวิธีการเคลื่อนยายสารเคมีภายในหองปฏิบัติการที่เหมาะสม

18. ทราบแนวทางการกําจัดของเสียอันตราย

1.1.2 ขอหามปฏิบัติสําหรับผูที่ทํางานกับสารเคมี เชน

1. ตองไมทําการทดลองใดๆ นอกเหนือไปจากการทดลองที่กําหนดไวในบททดลอง

2. ไมควรทําการทดลองคนเดียวในหองปฏิบัติการควรมีเพื่อนที่มีความรูเรื่องสารเคมีอยูดวย

3. หามดื่ม กิน เคี้ยวหมากฝรั่ง สูบบุหรี่ หรือ แมแตใชเครื่องสําอางในหองปฏิบัติการ

4. หามนําเครื่องดื่ม อาหาร บุหรี่ และเครื่องสําอางเขามาเก็บในหองปฏิบัติการ

Page 3: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 3

5. หามใชเครื่องไมโครเวฟในหองปฏิบัติการเพื่อเตรียมกาแฟอาหาร รวมทั้งหามใชตูเย็นใน

หองปฏิบัติการเพื่อเก็บอาหาร

6. อยาปลอยผมรุงรัง สวมเสื้อผาหลวมรุงรัง และเดินเทาเปลาหรือสวมรองเทาแตะใน

หองปฏิบัติการ

7. หามรบกวนสมาธิ หยอกลอกับผูที่กําลังปฏิบัติงานกับสารเคมี

8. หามนําเด็กหรือสัตวเลี้ยงเขามาในหองปฏิบัติการ

9. อยาชิมสารตางๆ ในหองทดลอง เพราะวาสารเคมีสวนมากเปนพิษ

10. หามทดสอบชนิดของสารเคมีโดยการดมกลิ่นโดยตรงอยางเด็ดขาด ควรหลีกเลี่ยงการสูด

ดมไอระเหยของสารเคมี และตองปฏิบัติในตูดูดควัน (hood) เทานั้น

11. ถาหากตองดมกลิ่นสาร หามดมดวยการเอามาจอที่จมูก แตใหถือหลอดทดลองที่มีสารนั้น

ไวหางๆ แลวใชมือโบกกลิ่นของสารนั้นใหเขาจมูกเพียงเล็กนอย

หากตองดมกลิ่นสารใหถือหลอดทดลอง ตมของเหลวในหลอดทดลองขนาดเล็ก

ที่มีสารนั้นไวหางๆ แลวใชมือโบกกลิ่นของสาร ใหทดลองในเครื่องอังไอน้ํา

12. อยาตมของเหลวในหลอดทดลองขนาดเล็กดวยเปลวไฟโดยตรง เพราะจะทําใหของเหลว

ในหลอดพุงออกไป อาจเปนอันตรายแกตัวเองและผูอยูใกล ควรตมในบีกเกอรซึ่งมีน้ํา

เดือดหรือในเคร่ืองอังไอน้ํา

13. หามใชปากดูดไปเปต (pipette) แตใหใชอุปกรณ เชน ลูกยาง

14. หามใสคอนแทคเลนส (contact lens) เมื่อตองทํางานกับสารเคมี แตถาจําเปนตองใสคอน

แทคเลนสใหสวมแวนตานิรภัย

Page 4: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 4

ดังนั้น เมื่อตองทํางานกับสารเคมีในปฏิบัติการเคมีควรคํานึงถึงขอปฏิบัติตอไปนี้

1. การศึกษาบททดลอง

ควรศึกษาบททดลองลวงหนากอนจะเขาทําปฏิบัติการ เพื่อจะไดเขาใจทั้งทฤษฎีที่เกี่ยวของ

วิธีการที่จะทําการทดลอง และสามารถวางแผนในการทํางานไวเปนขั้นตอน จะชวยใหการทดลอง

เสร็จทันภายในเวลาที่กําหนด

2. การจดบันทึกผลการทดลอง

ควรจดบันทึกผลการทดลองทุกขั้นตอนอยางละเอียดลงในสมุดสําหรับจดบันทึก เพื่อจะได

เอาไวอานทําความเขาใจ เมื่อจะเขียนรายงานสงอาจารยควรจดใหเรียบรอยเปนระเบียบ มีชื่อบท

ทดลอง วันที่ที่ทําการทดลองและถาเปนการวิเคราะหสารตัวอยางก็จะตองจดเบอรของสารตัวอยาง

เอาไว

3. การใชรีเอเจนต

รีเอเจนตที่เปนเกลือ กรด หรือเบส ไมวาจะเปนของแข็งหรือของเหลว แตกตางกันตามความ

บริสุทธิ์ รีเอเจนตชนิดธรรมดาที่มีความบริสุทธิ์พอสมควร เปนเคมีภัณฑชนิด Technical grade หรือ

Commercial grade สวนรีเอเจนตที่บริสุทธิ์ที่สุด ไดแก เคมีภัณฑชนิด Analar ใชอักษรยอวา AR

หรือ Guaranteed reagent ใชอักษรยอวา GR

1. การใชรีเอเจนต ใหใชตามจํานวนหรือปริมาณที่กําหนดไวในบททดลองเทานั้น หากใชมาก

เกินไปหรือนอยเกินไปอาจจะทําใหผลการทดลองผิดพลาด

2. เพื่อปองกันไมใหมีการปะปนกัน (contamination) ของรีเอเจนตแตละชนิด อยานําพายตัก

(spatula) หรือชอนตักสารที่ใชตักรีเอเจนตชนิดหนึ่งไปตักรีเอเจนตชนิดอื่นๆ โดยไมทํา

ความสะอาดพายตักเสียกอน หรือถาเปนสารละลายก็อยาใชหลอดหยดอันเดียวกันดูด

สารละลายออกจากหลายๆ ขวด และไมใหดูดรีเอเจนตจากขวดใหญที่ไมมีหลอดหยดใสไว

แตใหรินสารละลายออกจากขวดใสบีกเกอรที่เตรียมไว แลวจึงนํามาใชในการทดลอง ถา

สารละลายที่นํามามากเกินความตองการ ใหเทสวนที่เหลือทิ้งลงในอางน้ํา อยานําไปเท

กลับคืนขวดเดิมอีก

Page 5: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 5

3. ถาเปนการผสมกันระหวางกรดกับน้ํา อยาเทน้ําลงไปในกรดเขมขน แตใหคอยๆ รินกรด

เขมขนลงไปในน้ํา โดยเฉพาะกรดซัลฟวริกเขมขนรวมกับน้ําจะคายความรอนออกมามาก

4. อยานําขวดรีเอเจนตจากชั้นที่วางไปไวที่โตะปฏิบัติการของตนเอง

4. ความสะอาด

1. ลางอุปกรณที่ใชทําการทดลองใหสะอาดทุกครั้งดวยน้ํายาทําความสะอาด ลางน้ํา และลาง

ดวยน้ํากลั่นเปนครั้งสุดทาย อุปกรณที่ทําดวยแกวถาสะอาดจะเปยกน้ําอยางสม่ําเสมอ ถามี

ไขมันติดอยูผิวแกวจะเปยกน้ําไมสม่ําเสมอและจะมีหยดน้ําเกาะอยูตรงบริเวณที่มีไขมัน

โดยทั่วไปเมื่อใชแลวควรทําความสะอาดทันที ถาปลอยทิ้งไวจนสารละลายแหงติดผิวแกว

จะลางทําความสะอาดยาก

2. ของแข็งตางๆ ที่ไมตองการ เชน กานไมขีดไฟ กระดาษกรองที่ไมใช กระดาษกาวสําหรับ

ปดหลอดทดลอง เศษแกว เปนตน อยาทิ้งลงในอางน้ําใหใสลงในถังขยะ

3. เมื่อทําการทดลองเสร็จแลว ใหทําความสะอาดโตะปฏิบัติการ

1.2 อันตรายที่มักเกิดขึ้นและการปองกัน

1.2.1 อันตรายจากไฟ มาจากสาเหตุหลายประการ เชน

1. การใชเปลวไฟโดยตรง ใหความรอนกับภาชนะที่มีสารไวไฟ และการทําใหเกิดประกายไฟ

เชน จุดตะเกียง ไมขีด สูบบุหรี่ ในบริเวณที่มีสารไวไฟ

2. การใชสายยางชํารุดตอกับทอแกส

3. การใชอุปกรณเครื่องแกวที่อยูในสภาพไมดี ทําใหเกิดการแตกในระหวางการทดลอง

4. การไมปดภาชนะที่บรรจุสารเคมีไวไฟ หรือสารเคมีที่ทําปฏิกิริยารุนแรง ถาสารเหลานี้

สัมผัสกับอากาศหรือน้ําทําใหเกิดอันตรายได

5. การเทตัวทําละลายอินทรียที่ไวไฟลงในอางน้ํา สารเหลานี้มีจุดเดือดต่ํา ระเหยงาย ขณะที่

เคลื่อนไปตามอางน้ําและทอน้ํา สามารถติดไฟไดถาบริเวณนั้นมีประกายไฟ

การปองกัน

1. หลีกเลี่ยงการกระทําตางๆ ที่เปนสาเหตุของการเกิดไฟไหม

Page 6: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 6

2. ทุกครั้งที่ใชสารไวไฟใหปฏิบัติตามคําแนะนําอยางเครงครัด

3. อุปกรณเครื่องแกวที่ใชตองอยูในสภาพดี เพื่อมิใหเกิดการแตกระหวางการทดลอง ซึ่งอาจ

เปนสาเหตุใหเกิดไฟไหมได

4. หองปฏิบัติการควรมีอากาศถายเทดี และมีอุปกรณดับเพลิงเพียงพอ

5. ถาเกิดไฟไหมขึ้นที่โตะ แจงใหอาจารยผูควบคุมทราบทันที ถาอยูในวิสัยที่ทําได ใหปด

แกสและยายภาชนะที่บรรจุสารติดไฟออกหางจากไฟ กรณีที่เกิดเปลวไฟขนาดเล็กในบีก

เกอร หรือขวดรูปกรวย ใหใชกระจกนาฬิกาปดปากภาชนะนั้น ถาวิธีนี้ไมสามารถควบคุม

ไฟไดใหดับไฟดวยเครื่องมือดับเพลิง โดยฉีดน้ํายาไปที่ฐานเปลวไฟ ถาเสื้อผาติดไฟใหรีบ

ใชผาตบหรือกลิ้งไปกับพื้นหรือเดินไปที่กอกน้ําที่ใกลที่สุด และใชน้ําดับไฟ หามวิ่งเพราะ

จะทําใหไฟยิ่งลุกลามมากขึ้น

ขอควรระวัง อยาใชน้ําดับไฟที่เกิดจากอุปกรณไฟฟา เพราะจะเกิดอันตรายเนื่องจากการถูก

ไฟฟาดูด ควรใชน้ํายาดับเพลิง อยาใชน้ําดับไฟซึ่งเกิดจากของเหลวที่ไวไฟ เพราะน้ําจะทําใหของเหลว

นั้นแผขยายบริเวณกวางมากขึ้น ทําใหไฟลุกลามออกไปอีก

1.2.2 อันตรายจากเครื่องแกว อันตรายมักเกิดขึ้นจาก

1. การใชเครื่องแกวที่ไมสะอาดทําการทดลอง ซึ่งเมื่อใสสารลงไปอาจเกิดปฏิกิริยารุนแรงกับ

สารที่หลงเหลืออยู

2. อันตรายจากการถูกแกวบาด เนื่องจากการใชแทงแกวหรือหลอดแกวที่ไมไดลบคม การ

สวมหลอดแกวเขาไปในจุกคอรกหรือจุกยางโดยไมใชผาจับ ไมใชสิ่งหลอลื่นชวย หรือใช

แรงดันหลอดเขาไปตรงๆ แทนการหมุน

3. อุบัติเหตุจากแกวแตกเนื่องจากการใชเครื่องแกวที่มีรอยราวในการทดลอง โดยเฉพาะการ

ทดลองที่มีการใหความรอนสูง หรือการเปลี่ยนแปลงความดัน เชน การเขยาของผสมที่มี

ความดันไอสูง หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีแลวเกิดแกสขึ้น ซึ่งทําใหแกวแตกกระจายและ

กระเด็นได

Page 7: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 7

การปองกัน

1. รักษาเครื่องแกวใหสะอาด เครื่องแกวควรแหงกอนนําไปใช และควรลางเครื่องแกวทันทีที่

เลิกใช

2. ตรวจดูเครื่องแกววาอยูในสภาพดีกอนใชทุกครั้ง

3. อยาใหความรอนแกเครื่องแกวในระบบปด การติดตั้งเครื่องแกวเพื่อใชในการกลั่น ระวัง

อยาเอาขวดรองรับไปเสียบกับจุกคอรกที่ปลายเครื่องควบแนน เพราะไอจะออกไมไดทําให

เกิดการะระเบิดได

4. ควรติดตั้งอุปกรณเครื่องแกวจากลางไปบน การยึดเครื่องแกวดวยที่ยึด (clamp) ระวังอยา

ใหแนนจนเกินไปจะทําใหเกิดความเครียด ตําแหนงที่ยึดควรเลือกใหเหมาะสมเพื่อรับ

น้ําหนักของเครื่องแกวได

1.2.3 อันตรายจากสารเคมี ตัวอยางเชน

1. สารอินทรียโดยเฉพาะตัวทําละลายสวนมากไวไฟ และเกิดการลุกไหมเมื่อใหความรอน

ดวยเปลวไฟโดยตรง สารเคมีเหลานี้ เชน แอลกอฮอล อีเทอร เบนซีน เปนตน

2. โมเลกุลสารอินทรียบางชนิดไมเสถียร เนื่องจากลักษณะโครงสรางของสาร อาจเปนสาเหตุ

ใหเกิดการระเบิดได เนื่องจากการทําปฏิกิริยา การกระทบกระแทก แรงดัน และอุณหภูมิ

สูง เปนตน สารอินทรีย เชน สารประกอบอะเซ็ตทิลีน (acetylene compounds)

สารประกอบไนโตร (nitrocompounds) สารประกอบอะโซ (azo compounds) และเกลือ

ไดอะโซเนียม (diazonium salts) เปนตน

3. สารเคมีที่ทําปฏิกิริยากับอากาศอยางชาๆ และเกิดเปนสารประกอบเปอรออกไซดซึ่งเกิด

การระเบิดไดเชน อีเทอร

4. สารเคมีหลายชนิดไมแสดงอันตรายเมื่ออยูโดยลําพัง แตถารวมกับสารเคมีอื่นจะ

เกิดปฏิกิริยารุนแรง ซึ่งเปนอันตรายอยางมาก อาจเกิดการลุกติดไฟ ระเบิดหรือใหแกสพิษ

เชน โลหะโซเดียมกับน้ํา เกลือไซยาไนดกับกรด เปนตน

5. สารเคมีที่เปนพิษตอรางกาย เปนอันตรายตอผิวหนัง ตา ระบบหายใจ เชน อะซีติลคลอไรด

(acetyl chloride) และสารเคมีบางชนิดกอใหเกิดโรคมะเร็งได เชน เบนซีน

Page 8: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 8

การปองกัน

1. ศึกษาสมบัติและอันตรายของสารเคมีกอนใชจากหนังสือคูมือ หรือฉลากบนขวด ในกรณีที่

หาขอมูลของสารเคมีไมได วิธีที่ปลอดภัยแบบหนึ่งคือ ทําการทดลองขั้นตนโดยใชสาร

ปริมาณนอยๆ กอน

2. หลีกเลี่ยงการใชสารเคมีที่เปนพิษเทาที่จะทําใหไดโดยการเลือกใชสารที่มีพิษนอยกวา

3. ใชสารเคมีอยางระมัดระวัง หลีกเลี่ยงการสัมผัส สูดดมสาร หรือไอของสาร

4. การลดโอกาสของการเกิดอุบัติเหตุสามารถทําได ถาตระหนักถึงปจจัยตางๆ ตอไปนี้

4.1 ควบคุมอุณหภูมิของปฏิกิริยาในกรณีที่จําเปน

4.2 ควบคุมสัดสวนและความเขมขนของสารที่เขาทําปฏิกิริยากัน

4.3 ความไมบริสุทธิ์ของสารที่ใช อาจเปนสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได เชน การมี

สิ่งเจือปนที่เปนตัวเรงปฏิกิริยา

4.4 อัตราเร็วในการผสมสารเคมีเขาดวยกัน

4.5 ภาวะของปฏิกิริยา

5. หลีกเลี่ยงการกระแทก หรือการเสียดทานของสารประกอบที่ไมเสถียร

6. จัดหาอุปกรณปองกันที่เหมาะสมอยางพอเพียง เชน เครื่องดับเพลิง

7. สารที่เปนพิษมากและสารกอมะเร็งตองจัดเก็บอยางดี และตองระวังอยาใหสารที่เขากัน

ไมได มีโอกาสรวมตัวกัน

1.3 ระเบียบและวิธีทํางานกับสารเคมีที่ดี

การปฏิบัติงานกับสารเคมีจําเปนตองมีความระมัดระวัง ทั้งนิสิตนักศึกษา นักวิจัย และเจาหนาที่

เคมี เพื่อใหเกิดความปลอดภัยในหองปฏิบัติการเคมี ผูที่เขามาทํางานควรศึกษาวิธีปฏิบัติงานที่ถูกตอง

รวมทั้งการจัดการสารเคมีและการจัดการของเสียเคมีใหถูกตอง เชน

Page 9: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 9

1. ตองมีวิธีปฏิบัติงานที่ถูกตองและปลอดภัย

โดยหัวหนาหองปฏิบัติการมีหนาที่ดูแลการจัดทําวิธีปฏิบัติงานของหองปฏิบัติการที่

ถูกตองเหมาะสมและปลอดภัยในการปฏิบัติงานกับสารเคมี โดยอางอิงจาก material safety

data sheets (MSDS) หรือ safety data sheet (SDS) ของสารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการนั้น

2. บุคลากรทุกคนในหองปฏิบัติการตองไดรับการฝกอบรม เพื่อใหทราบวิธีปฏิบัติงานที่

เหมาะสมและปลอดภัยกอนปฏิบัติงานจริง

2.1 ผูปฏิบัติงานทุกคนตองรูจักสารเคมีที่ใช โดยการศึกษาจาก MSDS หรือ SDS

2.2 มีการใชเครื่องปองกันอันตรายและ/หรือ อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลที่

เหมาะสมกับชนิดของสารเคมี

2.3 ตองมีการจัดการสารเคมีที่ถูกตอง ไดแก การเก็บรักษาการใชสารเคมีใน

หองปฏิบัติการและการกําจัดตองทําอยางถูกตองตามคําแนะนําใน MSDS หรือ

SDS รวมทั้งตองติดฉลากบนภาชนะบรรจุสารเคมีและของเสียสารเคมีใหถูกตอง

2.4 จัดทํารายการสารเคมีและปริมาณที่มีไวในครอบครอง สารเคมีทุกชนิดที่ใชในแต

ละหองปฏิบัติการโดยเฉพาะสารเคมีที่เปนอันตรายมีการทบทวนรายการและ

ปริมาณสารเคมีใหเปนปจจุบันรวมทั้งขอมูลหนวยงานหรือผูผลิตที่ติดตอไดใน

กรณีฉุกเฉิน

2.5 ทบทวนความจําเปนในการใชสารเคมีและวิธีการปองกันอันตรายจากสารเคมี

วิธีการลดอันตรายจากสารเคมีที่ดีที่สุดคือ การใชสารเคมีอันตรายใหนอยที่สุด

ดังนั้น เมื่อตองปฏิบัติงานกับสารเคมีที่มีอันตรายสูงหรือกําจัดยากตองพิจารณาวา

มีทางเลือกอื่นหรือไม มีสารตัวอื่นที่อันตรายนอยกวาหรือกําจัดไดงายกวาหรือไม

เพื่อจะใชทดแทน

2.6 ตองมีระบบการเฝาระวังและติดตามตรวจสอบ

โดยหนวยงานควรมีการประเมินวา การใชสารเคมีในหองปฏิบัติการมีการ

ปนเปอนหรือมีโอกาสที่ผูปฏิบัติงานไดรับสารเคมีเขาสูรางกายเกินกวาเกณฑ

มาตรฐานกําหนดหรือไม

Page 10: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 10

บทที่ 2 อุปกรณความปลอดภัยเฉพาะบุคคลและในหองปฏิบัติการ

อุปกรณความปลอดภัยในการควบคุมและปองกันการเกิดอุบัติเหตุในหองปฏิบัติการ

ประกอบดวย 2 สวนคือ

1. อุปกรณปองกันอันตรายเฉพาะบุคคล

2. เครื่องมือหรืออุปกรณความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

2.1 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล (Personal Protective Equipment, PPE)

