บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร...

93
โครงการ ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-1 บทที2 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนาของโลกและภูมิภาค 2.1 บทนํา พัฒนาการทางเศรษฐกิจในชวง 50 ที่ผานมา โลกและภูมิภาคตางๆลวนประสบกับการ เปลี่ยนแปลงสําคัญๆ และพบขอเท็จจริงวา พัฒนาการทางเศรษฐกิจมีมิติที่ตองคํานึงถึงมากกวาการ เนน เพียงการเจริญเติบโตที่เนนเพียงปริมาณ ไดแก (1) มีการเจริญเติบโตที่ยั่งยืน ดวยตัวเอง (Self- sustaining growth); (2) มีการปรับเปลี่ยนโครงสรางการผลิต (Structural change in patterns of production); (3) มีการปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีใหทันสมัย (Technological upgrading); (4) มีการพัฒนา สถาบันตางๆทางสังคม การเมือง ใหสอดคลองกับยุคสมัย พรอมๆกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ (Social, political and institutional modernization); (5) มีการปรับปรุงอยางกวางขวางในคุณภาพชีวิตของ มนุษยดานตางๆ (Widespread improvement in the human condition) Irma Adelman ชี้ใหเห็นวา ตลอดชวงครึ่งศตวรรษที่ผานมาพัฒนาการทางเศรษฐกิจของ ประเทศที่เคยเปนประเทศที่มีการพัฒนานอยตามมาตรฐานของธนาคารโลกสามารถกาวออกจากความ ยากจนและมีการพัฒนาไดจริงตามมิติตางๆที่กลาวขางตน ในชวงหลังสงครามโลกครั้งที2 อัน เนื่องมาจาก การที่ประเทศกําลังพัฒนามีความเปนอิสระในการบริหารจัดการเศรษฐกิจของตนอยางไม เคยมีมากอน การเมืองมีความเปนอิสระ โลกมีระบบที่มั่นคงและมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องมีการ ลงทุนและการใหความชวยเหลือทางเทคนิคจากประเทศพัฒนาที่สําคัญการพัฒนาเศรษฐกิจเปน กระบวนการที่มีหลายมิติและมีความซับซอน (Multidimensional and highly nonlinear) และเปน ความสัมพันธที่แปรเปลี่ยนเชิงพลวัตร ทั้งรูปแบบ การผลิต เทคโนโลยี ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงใน ระบบ สถาบันตางๆ ทางสังคม การเมือง และ เศรษฐกิจ และที่สําคัญคือการเปลี่ยนแปลงรูปแบบ ของการพัฒนา มนุษย การศึกษาโดย Adelman and Morris (1967) and Adelman (1999) พบวากระบวนการพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ตั้งแต 1960 เปนตนมา มีความสัมพันธระหวาง การเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจและปจจัยที่กอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สถาบัน วัฒนธรรม และการเมือง ในขณะทีAbramowitz (1986) พบวา รากฐานแหงความสังคม (Initial Social Capability) เปน ตัวกําหนดความแตกตางระหวางระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในศตวรรษที19 แบบจําลองการเจริญเติบโตเดิมตามแนวของเศรษฐศาสตรนิโอคลาสสิกในระยะหลังก็พบวา การขยายตัวของรายไดตอหัวประชากรมีความสัมพันธทางสถิติอยางมีนัยสําคัญกับปจจัยดานสถาบัน ทางสังคม-การเมือง (Socio-political institutions); การเปดตอการคาระหวางประเทศ (Openness);

Upload: others

Post on 28-Jun-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-1

บทที่ 2 แนวโนมการเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนาของโลกและภูมิภาค

2.1 บทนํา พัฒนาการทางเศรษฐกิจในชวง 50 ท่ีผานมา โลกและภูมิภาคตางๆลวนประสบกับการ

เปล่ียนแปลงสําคัญๆ และพบขอเท็จจริงวา พัฒนาการทางเศรษฐกิจมีมิติท่ีตองคํานึงถึงมากกวาการเนน เพียงการเจริญเติบโตท่ีเนนเพียงปริมาณ ไดแก (1) มีการเจริญเติบโตท่ียั่งยืน ดวยตัวเอง (Self-sustaining growth); (2) มีการปรับเปล่ียนโครงสรางการผลิต (Structural change in patterns of production); (3) มีการปรับเปล่ียนเทคโนโลยีใหทันสมัย (Technological upgrading); (4) มีการพัฒนาสถาบันตางๆทางสังคม การเมือง ใหสอดคลองกับยุคสมัย พรอมๆกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ (Social, political and institutional modernization); (5) มีการปรับปรุงอยางกวางขวางในคุณภาพชีวิตของมนุษยดานตางๆ (Widespread improvement in the human condition)

Irma Adelman ช้ีใหเห็นวา ตลอดชวงคร่ึงศตวรรษท่ีผานมาพัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศท่ีเคยเปนประเทศท่ีมีการพัฒนานอยตามมาตรฐานของธนาคารโลกสามารถกาวออกจากความยากจนและมีการพัฒนาไดจริงตามมิติตางๆท่ีกลาวขางตน ในชวงหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 อันเนื่องมาจาก การที่ประเทศกําลังพัฒนามีความเปนอิสระในการบริหารจัดการเศรษฐกิจของตนอยางไมเคยมีมากอน การเมืองมีความเปนอิสระ โลกมีระบบท่ีม่ันคงและมีการเจริญเติบโตอยางตอเนื่องมีการลงทุนและการใหความชวยเหลือทางเทคนิคจากประเทศพัฒนาท่ีสําคัญการพัฒนาเศรษฐกิจเปนกระบวนการที่มีหลายมิติและมีความซับซอน (Multidimensional and highly nonlinear) และเปนความสัมพันธท่ีแปรเปล่ียนเชิงพลวัตร ท้ังรูปแบบ การผลิต เทคโนโลยี ตลอดจนการเปล่ียนแปลงในระบบ สถาบันตางๆ ทางสังคม การเมือง และ เศรษฐกิจ และท่ีสําคัญคือการเปล่ียนแปลงรูปแบบของการพัฒนา มนุษย

การศึกษาโดย Adelman and Morris (1967) and Adelman (1999) พบวากระบวนการพัฒนา และการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ ต้ังแต ป 1960 เปนตนมา มีความสัมพันธระหวาง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและปจจัยท่ีกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคม สถาบัน วัฒนธรรม และการเมือง ในขณะท่ี Abramowitz (1986) พบวา รากฐานแหงความสังคม (Initial Social Capability) เปนตัวกําหนดความแตกตางระหวางระดับการพัฒนาอุตสาหกรรมในศตวรรษท่ี 19

แบบจําลองการเจริญเติบโตเดิมตามแนวของเศรษฐศาสตรนิโอคลาสสิกในระยะหลังก็พบวา การขยายตัวของรายไดตอหัวประชากรมีความสัมพันธทางสถิติอยางมีนัยสําคัญกับปจจัยดานสถาบันทางสังคม-การเมือง (Socio-political institutions); การเปดตอการคาระหวางประเทศ (Openness);

Page 2: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-2

พัฒนาการของสถาบันท่ีเอ้ือตอการสะสมทุน; ความพอเพียงของทรัพยากร มนุษย; ความเปนประชาธิปไตย; ความโปรงใสของระบบราชการและเอกชน; ระดับการพัฒนาสถาบันทางการเมือง เปนตน

การศึกษาช้ีวา ทิศทางการพัฒนา (Development Path) ถูกกําหนดจากเง่ือนไขเร่ิมตน (Initial conditions) กลาวคือ ประวัติศาสตร ของประเทศ กําหนดทิศทางการพัฒนาท่ีจะเปนไป (Path-dependency) และ จําเปนตองเขาใจการของเกี่ยวทางสังคมระหวาง ประชาสังคม (civil society) และ รัฐบาล ระหวางระบบราชการ และ ทหาร วามีการแทรกแซง และ กําหนดซ่ึงกันและกันอยางไรกอนท่ีจะรางแบบแผนการเปล่ียนแปลงเชิงสถาบันของโครงสราง ทางเศรษฐกิจตางๆเปนกรณีๆในแตประเทศ ไมเปนกฎที่ตายตัว

การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี การเปล่ียนแปลงเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และสถาบัน เปนเง่ือนไขในการผลักดันการเปล่ียนแปลง เปนท้ังส่ิงท่ีทาทาย และ โอกาส ในหลากหลายมิติ ท่ีสรางจุดเปล่ียนในการพัฒนาเศรษฐกิจ ในอดีตประเทศกําลังพัฒนามีการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีท่ีมักไดมาจากการวิจัยและพัฒนาของประเทศพัฒนาแลว (Technology transfer) มากกวามาจากการลงทุนของตนเองในอดีต (Research and Development) เทคโนโลยีท่ีไดรับมาจากประเทศพัฒนามักกอใหเกิดการผูกขาดดวยธุรกิจขนาดใหญ เนื่องจากมีผลตอบแทนตอขนาดเพิ่มข้ึน (Increasing return to scale) ในการสะสมทุนท่ีไมเทาเทียมท่ีนําไปสู ปญหาการกระจายรายไดท่ีไมเทาเทียมกัน การพัฒนาเนนเฉพาะบางพื้นท่ีเขมขน กวาพื้นท่ีอ่ืน จนเกิดปญหาทวิลักษณระหวางเมือง-ชนบทชายขอบ ในปจจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศ สรางการส่ือสาร สมัยใหม และนําไปสูการการพัฒนาการพัฒนาท่ีเกิดการประหยัดตอขอบขาย (Economies of scope) แทนการประหยัดตอขนาด (Economies of scale) ในแบบเดิมและทําในเกิดการกระจายตัวของการเปนกลุมกอนและลดการผูกขาด เพิ่มการแขงขันท่ีไรขอจํากัดทางกายภาพในโครงสรางเดิมดวยระบบการคาผานพาณิชย-อิเล็กทรอนิคส ลดการผูกขาด ลดการใชพลังงานเขมขน ในการผลิตแบบเดิมไปสู การมีรูปแบบการผลิตท่ีเปนเครือขายสากล (Global value change) และมีการกระจายทรัพยากรมนุษยในแตละภูมิภาคดีข้ึน

นักเศรษฐศาสตรพัฒนา (Adelman and Morris 1973, และ Sen 1988) ตางเห็นรวมกันในความสําคัญของนโยบายการลงทุนในการสรางทรัพยากรมนุษยใหมีการเพิ่มความสามารถและสรางผลของการใหความสําคัญแกทรัพยากรมนุษย (Empowering consequences) ในการสรางอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงานท่ีมีทักษะ โดยท่ีการสรางความรูกอใหเกิดผลกระทบภายนอก (Externalities) นําไปสูการเพิ่มผลิตภาพ ของทุนกายภาพและแรงงาน ในขณะท่ี Schultz (1981) สนับสนุนใหมีการลงทุนในการศึกษาโดยเฉพาะ การศึกษาของสตรีท่ีสามารถนําไปสูการลดลงของอัตราภาวะเจริญพันธุและโภชนาการท่ีดี โดยเฉพาะ Psacharopoulos (1981) ช้ีวา อัตราผลตอบแทนลงทุนทางการศึกษาในประเทศกําลังพัฒนาสูงกวา ผลตอบแทนการลงทุนในทุนทางกายภาพ

Page 3: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-3

ในการพิจารณาแบบแผนการพัฒนา (Pattern of Development) รวมกับมิติสัมพันธตางๆเชิงระบบท่ีเปนพลวัตร (Systematic Dynamic Change) ของ (1) การเจริญเติบโตท่ียั่งยืนดวยตัวเอง (Self-sustaining growth); (2) การปรับเปล่ียนโครงสรางการผลิต (Structural change in patterns of production); (3) การปรับเปล่ียนเทคโนโลยีใหทันสมัย (Technological upgrading); (4) การพัฒนาสถาบันตางๆทางสังคม การเมือง ใหสอดคลองกับยุคสมัยพรอมๆกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจ (Social, political and institutional modernization); (5) การปรับปรุงอยางกวางขวางในคุณภาพชีวิตของมนุษยดานตางๆ (Widespread improvement in the human condition) ผูวิจัยอาศัยฐานขอมูลจาก ธนาคารโลก (The World Bank, World Development Indicators 2006) อันประกอบดวยขอมูลหลักดานประชากร ส่ิงแวดลอม เศรษฐกิจ ความสัมพันธ รัฐ-เอกชน การเช่ือมโยงของระบบโลก ฯลฯ ของประเทศตางท่ัวโลก 156ประเทศ เพื่อหาความสัมพันธระหวางระดับการพัฒนาและตัวแปรในมิติตางๆ