ในหองปฏิบัติการเปนความจําเปนอยางยิ่งที่ผูปฏิบัติงานตองสวมใสอุปกรณปองกันใหถูกตอง

และเหมาะสม เพื่อปองกันอันตรายที่มาจากอุปกรณหรือสารเคมีที่ใชในการทํางาน อุปกรณปองกัน

อันตรายสวนบุคคลในหองปฏิบัติการควรประกอบไปดวยอุปกรณเพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับ

รางกาย ดวงตา รองเทา มือ และสูดดม เปนตน การเลือกใชอุปกรณแตละชนิดควรใหมีความเหมาะสม

กับสารเคมีเพื่อปองกันอันตรายไดอยางแทจริง เชน เมื่อตองทํางานงานกับสารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกรอน

ควรใสถุงมือที่สามารถปองกันการซึมผานของสารเคมีนั้นได ใสแวนตานิรภัยเพื่อปองกันการกระเด็น

ของสารเคมีเขาตา สารเคมีที่มีพิษตอระบบทางเดินหายใจควรทําในตูดูดควันหรือสวมหนากากกันไอ

พิษ เปนตน

ผูปฏิบัติงานควรสวมใสเครื่องแตงกายใหรัดกุมและเหมาะสม ไมควรใสกางเกงขาสั้นหรือ

กระโปรงสั้น ไมควรใสเสื้อผาหลวมเกินไป แตควรใสเสื้อปฏิบัติการ (เสื้อกาวน) รวบผมใหเรียบรอย

ตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เพื่อปองกันการกระเด็นและปนเปอนของสารเคมี และควรถอดเสื้อปฏิบัติการ

เมื่อออกจากหองปฏิบัติการเพื่อปองกันการแพรกระจายของสารเคมี ไมควรใสรองเทาแตะในการ

ปฏิบัติงาน รวมทั้งไมควรใสเครื่องประดับในระหวางปฏิบัติงานเพราะอาจไดรับการปนเปอนจาก

สารเคมี

Page 11: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 11

อุปกรณปองกันอันตรายเฉพาะบุคคล มีดังนี้

1. เสื้อคลุมแขนยาว หรือ เสื้อปฏิบัติการ

2. แวนตานิรภัย

3. รองเทา

4. ถุงมือ

5. อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ

หลักการในการเลือกอุปกรณ เชน

2.1.1. เสื้อปฏิบัติการ (Laboratory Coat)

เสื้อปฏิบัติการควรสวมทับชุดปกติระหวางปฏิบัติงาน เพื่อปองกันการปนเปอนจากฝุน ผง

ตลอดจนการหก กระเด็นของสารเคมี เสื้อปฏิบัติการควรเปนเสื้อคลุมแขนยาว ใชเนื้อผาที่เปนผาฝาย ไม

ควรใชวัสดุประเภทใยสังเคราะห เนื่องจากเปนวัสดุที่ติดไฟงาย ซึ่งจะกอใหเกิดอันตรายตอผูสวมใส

ควรมีการทําความสะอาดเสื้อปฏิบัติการอยางสม่ําเสมอ ดังรูปที่ 2.1

รูปที่ 2.1 อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

2.1.2. อุปกรณปองกันอันตรายที่อาจเกิดกับดวงตาหรือแวนตานิรภัย (Goggles)

อุปกรณเหลานี้ประกอบไปดวยแวนตาประเภทตางๆ ควรมีคุณสมบัติปองกันการกระเด็นของ

เศษวัสดุ ฝุนละออง สารเคมี และปองกันแรงกระแทก แวนตาที่ใชในหองปฏิบัติการมีหลายประเภท

ตั้งแตแวนตาซึ่งเลนสที่ใชจะมีกระบังขางตรงกรอบแวนตาเพิ่มขึ้น ในปจจุบันสําหรับผูปฏิบัติงานที่ใช

แวนสายตาก็มีแวนตานิรภัยที่สามารถครอบแวนสายตาไดเลย แวนครอบตาที่ใชปองกันสารเคมี

Lab coat

Long pants

Close-toed shoes

Gloves

Goggles

Page 12: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 12

กระเซ็นหรือไอของสารเคมีเขาสูบริเวณดวงตา ในการปฏิบัติงานควรใสแวนตาใหแนบกับใบหนาดัง

รูปที่ 2.1

วิธีทําความสะอาดและรักษาแวนตานิรภัย

1. ไมควรใหเลนสสัมผัสกับพื้นโตะเพราะจะทําใหเลนสเกิดรอยขีดขวนหรือถลอกได

2. ไมควรใชมือที่เปอนสารเคมีจับตัวเลนสของแวนเพราะจะทําใหเกิดคราบติดบนตัวเลนส

ของแวน

3. หลังการใชงานควรทําความสะอาดดวยผานุมๆ หรือลางทําความสะอาดดวยน้ํายาเช็ดเลนส

หรือน้ําสบูออนๆ แลวปลอยใหแหง โดยทิ้งไวที่ที่มีอากาศถายเทไดสะดวก

2.1.3. รองเทา (Shoes)

ควรสวมใสรองเทาตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน รองเทาที่ใชควรเปนรองเทาที่ปกปดนิ้วเทาอยาง

นอยดานบนของรองเทา เพื่อปองกันเทากรณีเกิดการหก หลน กระเด็นของสารเคมีและอุปกรณเครื่อง

แกว ทั้งนี้ไมควรใสรองเทาแตะ รองเทาผา หรือรองเทาสนสูงในขณะปฏิบัติงานดังรูปที่ 2.1

2.1.4. ถุงมือ (Gloves)

ถุงมือเปนอุปกรณปองกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับมือเนื่องจากการบาด การเจาะ ทะลุ เสียดสี และ

สารเคมี ถุงมือที่ใชในหองปฏิบัติการมีทั้งประเภทอาจเปนแบบใชงานครั้งเดียวหรือหลายครั้ง สามารถ

แบงไดหลายประเภทขึ้นอยูกับชนิดและประเภทของสารเคมี เชน กรด เบส สารอินทรียระเหยได โดย

ประเภทของถุงมือแบงตามวัสดุที่ใชทําถุงมือ ดังนี้

1. ยางธรรมชาติ (Latex) เปนวัสดุกันกรดออนเบสออน แอลกอฮอล และสารละลายเจือ

จางที่มีน้ําผสมอยู ปองกันไดพอประมาณกับสารเคมีประเภทคีโตนและแอลดีไฮด ที่ยัง

ไมเจือจาง ตลอดจนใหการปองกันตอการบาดไดดีมาก

Page 13: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 13

2. ยางสังเคราะหประเภท Nitrile ปองกันสารเคมีจําพวกเบสออน น้ํามัน และตัวทําละลาย

รวมไปถึงเอสเทอร และไขมันสัตวเปนอยางดี ใหการปองกันไดดีตอการเฉี่ยวเฉือน บาด

เจาะ และเสียดสี

3. ยางสังเคราะหประเภท Neoprene ปองกันสารเคมีหลายชนิด เชน น้ํามัน กรด เบสแก

และสารตัวทําละลาย แตปองกันไดนอยกวายางธรรมชาติและยางไนไตรลในดานของ

การเฉี่ยวเฉือน บาด และเจาะ

Latex gloves Nitrile gloves Neoprene gloves

Polyvinyl alcohol gloves Ethylene vinyl alcohol gloves Polyvinyl chloride gloves

4. สารโพลีไวนิลแอลกอฮอล (Polyvinyl alcohol, PVA) ปองกันไดดีตอสารเคมีจําพวกตัว

ทําละลายสารอินทรีย ซึ่งมีองคประกอบของธาตุคลอรีนปองกันการเฉี่ยวเฉือน บาด

เจาะ ไดดี แตมีขอเสียคือ จะเสียสภาพเร็วมากเมื่อนําไปถูกกับน้ําหรือแอลกอฮอลอยาง

ออน

5. สารเอทธีลีนไวนิลแอลกอฮอล (Ethylene vinyl alcohol, EVOH) เปนวัสดุที่ปองกัน

สารเคมีไดหลายชนิด และมากที่สุดที่พบในปจจุบัน หรือบางครั้งเรารูจักกันในนามถุงมือ

ฟลมเรียบ เนื่องจากโครงสรางของมันมาจากการนําแผนฟลมมาอัดขึ้นรูปเปนถุงมือ ให

การปองกันเปนดีมากตอสารเคมีอันตรายตางๆ หลายชนิด แตใหการปองกันนอยตอการ

Page 14: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 14

สูญเสียทางกายภาพ ปกติมักใชสวมอยูชั้นใน โดยมีถุงมือจําพวกไนไตรลหรือพีวีซีสวม

ทับ

6. สารโพลีไวนิลคลอไรด (Poly vinyl chloride, PVC) ปองกันไดดีตอสารเคมีหลายชนิด

จําพวกกรด เบสแก เบสออน และแอลกอฮอล ไมแนะนําใหใชกับสารหมูคีโตน และสาร

ตัวทําละลาย ใหการปองกันการเสียดสีและการบาดไดดี

การเลือกใชถุงมือใหเหมาะสม

1. เลือกถุงมือกันสารเคมีประเภทที่มีคาอัตราการปองกันสูงสุด ซึ่งดูไดจากคูมือการ

เลือกใชถุงมือ

2. เลือกถุงมือที่ขนาดฝามือที่เหมาะสมเพื่อใหการยึดจับสิ่งของไดดี

3. เลือกความยาวของถุงมือ ตามลักษณะของความลึกที่ถุงมือนั้นจุมลงไปในสารเคมีและ

เพื่อปองกันการกระเด็น

4. เลือกใชถุงมือที่มีความหนานอย สําหรับใชในงานที่ตองการความรูสึกสัมผัสและความ

คลองตัวสูง แตถาตองการเพิ่มความทนทานควรเลือกใชถุงมือที่ความหนาเพิ่มขึ้น

หลักปฏิบัติที่สําคัญ คือ กอนใชถุงมือทุกครั้งควรตรวจสภาพของถุงมือกอน เมื่อเลิกใชกอนที่

จะถอดถุงมือออกควรลางมือ ถอดถุงมือทุกครั้งที่ออกจากหองปฏิบัติการ และไมควรไปจับอุปกรณ

ตางๆ เชน ลูกบิดประตู โทรศัพท ปากกา ขณะที่ยังสวมใสถุงมือ ทั้งนี้เพื่อปองกันการปนเปอนของ

สารเคมีไปยังอุปกรณเหลานั้น

2.1.5. อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจ

อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจเปนอุปกรณที่ใชเมื่อตองปฏิบัติงานกับสารเคมีที่มีไอที่เปน

อันตรายตอระบบทางเดินหายใจ เชน สารระเหย สารละลายแอมโมเนีย สารละลายฟอรมาลิน

สารอินทรียระเหยงาย ไอกรด เปนตน อุปกรณปองกันระบบทางเดินหายใจชนิดที่เหมาะสมใน

หองปฏิบัติการ คือ อุปกรณที่ทําใหอากาศปราศจากมลพิษกอนที่จะเขาสูทางเดินหายใจ ตัวอยาง เชน

1. หนากากกรองอนุภาค ทําหนาที่กรองอนุภาคที่แขวนลอยในอากาศ เชน ฝุน ควัน

หนากากกรองอนุภาคทําจากเสนใยขนาดเล็กมาซอนทับกันหลายชั้น ทําหนาที่ดักจับ

อนุภาคขนาดเล็กมากไดดี ประสิทธิภาพการดักจับขึ้นอยูกับขนาด น้ําหนัก และรูปราง

ของอนุภาคเปนหลัก สวนประกอบสําคัญ คือ

Page 15: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

1. สวนหนากาก

2. สวนกรอง

3. สายรัดศีรษะ ซึ่งสามารถปรับไดตามตองการ

2. หนากากกรอง

อยูในอากาศ

แกสและไอระเหยจะถูกจับไวที่บริเ

เคมี สวนประกอบที่สําคัญของหนากากกรอง

1. สวนหนากากและสายรัดศีรษะ

2. สวนกรองอากาศเปนตลับหรือกระปองบรรจุสารเคมี

การดูดซับ

ปราศจากมลพิษ

สวนกรองอากาศนี้ใชไดเฉพาะสําหรับ

เชน สวนกรองอากาศที่ใชกรอง

สามารถปองกันมลพิษชนิดอื่นได

เหมาะสมกับชนิดของมลพิษที่จะปองกั

2.2 เครื่องมือหรืออุปกรณความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

2.2.1 ตูดูดควัน (Fume Hood

การปฏิบัติที่เกี่ยวของกับสารเคมีอันตราย ตองทําในตูดูดควันเทานั้น ตูดูดควัน ตองสามารถดูด

อากาศไดไมนอยกวา 80-120 ฟุต

หนากากกรองอนุภาค

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

สวนหนากาก มีหลายขนาด เชน ขนาด ¼ หนา ขนาด ½

สวนกรองอากาศ ประกอบดวยวัสดุกรองอากาศ (Filter)

สายรัดศีรษะ ซึ่งสามารถปรับไดตามตองการ เพื่อใหกระชับหนาผูสวมใส

หนากากกรองแกสและไอระเหย ทําหนาที่กรองแกสและไอระเหย ที่แขวนลอย

อยูในอากาศ โดยใชถานกัมมันต (Activated Carbon) เปนสารดูดซับโมเลกุลของ

และไอระเหยจะถูกจับไวที่บริเวณผิวหนาของถานดวยกลไกทางกายภาพหรือ

สวนประกอบที่สําคัญของหนากากกรองแกสและไอระเหย คือ

สวนหนากากและสายรัดศีรษะ เชนเดียวกับที่กลาวมาขางตน

สวนกรองอากาศเปนตลับหรือกระปองบรรจุสารเคมี ซึ่งเปนตัวจับมลพิษโดย

การดูดซับ หรือทําปฏิกิริยากับมลพิษ ทําใหอากาศที่ผานตลับกรองสะอาด

ปราศจากมลพิษ

ใชไดเฉพาะสําหรับแกสหรือไอระเหยแตละประเภทตามที่ระบุไวเทานั้น

องอากาศที่ใชกรองแกสแอมโมเนียจะสามารถปองกันเฉพาะแกสแอมโมเนียเทานั้น

สามารถปองกันมลพิษชนิดอื่นได เปนตน ผูที่จะใชหนากากกรองแกสและไอระเหย ควร

กับชนิดของมลพิษที่จะปองกัน

เครื่องมือหรืออุปกรณความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

Fume Hood)

การปฏิบัติที่เกี่ยวของกับสารเคมีอันตราย ตองทําในตูดูดควันเทานั้น ตูดูดควัน ตองสามารถดูด

ฟุตตอนาที เมื่อฝาตู (Sash) เปดที่ระดับ 18 นิ้ว

หนากากกรองอนุภาค หนากากกรองสารเคมีไอระเหย

หนากากกรองระเหยแบบมีสารดูดซับ

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 15

½ หนา หรือ เต็มหนา

เพื่อใหกระชับหนาผูสวมใส

และไอระเหย ที่แขวนลอย

เปนสารดูดซับโมเลกุลของ

วณผิวหนาของถานดวยกลไกทางกายภาพหรือ

และไอระเหย คือ

เชนเดียวกับที่กลาวมาขางตน

งเปนตัวจับมลพิษโดย

กับมลพิษ ทําใหอากาศที่ผานตลับกรองสะอาด

แตละประเภทตามที่ระบุไวเทานั้น

แอมโมเนียเทานั้น แตไม

และไอระเหย ควรเลือกใชให

การปฏิบัติที่เกี่ยวของกับสารเคมีอันตราย ตองทําในตูดูดควันเทานั้น ตูดูดควัน ตองสามารถดูด

หนากากกรองสารเคมีไอระเหยแบบมีสารดูดซับ

Page 16: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

2.2.2 อางลางตาฉุกเฉิน (Emergency

อางลางตาฉุกเฉินเปนอุปกรณจําเปนสําหรับทุกหองปฏิบัติการ

อันตรายกระเด็นเขาตา ซึ่งอาจกอใหเกิดอันต

ควรอยูในระยะหางไมเกิน 10 วินาที จากจุดปฏิบัติงา

ลางตา ไมต่ํากวา 15 นาที เพื่อใหแนใจวาสารเคมีไดถูกชะลางจนหมด

อางลางตาฉุกเฉิน

2.2.3 ฝกบัวนิรภัย (Safety

ฝกบัวนิรภัยเปนอุปกรณจําเปนสําหรับทุกหองปฏิบัติการ

อันตรายหกราดตัว ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตหรือ

ติดตั้งที่ลางตัว ควรอยูในระยะหางไมเกิน

เสนทาง เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก ควรใชระยะเวลาการลางตัวไมต่ําก

เพื่อใหแนใจวาสารเคมีไดถูกชะลางจนหมด

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

Emergency Eye Wash)

เปนอุปกรณจําเปนสําหรับทุกหองปฏิบัติการ ใชในกรณีเกิดอุบัติเหตุสารเคมี

อันตรายกระเด็นเขาตา ซึ่งอาจกอใหเกิดอันตรายถึงพิการตอผูปฏิบัติงานได สถานที่ติดตั้ง

วินาที จากจุดปฏิบัติงาน ไมควรวางสิ่งของกีดขวาง ควรใชระยะเวลาการ

เพื่อใหแนใจวาสารเคมีไดถูกชะลางจนหมด

อุปกรณลางตาชนิดพกพา

Safety Shower)

ณจําเปนสําหรับทุกหองปฏิบัติการใชในกรณีเกิดอุบัติเหตุสารเคมี

อใหเกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตหรือทุพลภาพตอผูปฏิบัติงานได สถานที่

ที่ลางตัว ควรอยูในระยะหางไมเกิน 10 วินาที จากจุดปฏิบัติงาน ไมควรวางสิ่งของกีดขวาง

เสนทาง เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก ควรใชระยะเวลาการลางตัวไมต่ําก

เพื่อใหแนใจวาสารเคมีไดถูกชะลางจนหมด

การใชตูดูดควัน มีขอพึงปฏิบัติ ดังนี้

1. ระหวางปฏิบัติงาน ฝาตูดูดควัน (Sash) ตองเปดไมเกิน

2. อุปกรณ สารเคมีที่ใชปฏิบัติงานในตูดูดควัน ควรอยูหางจากขอบ

ฝาตู เขาไปดานในอยางนอย 6 นิ้ว

3. ควรเปดพัดลมของตูดูดควันใหทํางานตลอดเวลาที่มีสารเคมีอยู

ภายในตูดูดควัน

4. ไมควรใชตูดูดควันเปนที่เก็บสารเคมี

หนา 16

ใชในกรณีเกิดอุบัติเหตุสารเคมี

ผูปฏิบัติงานได สถานที่ติดตั้งของอางลางตา

ควรใชระยะเวลาการ

อุปกรณลางตาชนิดพกพา

ใชในกรณีเกิดอุบัติเหตุสารเคมี

ปฏิบัติงานได สถานที่

วินาที จากจุดปฏิบัติงาน ไมควรวางสิ่งของกีดขวาง

เสนทาง เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก ควรใชระยะเวลาการลางตัวไมต่ํากวา 15 นาที

ตองเปดไมเกิน 18 นิ้ว

อุปกรณ สารเคมีที่ใชปฏิบัติงานในตูดูดควัน ควรอยูหางจากขอบ

ควรเปดพัดลมของตูดูดควันใหทํางานตลอดเวลาที่มีสารเคมีอยู

Page 17: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 17

2.2.4 อางลางอุปกรณ (Laboratory sink)

ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ ตองลางมือ ดวยสบูและน้ําสะอาดทุกครั้งภายหลังจากการถอด

ถุงมือ และเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติงาน รวมทั้งเมื่อผิวหนังสัมผัสกับสารเคมี อางลางมือยังใชในการลาง

อุปกรณในหองปฏิบัติการที่แปดเปอนสารเคมี

ฝกบัวนิรภัย อางลางอุปกรณและสารเคมี

2.2.5 ตูเก็บของเหลวไวไฟ (Flammable liquid storage)

สารเคมีที่ใชเปนของเหลวและตัวทําละลาย เชน แอลกอฮอล อีเทอร แอลดีไฮด เปนตน สวน

ใหญเปนสารไวไฟ ควรจัดเก็บในที่หางจากประกายไฟ รวมทั้งควรแยกเก็บจากสารเคมีอื่นๆ โดยเฉพาะ

อยางยิ่งสารเคมีในกลุมที่เปนสารออกซิไดส หรือสารไวตอปฏิกิริยา อุปกรณที่ใชเก็บสารเคมีในกลุมนี้

ไดแก ตูเก็บสารละลายไวไฟ ในสวนสารเคมีที่งายตอการเกิดระเบิดควรเก็บในตู และแยกใหอยูบริเวณ

นอกอาคาร

ตูเก็บของเหลวไวไฟ

2.2.6 ชุดควบคุมการรั่วไหลสารเคมี (Spill kit)

ชุดควบคุมการรั่วไหลสารเคมี หมายถึง ชุดอุปกรณที่จัดไวเพื่อทําความสะอาดสารเคมีรั่วไหล

โดยมากมักรวบรวมไวในภาชนะเดียวกันและมีฉลากบอกชชัดเจนวาเปนชุด Spill kit ชุดควบคุมการ

Page 18: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 18

รั่วไหลนี้ประกอบดวย วัสดุดูดซับ เชน ผงถาน โซเดียมไบคารบอนเนต สารสลายปฏิกิริยา อุปกรณ

ปองกันอันตรายสวนบุคคล เชน ถุงมือ หนากากนิรภัย วัสดุเชน ทราย กรวด ถุงเก็บขยะพิษ เปนตน

2.2.6 การปฐมพยาบาลและอุปกรณปฐมพยาบาลเบื้องตน (First Aid Kits)

การปฐมพยาบาลเบื้องตน

ตา ถาสารเคมีเขาตา ใหรีบลางตาโดยเปดน้ําผานสายยางซึ่งจะชวยใหน้ําพุงตรงที่หนาและลางตาได

ควรลางตาประมาณ 15 นาที

ปาก ถากินสารเคมีเขาไปโดยอุบัติเหตุ รีบถมออกทันที ลางปาก แลวกินน้ําหรือนมปริมาณมากตาม

ลงไป นําสงสถานพยาบาลที่ใกลที่สุด แจงรายละเอียดของสารเคมีนั้นตอแพทย

บาดแผล แผลเล็กนอยที่ถูกมีดหรือแกวบาด ลางดวยน้ําเย็นใหสะอาด ปดบาดแผลดวยผาพันแผล แลว

กดใหแนนเพื่อหามเลือด เมื่อเลือดหยุดไหลทําความสะอาดแผลดวยแอลกอฮอล ใสยา ปดพลาสเตอรยา

แตถาเปนแผลใหญและลึก รีบหามเลือด แลวไปหาแพทย

รอยไหม รอยไหมเล็กนอยจากเปลวไฟหรือการจับของรอน ใหแชบริเวณรอยไหมในน้ํา หรือน้ําที่มี

น้ําแข็งประมาณ 5 นาที ถาเปนสวนของผิวหนังที่ลงแชน้ําไมไดใหใชผาชุบน้ําเย็นปดคลุมแผล ถาเปน

แผลใหญเอาเสื้อผาที่ปกคลุมแผลออกกอน แลวใชผาสะอาดปดแผลบริเวณที่ไหม และรอบๆ ไมใหถูก

อากาศ แลวไปหาแพทย

ตัวอยางอุปกรณปฐมพยาบาล ประกอบดวย

สําลี แอลกอฮอลเช็ดแผล หรือ สําลีแผนชนิดฆาเชื้อและทําความสะอาดแผล คีมสําหรับบงเสี้ยน ผาสามเหลี่ยม ผากอซพันแผลขนาดตางๆ เชน 1 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว หรือ 4 นิ้ว กรรไกรขนาดกลางพลาสเตอรมวนหรือชิ้น ผายืดพันแกเคล็ดและขัดยอก (Elastic Bandage) ผากอซชุบพาราฟนสําหรับปดแผลไฟไหมหรือยาทาแผลไหม ยาใสแผล เชน ทิงเจอรแผลสดไอโอดีน ยาลางแผล เช็ดแผล เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด ยาทานวด เชน ขี้ผึ้งปวดบวม เปนตน

Page 19: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 19

บทที่ 3 การจําแนกกลุมสารเคมี

สารเคมีอันตราย หมายถึง สารประกอบหรือสารที่มีองคประกอบหรือสวนผสมไมวาจะเปน

สารธรรมชาติหรือสารที่สังเคราะหขึ้นที่มีขอมูลบงชี้อยางชัดเจนวามีความเปนพิษ และเปนอันตราย มี

ลักษณะที่เฉพาะที่เปนสาเหตุใหเกิดอันตรายตอชีวิต สุขภาพ ทรัพยสิน หรือสิ่งแวดลอมเสียหาย

เนื่องจากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นหรือความไมเสถียรของสารเคมีนั้น

ระบบการจําแนกประเภทเปนอันตรายของสารเคมีจะชี้บงถึงโอกาสในการรับสัมผัสกับสารเคมี

ที่เปนอันตราย ในปจจุบันทั่วโลกไดปรับเปลี่ยนการจําแนกสารเคมีใหเปนมาตรฐานเดียวกันอยู 2

มาตรฐาน คือ ระบบการจําแนกสารเคมีในการขนสงสินคาอันตราย (ระบบ United Nations

Committee of Experts on the Transport of Dangerous Goods – UN) และการจําแนกประเภทและ

การติดฉลากสารเคมีที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก (Globally Harmonized System of Classification

and Labeling of Chemicals - GHS) การจําแนกสารเคมีแตละระบบมีรายละเอียด ดังนี้

3.1 การจําแนกความเปนอันตรายตามระบบ UN (United Nations Committee of Experts

on the Transport of Dangerous Goods)

ระบบนี้จําแนกสารที่เปนอันตรายแบงออกเปน 9 ประเภท (UN-Class) ตามลักษณะที่กอใหเกิด

อันตรายหรือความเสี่ยงในการเกิดอันตรายสําหรับการขนสงสินคาอันตราย ดังนี้

ประเภท 1 วัตถุระเบิด (Explosives)

สารระเบิดได หมายถึง ของแข็งหรือของเหลว หรือสารผสมที่สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีดวย

ตัวเองทําใหเกิดแกสที่มีความดันและความรอนอยางรวดเร็ว กอใหเกิดการระเบิดสรางความเสียหายแก

บริเวณโดยรอบได ซึ่งรวมถึงสารที่ใชทําดอกไมเพลิงและสิ่งของที่ระเบิดได แบงเปน 6 กลุมยอย

2.1 สารหรือสิ่งของที่กอใหเกิดอันตรายจากการระเบิดอยางรุนแรงทันทีทันใดทั้งหมด (Mass

Explosive เชน ลูกระเบิด เปนตน

Page 20: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 20

1.2 สารหรือสิ่งของที่มีอันตรายจากการระเบิดแตกกระจายแตไมระเบิดทันทีทันใดทั้งหมด

เชน กระสุนปน ทุนระเบิด ชนวนปะทุ เปนตน

1.3 สารหรือสิ่งของที่เสี่ยงตอการเกิดเพลิงไหมและอาจมีอันตรายบางจากการระเบิดหรือการ

ระเบิดแตกกระจาย แตไมระเบิดทันทีทันใดทั้งหมดเชน กระสุนเพลิง เปนตน

1.4 สารหรือสิ่งของที่ไมแสดงความเปนอันตรายอยางเดนชัด หากเกิดการปะทุหรือปะทุใน

ระหวางการขนสง จะเกิดความเสียหายเฉพาะภาชนะบรรจุ เชน พลุอากาศ เปนตน

1.5 สารที่ไมไวตอการระเบิด แตหากมีการระเบิดจะมีอันตรายจากการระเบิดทั้งหมด

1.6 สิ่งของที่ไวตอการระเบิดนอยมากและไมระเบิดทันทีทั้งหมด มีความเสี่ยงตอการระเบิดอยู

ในวงจํากัดเฉพาะในตัวสิ่งของนั้นและไมมีโอกาสที่จะเกิดการปะทุหรือแผกระจาย

ประเภทที่ 2 แกส (Gases)

แกส หมายถึง สารที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส มีความดันไอมากกวา 300 กิโลปาสคาลหรือ

มีสภาพเปนแกสอยางสมบูรณที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และมีความดัน 101.3 กิโลปาสคาล เชน

แกสอัด แกสพิษ แกสในสภาพของเหลว แกสในสภาพของเหลวอุณหภูมิต่ํา รวมถึงแกสที่ละลายใน

สารละลายภายใตความดัน ถาเกิดการรั่วไหลอาจกอใหเกิดอันตรายจากการลุกติดไฟและแทนที่

ออกซิเจนในอากาศ แบงเปน 3 กลุมยอย คือ

2.1 แกสไวไฟ (Flammable Gases) หมายถึง แกสที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียสและมีความดัน

101.3 กิโลปาสคาล สามารถติดไฟไดเมื่อผสมกับอากาศ 13 เปอรเซ็นต หรือต่ํากวาโดยปริมาตร หรือมี

ชวงกวางที่สามารถติดไฟได 12 เปอรเซ็นตขึ้นไป โดยปกติแกสไวไฟหนักกวาอากาศ แกสไวไฟจะลุก

ติดไฟไดงายเมื่อไดรับความรอน ประกายไฟ หรือเปลวไฟ แกสไวไฟเมื่อผสมกับอากาศอาจเกิด

สวนผสมที่ระเบิดได การไดรับแกสไวไฟที่ความเขมขนสูงอาจทําใหเกิดการระคายเคืองหรือเปนพิษ

หรือทําใหสลบ ตัวอยางของสารกลุมนี้ เชน แกสอะเซ็ตทิลีน มีเทน แกสไฮโดรเจน แอลพีจี เปนตน

2.2 แกสไมไวไฟและไมเปนพิษ (Non-flammable และ Non-toxic Gases)หมายถึง แกสที่มี

ความดันไมนอยกวา 280 กิโลปาสคาล ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส หรืออยูในสภาพของเหลว

อุณหภูมิต่ํา สวนใหญเปนแกสหนักกวาอากาศ ไมไวไฟ ไมเปนพิษ และไมกัดกรอน เชน แกส

ไนโตรเจน แกสฮีเลียม แกสคารบอนไดออกไซด การไดรับแกสกลุมนี้ที่ความเขมขนสูงอาจทําให

Page 21: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 21

หมดสติเนื่องจากขาดออกซิเจน ถาสัมผัสกับแกสเหลวอาจทําใหเกิดแผลไหม บาดเจ็บ หรือเนื้อตาย

เนื่องจากความเย็นจัด

2.3 แกสพิษ (Poison Gases)หมายถึง แกสที่มีคุณสมบัติเปนอันตรายตอสุขภาพหรือถึงแกชีวิต

ไดจากการหายใจ โดยสวนใหญหนักกวาอากาศ มีพิษสูง มีกลิ่นระคายเคือง สามารถทําใหเกิดการ

ระคายเคืองและทําอันตรายตออวัยวะตางๆ ในรางกายแกสในกลุมนี้เชน คารบอนมอนออกไซด

คลอรีน ไฮโดรเจนซัลไฟด (แกสไขเนา) เมทิลโบรไมด ฟอสจีน ซัลเฟอรไดออกไซด เปนตน

ประเภทที่ 3 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids)

ของเหลวไวไฟ หมายถึง ของเหลวหรือของเหลวผสมที่มีจุดวาบไฟ (Flash Point) ต่ํา ตั้งแต

-18 ถึง 61 องศาเซลเซียส ของเหลวไวไฟจะลุกติดไฟเมื่อไดรับความรอน ประกายไฟหรือเปลวไฟ ไอ

ระเหยของสารกลุมนี้บางชนิดเมื่อผสมกับอากาศจะเกิดสวนผสมที่ระเบิดได ภาชนะบรรจุของเหลว

ไวไฟอาจระเบิดไดเมื่อไดรับความรอน สารกลุมนี้เชน อะซีโตน เบนซีน อีเทอร เมทานอล โทลูอีน

ไซลีน ไซโคลเฮกเซน เปนตน

ประเภทที่ 4 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids)

สารที่ลุกไหมไดเองและสารที่สัมผัสกับน้ําแลวใหแกสไวไฟ แบงเปน 3 กลุมยอย คือ

4.1 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids) หมายถึง ของแข็งที่สามารถติดไฟไดงายจากการ

ไดรับความรอน ประกายไฟ เปลวไฟ หรือเกิดการลุกไหมไดจากการเสียดสี เชน กํามะถัน

ฟอสฟอรัสแดง ไนโตรเซลลูโลส เปนตน หรือเปนสารที่มีแนวโนมที่จะเกิดปฏิกิริยาคายความรอนที่

รุนแรง เชน เกลือไดอะโซเนียม เปนตน

4.2 สารที่มีความเสี่ยงตอการลุกไหมไดเอง (Substances Liable to Spontaneous Combustion)

หมายถึง สารที่มีแนวโนมจะเกิดความรอนขึ้นไดเองในสภาวะการขนสงตามปกติหรือเกิดความรอน

สูงขึ้นไดเมื่อสัมผัสกับอากาศและมีแนวโนมจะลุกไหมได เชน ฟอสฟอรัสขาว เปนตน

4.3 สารที่สัมผัสกับน้ําแลวทําใหเกิดแกสไวไฟ (Substances which in Contact with Water

Emit Flammable Gases) หมายถึง สารที่ทําปฏิกิริยากับน้ําแลวมีแนวโนมที่จะเกิดการติดไฟไดเอง

หรือทําใหเกิดแกสไวไฟในปริมาณที่เปนอันตราย เชน โซเดียม แคลเซียมคารไบดที่ทําปฏิกิริยากับน้ํา

ใหแกสอะเซ็ตทิลีน และอะลูมิเนียมฟอสไฟดทําปฏิกิริยากับน้ําใหแกสฟอสฟน เปนตน

Page 22: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 22

ประเภทที่ 5 สารออกซิไดส (Oxidizing Substances) และสารอินทรียเปอรออกไซด (Organic

peroxides)

สารออกซิไดสและสารเปอรออกไซดอินทรีย เปนสารที่ทําปฏิกิริยากับออกซิเจนแลวกระตุน

ใหเกิดการเผาไหม ไดแก สารประกอบอินทรียที่มีโครงสรางเปอรออกไซด (peroxide) R-O-O-R เปน

สารออกซิไดสที่รุนแรง สามารถระเบิด สลายตัว หรือไวตอความรอน สารกลุมนี้สามารถทําใหสาร

อื่นติดไฟไดโดยการใหออกซิเจน เมื่อเกิดเพลิงไหมสารกลุมนี้จะเรงใหเพลิงไหมรุนแรงขึ้น ภาชนะ

บรรจุของสารกลุมนี้อาจระเบิดไดเมื่อไดรับความรอน

5.1 สารออกซิไดส (Oxidizing Substances) หมายถึง ของแข็งและของเหลวที่ตัวของสารเอง

ไมติดไฟ แตใหออกซิเจนซึ่งชวยใหวัตถุอื่นเกิดการลุกไหมและอาจจะกอใหเกิดไฟ เมื่อสัมผัสกับสารที่

ลุกไหมและเกิดการระเบิดอยางรุนแรง เชน ไฮโดรเจนเปอรออกไซด แคลเซียมไฮโปคลอไรต โซเดียม

คลอเรต เปนตน

5.2 สารอินทรียเปอรออกไซด (Organic Peroxides) หมายถึง ของแข็งและของเหลวที่มี

โครงสราง “-O-O-“ ที่เรียก peroxide ชวยในการเผาสารที่ลุกไหม หรือทําปฏิกิริยากับสารอื่นแลว

กอใหเกิดอันตรายได หรือเมื่อไดรับความรอนหรือลุกไหมแลวภาชนะบรรจุสารนี้อาจระเบิดได เชน

อะซีโตนเปอรออกไซด เมทิล เอทิลคีโตนเปอรออกไซด เปนตน

ประเภทที่ 6 สารพิษ (Toxic substances ) และสารติดเชื้อ (Infectious Substances)

6.1 สารพิษ หมายถึง ของแข็งหรือของเหลวที่สามารถทําใหเสียชีวิตหรือบาดเจ็บ เปน

อันตรายอยางรุนแรงตอสุขภาพ หากกลืน สูดดมหรือหายใจรับสารนี้เขาไป เชน ตะกั่ว หรือเมื่อสารนี้

ไดรับความรอนหรือลุกไหมจะปลอยแกสพิษ เชน โซเดียมไซยาไนด สารประกอบของสารหนู กลุม

สารกําจัดศัตรูพืช เปนตน

6.2 สารติดเชื้อ หมายถึง สารที่มีเชื้อโรคปนเปอนหรือสารที่มีตัวอยางการตรวจสอบพยาธิ

สภาพปนเปอนที่เปนสาเหตุของการเกิดโรคในสัตวและคน เชน แบคทีเรียที่ทําใหเกิดโรค ราที่ทําให

เกิดโรค สารพิษจากเชื้อรา เปนตน

Page 23: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 23

ประเภทที่ 7 วัสดุกัมมันตรังสี (Radioactive Materials)

วัสดุกัมมันตรังสี หมายถึง สารกัมมันตภาพรังสีที่ใหรังสีสูงกวา 74 kBq/kg ระดับอันตราย

จากการแผรังสีมีตั้งแตนอยจนถึงมากขึ้นกับชนิดและปริมาณของสารกัมมันตภาพรังสี การไดรับรังสี

อาจเกิดอันตรายไดเชน ทําใหเปนมะเร็งได สารกลุมนี้เชน ยูเรเนียม โคบอลต-60 พลูโตเนียม โมนาไซด

เปนตน

ประเภทที่ 8 สารกัดกรอน (Corrosive Substances)

สารกัดกรอน หมายถึง ของแข็งหรือของเหลว โดยปฏิกิริยาเคมีมีฤทธิ์กัดกรอนทําความ

เสียหายตอเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิตอยางรุนแรง ทําลายสินคา ยานพาหนะที่ทําการขนสง หรือกัดกรอน

เหล็กหรืออะลูมิเนียมที่ไมไดมีการเคลือบผิว กัดกรอนโลหะ เมื่อเกิดการรั่วไหลของไอระเหยของสาร

ประเภทนี้บางชนิดกอใหเกิดการระคายเคืองตอจมูกและตา ตัวอยางเชน กรดเกลือ กรดกํามะถัน

โซเดียมไฮดรอกไซด แคลเซียมไฮดรอกไซด เปนตน

ประเภทที่ 9 วัสดุอันตรายอื่นๆ (Miscellaneous Dangerous Substances and Articles)

วัสดุอันตรายอื่นๆ หมายถึง สารหรือสิ่งของที่ไมจัดอยูในประเภทที่ 1 ถึงประเภทที่ 8 เชน

ปุยแอมโมเนียมไนเตรต เปนตน และรวมถึงสารที่ตองควบคุมใหมีอุณหภูมิไมต่ํากวา 100 องศา

เซลเซียสในสภาพของเหลว หรือมีอุณหภูมิไมต่ํากวา 240 องศาเซลเซียสในสภาพของแข็ง เชน

น้ําแข็งแหง สารใยหิน (asbestos) เปนตน

3.2 การจําแนกความเปนอันตรายตามระบบ GHS (Globally Harmonized System of

Classification and Labeling of Chemicals)

องคกรสหประชาชาติไดจัดทํา ระบบการจําแนกความเปนอันตรายของสารเปนระบบ GHS

เพื่อเปนการระบุอันตรายที่พบจากสารเคมีและสารผสมเคมี เพื่อสื่อสารถึงขอมูลที่บอกความเปน

อันตรายของสารนั้น เกณฑในการจําแนกประเภทสินคาอันตรายถูกทําใหเปนรูปแบบเดียวกัน ระบบ

การจําแนกแบบนี้มีความซับซอนโดยอาศัยขอมูลจากการทดสอบ ประวัติและประสบการณที่ไดปฏิบัติ

ใชระบบสัญลักษณที่เปนอักษรไดทําใหเปนมาตรฐานแสดงความเปนอันตรายที่เปนระบบสากล เพื่อให

ครอบคลุมอันตรายทั้งทางดานกายภาพ สุขภาพ และสิ่งแวดลอม โดยมีรายละเอียด ดังนี้

Page 24: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 24

ตารางที่ 3.1 การจําแนกความเปนอันตรายตามระบบ GHS

ความเปนอันตรายทางกายภาพ (16 ประเภท)

1. วัตถุระเบิด 2. แกสไวไฟ3. ละอองลอยไวไฟ4. แกสออกซิไดส5. แกสภายใตความดัน6. ของเหลวไวไฟ

7. ของแข็งไวไฟ8. ของเหลวออกซิไดส9. ของแข็งออกซิไดส10. สารเดี่ยวหรือสารผสมที่ทําปฏิกิริยาไดเอง11. ของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ12. ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ

13. สารเดี่ยวหรือสารผสมที่เกิดความรอนไดเอง14. สารเดี่ยวหรือสารผสมที่สัมผัสน้ําแลวใหแกสไวไฟ15. สารเปอรออกไซดอินทรีย16. สารกัดกรอนโลหะ

ความเปนอันตรายตอสุขภาพ (10 ประเภท)