การศึกษา วิเคราะหระบบความสัมพันธระหวางคาตัวแปรแสดงถึงระดับการพัฒนาของประเทศ เชน มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากรท่ีแทจริงกับตัวแปรตางๆท่ีนาสนใจ พรอมแสดงถึงทฤษฎีท่ีเกี่ยวของประกอบเพื่อสรุปผลความสอดคลองหรือแตกตางจากทฤษฎีดังกลาว ทั้งนี้ก็เพื่อท่ีจะนําไปสูการพิสูจนขอสมมติฐานถึงแบบแผนการพัฒนา วาสอดคลองกับแนวทางทฤษฎี โดยอาศัยขอมูลเชิงประจักษ วัตถุประสงคอีกประการคือการเขาใจมิติสัมพันธตางๆ อันเปนประโยชนตอการทํานายแบบแผนการพัฒนา (เปล่ียนแปลงเชิงโครงสรางในตัวแปรตางๆ) ของประเทศไทยในอนาคตในลําดับถัดไป

2.2 กรอบแนวคิดในการวิเคราะห กรอบแนวคิดในการช้ีวัดถึงระดับการพัฒนาประเทศนั้น สามารถพิจารณาไดจากรูปแบบ

แหลงท่ีมาของระดับผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศที่แทจริงตอหัวประชากร ซ่ึงในรายละเอียดจะพิจารณาถึงใน 2 สวนดวยกันกลาวคือ สวนหนึ่งเปนสวนของอุปทาน (Supply Side) ซ่ึงประกอบไปดวย ตัวแปรในระบบการผลิตไมวาจะเปนทุนกายภาพและตัวแทนของทุนกายภาพ (Capital Formation and proxy), ประชากรและแรงงานในระบบเศรษฐกิจ (Labor supply) ตลอดจนทุนมนุษย (Human capital) สวนท่ีสองจะเปนสวนของอุปสงค (Demand Side) ซ่ึงจะประกอบไปดวย การบริโภค (Consumption), การลงทุน (Investment), การใชจายภาครัฐ (Government) และการสงออกสุทธิ (Net Exporting) โดยมีรายละเอียดท่ีนาสนใจดังตอไปนี้คือ

Page 4: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-4

ภาพท่ี 2.1: แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (วัดโดย GDP)

เปาหมายของการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Economic Development) นั้นแทจริงคือความมุงหมายท่ีจะทําใหระดับสวัสดิการสังคมหรืออรรถประโยชนมวลรวมของคนในประเทศมีระดับท่ีสูงข้ึน อยางไรก็ตาม การจะวัดระดับสวัสดิการสังคมนั้นเปนเร่ืองท่ียากและซับซอน ดังนั้น เกณฑช้ีวัดถึงระดับการพัฒนาของประเทศจึงอาศัยพิจารณาระดับการขยายตัวของผลผลิตหรือมูลคาของผลผลิตมวลรวมภายในประเทศนั้นๆเปนตัวแทน เพื่อแสดงถึงความอยูดีกินดีหรืออํานาจการจับจาย (purchasing power) ซ่ึงมีทิศทางสูงข้ึนเปนลําดับหากประเทศมีการพัฒนาทวาอาจมีความเหล่ือมลํ้าแตกตางกันไปตามท่ีนักเศรษฐศาสตรเขาใจ จากขอมูลของธนาคารโลกแสดงอยางชัดเจนวา แม

แหลงที่มาของการเจริญเติบโต วัดโดย GDP

รายไดประชาชาติดานอุปทาน GDP = F (K, H, T)

รายไดประชาชาติดานอุปสงค GDP = C+I+G+NX

• ทุนกายภาพ (Physical Capital, K)

ทุนมนุษย (Human Capital, H) o ประชากร แรงงาน o ภาวะเจริญพันธุ

สุขภาวะ o การศึกษา ฝกอบรม

• เทคโนโลยี (Technology, T) o จํานวนนักวิจัย o งบสารสนเทศ และ

คมนาคม o Etc.