1. ความเปนพิษเฉียบพลัน

2. การกัดกรอนและการระคายเคืองตอผิวหนัง

3. การทําลายดวงตาอยางรุนแรงและระคายเคือง

4. การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบหายใจหรือผิวหนัง

5. การกอใหเกิดการกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ

6. การกอมะเร็ง

7. ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ

8. ความเปนพิษตออวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสครั้งเดียว

9. ความเปนพิษตออวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสซ้ํา

10. ความเปนอันตรายจากการสําลัก

ความเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม (2 ประเภท)

1. ความเปนพิษเฉียบพลันตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา 2. ความเปนพิษเรื้อรังตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา

http://en.wikipedia.org/wiki/Globally_Harmonized_System_of_Classification_and_Labelling_of_Chemicals

https://www.osha.gov/dsg/hazcom/ghs.html#3.1

3.2.1 ความเปนอันตรายทางกายภาพ (Physical Harzards)

3.2.1.1 วัตถุระเบิด (Explosives) คือ สารเดี่ยว สารผสม และสิ่งของของประเภทนี้ที่ไดจําแนก

เปนวัตถุระเบิดที่ไมเสถียรใหเปนไปตามชนิดความเปนอันตรายที่แสดงออกมาโดยแบงออกเปน

ประเภทยอยดังนี้

ประเภทยอย 1.1 Mass explosive hazard คือ สารและสิ่งของที่กอใหเกิดอันตรายจากการ

ระเบิดทั้งมวล ซี่งการระเบิดทั้งมวล หมายถึง การระเบิดของปริมาณสารที่มีอยูทั้งหมดอยางทันที

Page 25: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 25

ประเภทยอย 1.2 Projection Hazard คือ สารและสิ่งของที่มีความเปนอันตรายเกิดจากการยิง

ชิ้นสวนแตไมเกิดการระเบิดทั้งมวล

ประเภทยอย 1.3 Fire hazard and minor projection hazard คือ สารและสิ่งของที่มีความเสี่ยง

ในความเปนอันตรายจากการเกิดเพลิงไหม และมีอันตรายเล็กนอยจากการยิงชิ้นสวน อยางใดอยางหนึ่ง

หรือทั้งสองอยาง แตตองไมเกิดการระเบิดทั้งมวล การลุกไหมของสารและสิ่งของทําใหเกิดความรอน

และการแผรังสีความรอนอยางมาก ซึ่งถาเผาไหมติดตอกันจะกอใหเกิดผลของการระเบิดเล็กนอย

ประเภทยอย 1.4 No significant hazard คือ สารและสิ่งของที่มีความเสี่ยงเพียงเล็กนอยในการ

อันตราย หากมีการจุดระเบิดหรือปะทุในระหวางการขนสง ความเสียหายโดยสวนใหญจะอยูเฉพาะ

ภายในหีบหอที่หอหุมอยู

ประเภทยอย 1.5 Very insensitive substances with mass explosion hazard คือ สารที่มีความไว

นอย และมีโอกาสเกิดอันตรายจากการเกิดระเบิดทั้งมวลต่ํามาก จนการเกิดการปะทุหรือชวงเปลี่ยน

สภาวะจากการเผาไหมไปสูการระเบิดเปนไปไดนอยมาก

ประเภทยอย 1.6 Extremely insensitive articles with no mass explosion hazard คือ สิ่งของที่

มีความไวต่ํามากๆ ซึ่งไมเปนอันตรายจากการระเบิดทั้งมวล และแทบจะไมมีโอกาสเกิดการปะทุหรือ

การแตกกระจาย

3.2.1.2 แกสไวไฟ (Flammable Gases)

แกสไวไฟ คือ แกสที่มีชวงความไวไฟกับอากาศที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส และที่ความดัน

บรรยากาศ 101.3 กิโลพาสคัล เชน มีเทน โพรพิลีน โพรเพน ไฮโดรเจน อะเซ็ตทิลีน เปนตน

3.2.1.3 ละอองลอยไวไฟ (Flammable Aerosols)

ละอองลอยเปนแกสที่ถูกอัดแนน ทําใหเปนของเหลว หรือละลายภายในภาชนะปดที่ไม

สามารถบรรจุใหมได โดยภาชนะอาจทํามาจากโลหะ แกว หรือพลาสติก และติดตั้งอุปกรณสําหรับ

ปลอยสารออกมาในรูปอนุภาคที่เปนของแข็งหรือของเหลวที่แขวนลอยอยูในแกสในรูปของแกส โฟม

ครีม หรือผงฝุน หรือในสถานะของเหลว และควรพิจารณาจําแนกประเภทละอองลายที่บรรจุใน

ภาชนะพนหรือฉีดเปนสารไวไฟ ละอองลอยแบงเปน ละอองลอย สเปร ละอองลอยโฟม ละอองลอย

ยังจําแนกเกี่ยวกับการไวไฟออกเปนละอองลอยไวไฟสูง ละอองลอยไวไฟ และละอองลอยไมไวไฟ

Page 26: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 26

ละอองลอยที่บรรจุอยูในภาชนะปดที่ไมสามารถบรรจุใหม

3.2.1.4 แกสออกซิไดส (Oxidizing Gases)

แกสออกซิไดส คือ แกสที่โดยทั่วไปจะใหออกซิเจนออกมา อาจเปนสาเหตุหรือมีสวนทําให

เกิดการเผาไหมวัสดุอื่นมากกวาที่อากาศทั่วไปสามารถทําได เชน แกสคลอรีน แกสโบรมีน เปนตน

3.2.1.5 แกสภายใตความดัน (Gases under Pressure)

แกสภายใตความดัน คือ แกสที่บรรจุอยูในภาชนะบรรจุที่มีความดันไมต่ํากวา 280 กิโลพาสคัล

ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส หรือเปนของเหลวอุณหภูมิต่ํา แกสภายใตความดันจําแนกเปน แกสอัด

(compressed gases) เปนแกสทั้งหมดที่ -50 องศาเซลเซียส, แกสเหลว (liquefied gases) มีบางสวนเปน

ของเหลวที่อุณหภูมิสูงกวา -50 องศาเซลเซียส, แกสเหลวเย็นจัด (refrigerated liquefied gases)

บางสวนเปนของเหลวเพราะอุณหภูมิต่ํา, แกสในสารละลาย (dissolved gases) แกสที่ละลายในตัวทํา

ละลายที่เปนของเหลว เปนตน

3.2.1.6 ของเหลวไวไฟ (Flammable Liquids)

ของเหลวไวไฟ หมายถึง ของเหลวที่มีจุดวาบไฟไมเกิน 93 องศาเซลเซียส เชน ไซโคลเฮกเซน

เบนซีน โทลูอีน ไซโคลเฮกเซน อะซีโตน เปนตน จําแนกเปน 4 ประเภทตามจุดวาบไฟ

ประเภทที่ 1 มีจุดวาบไฟ < 23 องศาเซลเซียส และจุดเดือดเริ่มตน 35 องศาเซลเซียส

ประเภทที่ 2 มีจุดวาบไฟ < 23 องศาเซลเซียส และจุดเดือดเริ่มตน > 35 องศาเซลเซียส

ประเภทที่ 3 มีจุดวาบไฟ ≥ 23 องศาเซลเซียส และ 60 องศาเซลเซียส

ประเภทที่ 4 มีจุดวาบไฟ ≥ 60 องศาเซลเซียส และ 93 องศาเซลเซียส

Page 27: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 27

3.2.1.7 ของแข็งไวไฟ (Flammable Solids)

ของแข็งไวไฟเปนของแข็งที่ลุกติดไฟไดงาย หรืออาจเปนสาเหตุหรือชวยใหเกิดไฟโดยอาศัย

ความเสียดทานของแข็งที่ลุกติดไฟไดงายเปนสารที่มีลักษณะเปนผง (powdered) เปนเม็ดขนาดเล็ก

(granular) หรือที่มีลักษณะคลายแปงเปยก (pasty substance) ซึ่งเปนอันตรายถาสารดังกลาวลุกติดไฟ

ไดงายโดยการสัมผัสเพียงสั้น ๆ กับแหลงกําเนิดประกายไฟ เชน ไมขีดไฟที่กําลังลุกไหมและเปลวไฟ

จะลุกลามอยางรวดเร็ว เชน ฟอสฟอรัสแดง

ฟอสฟอรัสแดง

3.2.1.8 สารเดี่ยวหรือสารผสมที่ทําปฏิกิริยาไดเอง (Self-Reactive Substances)

สารเดี่ยวหรือสารผสมที่ทําปฏิกิริยาไดเอง คือ สารเดี่ยวหรือสารผสมในสถานะของแข็งหรือ

ของเหลวที่ไมเสถียรทางความรอน และมีแนวโนมที่จะสลายตัวแลวคายความรอนอยางรุนแรง

(strongly exothermic thermal decomposition) ถึงแมวาจะไมมีออกซิเจนหรืออากาศเขาสวนรวม

ปฏิกิริยา คําจํากัดความของสารกลุมนี้ไมรวมสารเดี่ยวและสารผสมที่จําแนกภายใตระบบ GHS วาเปน

วัตถุระเบิด สารเปอรออกไซดอินทรีย หรือเปนสารออกซิไดส

3.2.1.9 ของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ (Pyrophoric liquids)

ของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ คือ ของเหลวที่แมจะมีปริมาณนอย แตมีแนวโนมที่จะลุก

ติดไฟภายในหานาทีหลังจากไดสัมผัสกับอากาศ เชน ไดเอทิลซิงค ไตรเอทิลดบเรน ไตรบิวทิลฟอสฟน

ไฮดราซีน สารละลายที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ เชน เมทิลลิเทียม บิวทิลลิเทียม เปนตน

Page 28: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 28

ขณะที่ทดลองกับของเหลวหรือของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศตองระมัดระวัง เชน ตองให

แกสเฉื่อยเหนือบรรยากาศเพื่อปองกันการลุกติดไฟ

3.2.1.10 ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ (Pyrophoric Solids)

ของแข็งที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ คือ ของแข็งที่มีแนวโนมที่จะลุกติดไฟภายในหานาที

หลังจากไดสัมผัสกับอากาศ (ถึงแมจะมีปริมาณนอย) เชน โลหะแมกนีเซียม ลิเทียม โซเดียม

โพแทสเซียม สารรีดิวซลิเทียมอะลูมิเนียมไฮไดรด เปนตน

3.2.1.11 สารเดี่ยวหรือสารผสมที่เกิดความรอนไดเอง (Self-Heating Substances)

สารเคมีที่เกิดความรอนไดเอง หมายถึง สารเดี่ยวหรือสารผสมที่เปนของแข็งหรือของเหลวที่ไม

เปนสารที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศ เมื่อสารที่เกิดความรอนไดเองทําปฏิกิริยากับอากาศโดยไมตองมี

พลังงานจากภายนอกชวย จะมีแนวโนมคายความรอนดวยตัวเอง สารเดี่ยวหรือสารผสมนี้แตกตางจาก

ของแข็งหรือของเหลวที่ลุกติดไฟไดเองในอากาศในลักษณะที่จะลุกติดไฟไดก็ตอเมื่อมีปริมาณมาก

(หลายกิโลกรัม) และสะสมอยูดวยกันเปนระยะเวลานาน (หลายชั่วโมงหรือหลายวัน) เชน ถานหิน

(coal) ปุยสังเคราะหบางชนิดที่ประกอบดวยไนเทรตและกรดอิสระ เปนตน

3.2.1.12 สารเดี่ยวหรือสารผสมที่สัมผัสน้ําแลวใหแกสไวไฟ (Substances which in contact

with water, emit flammable gases)

สารเคมีที่สัมผัสกับน้ําแลวใหแกสไวไฟ คือ สารเดี่ยวหรือสารผสมที่เปนของแข็งหรือ

ของเหลวซึ่งทําปฏิกิริยากับน้ํา แลวมีแนวโนมที่จะติดไฟไดงายโดยตัวมันเองหรือปลอยแกสไวไฟ

ออกมาในปริมาณมากๆ เชน โลหะโซเดียม อะลูมิเนียมลิเทียมไฮไดรด แคลเซียมคารไบด เปนตน

2.1.13 ของเหลวออกซิไดส (Oxidizing Liquids)

ของเหลวออกซิไดส คือ ของเหลวใดๆ ที่โดยทั่วไปจะปลอยแกสออกซิเจนมา และเปนสาเหตุ

หรือมีสวนทําใหเกิดการเผาไหมวัสดุอื่นมากกวาที่อากาศทั่วไปสามารถทําได เชน โบรมีนของเหลว

(liquid bromine) ออกซิเจนเหลว (liquid oxygen) เปนตน

Page 29: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 29

3.2.1.14 ของแข็งออกซิไดส (Oxidizing Solids)

ของแข็งออกซิไดส คือ ของแข็งใดๆ ที่โดยทั่วไปจะปลอยแกสออกซิเจนมา อาจเปนสาเหตุ

หรือมีสวนทําใหเกิดการเผาไหมวัสดุอื่นมากกวาที่อากาศทั่วไปสามารถทําได เชน โพแทสเซียมเปอร

แมงกาเนต โพแทสเซียม ไดโครเมต เปนตน

3.2.1.15 สารเปอรออกไซดอินทรีย (Organic Peroxides)

สารเปอรออกไซดอินทรีย คือ สารอินทรียที่เปนของแข็งหรือของเหลวซึ่งประกอบดวย

โครงสรางที่มีออกซิเจนสองอะตอมเกาะกัน (Bivalent -O-O- structure) และอาจพิจารณาวาเปน

อนุพันธของไฮโดรเจนเปอรออกไซด เมื่อหนึ่งอะตอมหรือสองของไฮโดรเจนถูกแทนที่โดยอนุมูล

อิสระของอินทรีย (organic radical) คํานี้ยังรวมถึงสารผสมของเปอรออกไซดอินทรีย

คุณสมบัติของสารเปอรออกไซดอินทรีย คือ มีแนวโนมสลายตัวแลวระเบิดได ติดไฟอยาง

รวดเร็ว ไวตอการถูกเสียดสี และ เกิดปฏิกิริยากับสารอื่นอยางรุนแรง สารกลุมนี้ เชน ไดเอทิลเปอร

ออกไซด เปอรออกซีอะซีติก แอซิด เปนตน

3.2.1.16 สารกัดกรอนโลหะ (Corrosive to Metals)

สารกัดกรอนโลหะ คือ สารเดี่ยวหรือสารผสมที่เกิดปฏิกิริยาเคมีแลวทําใหเกิดความเสียหาย

หรือทําลายวัสดุที่เปนโลหะ ทําใหเกิดการสึกกรอน เชน กรดแก เบสแก เปนตน ซึ่งอุปกรณ เครื่องมือ

หรือยานพาหนะ เชน เครื่องบิน ถาถูกสารกลุมนี้บอยๆ จะทําใหผุหรือเกิดรอยรั่วได

3.2.2 ความเปนอันตรายตอสุขภาพ (Health Hazards)

สําหรับความเปนอันตรายตอสุขภาพ GHS ไดจําแนกประเภทสารตามระบบของพิษวิทยา เชน

การออกฤทธิ์ อวัยวะเปาหมายที่เกิดพิษ โดยจําแนกเปน 10 ประเภท ไดแก

3.2.2.1 ความเปนพิษเฉียบพลัน (Acute Toxicity)

ความเปนพิษเฉียบพลัน หมายถึง ความเปนพิษหรือผลรายแรงตอรางกายของสิ่งมีชีวิตที่เกิดขึ้น

ภายหลังจากการไดรับสารเคมีทางปากหรือทางผิวหนังเพียงครั้งเดียวหรือหลายครั้งภายในเวลา 24

ชั่วโมง หรือไดรับทางการหายใจเปนเวลา 4 ชั่วโมง ตัวอยางสารเปนพิษเฉียบพลัน เชน ไซยาไนด แกส

คารบอนมอน็อกไซด คลอรีน ไนตรัสออกไซด สารกําจัดแมลง เปนตน

Page 30: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 30

3.2.2.2 การกัดกรอนและการระคายเคืองตอผิวหนัง (Skin Corrosion/Irritation)

การกัดกรอนตอผิวหนัง หมายถึง การเกิดอันตรายตอผิวหนังชนิดไมสามารถกลับคืนสูสภาพ

เดิมได หลังจากมีการทดสอบกับสารทดสอบเปนระยะเวลา 4 ชั่วโมง ปฏิกิริยาการกัดกรอนมักจะพบ

อาการของการเกิดแผล เลือดออก สะเก็ดแผลมีเลือดออก หลังจากเฝาสังเกตอาการ 14 วัน จนถึงขั้น

การเปลี่ยนแปลงสีของผิวจากการกัดสีผิว และเกิดแผลเปน ตัวอยางสารกัดกรอน เชน กรดแก เบสแก

เปนตน

การระคายเคืองตอผิวหนัง หมายถึง การเกิดอันตรายตอผิวหนังชนิดสามารถกลับคืนสูสภาพ

เดิมไดหลังจากไดมีการทดสอบกับสารทดสอบเปนระยะเวลา 4 ชั่วโมง ตัวอยางสาระคายเคือง เชน

ไฮโดรเจนเปอรออกไซด เปนตน

3.2.2.3 การทําลายดวงตาอยางรุนแรงและระคายเคือง (Serious Eye Damage/Eye

Irritation)

อันตรายอยางรุนแรงตอดวงตา หมายถึง การเกิดความเสียหายตอเนื้อเยื่อตา การสลายตัวทาง

กายภาพอยางรุนแรงตอการมองเห็นหลังจากไดรับสารสัมผัสกับเยื่อดานหนาของดวงตา อาการเจ็บนี้

ไมสามารถกลับสูสภาพเดิมได ภายในเวลา 21 วันหลังจากไดรับสัมผัส ตัวอยางสารกลุมนี้ เชน

2-bromobutanoic acid และ 1,1,1-trichloro-2-methyl propan-2-ol เปนตน

การระคายเคืองดวงตา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงของดวงตาภายหลังการไดรับสัมผัสสารที่เยื่อ

ดานหนาของดวงตา อาการนี้สามารถกลับสูสภาพเดิมได ภายในเวลา 21 วันหลังการไดสัมผัสสาร

ตัวอยางสารกลุมนี้ เชน ฟอรมาลดีไฮด ไฮโดรเจนซัลไฟด เปนตน

3.2.2.4 การทําใหไวตอการกระตุนอาการแพตอระบบหายใจหรือผิวหนัง (Respiratory or

Skin Sensitization)

สารกระตุนอาการแพตอระบบทางเดินหายใจ หมายถึง สารเคมีซึ่งทําใหเกิดภาวะภูมิไวเกินใน

ทางเดินหายใจหลังจากไดรับสารจากการหายใจ ตัวอยางสารกลุมนี้ เชน 1-butanol, polyurethane เปน

ตน

Page 31: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 31

สารกระตุนอาการแพตอผิวหนัง หมายถึง สารเคมีซึ่งทําใหเกิดอาการภูมิแพหลังจากไดรับ

สารเคมีหลังจากไดรับสัมผัสสารทางผิวหนัง ตัวอยางสารกลุมนี้ เชน แอมโมเนียมโครเมต เมอรคูริก

ซัลเฟต เปนตน

3.2.2.5 การกอใหเกิดการกลายพันธุของเซลลสืบพันธุ (Germ Cell Mutagenicity)

การกลายพันธุ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงจํานวนหรือโครงสรางของสารพันธุกรรมในเซลล

อยางถาวร สารกอการกลายพันธุ หมายถึง สารเคมีหรือสิ่งที่สามารถทําใหเกิดการกลายพันธุของเซลล

สืบพันธุซึ่งสามารถถายทอดสูลูกหลาน ตัวอยางสารกลุมนี้ เชน เอทิเดียม โบรไมด (ethidium bromide)

ไฮดรอกซีลามีน เบนซีน พอลีซิคลิกแอโรเมติกไฮโดรคารบอน (polycyclic aromatic hydrocarbons,

PAHs) เมทิลออรเจน (methyl orange), 5-bromouracil เปนตน

3.2.2.6 การกอมะเร็ง (Carcinogenicity)

สารกอมะเร็ง หมายถึง สารเคมีหรือสารผสมซึ่งสามารถทําใหเกิดมะเร็งหรือเพิ่มอุบัติการณ

ของการเกิดมะเร็ง สารเคมีซึ่งสามารถทําใหเกิดกอนเนื้องอกชนิดไมรุนแรง (Begin) และรุนแรง

ลุกลาม (Malignarnt) ซึ่งสถาบันมะเร็งระหวางประเทศ International agency for Research on cancer

(IARC) ไดจําแนกสารตามการกอใหเกิดโรคมะเร็ง ดังนี้

กลุม ความเปนสารกอมะเร็ง ตัวอยางสาร1 เปนสารกอมะเร็งตอมนุษย

(Carcinogenic to Humans)ส า ร ห นู , เ บ ริ ล เ ลี ย ม , โ ค ร เ มี ย ม ( VI), แคดเมียม, นิเกิล, เบนซีน, 1,3-บิวทาไดอีน, เอทิลลีนออกไซด, ฟอรมาลดีไฮด, บุหรี่, ไวนิลคลอไรด, เรเดียม, เรดอน, แสงอัลตราไวโอเลต, รังสีเอ็กซ, รังสีแกมมา เปนตน

2A นาจะเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย(Probably Carcinogenic to Humans.)

อะครีลาไมด, คอลแรมฟนิเคิล, ไวนิลโบรไมด, ไดเอทิลซัลเฟต, เอทิลีนไดโบรมีน, อีพิคลอโรไฮดริน, แสงอัลตราไวโอเลต A, B และ C เปนตน

2B อาจเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย(Possibly Carcinogenic to Humans.)

อะเซ็ตทาดีไฮด, อะเซ็ตทามีด, เอฟลาท็อกซิน M1, คารบอน เตตระคลอไรด , คลอโรฟอรม, โคบอลต, ดีดีที, ไดคลอโร

Page 32: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 32

มีเทน, สารกําจัดศัตรูพืชหลายชนิด, ตะกั่ว, สไตรีน, ไวนิลอะซี เตรต, แกสโซลีน, น้ํามันดีเซล เปนตน

3 ไมสามารถจัดวาเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย (Not Classifiable as to Carcinogenicity in Humans.)

สารกลุมนี้มีหลายชนิด สามารถสืบคนขอมูลได เชน แอมพิซิลีน, เบนซิลอะซีเตรต, โบรโมฟอรม, คลอโรอีเทน, สารกําจัดแมลงกลุมออรแกโนฟอสฟอรัสและคารบาเมตหลายชนิด, ไซลีน เปนตน

4 อาจไมเปนสารกอมะเร็งตอมนุษย(Probably Not Carcinogenic to Humans.)

คาโพรแลกแตม

http://en.wikipedia.org/wiki/International_Agency_for_Research_on_Cancer

3.2.2.7 ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ (Reproductive Toxicity)

ความเปนพิษตอระบบสืบพันธุ หมายถึง การเกิดความผิดปกติเกี่ยวกับสมรรถภาพทางเพศ

และการปฏิสนธิในเพศชายและหญิง รวมถึงความผิดปกติเกี่ยวกับการพัฒนาการของเด็ก การจําแนก

ประเภทสําหรับความเปนพิษตอระบบสืบพันธุนี้จะแบงเปน 2 กลุมยอย คือ

1. อันตรายตอการทํางานของอวัยวะทางเพศและการปฏิสนธิ

สารที่ทําใหเกิดอันตรายตอความสามารถในระบบสืบพันธุ หมายถึง สารที่ทําใหเกิด

การเปลี่ยนแปลงตอระบบสืบพันธุของทั้งเพศชายและเพศหญิง ระยะเวลาการเขาสูวัยเจริญพันธุ การ

สรางและการขนสงเซลลสืบพันธุ วงจรของระบบสืบพันธุ สมรรถภาพทางเพศ การปฏิสนธิ การคลอด

ผลที่เกิดขึ้นจากการตั้งครรภ การเจริญพันธุ การเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาความสมบูรณของระบบ

สืบพันธุตัวอยางสารกลุมนี้ เชน อะเซ็ตทาดีไฮด, เครื่องดื่มเอทานอล, อะนีลีน, สารหนู, เบนซีน,

คารบอนไดซัลไฟด, 1,3-บิวทาไดอีน, คารบอนมอน็อกไซด, คารบอนเตตระคลอไรด, คลอโรฟอรม,

ควันบุหรี่ เปนตน

2. อันตรายตอการพัฒนาของเด็ก

อันตรายตอการพัฒนาของเด็กจะครอบคลุมถึงความผิดปกติใดๆ ก็ตามที่รบกวนการ

พัฒนาปกติของมนุษย ไมวาจะกอนหรือหลังคลอด จากการที่แมไดรับสารเคมีทั้งในชวงกอนหรือ

แมแตหลังคลอดจนถึงชวงวัยเจริญพันธุ สารกลุมนี้อาจทําใหเกิดอันตรายไดทั้งในระหวางตั้งครรภอัน

เปนผลจากการรับสัมผัสสารเคมีของพอแม อาการที่แสดงนั้นอาจเกิดในระยะเวลาใดๆ ในชวงชีวิตของ

Page 33: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 33

ชีวิต อาการหลักที่เกิดขึ้น เชน เสียชีวิต โครงสรางผิดปกติ การเจริญเติบโตผิดปกติ และเสื่อม

สมรรถภาพ ตัวอยางสารกลุมนี้ เชน เครื่องดื่มแอลกอฮอล, คารบอนมอน็อกไซด, ควันบุหรี่, โคเคน,

ไดเอทิลสติลเบสตรอล, ทาลิโดไมด เปนตน

3.2.2.8 ความเปนพิษตออวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสครั้งเดียว

(Specific Target Organ System Toxicity (TOST)-Single Exposure)

สารเคมีที่เปนอันตรายตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง แตไมถึงระดับการเสียชีวิต

จากการไดรับสัมผัสครั้งเดียว อันตรายที่เกิดขึ้นไดแกความผิดปกติของระบบตางๆ ของรางกาย ทั้ง

ประเภทสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดและไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดแบบเฉียบพลันและหรือ

เรื้อรัง

3.2.2.9 ความเปนพิษตออวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจงจากการรับสัมผัสซ้ํา (Specific

Target Organ System Toxicity (TOST)-Multiple Exposure)

สารเคมีที่เปนอันตรายตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง แตไมถึงระดับการเสียชีวิต

จากการไดรับสัมผัสซ้ํา อันตรายที่เกิดขึ้น เชน ความผิดปกติของระบบตางๆ ของรางกาย ทั้งประเภท

สามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดและไมสามารถกลับคืนสูสภาพเดิมไดแบบเฉียบพลันและ/หรือเรื้อรัง

สารเคมีกลุมนี้มีความเปนพิษตอระบบอวัยวะเปาหมายอยางเฉพาะเจาะจง

3.2.2.10 ความเปนอันตรายจากการสําลัก (Aspiration Hazards)

การสําลัก หมายถึง การที่ผลิตภัณฑเคมีที่เปนของเหลวหรือของแข็งเขาสูหลอดลมและระบบทางเดินหายใจสวนลางไดโดยตรงคือผานทางปากหรือโพรงจมูก หรือทางออมโดยการอาเจียน เมื่อสําลักจะทําใหเกิดระคายเคืองตอระบบทางเดินอาหารและระบบหายใจสวนบนได อาการเจ็บคือ เจ็บหรือแสบหลอดลม สารกลุมนี้ เชน สารกลั่นจากปโตรเลียม แอลกอฮอลชนิดปฐมภูมิบางชนิด เปนตน

3.2.3 ความเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม (Environmental Hazards)

3.2.3.1 ความเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา (Hazard to Aquatic environment)

3.2.3.1.1 ความเปนพิษเฉียบพลันตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา (Acute Aquatic Toxicity)

ความเปนพิษเฉียบพลันตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา หมายถึง สมบัติของสารที่เปนสาเหตุทําให

เกิดการบาดเจ็บของสิ่งมีชีวิตในน้ําภายในระยะเวลาสั้นๆ เมื่อไดรับสารนั้น วัตถุที่เปนอันตรายตอ

Page 34: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 34

สิ่งมีชีวิตในน้ําเมื่อไดรับในระยะเวลาสั้นๆ อาจเปนสารเดี่ยวหรือสารผสม สารกลุมนี้แบงตามความเปน

พิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา คือ เปนพิษตอปลา (mean lethal concentration, LD50) เปนพิษตอสัตวกลุมปู กุง

(crustacean) (mean effective concentration, EC50) และเปนพิษตอสาหรายและพืชน้ํา (ErC50) เชน พา

ราควอต สารกําจัดแมลง เปนตน

3.2.3.1.2 ความเปนพิษแบบเรื้อรังตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา (Chronic Aquatic Toxicity)

ความเปนพิษแบบเรื้อรังตอสิ่งมีชีวิตในน้ํา หมายถึง สมบัติของสารที่เปนสาเหตุทําให

เกิดการบาดเจ็บของสิ่งมีชีวิตในน้ําเมื่อไดรับในระยะเวลานาน ระยะเวลาที่ไดรับสารมีสัมพันธกับวงจร

ชีวิต สารเดี่ยวหรือสารผสมของสารกลุมนี้สลายตัว (degradation) สะสมในสิ่งมีชีวิต (bioaccumulation)

หรือ สะสมในหวงโซอาหาร (biomagnifications) เชน แคดเมียม ปรอท เปนตน

3.2.3.2 ความเปนอันตรายตอชั้นโอโซน (Hazard to the ozone layer)

สารที่เปนอันตรายตอชั้นโอโซน เชน คลอโรฟลูออโรคารบอนชนิดตางๆ ซึ่งเปนสารที่

นําใชในเครื่องทําความเย็น ใชทําใหของเหลวถูกฉีดพนได แตสารกลุมนี้สลายตัวชามากเมื่อลอยขึ้นไป

ถึงชั้นโอโซนจะทําปฏิกิริยากับโอโซนทําใหปริมาณโอโซนลดลง ซึ่งจะสงผลใหรังสีจากดวงอาทิตยเขา

สูผิวโลกมากขึ้น และพบวามีความสัมพันธกับการเกิดเปนมะเร็งผิวหนัง รวมทั้งสารกลุมนี้ยังเปนสารที่

กอใหเกิดภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงสารหนึ่ง

Page 35: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 35

บทที่ 4 สัญลักษณแสดงความเปนอันตรายของสารเคมี

สัญลักษณแสดงความเปนอันตรายของสารเคมีเปนเครื่องหมายหรือสัญญาณเตือนเพื่อให

ตระหนักถึงอันตรายและความรุนแรงของสารเคมี ผูที่ทํางานเกี่ยวกับสารเคมีจําเปนตองมีความเขาใจ

ฉลากของสารเคมีเพื่อสามารถปฏิบัติงานไดอยางเหมาะสม และยังเปนการปองกันอันตรายจากสารเคมี

และเลือกอุปกรณปองกันอันตรายที่ปองกันไดอยางเหมาะสม ในปจจุบันทั่วโลกมีการติดฉลากสารเคมี

เปนระบบเดียวกันคือ ระบบ The Globally Harmonized System of Classification and Labeling of

Chemicals (GHS) และในการขนสงสินคาอันตรายใชระบบ United Nations Committee Of Experts on

the Transport of Dangerous Goods (UN) ดังนั้น ผูทํางานในหองปฏิบัติการจึงมีความจําเปนตองทราบ

ระบบสัญลักษณของทั้งสองระบบนี้

เนื่องจากสารเคมีในหองปฏิบัติการบางชนิดยังมีการติดฉลากแบบเดิมซึ่งยังไมมีการเปลี่ยนเปน

ระบบ GHS ผูทํางานจึงควรมีความเขาใจและสามารถปรับเปลี่ยนระบบสัญลักษณจากระบบ The

National Fire Protection Association (NFPA) ของสหรัฐอเมริกา และระบบ The European Economic

Committee (EEC) ของสหภาพยุโรปใหเปนระบบ UN และ GHS เพราะจะมีประโยชนสําหรับผู

ทํางานในการใชการจัดเก็บสารเคมี การกําจัด และการปองกันอันตรายจากสารเคมี ระบบแสดง

สัญลักษณอันตรายของสารเคมี มีดังนี้

4.1 ระบบ UN (United Nations Committee of Experts on the Transport of Dangerous

Goods)

ระบบ UN จําแนกสารที่ เปนอันตรายและเปนเหตุใหถึงแกความตาย หรือบาดเจ็บได หรือ

กอใหเกิดความพินาศเสียหาย แบงออกเปน 9 ประเภท (UN-Class) ดังนี้

Page 36: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 36

รูปที่ 4.1 สัญลักษณแสดงอันตรายตามระบบ UN

http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=44

ตารางที่ 4.1 สัญลักษณแสดงอันตรายตามระบบ UN

UN Class สัญลักษณแสดงความเปนอันตราย ตัวอยางสารเคมี1. วัตถุระเบิด (Explosives) Tri-nitro-toluene, Amyl nitrite,

Dinitrobenzene, Iodobenzene, Nitrocellulose, Nitrogen trichloride, Lead azide, Trinitromethane,Ammonium perchlorate, Ammonium nitrate, Picric acid

2.1 แกสไวไฟ(Flammable Gas)

Acetylene, n-butane, Butene,Hydrogen, Ethylene, Ethane, Liquified Petroleum Gas

2.2 แกสไมไวไฟและไมเปนพิษ(Non-flammable, non-toxic gases)

Argon, Carbon dioxide, Oxygen, Nitrogen, Helium

Page 37: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 37

UN Class สัญลักษณแสดงความเปนอันตราย ตัวอยางสารเคมี

2.3 แกสพิษ(Toxic gases)

Ammonia, Cyanogens, Formaldehyde, Carbon monoxide, Boron trichloride, Chlorine, Hydrogen chloride, Methyl Bromide, Nitrogen dioxide, Nitric oxide, Hydrogen bromide

3. ของเหลวไวไฟ(Flammable Liquids)

Gasoline, Petrol, Acetone, Methanol, Acetonitrile, Dibuthyl ether, Toluene, Xylene, Benzene, Ether

4.1 ของแข็งไวไฟ(Flammable Solids)

Aluminum carbide, Aluminum powder, Magnesium metal, Potassium amide, Sulfur powder, Calcium hydride, Red phosphorus

4.2 สารที่มีความเสี่ยงตอการลุกไหมไดเอง(Substances liable to spontaneous combustion)

White Phosphorous, Barium metal, Rubidium metal, Sodium metal, Lithium metal, Potassium metal, Calcium metal

4.3 สารที่สัมผัสกับน้ําแลวทําใหเกิดแกสไวไฟ(Substances which in contact with water emit flame gases)

Aluminum carbide, Calcium carbide, Calcium hydride, Sodium ethoxide, Sodium amide, Magnesium nitride

5.1 สารออกซิไดส(Oxidizing Substances

Magnesium dioxide, potassium dichromate, Hydrogen peroxide

Page 38: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 38

UN Class สัญลักษณแสดงความเปนอันตราย ตัวอยางสารเคมี5.2 สารอินทรียเปอรออกไซด Methyl ethyl ketone, Isopropyl

hydroxide

6.1 สารพิษ Cyanide, insecticides, cadmium compound, bacterial toxins, arsenic compound

6.2 สารติดเชื้อ Microbe, Virus

7. วัสดุกัมมันตรังสี Uranium, Plutonium, Cobalt-60

8. สารกัดกรอน Acetic acid, Chromic acid, Hydrochloric acid, Nitric acid, Phosphoric acid, Bromoacetic acid, Phenol, Nitrophenol, Oxalic acid, Trichloroacetic acid

9. วัสดุอันตรายอื่น ๆ Dry ice, Ammonium chromate, Chromic acid, Glutaraldehyde, Hydrochloride, Ehtyl chloroacetate, Chlorodifluoromethane (HCFC-22), Chloro-trifluoro methane (CFC-13)

4.2 ระบบ GHS (The Globally Harmonized System of Classification and Labeling

of Chemicals)

เปนระบบการจัดกลุมผลิตภัณฑเคมีและการติดฉลากที่องคการสหประชาชาติไดกําหนดขึ้น

เพื่อใหเปนระบบสากลในการจําแนกหรือการจัดกลุมความเปนอันตรายและการสื่อสารความเปน

Page 39: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 39

อันตรายของสารเคมีในรูปแบบของการแสดงฉลาก และเอกสารขอมูลความปลอดภัยในการทํางานกับ

สารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) ที่เปนระบบเดียวกันทั่วโลก สัญลักษณที่ปรากฏในระบบ GHS

การติดฉลากตามโอกาสของการไดรับบาดเจ็บเปนการสื่อสารความเสี่ยง โดยระบบนี้จัดใหมีขอมูลแก

ผูบริโภคเกี่ยวกับความเปนอันตรายของผลิตภัณฑ การจัดใหมีขอมูลที่เพียงพอใหแกผูบริโภคดวย

คําศัพทที่งายที่สุดและเขาใจไดงายที่สุด และสามารถนําผลิตภัณฑไปใชไดอยางปลอดภัย โดยใช

สัญลักษณตามระบบ GHS ดังนี้

รูปที่ 4.2 GHS Picograms ของสารอันตราย

http://sb-sst.epfl.ch/chemical-hazards

http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=44

Page 40: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 40

ตารางที่ 4.2 สัญลักษณแสดงอันตรายตามระบบสากล GHS

อันตรายทางกายภาพ -วัตถุระเบิด-สารที่ทําปฏิกิริยาไดดวยตนเอง-สารเ ปอ รอ อกไซดอินทรีย

-สารไวไฟ-สารที่ทํ าปฏิกิริยาไดดวยตนเอง-สารที่ลุกติดไฟไดเอง-สารที่ เกิดความรอนไดเอง-แกสไวไฟ

-สารออกซิไดส-ส า ร อิ น ท รี ย เ ป อ รออกไซด

-แกสภายใตความดัน

อันตรายตอสุขภาพ -ส า ร พิ ษ เ ฉี ย บ พ ลั นรุนแรง

-สารกัดกรอน

-สารระคายเคือง-ทํ าใ ห เ กิดการ แพ ที่ผิวหนัง-สารพิษเฉียบพลัน-ส า ร ร ะ ค า ย เ คื อ งทางเดินหายใจ-สารทําใหเกิดการงวงซึม (ฤทธิ์ของวัตถุเสพติด)

-สารกอมะเร็ง-สารทําให เกิดการแพหรือหอบหืดหรือหายใจลําบาก-ส า ร พิ ษ ต อ ร ะ บ บสืบพันธุ-สารพิษตอระบบอวัยวะเปาหมาย-สารกอกลายพันธุ-สารกออันตรายจากการสําลัก

อันตรายตอสิ่งแวดลอม

-สารอันตรายตอสิ่งแวดลอม

https://www.wshc.sg/ghs

Page 41: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

4.3 ระบบ NFPA (The National Fire Protection Association

ระบบ NFPA เปนระบบ

อันตรายเปนรูปเพชร (Dimond

ลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเสนทแยงมุม ภายในแบงเปนสี่เหลี่ยมยอย ขนาดเทากัน

4 รูป ใชพื้นที่กํากับ 4 สี ไดแก

ตารางที่ 4.3 แสดงถึงระดับอันตรายในระบบ

ระดับ อันตรายตอสุขภาพ (สีน้ําเงิน

0

- สารที่ไมกอใหเกิดอันตรายขณะ

เกิดเพลิงไหม

1

- สารที่ทําใหเกิดการระคายเคือง

และเจ็บปวยเล็กนอยเมื่อสัมผัสใน

ระยะสั้น

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

The National Fire Protection Association)

เปนระบบปองกันอันตรายจากไฟของสหรัฐอเมริกา สัญลักษณแสดงความเปน

Dimond-shape) เพื่อใชในการปองกันและตอบโตเหตุเพลิงไหม สัญลักษณมี

ลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเสนทแยงมุม ภายในแบงเปนสี่เหลี่ยมยอย ขนาดเทากัน

สี ไดแก

สีแดง แสดงอันตรายจากไฟ

สีน้ําเงิน แสดงอันตรายตอสุขภาพ

สีเหลือง แสดงความไวตอปฏิกิริยาของสาร

(Reactivity)

สีขาว แสดงคุณสมบัติพิเศษของสาร

และใชตัวเลข 0 ถึง 4 แสดงถึงระดับอันตราย

ซึ่งแสดงในตารางที ่2

แสดงถึงระดับอันตรายในระบบ NFPA

สีน้ําเงิน) ความไวไฟ (สีแดง) การเกิดปฏิกิริยา

สารที่ไมกอใหเกิดอันตรายขณะ - สารไมติดไฟเมื่อสัมผัสกับความ

รอนอุณหภูมิ 815.5 องศาเซลเซียส

เปนเวลา 5 นาที

- สารที่มีความเสถียรทั้ งใน

สภาวะปกติและเกิดเพลิงไหม

และไมทําปฏิกิริยากับน้ํา

สารที่ทําใหเกิดการระคายเคือง

และเจ็บปวยเล็กนอยเมื่อสัมผัสใน

- สารที่ตองอุนทําใหรอน กอนจึง

จะลุกติดไฟหรือสัมผัสกับอุณหภูมิ

815.5 องศาเซลเซียสนาน 5 นาที

หรือนอยกวาเปน

- สารติดไฟไดทั่วไป

- สารติดไฟไดทั่วไป Class III B

- สารซึ่งปกติจะมีความเสถียร

แตจะไม เสถียรเมื่ออุณหภูมิ

และความดันสูงขึ้น

- ส า ร ที่

สลายตัวเมื่อสัมผัสอากาศ แสง

หรือความชื้น

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 41

ของสหรัฐอเมริกา สัญลักษณแสดงความเปน

ตุเพลิงไหม สัญลักษณมี

ลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่วางตั้งตามแนวเสนทแยงมุม ภายในแบงเปนสี่เหลี่ยมยอย ขนาดเทากัน

แสดงอันตรายจากไฟ (Flammability)

แสดงอันตรายตอสุขภาพ (Health)

แสดงความไวตอปฏิกิริยาของสาร

แสดงคุณสมบัติพิเศษของสาร (Special)

แสดงถึงระดับอันตราย

การเกิดปฏิกิริยา (สีเหลือง)

สารที่มีความเสถียรทั้ งใน

สภาวะปกติและเกิดเพลิงไหม

และไมทําปฏิกิริยากับน้ํา

สารซึ่งปกติจะมีความเสถียร

แตจะไม เสถียรเมื่ออุณหภูมิ

และความดันสูงขึ้น

ส า ร ที่ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ห รื อ

สลายตัวเมื่อสัมผัสอากาศ แสง

หรือความชื้น

Page 42: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 42

ระดับ อันตรายตอสุขภาพ (สีน้ําเงิน) ความไวไฟ (สีแดง) การเกิดปฏิกิริยา (สีเหลือง)

- ของแข็งหรือของเหลวที่มีจุดวาบ

ไฟสูงกวา 93.4 องศาเซลเซียส

2

- สารที่อาจกอใหเกิดการบาดเจ็บ

เมื่อมีการสัมผัสในระยะสั้น

- สารที่ตองใหความรอนปานกลาง

หรืออุณหภูมิสูงกอนจุดติดไฟ จะ

ไมลุกไหมในบรรยากาศ ปกติเปน

ของเหลวติดไฟได Class II และ

III A ที่มีจุดวาบไฟสูงกวา 37.8

องศาเซลเซียส แตไมเกิน 93.4

องศาเซลเซียส

- สารที่ทําใหเกิดปฏิกิริยาได

ง า ย เ มื่ อ อุ ณ ห ภู มิ สู ง ขึ้ น

เกิดปฏิกิริยารุนแรงกับน้ําหรือ

ทําใหเกิดสวนผสมที่สามารถ

ระเบิดไดกับน้ํา

1

- สารที่มีความเปนพิษสูงมากจาก

การเผาไหม

- สารกัดกรอนอยางรุนแรง อาจ

เกิดการบาดเจ็บอยางรุนแรงเมื่อมี

การสัมผัสระยะสั้น

- ของแข็งหรือของเหลวที่สามารถ

ลุกติดไฟไดในอุณหภูมิและความ

ดันปกติ

- สารไวไฟ Class 1B และ 1Cและ

ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ํากวา 22.8

องศาเซลเซียส จุดเดือดสูงกวา

37.8 องศาเซลเซียส

- สารที่สามารถระเบิดไดงาย

จ า ก ก า ร ส ล า ย ตั ว ห รื อ ก า ร

เกิดปฏิกิริยา แตจะตองมีแหลง

จุดติดไฟหรือความรอนจาก

ภายนอก

4

- สารที่มีความเปนพิษสูงมาก

อาจทําใหสูญเสียชีวิตและเจ็บปวย

รุนแรงจากการสัมผัสในระยะสั้น

- สารที่ระเหยกลายเปนไอไดอยาง

สมบูรณและรวดเร็วที่อุณหภูมิและ

ความดันปกติ

- สารไวไฟ Class 1A ที่มีจุดวาบ

ไฟต่ํากวา 22.8 องศาเซลเซียส จุด

เดือดต่ํากวา 37.8 องศาเซลเซียส

-สารที่สามารถลุกติดไฟไดเอง

- สารที่สามารถระเบิดไดงาย

ดวยตัวเอง จากการสลายตัว

ห รื อ ก า ร เ กิ ด ป ฏิ กิ ริ ย า ที่

อุณหภูมิและความดันปกติ

ดัชนีบงอันตรายตอสุขภาพอนามัย (สีน้ําเงิน) ความไวไฟ (สีแดง) และการเกิดปฏิกิริยา (สี

เหลือง) ยังมีพื้นสีขาวที่แสดงขอมูลพิเศษ เชนสารที่ถูกน้ําไมได (W )สารออกซิไดส (OX) สารที่เปน

กรด (Acid) และสารที่เปนดาง (AlK)

Page 43: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 43

จุดวาบไฟ (Flash point) คือ อุณหภูมิต่ําสุดที่ทําใหของเหลวกลายเปนไอเพียงพอตอการ

เริ่มตนลุกไหมขึ้นเมื่อมีแหลงจุดติดไฟ แตไมเพียงพอที่จะลุกติดไฟไดอยางตอเนื่อง จุดวาบไฟเปน

ประโยชนในการแบงประเภทของสารเคมีวาเปน สารไวไฟ (Flammable) สารติดไฟได (Combustible)

และสารไมติดไฟ (Non-combustible) มาตรฐาน NFPA 30 กําหนดสมบัติไวไฟของสารแสดงใน

ตารางที่ 4.4

ตารางที่ 4.4 การแบงประเภทของสารตามสมบัติของจุดวาบไฟ

ประเภทอุณหภูมิ (องศาฟาเรนไฮน)

ตัวอยางสารเคมีจุดวาบไฟ จุดเดือด

สารไวไฟ (Class 1) สารที่มีจุดวาบไฟนอยกวา 100 องศาฟาเรนไฮน

- Class 1A < 73 < 100 Butane, 2-Butyne, Dichlorosilene,

Divinylether, Dimethyl sulfide

- Class 1B < 73 ≥ 100 Acetone, Benzene, Butyl Alcohol, Acrolein

- Class 1C ≥ 73 < 100 t-Buthylaminoethyl methacrylate

สารติดไฟได (Class II, III) สารที่มีจุดวาบไฟมากกวา 100 องศาฟาเรนไฮน

- Class II ≥ 100 < 140 -(p-t-Bulylphenoxy) ethanol

- Class III A ≥ 140 < 200 Chloroacetic acid, chloropentane

- Class III B ≥ 200 Cyanamide, Diethyl meliate

4.4 ระบบตามขอกําหนดของประชาคมยุโรป EEC (The European Economic Council)

สัญลักษณแสดงความเปนอันตรายแบงออกตามประเภทของอันตรายที่ 67/548/EECX โดยใช

รูปภาพสีดําเปนสัญลักษณแสดงความเปนอันตรายบนพื้นสี่เหลี่ยมจัตุรัสสีสม และมีอักษรยอกํากับที่

มุมขวา ซึ่งสัญลักษณเหลานี้ปรากฏอยูที่ฉลากของสารเคมีและสินคาจากสหภาพยุโรป ดังตารางที่ 4.5

Page 44: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

ตารางที่ 4.5 การจําแนกสารเคมีตามระบบ

สัญลักษณ

วัตถุระเบิด Explosive

สารไวไฟมาก Extremely Flammable (F+)

สารไวไฟ Highly Flammable

สารออกซิไดสOxidizing

สารพิษ

สารพิษรุนแรง

สารระคายเคืองIrriitating

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

การจําแนกสารเคมีตามระบบ EEC

ประเภท คํานิยามวัตถุระเบิด Explosive (E)

สารเคมีที่เกิดปฏิกิริยาแลวใหความรอนและอยางรวดเร็ว หรือเมื่อไดรับความรอนในสภาวะจํากัดจะเกิดการระเบิดหรือเผาไหมอยางรุนแรง

สารไวไฟมาก Extremely Flammable

ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ํากวา และจุดเดือดไมเกิน 35 องศาเซลเซียส แกสผสมซึ่งไวไฟในอากาศที่อุณหภูมิและความดันปกติ

สารไวไฟ Highly Flammable (F)

ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ํากวา 21สารพวกเปอรออกไซดของสารอินทรียและหรือแกสเหลวที่ติดไฟที่ความดันปกติ สารเคมีที่ เมื่อสัมผัสกับน้ําและอากาศชื้นแลวกอใหเกิดแกสไวไฟสูง

ออกซิไดส Oxidizing (O)

สารเคมีซึ่งโดยปกติไมลุกไหมเอง แตเมื่อสัมผัสกับสารซึ่งลุกไหมได สามารถใหออกซิเจนและเรงการลุกไหมได

สารพิษ สารเคมีที่เปนพิษ อาจไดรับทางการกิน หายใจ หรือสัมผัส เชน กรดซัลฟูริก คารบอนไดซัลไฟด

สารพิษรุนแรง สารเคมีที่เปนพิษ อาจไดรับทางการกิน หายใจ หรือสัมผัสและอาการพิษรุนแรง เชน คารบอนมอนอกไซด

สารระคายเคืองitating (Xi)

แมจะไมมีคุณสมบัติกัดกรอน เนื้อเยื่อตา หรือระบบทางเดินหายใจสัมผัสสารนี้ซ้ําๆ กันหรือเปนเวลานาน อาจกอใหเกิดอาการบวม อาการแพ หรือระคายเคือง

หนา 44

สารเคมีที่เกิดปฏิกิริยาแลวใหความรอนและแกสอยางรวดเร็ว หรือเมื่อไดรับความรอนในสภาวะ

การระเบิดหรือเผาไหมอยางรุนแรง

ของเหลวที่มีจุดวาบไฟต่ํากวา 0 องศาเซลเซียส องศาเซลเซียส แกสหรือ

ผสมซึ่งไวไฟในอากาศที่อุณหภูมิและความ

21 องศาเซลเซียส สารพวกเปอรออกไซดของสารอินทรียและแกส

เหลวที่ติดไฟที่ความดันปกติ รวมทั้งสารเคมีที่ เมื่อสัมผัสกับน้ําและอากาศชื้นแลว

สารเคมีซึ่งโดยปกติไมลุกไหมเอง แตเมื่อสัมผัสกับสารซึ่งลุกไหมได สามารถใหออกซิเจนและ

อาจไดรับทางการกิน หายใจ หรือสัมผัส เชน กรดซัลฟูริก คารบอนไดซัลไฟด

สารเคมีที่เปนพิษ อาจไดรับทางการกิน หายใจ หรือสัมผัสและอาการพิษรุนแรง เชน

แมจะไมมีคุณสมบัติกัดกรอน หากผิวหนังบบทางเดินหายใจสัมผัสสารนี้

เวลานาน อาจกอใหเกิดอาการหรือระคายเคือง

Page 45: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

สัญลักษณ

วัตถุอันตรายHarmful

กัดกรอนผิวหนังอยางรุนแรงCorrosive

อันตรายตอสิ่งแวดลอม Dangerous for the Environment

http://en.wikipedia.org/wiki/European_hazard_symbols

เมื่อเปรียบเทียบสัญลักษณแสดงอันตรายของระบบ

รูปที่ 4.3 เปรียบเทียบสัญลักษณแสดงอันตรายของระบบ

http://www.bmgeng.ch/index.php?p=3db&l=en

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

ประเภท คํานิยามวัตถุอันตรายHarmful (Xn)

การสูดดม การกลืนกิน หรือดูดซึมผานผิวหนัง อาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพแบบเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง อาจเกิดผลเสียตอสุขภาพ หากใชอยางไมเหมาะสม โดยเฉพาะสารซึ่งนาสงสัยวาเปนสารกอมะเร็ง เปนสารกอการกลายพันธุ และสารที่มีพิษตอระบบสืบพันธุกอใหเกิดอาการแพ

กัดกรอนผิวหนังอยางรุนแรงCorrosive (C)

ทําลายเนื้อเยื่อที่มีชีวิตและกัดกรอนอุปกรณปฏิบัติการ

อันตรายตอสิ่งแวดลอม Dangerous for the Environment

การปลอยลงสูสภาพแวดลอม จะทําใหเกิดความเสียหายตอองคประกอบของสิ่งแวดลอมทันที

http://en.wikipedia.org/wiki/European_hazard_symbols

เมื่อเปรียบเทียบสัญลักษณแสดงอันตรายของระบบ EEC และ ระบบ GHS รูปที่ 4.

เปรียบเทียบสัญลักษณแสดงอันตรายของระบบ EEC (ดานบน) และ ระบบ

http://www.bmgeng.ch/index.php?p=3db&l=en

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 45

คํานิยามการสูดดม การกลืนกิน หรือดูดซึมผานผิวหนัง อาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพแบบเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง อาจเกิดผลเสียตอสุขภาพ หากใชอยางไมเหมาะสม โดยเฉพาะสารซึ่งนาสงสัยวาเปนสารกอมะเร็ง เปนสารกอการกลายพันธุ และสารที่มีพิษตอระบบสืบพันธุ การสูดดมอาจ

ทําลายเนื้อเยื่อที่มีชีวิตและกัดกรอนอุปกรณ

การปลอยลงสูสภาพแวดลอม จะทําใหเกิดความเสียหายตอองคประกอบของสิ่งแวดลอมทันที

.3

และ ระบบ GHS (ดานลาง)

Page 46: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 46

บทที่ 5 เอกสารความปลอดภัยของสารเคมี

เอกสารความปลอดภัยของสารเคมี (Safety Data Sheet, SDS) หรือ (Material safety data sheet, MSDS) เปนขอมูลความปลอดภัยของเคมีภัณฑ เปนเอกสารที่บริษัทผูผลิตสารเคมีแนบมาพรอมกับสารเคมีเพื่อที่ผูซื้อสามารถศึกษารายละเอียดของสารเคมีที่ใชปฏิบัติงาน ถาไมแนบมาก็สามารถขอไดจากบริษัทขายเคมีภัณฑหรือจากบริษัทผูผลิตโดยตรง ปจจุบันสามารถสืบคนไดจากฐานขอมูลตางๆ เชน ฐานขอมูลของศูนยขอมูลวัตถุอันตรายและเคมีภัณฑ กรมควบคุมมลพิษ ที่ http://msds.pcd.go.th ฐานขอมูลอาชีวอนามัยและความปลอดภัยเกี่ยวกับการใชสารเคมีของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ไดที่ www.anamai.moph.go.th ฐานขอมูลการจัดการความรูเรื่องความปลอดภัยดานสารเคมี ของจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ไดที่ http://www.chemtrack.org หรือสืบคนจาก website ตางประเทศที่ใหบริการขอมูล MSDS เชน ที่ http://www.SIRI.org โดยปจจุบันไดใชเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี (SDS) ตามระบบสากล GHS ซึ่งแบงเปน 16 ขอ ดังตอไปนี้

ตารางที่ 5.1 รายละเอียดในเอกสารความปลอดภัยของสารเคมี

ขอที่ ประเภทขอมูล รายละเอียด

1 ขอมูลเกี่ยวกับสารเคมีหรือสารผสม และบริษัทผูผลิต และหรือจําหนาย (Identification of the substance or mixture and of the supplier)

- ตัวบงชี้ผลิตภัณฑตามระบบ GHS (GHS product identifier)- การบงชี้ดวยวิธีอื่น ๆ- ขอแนะนําในการใชสารเคมีและขอหามตางๆ ในการใช- รายละเอียดผูจําหนาย (ประกอบดวยชื่อ ที่อยู เบอรโทรศัพท ฯลฯ)- หมายเลขโทรศัพทฉุกเฉิน

2 ขอมูลระบุความเปนอันตราย (Hazard identification)

- การจําแนกประเภทสารหรือสารผสมตามระบบ GHS และขอมูลในระดับชาติหรือระดับภูมิภาค- องคประกอบฉลากตามระบบ GHS รวมถึงขอความที่เปนขอควรระวัง (precautionary statements) สัญลักษณความเปนอันตรายอาจจัดใหมีในลักษณะของสัญลักษณที่นํามาใชใหมได (graphical reproduction) เปนสีดําและขาวหรือชื่อสัญลักษณ เชน เปลวไฟ กะโหลก และกระดูกไขว- ความเปนอันตรายอื่นที่ไมมีผลในการจําแนกประเภท (เชน ความเปนอันตรายจากการระเบิดของผงฝุน (dust explosion hazard) หรือที่ไมครอบคลุมโดยระบบ GHS

Page 47: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 47

ขอที่ ประเภทขอมูล รายละเอียด

3 องคประกอบและขอมูลเกี่ยวกับสวนผสม(Composition/Information on ingredients)

สารเดี่ยว- เอกลักษณของสารเคมี- ชื่อทั่วไป ชื่อพอง ฯลฯ- หมายเลข CAS และตัวบงชี้ที่มีลักษณะเฉพาะอื่นๆ - สิ่งเจือปนและการทําสารปรุงแตงเพื่อใหเสถียร (Impurities and stabilizing additives) ที่ตัวเองตองผานการจําแนกประเภทและที่มีสวนในการจําแนกประเภทสารสารผสม- เอกลักษณของสารเคมีและความเขมขนของสวนประกอบที่เปนอันตรายภายใตความหมายของ GHS และแสดงคาสูงกวาระดับของจุดตัด

4 มาตรการปฐมพยาบาล (First-aid measures)

- บรรยายถึงมาตรการที่จําเปน โดยแยกยอยออกเปนขอๆ ตามเสนทางการรับสัมผัสสาร เชน สูดดม สัมผัสทางดวงตาหรือทางผิวหนังและกลืนกิน- อาการหรือผลกระทบที่สําคัญๆ การเกิดอากรเฉียบพลัน- การระบุเกี่ยวกับขอควรพิจารณาทางการแพทยในทันทีทันใดและการบําบัดพิเศษที่ตองดําเนินการ

5 มาตรการผจญเพลิง (Fire-fighting measures)

- สารดับเพลิงที่เหมาะสม (และไมเหมาะสม)- ความเปนอันตรายเฉพาะที่เกิดขึ้นจากสารเคมี (เชน ลักษณะของผลิตภัณฑลุกติดไฟไดที่เปนอันตราย)- อุปกรณปองกันพิเศษและการเตือนภัยสําหรับนักผจญเพลิง

6 มาตรการจัดการเมื่อมีการรั่วไหลของสารโดยอุบัติเหตุ (Accidental release measures)

- มาตรการความปลอดภัยอันตรายสวนบุคคล อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลและมาตรการฉุกเฉิน- มาตรการปองกันสิ่งแวดลอม- วิธีการและวัสดุสําหรับกักเก็บและกอบกู

7 การขนถาย เคลื่อนยาย และการจัดเก็บ (Handling and storage)

- มาตรการปองกันสําหรับการขนถายเคลื่อนยายอยางปลอดภัย-วิธีจัดเก็บสารเคมีอยางปลอดภัย และระบุความเขากันไมไดของสาร

8 การควบคุมการรับสัมผัสและการปองกันสวนบุคคล (exposure controls/personal protection)

- ควบคุมตัวแปรตางๆ เชน คาที่ยอมใหสัมผัสไดในขณะปฏิบตัิงาน (occupational exposure limit values) หรือตัวบงชี้ทางชีวภาพ- ควบคุมทางวิศวกรรมที่เหมาะสม- มาตรการปองกันสวนบคุคล เชน อุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล

9 คุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี (Physical and chemical properties)

- สภาพที่ปรากฏ (สถานะทางกายภาพ สี กลิ่น เปนตน)- ระดับคาขีดจํากัดของกลิ่น (Odor threshold)- คาความเปนกรดดาง (pH)

Page 48: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 48

ขอที่ ประเภทขอมูล รายละเอียด

- จุดหลอมละลาย/จุดเยือกแข็ง (melting point/freezing point)- จุดเริ่มเดือดและชวงของการเดือด (initial boiling point and boiling range)- จุดวาบไฟ (flash point)- อัตราการระเหย (evaporation rate)- ความสามารถในการลุกติดไฟได ((flammability (solid, gas))- ขีดจํากัดความไวไฟ ขีดบน/ขีดลาง หรือคาจํากัดการระเบิด (upper/lower flammability or explosive limits)- ความดันไอ (vapor pressure)- ความหนาแนนไอ (vapor pressure)- ความหนาแนนสัมพัทธ (relative density)- ความสามารถในการละลายได (solubility)- สัมประสิทธิ์การแบงสวนของ n-octanol ตอน้ํา (partition coefficient: n-octanol/water)- อุณหภูมิที่จุดติดไฟไดเอง (auto-ignition temperature)- อุณหภูมิการแตกตัวระดับโมเลกุล (decomposition temperature)

10 ความเสถียรและการเกิดปฏิกิริยา (stability and reactivity)

- ความเสถียรทางเคมี- ความเปนไปไดในการเกิดปฏิกิริยาอันตราย- สภาวะที่ควรหลีกเลี่ยง (เชน การคายประจุไฟฟาสถิต แรงกระแทก หรือการสั่นสะเทือน)- วัสดุที่เขากันไมได- เกิดการแตกตัวเปนผลิตภัณฑที่เปนอันตราย

11 ขอมูลดานพิษวิทยา (Toxicological information)

- บรรยายถึงผลของความเปนพิษที่หลากหลายและขอมูลที่มีอยู เพ่ือระบุผลกระทบอยางสมบูรณและเขาใจได ประกอบดวย: - ขอมูลเกี่ยวกับเสนทางของการรับสัมผัสที่อาจเกิดขึ้น (การหายใจ การกลืนกิน การสัมผัสทางผิวหนังและดวงตา)- อาการที่เกี่ยวของกับคุณลักษณะทางกายภาพ ทาง เคมี และทางพิษวิทยา- ผลกระทบฉันพลันและที่มีการหนวงเวลา (Delayed and immediate effects) และผลเรื้อรัง (chronic effects) จากการรับสัมผัสระยะสั้น และระยะยาว (short- and long-term exposure)- มาตรการเชิงตัวเลข (Numerical measures) ของคาความเปนพิษ

Page 49: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 49

ขอที่ ประเภทขอมูล รายละเอียด

12 ขอมูลผลกระทบตอระบบนิเวศ (Ecological information)

- ความเปนพิษตอระบบนิเวศ (ทางน้ําและบนพื้นโลก ถาม)ี- ความคงอยูนาน (persistence) และความสามารถในการยอยสลาย (degradability)- ความสามารถในการสะสมทางชีวภาพ (Bioaccumulation potential)- สภาพที่เคลื่อนที่ไดในดิน(Mobility in soil)- ผลกระทบรายแรงที่อาจเกิดขึ้นอื่นๆ

13 ขอพิจารณาในการกําจัด (Disposal considerations)

-อธิบายถึงสิ่งตกคางและขอมูลเกีย่วกับของเสียเพื่อการเคลื่อนยายอยางปลอดภัยและใชวิธีการกําจัดที่ถูกตอง โดยรวมไปถึงการกําจัดบรรจุภัณฑที่ปนเปอน

14 ขอมูลสําหรับการขนสง (Transport information)

- หมายเลข UN- ชื่อที่ถูกตองในการขนสงตาม UN- กลุมการบรรจุ (ถามี)- การเกิดมลภาวะทางทะเล (ถามี)- ขอควรระวังพิเศษที่ผูใชจําเปนตองตระหนักหรือจําเปนตองปฏิบัติตามในสวนที่เกี่ยวของกับการขนสงหรือการบรรทุกทั้งภายในหรือภายนอกสถานประกอบการ

15 ขอมูลเกี่ยวกับกฎขอบังคับ ใหระบุกฎระเบียบ ขอมูลทางดานสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดลอม เฉพาะสําหรับผลิตภัณฑที่จัดทํา

16 ขอมูลอื่น (Other information) ประกอบดวยขอมูลการจัดทําและการปรับปรุงแกไข SDS

-

ผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการทุกคน ควรศึกษาขอมูลและทําความเขาใจเอกสารความปลอดภัยของสารเคมีทุกตัวที่ตองใชในหองปฏิบัติการ การเก็บเอกสารความปลอดภัยควรเก็บเขาแฟมเอกสาร จัดเรียงตามตัวอักษร เพื่อความสะดวกในการคนหา และใชในการตอบโตเหตุฉุกเฉิน รวมทั้งการปฐมพยาบาล วิธีการปฏิบัติและการกําจัดสารเคมีอยางถูกวิธี

Page 50: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 50

บทที่ 6 การจัดซื้อและจัดเก็บสารเคมี

6.1 การจัดซื้อและตรวจรับสารเคมี

1. เมื่อสั่งซื้อสารเคมี ตองขอ MSDS หรือ SDS ของสารเคมีนั้นจากผูผลิต/ผูแทนจําหนายทุกครั้ง

2. ไมควรซื้อสารเคมีขวดใหญเกินไป หากเหลือใชหรือเปลี่ยนวิธีวิเคราะหใหมจะทําใหมีสารเคมีตกคาง

3. กอนสั่งซื้อสารเคมีตองทราบขอมูลการกําจัดสารเคมี โดยใหสอบถามจากผูจําหนาย4. เมื่อตรวจรับสารเคมี ตองตรวจสภาพทั่วไปของภาชนะบรรจุ ฉลากระบุชื่อสารเคมีและ

รายละเอียดอื่น ๆ บนภาชนะวาไมมีรอยเปดหรือชํารุด และตองอยูในสภาพสมบูรณไมหลุดออก ใหบันทึกวันที่รับสารเคมีไวที่ขางขวดและวงรอบวันหมดอายุ ปายเตือน (เชน Flammable หรือ Corrosive) ดวยปากกาใหสามารถเห็นไดชัดเจน

5. ลงบันทึกการรับสารเคมี พรอมทั้งลงชื่อผูรับสารเคมีและผูสงสารเคมีไวเปนหลักฐาน6. ทําความเขาใจ MSDS หรือ SDS ซึ่งผูขายตองใหมาพรอมสารเคมี เก็บ MSDS หรือ

SDS เปนหมวดหมูในที่เหมาะสม ใหสามารถใชอางอิงไดทันทีที่ตองการ

6.2 การจัดเก็บสารเคมี

การจัดเก็บสารเคมีอยางถูกวิธี ชวยทําใหเกิดความปลอดภัยตอผูปฏิบัติงานในหองปฏิบัติการ การเก็บสารเคมี มีขอพึงปฏิบัติทั่วไป ดังนี้

1. แยกการเก็บสารเคมีตามประเภทความเปนอันตรายตามระบบ UN เอกสารขอมูลความปลอดภัย โดยพิจารณาถึงสัญลักษณความปลอดภัย จากนั้นจึงคอยวางเรียงตามลําดับตัวอักษร และควรพิจารณาคุณสมบัติของสารเคมี เชน สารเคมีที่เกิดปฏิกิริยาระหวางกันไดงาย หรืออาจเรียกสารเคมีที่เขากันไมได ไมควรวางเก็บไวใกลกัน เชน สารเคมีที่เปนดางไมควรเก็บไวใกลสารเคมีที่เปนกรด และสารออกซิไดสควรเก็บแยกจากสารรีดิวซ

2. ควรมีการควบคุมสภาวะแวดลอมใหเหมาะสมกับการจัดเก็บ เชน จัดวางใหอยูในที่อากาศถายเทไดดี จัดเก็บ หางจากแหลงกําเนิดความรอน เปลวไฟ หรือประกายไฟ ไมควรถูกแดดสองโดยตรง หามสูบบุหรี่ในบริเวณที่เก็บสารเคมี ควรมีการดูแลความสะอาดเรียบรอยอยู

Page 51: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 51

เสมอ ไมใหมีสิ่งกีดขวางตามทางเดินรอบ ๆ ถาเปนไปไดควรมีหองหรือสถานที่เก็บสารเคมีโดยเฉพาะแยกจากหองปฏิบัติการ

3. ชั้นวางสารเคมีควรมีแผนปดดานหลังและดานขาง และมีขอบกั้นดานหนา หรืออาจยกดานหนาของชั้นใหสูงขึ้นประมาณ ¼ นิ้ว เพื่อปองกันไมใหขวดสารเคมีหลนจากชั้น

4. ควรจัดวางสารเคมีอยางเปนระเบียบ ไมหนาแนนเกินไป และไมควรวางขวดสารเคมีซอนกันในแนวตั้ง

5. ควรวางสารเคมีใหอยูในระดับที่ไมสูงกวาระดับสายตา ถาเปนขวดหรือภาชนะบรรจุขนาดใหญหรือมีน้ําหนักมากใหวางชั้นลางสุด

6. ภาชนะบรรจุสารเคมีตองมีฝาปดแนนสนิท อากาศเขาไมได7. ทําตามขอควรระวังในการเก็บสารเคมีแตละประเภท ตัวอยางขอควรระวังที่สําคัญ เชน สาร

กัดกรอน ควรวางภาชนะที่บรรจุสารกัดกรอนไวในถาด หรือซอนไวในภาชนะอีกชั้นหนึ่ง สารเคมีที่ติดไฟงายชนิดที่ตองเก็บไวในตูเย็นชนิดกันระเบิด สารพิษ และสารกอมะเร็ง ตองเก็บไวในที่มิดชิด โดยใสตูเก็บแยกตางหาก จากสารเคมีอื่น ควรมีขอความ “สารพิษ” และ “สารกอมะเร็ง” ติดใหเห็นชัดเจน

8. สารเคมีที่เหลือจากการนําออกไปใชงานแลว หามเทกลับลงในขวดหรือภาชนะเดิมอีก9. ไมควรใชตูดูดควันเปนที่เก็บสารเคมีและไมควรเก็บสารเคมีในบริเวณทางเดิน บันได หรือวาง

บนพื้น ควรเก็บในพื้นที่ที่จัดไวโดยเฉพาะ10. สารเคมีทุกตัวควรมีการบันทึก วันที่ไดรับเขามาในหองปฏิบัติการ และวันที่เปดใช และควร

ตรวจสอบสารเคมีเปนระยะวามีการเปลี่ยนแปลงหรือไม ตรวจหาสิ่งที่แสดงวาสารเคมีเสื่อม เชน ฝามีรอยแยก การตกตะกอนหรือแยกชั้น มีการตกผลึกที่กนขวด เปนตน สารเคมีที่เสื่อมไมควรเก็บไวใชตอ ตองนําไปกําจัดอยางถูกวิธี

11. สารเคมีที่ไมมีปายชื่อบอก หรือมีสารอื่นเจือปนอยู หรือสารใด ๆ ที่ไมตองการ ตองสงไปกําจัดทิ้งอยางเหมาะสม

12. เก็บสารเคมีเขาที่ ภายหลังเสร็จสิ้นการปฏิบัติงานทุกครั้ง

การเก็บสารเคมี ควรมีการจัดแยกเก็บตามชนิด หรือประเภทของสารเคมี รวมทั้งประเภทความเปนอันตรายของสารเคมีแตละชนิดอาจดูไดจากเอกสารขอมูลความปลอดภัยเคมีภัณฑ (Safety Data Sheets, SDS) หรือสัญลักษณแสดงความเปนอันตราย อยางไรก็ตามสารเคมีชนิดหนึ่งอาจถูกจัดเรื่องของความอันตรายอยูในหลายประเภทได ซึ่งในกรณีนี้ควรจัดใหสารเคมีนั้นอยูในกลุมที่เปนอันตรายสูงสุด

Page 52: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 52

6.3 ขอพึงระวังในการจัดเก็บสารเคมี

1. ควรมีการกําหนดปริมาณสูงสุดที่จะเก็บสารเคมีประเภทของเหลวที่ไวไฟหรือติดไฟ (Flammable and combustible liquid) ในหองปฏิบัติการ ไมควรเก็บของเหลวไวไฟในภาชนะที่ทําดวยแกว เนื่องจากมีโอกาสที่เกิดการแตก และเกิดอุบัติเหตุไดงาย รวมทั้งควรแยกการเก็บสารเคมีประเภทนี้ออกจากสารเคมีที่เปน Oxidizer เชน ไมควรเก็บกรดอินทรีย (Organic Acids) ที่มักมีคุณสมบัติติดไฟได (Combustible) ไวรวมกับกรดอนินทรีย (Inorganic Acids) ซึ่งมีคุณสมบัติเปน Oxidizer กรณีของเหลวที่มีความไวไฟสูงอาจตองเก็บในตูเย็น ทั้งนี้กอนนําเขาเก็บ ควรปดฝาภาชนะใหแนน เพื่อปองกันไอระเหยของสารเคมีเหลานี้

2. การจัดเก็บสารเคมีประเภท Oxidizerไมควรเก็บสาร Oxidizer รวมกับสารเคมีประเภทของเหลวไวไฟ โดยทั่วไปสาร Oxidizer ที่เปน

แกส จะมีความไวตอปฏิกิริยาเคมี รวมทั้งสามารถทําปฏิกิริยากับโลหะตาง ๆ การทําความสะอาดสารเคมีประเภทนี้ ไมควรทิ้งลงในถังขยะ เนื่องจากอาจเกิดการลุกไหมได

3. สารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพ (Health hazard)

สารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพ ไดแก สารพิษตาง ๆ รวมถึงสารกอมะเร็ง (Carcinogen) และสารที่กอใหเกิดความผิดปกติของพันธุกรรม (Mutagen) ควรมีการแยกเก็บสารเคมีประเภทนี้ไวเฉพาะสวน รวมทั้งควรมีการกําหนดบุคคลที่สามารถใชงานสารประเภทนี้เฉพาะผูที่ไดรับอนุญาตเทานั้น

6.4 สารเคมีที่ไมควรจัดเก็บรวมกัน (Incompatible Chemicals)

สารเคมีหลายตัวเมื่อทําปฏิกิริยากัน จะเกิดผลลัพธที่เปนอันตรายตอสุขภาพ และทรัพยสิน ดังนั้น ควรระมัดระวัง ในการจัดเก็บสารเคมีเหลานี้ใหแยกจากกัน เพื่อปองกันการเกิดอุบัติเหตุที่จะทําใหสารเคมีเหลานี้ทําปฏิกิริยากัน รวมทั้งระมัดระวังในการนําขวดบรรจุสารเคมีเกามาใชบรรจุสารเคมีตัวอื่นๆ

ตารางที่ 8 สารเคมีที่ไมควรจัดเก็บรวมกัน

สารเคมี ไมควรจัดเก็บรวมกัน สาเหตุ

กรด เกลือไซยาไนดสารละลายของเกลือไซยาไนด

แกสไซยาไนดที่เปนพิษสูง

กรด เกลือซัลไฟดสารละลายของเกลือซัลไฟด

แกสไฮโดรเจนซัลไฟดที่เปนพิษสูง

Page 53: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 53

กรด ผงฟอกสี แกสคลอรีนที่เปนพิษสูงกรดออกซิไดส เชน กรดไนตริก

แอลกอฮอล ตัวทําละลาย อาจเกิดไฟไหม

โลหะแอลคาไลน เชน โซเดียม น้ํา เกิดแกสไฮโดรเจนที่ติดไฟไดสารออกซิไดส สารรีดิวซ อาจเกิดไฟไหม หรือระเบิดโฮโดรเจนเปอรออกไซด อะซีโตน หากมีหกรดและไดรับความรอน

อาจเกิดการระเบิดโฮโดรเจนเปอรออกไซด Acetic acid หากไดรับความรอน อาจเกิดการ

ระเบิดโฮโดรเจนเปอรออกไซด Sulfuric acid อาจเกิดการระเบิด

6.5 การจัดการทอบรรจุแกส (Compressed Cylinders)

หองปฏิบัติการที่มีการใชทอบรรจุแกส ควรมีการระมัดระวังเปนพิเศษ เนื่องจากอันตรายซึ่งอาจเกิดไดจากตัวแกสเอง แกสบางตัวอาจติดไฟไดงาย บางตัวกอใหเกิดการระเบิด นอกจากนี้การบรรจุแกสไวในทาความดันสูง ก็เปนอันตรายเนื่องจากแรงดันของแกสภายในทอ จําเปนตองมีการปองกันการลม หรือกระแทก โดยการผูกคลองดวยโซรัดกับฝาผนัง การเคลื่อนยายทอบรรจุแกส ควรปดฝาหุมวาลวกอนทุกครั้ง ควรใชอุปกรณที่เหมาะสมในการเคลื่อนยาย เชน รถเข็น ไมควรใชมือยกบริเวณวาลวเพื่อปองกันการเสียหายของวาลว และควรมีการตรวจสอบแรงดัน และปดวาลวทุกครั้งหลังเลิกใชงาน

ขอปฏิบัติทั่วไปสําหรับการใช การเก็บรักษา และการขนสงถังแกส

1. ถังแกสตองเก็บในที่ที่สามารถปองกันความรอนจากภายนอกได เชน เปลวไฟ หรือรัศมีของความรอนจากภายนอก ประกายไฟ หรือทอไอน้ําที่มีอุณหภูมิสูง

2. พื้นที่เก็บถังแกสตองมีระบบระบายอากาศที่ดี แหง มีพื้นที่วางเพียงพอและถังแกสที่ติดไฟตองวางหางจากวัสดุที่ติดไฟไดงาย

3. ถังแกสออกซิไดส เชน ออกซิเจน ไนตรัสออกไซด ตองเก็บใหหางไกลจากแกสไวไฟไมนอยกวา 20 ฟุต

4. แยกถังแกสที่อัดใหม กับทอเปลา โดยใหครอบฝาทาและติดปายแจงใหชัดเจน5. แกสเชื้อเพลิงตาง ๆ ตองวางตั้งขึ้น รวมทั้งในขณะขนสง6. ถังแกสที่มีลักษณะแคบและสูงตองมีอุปกรณปองกันการลมที่ยึดอยางมั่นคง

Page 54: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 54

7. การเคลื่อนยายถังแกสจะตองเคลื่อนยายโดยใชรถเข็นถังแกส และตองปดฝาครอบวาลวของถังแกสใหเรียบรอย โดยปดลงมาถึงคอถังหามเคลื่อนยายถังแกสโดยไมมีฝาครอบวาลว เนื่องจากฝาครอบนี้ออกแบบมาเพื่อปองกันวาลวโดยเฉพาะ

8. การใชแกสไมควรใชจนหมดถัง ควรเหลือไวบางเพื่อรักษาความดันภายในถัง ไมใหอากาศจากภายนอกเขามาปนเปอนหรือเขามาทําใหเกิดสวนผสมที่อาจเกิดการระเบิดขึ้นได เมื่อเลิกใชแกสถังใดจะตองปดถังใหสนิท และติดฉลากระบุไวใหชัดเจนวาแกสหมด

9. ในกรณีที่ถังบรรจุแกสอันตรายเกิดรั่ว จะตองควบคุมพื้นที่ใหบริเวณนั้นใหมีอากาศถายเทไดดี และเคลื่อนยายสิ่งที่อาจทําใหเกิดการติดไฟหรือเกิดการระเบิด ถาหากเปนแกสไวไฟ และควรรีบแจงหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อดําเนินการแกไขโดยดวน

10. ถาตองใชแกสในการทําปฏิกิริยา ไมควรตอขั้วแกสกับขวดที่ใชทําปฏิกิริยาโดยตรง ควรตอทอเขากับ Trap กอนแลวจึงตอกับขวดที่ใชทําปฏิกิริยา โดยใช Trap อยูระหวางกลางควรตรวจสอบวาแกสเกิดรั่วตามขอตอหรือไมโดยใชน้ําสบู หามใชเปลวไฟเด็ดขาด หากพบวาวาลวชํารุดไมควรซอมแซมเอง

11. ตองมีการปองกันถังแกสไมใหลม หรือกระแทก โดยการผูกคลองดวยโซรัดกับฝาผนัง

Page 55: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 55

บทที่ 7 การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

7.1 วิธีปฏิบัติตนเมื่อพบเห็นอุบัติเหตุ

1. มีสติ แจงหรือโทรแจงหัวหนาหองปฏิบัติการทันทีโดยระบุ ชื่อผูแจงสถานที่เกิดเหตุพรอมสาเหตุหากทราบ

2. ในกรณีนอกเวลาทําการและหัวหนาหองปฏิบัติการไมอยู ใหผูพบเห็นอุบัติเหตุโทรแจงประธานโครงการจัดตั้งสายวิชาเคมี หรือ ประธานฝายเครื่องมือ หองปฏิบัติการและวิจัย

3. ในกรณีที่ไมผานการฝกอบรมการใชถังดับเพลิง หามใชถังดับเพลิงไปดับไฟเองเพราะอาจเกิดอันตรายตอผูปฏิบัติ

4. ในกรณีที่พบเห็นไฟลุกลามในหองปฏิบัติการใหทุกคนออกจากหองปดประตู โทรแจงและอพยพออกจากอาคารทันที หากพบเห็นนอกเวลาทําการใหกดกริ่งสัญญาณเตือนภัยเพื่อใหทุกคนในอาคารอพยพหนีภัย

5. กรณีที่ระงับเหตุเองไมได โทรใหแจงประธานโครงการจัดตั้งสายวิชาเคมี หรือ ประธานฝายเครื่องมือ หองปฏิบัติการและวิจัย

7.2 เมื่อไดยินสัญญาณเตือนภัยตองทําอยางไร

1. ควรปฏิบัติตนตามคําแนะนําของอาจารย/ผูนําทางอพยพประจําชั้น

2. เดินตามลูกศรสีแดง

3. ไปยังทางออกฉุกเฉิน

4. เมื่อออกจากอาคารใหไปยังจุดรวมพลเพื่อรายงานตัว

5. ขณะอพยพใหเดิน อยาวิ่ง

6. หามใชลิฟตขณะเกิดเหตุเพลิงไหม

Page 56: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 56

7.3 แนวปฏิบัติทั่วไปเมื่อเกิดอุบัติเหตุจากสารเคมี1. สารเคมีกระเด็นเขาตา

ใหใชน้ําสะอาดลางตา และลางตอเนื่องตลอดเวลาจนแนใจวาเพียงพอแลว อยางนอย 15 นาที โดยเปดเปลือกตาดูวาลางสะอาดหมดจริงและหามขยี้ตา

2. สารเคมีหกรดถูกรางกาย

ถอดเสื้อผาที่ปนเปอนสารเคมีออก เปดน้ําใหไหลผานรางกายจาก Safety Shower หรือใชสายยางรดอยางนอย 15 นาที และตองใหแนใจวาไมมีสารตกคางอยูในรองเทา

3. การกินสารเคมี ใหดื่มน้ําปริมาณมากๆ (ยกเวนสารเคมีประเภทกรด ดาง หรือน้ํามัน) และไปพบแพทยพรอมขวดสารเคมี

7.4 แนวปฏิบัติในการทําความสะอาดสารเคมีที่หกหรือปนเปอน

7.4.1 การปนเปอนนอย (Minor Chemical Spill) หมายถึง การที่มีสารเคมีประเภทกรด ดางเขมขนของเหลวไวไฟ สารกอมะเร็ง และสารพิษ ที่มีปริมาตรนอยกวา 250 มิลลิลิตร หรือนอยกวา 450 กรัม (กรณีที่เปนของแข็ง) หกหลนอยูเฉพาะพื้นที่ภายในหองปฏิบัติการ เชน 0.5 M HCl ปริมาณ 100 มิลลิลิตร เปนตน หรือการที่มีสารเคมีประเภทสารไมไวไฟ สารเปนกลาง และสารเปนพิษต่ํา ที่มีปริมาตร 1-10 ลิตร เชน สารละลายบัฟเฟอร หกหลนอยูเฉพาะพื้นที่ภายในหองปฏิบัติการ ใหปฏิบัติดังนี้

1. แจงใหผูที่อยูในบริเวณนั้นทราบทันที

2. สวมใสอุปกรณปองกันที่เหมาะสม อาจตองใชทั้งถุงมือ เสื้อคลุมแขนยาว ผากันเปอน

แวนตานิรภัย หรือหนากาก

3. หลีกเลี่ยงการสูดดม โดยเปดเครื่องดูดอากาศ ตูดูดไอสารเคมี และเปดหนาตางใหระบาย

อากาศ

4. หามเดินผานบริเวณที่สารเคมีหก เพราะอาจทําใหสารกระจายไปพื้นที่อื่น

5. ทําใหสารเคมีที่หกมีพื้นที่เล็กที่สุดโดยใชวัสดุดูดซับกันรอบๆ ขอบพื้นที่หก เชน ใช dry

sand หรือ แผนดูดซับสารเคมี เปนตน

Page 57: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 57

6. สําหรับสารทั้งกรดและดาง ใหใช Sodium bicarbonate เพื่อลดความเปนกรดดาง

7. รวบรวมสารเคมีที่หกใสในภาชนะ ติดฉลากภาชนะใหถูกตอง นําไปกําจัดทิ้งตามวิธีที่

เหมาะสมสําหรับสารนั้น ๆ

8. ทําความสะอาดบริเวณที่สารเคมีหก โดยการลางดวยน้ําแลวเช็ดพื้นใหแหง

9. รายงานใหหัวหนาหองปฏิบัติการทราบ

7.4.2 การปนเปอนมาก (Major Chemical Spill) หมายถึง การที่มีสารเคมีประเภทกรด

ดางเขมขนของเหลวไวไฟสูงสารกอมะเร็ง และสารพิษ ที่มีปริมาตรนอยกวา 250 มิลลิลิตร หรือนอยกวา 450 กรัม (กรณีที่เปนของแข็ง)

1. แจงผูที่อยูในบริเวณนั้นใหทราบและอพยพออกไปจากพื้นที่โดยดวน

2. ปดหรือหยุดการปฏิบัติงานทุกอยางที่ทําใหเกิดประกายไฟและความรอน เปดเครื่องดูด

อากาศ ตูดูดไอสารเคมี และเปดหนาตางใหระบายอากาศ

3. ถาเปนสารไวไฟ ยายแหลงที่จะเกิดประกายไฟหรือแหลงความรอนออกไปจากพื้นที่เพื่อ

ปองกันการเกิดไฟไหม

4. ใหการปฐมพยาบาลผูที่ไดรับบาดเจ็บ โดยนําสงหองฉุกเฉิน หากมีผูที่ถูกสารเคมีหกรดให

ถอดเสื้อผา และลางรางกายดวยน้ําสะอาด โดยใชน้ําจากฝกบัว เปนเวลาอยางนอย 15 นาที

และนําผูบาดเจ็บสงแพทย

4. รายงานตอคณบดี ผูอํานวยการ หรือผูแทนที่เกี่ยวของทันที โดยแจง ชื่อผูแจง เบอรโทรศัพท

5. ชนิดและชื่อสารเคมี ปริมาณสารเคมีที่หกรดปนเปอน สถานที่เกิดเหตุ ตึกใด ชั้นและหอง ใด และเวลาที่เกิดเหตุ ผูบาดเจ็บ

7.5 เมื่อพบเหตุเพลิงไหมใหปฏิบัติตน ดังนี้

กอนที่จะทราบวิธีการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุเพลิงไหม ผูปฏิบัติงานควรมีความเขาใจเกี่ยวกับประเภทของเพลิงและชนิดถังดับเพลิงเพื่อที่จะสามารถเลือกใชไดอยางถูกตองและเหมาะสม

Page 58: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 58

1. กรณีเกิดไฟลุกไหมเล็กนอยบนโตะปฏิบัติการหรือพื้นหองปฏิบัติการ เชน ไฟลุกติด 70% เอทิล แอลกอฮอล ใหใชผาหนา ๆ คลุมไฟ หรือใชผาหมคลุมไฟ หรือทรายแหง

2. กรณีเกิดเพลิงไหมเล็กนอยในหองปฏิบัติการหรือหองเก็บสารเคมี ใหใชถังดับเพลิงชนิดสารเคมีแหง (ดับวัสดุชนิด A B C) หรือถังดับเพลิงชนิดบรรจุคารบอนไดออกไซด ยกเวนไฟไหมสารเคมีประเภทสารออกซิไดสทุกชนิด ฟอสฟอรัสขาวและฟอสฟอรัสเหลือง ใหใชน้ําดับเพลิง เทานั้น

3. ดับเพลิงโดยใชเครื่องดับเพลิง หากทานไดผานการฝกอบรมและเห็นวาปลอดภัย4. แจงอาจารยหรือเจาหนาที่ที่ควบคุมการปฏิบัติงานของทาน ในกรณีที่ไมสามารถ

ดับเพลิงไดเอง5. กรณีเกิดเพลิงไหมรุนแรงใหกดสัญญาณแจงเหตุไฟไหม แลวโทรแจงเหตุดวน

เหตุราย หมายเลขโทรศัพทภายใน แลวรีบออกนอกพื้นที่ทันที

7.5.1 ประเภทของเพลิง

เพลิง แบงตามชนิดของเชื้อเพลิงได 4 ประเภท คือ

เพลิงประเภท A หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากวัสดุติดไฟทั่วไป เชน ไม กระดาษ ผา พลาสติก ยาง ฯลฯ ไฟที่เกิดจากเชื้อเพลิงเหลานี้ สามารถดับไดดวยการใหความเย็น โดยการใชน้ําฉีดฝอย หรือฉีดพุงตรงไปยังตนเพลิงนั้นๆ ไฟประเภทนี้จะเหลือแตเถาถานทิ้งไว

เพลิงประเภท B หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากของเหลวไวไฟหรือแกส เชน น้ํามัน แกสตาง ๆ จาระบี และสิ่งที่ใชสําหรับลางละลายทําความสะอาดตาง ๆ ซึ่งจะดับไดดวยวิธีปองกันมิใหอากาศเขาไปรวมตัวกับเชื้อเพลิง หรือการลดอุณหภูมิของเชื้อเพลิง โดยใชโฟม ผงเคมี ฮาโลตรอน หรือคารบอนไดออกไซด ไฟประเภทนี้จะไมมีเถาถานเหลือทิ้งไว

เพลิงประเภท C หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากอุปกรณเครื่องมือไฟฟาตาง ๆ เชน อุปกรณระบบไฟฟา เครื่องใชไฟฟา ฯลฯ กอนอื่นตองพยายามตัดวงจรไฟฟาเสียกอน เพื่อลดอันตรายลง การดับไฟตองใชเครื่องมือที่ไมเปนสื่อไฟฟา เชน ฮาโลตรอน คารบอนไดออกไซด หรือผงเคมีแหง

เพลิงประเภท D หมายถึง เพลิงที่เกิดขึ้นจากวัสดุจําพวกโลหะติดไฟ เชน แมกนีเซียม ไททาเนียม โครเมียม โซเดียม ลิเทียม ฯลฯ ลักษณะการลุกไหมใหความรอนสูง รุนแรงมาก เชน การลุกไหมของแมกนีเซียม ทําใหเปลวเพลิงสวางจา เปนอันตรายตอสายตาและมานตา การดับเพลิงประเภท

Page 59: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

นี้ใหใชสารเคมีจําพวก NaCl เกิดการระเบิดอยางรุนแรง)

7.5.2 ประเภทของถังดับเพลิง

ผงเคมีแหง ไมเปนพิษ แตอาจทําใหหายใจไมสะดวก ไมเปนสื่อไฟฟา มีผงบรรจุอยู คือ ผงโซเดียมไบคารบอเนต และผงโพแทสเซียมไบคารบอเนต ในถังมีคารบอนไดออกไซด เปนตัวขับ สามารถดับเพลิงประเภท

ฮาโลตรอน เปนสารเหลวระเหย ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมติดไฟ ไมนําสื่อไฟฟา ใชทดแทนเครื่องดับเพลิงชนิดฮาลอน เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ปลอดภัย สะอาด ไมทิ้งคราบสกปรก และมีอายุการใชงานยาวนาน เหมาะกับอุปกรณอิเลคทรอนิคส คอมพิวเตอร ตูคอนโทรลตาง ๆ สามารถใชดับไฟไดทุกชนิดอยางมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนเพลิงประเภท

คารบอนไดออกไซด เปนไมเปนพิษ และไมชวยในการดํารงชีพ หนักกวาอากาศ คารบอนไดออกไซดเมื่อออกมาแลวจะไมเหลือกากไว ไมทําใหเกิดเปนสนิม ไมทําอันตรายแกเครื่องมือเครื่องใช สามารถเก็บไดนาน ไมเสื่อมสภาพ ใชดับเพลิงที่เกิดจากเพลิงประเภท

7.6 วิธีการใชถังดับเพลิง

1. เมื่อยกถังดับเพลิงออกมาตั้งแลว ควรดึงสลักนิรภัยออกจากคันบีบ2. ดึงสวนหัวฉีดออกมาใหจับหันหัวฉีดออกจากตัวเร

ของรางกายเรา กดลงไปตําแหนงคันบีบ เพื่อใหไปเจาะทะลุจุดเปดหลอดอันอากาศ

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

NaCl หรือทรายแหง (หามใชน้ําดับไฟประเภท D โดยเด็ดขาด ซึ่งจะทําให

ประเภทของถังดับเพลิง

ผงเคมีแหง ไมเปนพิษ แตอาจทําใหหายใจไมสะดวก ไมเปนสื่อไฟฟา มีผงบรรจุอยู คือ ผงโซเดียมไบคารบอเนต และผงโพแทสเซียมไบคารบอเนต ในถังมีแกสคารบอนไดออกไซด เปนตัวขับ สามารถดับเพลิงประเภท A, B, C และ D

ฮาโลตรอน เปนสารเหลวระเหย ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมติดไฟ ไมนําสื่อไฟฟา ใชทดแทนเครื่องดับเพลิงชนิดฮาลอน เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ปลอดภัย สะอาด ไมทิ้งคราบสกปรก และมีอายุ

นาน เหมาะกับอุปกรณอิเลคทรอนิคส คอมพิวเตอร ตูคอนโทรลตาง ๆ สามารถใชดับไฟไดทุกชนิดอยางมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนเพลิงประเภท A, B และ C

คารบอนไดออกไซด เปนแกสเฉื่อยไมชวยในการลุกไหม เปนสารไมมีสี ไมมีรส ไมมีกลิ่น นการดํารงชีพ หนักกวาอากาศ 1.5 เทา ไมเปนสื่อไฟฟา

คารบอนไดออกไซดเมื่อออกมาแลวจะไมเหลือกากไว ไมทําใหเกิดเปนสนิม ไมทําอันตรายแกเครื่องมือเครื่องใช สามารถเก็บไดนาน ไมเสื่อมสภาพ ใชดับเพลิงที่เกิดจากเพลิงประเภท

เมื่อยกถังดับเพลิงออกมาตั้งแลว ควรดึงสลักนิรภัยออกจากคันบีบมาใหจับหันหัวฉีดออกจากตัวเรา และกอนกดใหถังเอียงออกจากสวนต

ของรางกายเรา กดลงไปตําแหนงคันบีบ เพื่อใหไปเจาะทะลุจุดเปดหลอดอันอากาศ

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 59

โดยเด็ดขาด ซึ่งจะทําให

ผงเคมีแหง ไมเปนพิษ แตอาจทําใหหายใจไมสะดวก ไมเปนสื่อไฟฟา มีผงบรรจุอยู 2 ชนิด แกสไนโตรเจนหรือแกส

ฮาโลตรอน เปนสารเหลวระเหย ไมมีสี ไมมีกลิ่น ไมติดไฟ ไมนําสื่อไฟฟา ใชทดแทนเครื่องดับเพลิงชนิดฮาลอน เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ปลอดภัย สะอาด ไมทิ้งคราบสกปรก และมีอายุ

นาน เหมาะกับอุปกรณอิเลคทรอนิคส คอมพิวเตอร ตูคอนโทรลตาง ๆ สามารถใชดับ

เฉื่อยไมชวยในการลุกไหม เปนสารไมมีสี ไมมีรส ไมมีกลิ่น เทา ไมเปนสื่อไฟฟา

คารบอนไดออกไซดเมื่อออกมาแลวจะไมเหลือกากไว ไมทําใหเกิดเปนสนิม ไมทําอันตรายแกเครื่องมือเครื่องใช สามารถเก็บไดนาน ไมเสื่อมสภาพ ใชดับเพลิงที่เกิดจากเพลิงประเภท B และ C

และกอนกดใหถังเอียงออกจากสวนตางๆ ของรางกายเรา กดลงไปตําแหนงคันบีบ เพื่อใหไปเจาะทะลุจุดเปดหลอดอันอากาศ

Page 60: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 60

3. หิ้วถังดวยมือขางที่ไมถนัด สวนขางที่ถนัดไปจับหัวฉีด และทดลองบีบหรือกรด 1-2 ครั้ง กอนเขาทําการดับไฟ ควรพยายามเขาดานเหนือลมระยะที่ไดผลจะตองหางจากไฟไมเกิน 4 เมตร พรอมฉีดไฟไปที่ฐานของไฟ

ขอควรระวัง

1. อยาใชดับไฟที่เกิดจากเพลิงประเภท A ที่มีน้ําหนักเบาฟุงกระจายไดเมื่อถูกแรงดัน เชน เศษไม เศษกระดาษ ขี้เลื่อย ฯลฯ

2. ถาจําเปนตองใชดับไฟประเภท A จะตองใชรวมกับการใชน้ํา3. ไมควรใชในพื้นที่ที่ไมตองการความสกปรก เชน หองที่มีคอมพิวเตอร อุปกรณไฟฟา เปนตน

ถังดับเพลิงชนิดคารบอนไดออกไซด

1. นําถังดับเพลิงคารบอนไดออกไซดไปที่บริเวณไฟไหม โดยเขาทางดานเหนือลม ใหใกลที่สุดและถือถังดับเพลิงใหตั้งตรง

2. ถอดสลักนิรภัย3. ดึงกระบอกฉีด ใชมือจับปลายสายตรงที่เปนฉนวน4. ชี้ปลายกระบอกฉีด ไปที่ฐานของไฟ ระยะที่ไดผลจะตองหางจากไฟไมเกิน 1.5 เมตร5. บีบคันปลอยเปดแกสคารบอนไดออกไซด (ถาบีบคันปลอยโดยไมปลอยเลย แกส

คารบอนไดออกไซด จะหมดขวดภายใน 30-40 วินาที สําหรับถังบรรจุมาตรฐาน 15 ปอนด)6. สายปากกระบอกฉีดใหคลุมไฟไหมมากที่สุด7. ถาเปนไฟจากอุปกรณไฟฟา (ประเภท C) จะตองตัดวงจรไฟเสียกอนจึงจะดับได

ขอควรระวัง

1. ฟองของแกสคารบอนไดออกไซด เปนอันตรายตอผิวหนัง ทําใหผิวหนังพองไดจากอุณหภูมิที่เย็นจัด

2. อยาใหแกสคารบอนไดออกไซด เขาดวงตาหรือจมูก

ความสําเร็จในการดําเนินการควบคุมและปองกันการเกิดอุบัติเหตุและอุบัติภัยเพื่อความปลอดภัยในหองปฏิบัติการเกิดไดจาก

1. คํานึงถึงอันตรายโดยจําแนกชนิด/ความเปนอันตรายของสารเคมี/สารชีวภาพ/เชื้อกอโรค อันตรายจากไฟฟา เครื่องมือเครื่องจักรกล

Page 61: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 61

2. ปองกันอันตรายโดยการใชเครื่องมือ/อุปกรณเพื่อความปลอดภัย/ทําความสะอาดและเช็ดลางพื้น/โตะ/อุปกรณโดยใชวิธีการที่เหมาะสม/ตามหลักการทํางานในหองปฏิบัติการ

3. เตรียมการจัดการอุบัติเหตุโดยใชถังดับเพลิง/สารดูดซับสารเคมี เชน Spill Kits/Absorbent Sheet และมีชุดอุปกรณปฐมพยาบาล

4. มีระบบแจงเหตุดวนเหตุรายในหองปฏิบัติการ

5. คํานึงถึงการจัดการสารเคมี สารชีวภาพและของเสียอันตรายที่เกิดจากการทํางานโดยคํานึงถึงความปลอดภัยของตนเอง ชุมชนและสิ่งแวดลอม

Page 62: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 62

เอกสารอางอิง

1. คณาจารยภาควิชาเคมี. ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I พิมพครั้งที่ 6. 2539. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.

2. คณาจารยภาควิชาเคมี. ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน พิมพครั้งที่ 1. 2543. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.

3. คณาจารยภาควิชาเคมี. ปฏิบัติการเคมีอินทรีย พิมพครั้งที่ 4. 2543. ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กรุงเทพฯ.

4. พิชัย โตวิวิชญ นพ อุตราภิรมยสุข ศุภวรรณ ตันตยานนท ประไพพิศ แจมสุกใส เทอรใน. คูมือสารเคมีกับความปลอดภัย พมพครั้งที่ 3. 2545. โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ.

5. สรา อาภรณ ไชยนันต แทงทอง บุญยฤทธิ์ ปญญาภิญโญผล ชัชชัย ธนโชคสวาง. คูมือความปลอดภัยในการใชสารเคมีในหองปฏิบัติการ. 2553. คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ.

6. http://en.wikipedia.org/wiki/Globally_Harmonized_System_of_Classification_and_L

abelling_of_Chemicals Jan 10, 2014.

7. https://www.osha.gov/dsg/hazcom/ghs.html#3.1 Jan 10, 2014.

8. http://en.wikipedia.org/wiki/International_Agency_for_Research_on_Cancer Jan 10,

2014.

9. http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=44 Jan 14, 2014.10. http://sb-sst.epfl.ch/chemical-hazards Jan 14 2014

11. https://www.wshc.sg/ghs Jan 14, 2014.

12. http://en.wikipedia.org/wiki/European_hazard_symbols Jan 17, 2014.

13. http://www.bmgeng.ch/index.php?p=3db&l=en Jan 17, 2014.

14. http://msds.pcd.go.th Jan 22, 2014.15. www.anamai.moph.go.th Jan 22, 2014.

Page 63: บทที่ 1 ข อปฏิบัติทั่วไปในห องปฏิบัติการเคมีchem.flas.kps.ku.ac.th/safety/15-02-24-SAFETY-CHEM.pdf ·

คูมือความปลอดภัยในการทํางานกับสารเคมีในหองปฏิบัติการ

หนา 63

16. http://www.chemtrack.org Jan 22, 2014.17. http://www.SIRI.org Jan 22, 2014.