• การบริโภคภาคเอกชน © o การบริโภคในอาหาร

และโภคภัณฑ (Food) o การบริโภคในสินคา

คงทน (Durable goods)

• การลงทุน (I) o การออม

• การใชจายภาครัฐ (G) o งบประมาณรายจาย

ภาครัฐตอ GDP

• การสงออก และ นําเขา (X-M) o อัตราการเปดประเทศ

Page 5: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-5

ประเทศกําลังพัฒนาจะมีระดับการพัฒนาท่ีสูงข้ึน ระหวาง 2004 เม่ือเทียบกับ 1990 วัดจากขนาดของ GDP แตประเทศพัฒนาท่ีมีขนาดของเศรษฐกิจท่ีเร่ิมตนใหญกวาประเทศกําลังพัฒนามากมีระดับของเศรษฐกิจแตกตางมากข้ึนในสองชวงเวลาดังกลาว

ภาพท่ี 2.2: เปรียบเทียบ GDP รวม ในชวงป 1990 กับ 2004

GDP

0

5,000,000

10,000,000

15,000,000

20,000,000

25,000,000

30,000,000

35,000,000

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

$ m

illio

ns

19902004

เม่ือระดับของรายไดตอหัวประชากร ซ่ึงเปนมาตรวัดระดับการพัฒนาสูงข้ึน เราพบวา อัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศมีเสถียรภาพแตมีความสัมพันธในทิศทางกลับกัน กลาวคือ ประเทศมีขนาดใหญข้ึน (วัดโดยระดับของ GDP) มีรายไดตอหัวประชากรสูงข้ึน อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจจะเพิ่มในอัตราที่ลดลงเขาสูอัตราการเจริญเติบโตในระยะยาว (Asymptotical to long run economic growth rate) อยางมีเสถียรภาพ ตามทฤษฎีเศรษฐศาสตรพัฒนาการ (การแสดงกราฟของลําดับข้ันการพัฒนาบน log scale ทําใหอัตราการเจริญเติบโตในระยะยาวอยูตํ่ากวารอยละ 2 ตอป เม่ือรายไดตอหัวเพิ่มเขาสาระดับ 50,000 ดอลลาร สหรัฐฯ

Page 6: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-6

ภาพท่ี 2.3: แสดงความสัมพนัธระหวางระดับการพัฒนา และ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

0

2

4

6

8

10

12

14

16

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_GD

P_G

RO

WT

ECON_GDP_GROWT vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

2

4

6

8

10

12

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_GD

P_G

RO

WT

ECON_GDP_GROWT vs. ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

จากการศึกษาของ นักเศรษฐศาสตร อาทิเชน Chenery and Syrquin (Patterns of Development 1950-1970, A World Bank Research Publication, 1975), และ M. Syrquin (Patterns of Structural Change, Part 2 Structural Transformation, in ed., Chenery and Srinivasan Handbook of Development Economics, Vol. 1, North Holland 1988) ท้ังนี้ เม่ือเศรษฐกิจไดรับการพัฒนามากข้ึนเปนลําดับ นอกจากจะมีการขยายตัวของขนาดเศรษฐกิจอันแสดงถึงเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดจากการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) อยางตอเนื่องในเชิงโครงสรางการผลิตก็มีความปรับเปล่ียนไปพรอมกันดวย (Structural Change) กลาวคือ เม่ือประเทศหนึ่งๆมีการพัฒนามากข้ึนสัดสวนความสําคัญของภาคการผลิตอันประกอบไปดวยภาคเกษตร อุตสาหกรรมและ บริการจะมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิม

Note: นิยามตัวแปร ECON_GDP_GROWT หมายถึง อัตราการขยายตัวของผลิตภณัฑมวลรวมภายในประเทศระหวางป 2000-2004 (Percent) ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัว

Page 7: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-7

เม่ือระดับการพัฒนาเศรษฐกิจสูงข้ึน แสดงโดยระดับรายไดตอหัวประชากรเพ่ิมข้ึนในกลุมประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกท่ีเปนตัวอยางสัดสวนมูลคาการผลิตภาคเกษตรลดลงอยางรวดเร็วจากรอยละ 30-40 เปนรอยละ 10 เม่ือรายไดตอหัวฯ เพิ่มสูระดับ 5,000 ดอลลาร สหรัฐฯ และคอยๆลดลงเขาใกลรอยละ 1 กอนท่ีระดับรายไดตอหัวฯ เพิ่มจาก 10,000 เขาใกล 20,000 ดอลลาร สหรัฐฯ

ในขณะเดียวกัน สัดสวนมูลคาการผลิตภาคอุตสาหกรรมเร่ิมจากระดับรอยละ 5 ถึง 10 -12 เม่ือระดับรายไดตํ่ากวา 1,000 ดอลลาร สหรัฐฯ สัดสวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมคอยๆเพิ่มเขาใกลสูระดับ รอยละ 20 ในระยะยาว เมื่อการพัฒนามีระดับสูงข้ึน การผลิตในภาคอุตสาหกรรม มิไดแสดงแนวโนมของการลดลง แมระดับรายไดตอหัวจะเพิ่มจาก 20,000-60,000 ดอลลาร หากพิจารณาจากคาเฉล่ีย ของประเทศตาง (Trend line) อยางไรก็ตาม หากพิจารณาขอมูลในรายละเอียดจะพบวา มีหลายประเทศท่ีมีสัดสวนของการผลิตในภาคเกษตรลดลงในขณะท่ีอีกบางสวนมีแนวโนมเพิ่มข้ึน

แนวโนมของสัดสวนการผลิตภาคบริการมีการขยายตัวเพิ่มข้ึนอยางคอนขางชัดจาก รอยละ 35-45 เม่ือระดับรายไดตอหัวตํ่ากวา 1,000 ดอลลาร สหรัฐฯ สัดสวนของการผลิตบริการเพิ่มอยางรวดเร็วเม่ือรายไดตอหัวเพิ่มเขาสู 10,000 ดอลลาร เม่ือรายไดเพิ่มเขาสู 20,000 ดอลลาร สัดสวนฯเพิ่มข้ึนในอัตราท่ีลดลงหลังจากระดับรายไดเพิ่มจาก 20,000 ดอลลาร สัดสวนการผลิตบริการขยายตัวเขาสูแนวโนมในระยะยาวท่ี รอยละ 70

Page 8: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-8

ภาพท่ี 2.4: แสดงการเปล่ียนแปลงเชิงโครงสรางของระบบเศรษฐกิจ (การเปล่ียนแปลงของสัดสวนมูลคาผลผลิตตอ GDP)

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

ECON_AGRI_%GDPECON_MANU_%GDPECON_SERV_%GDP

0

4

8

12

16

20

24

28

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_AG

RI_

GD

P

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 7999.9)

0

4

8

12

16

20

24

28

32

36

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_MA

NU

_GD

P

ECON_MANU_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

30

40

50

60

70

80

90

500 5000 50000

E C O N _ G D P _ P E R C A P

EC

ON

_SE

RV

_GD

P

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 7999.9)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

Note: นิยามตัวแปร

• ECON_AGRI_%GDP หมายถึง สัดสวนมูลค าการผลิตภาคเกษตร

• ECON_MANU_%GDP หมายถึง สัดสวนมูลค าการผลิตภาคอุตสาหกรรม

• ECON_SERV_%GDP หมายถึง สัดสวนมูลค าการผลิตภาคบริการ

Log

Page 9: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-9

ภาพท่ี 2.5: เปรียบเทียบ GDP แยกรายภาคการผลิต ในป 2004

GDP Growth (2000 - 2004)

0123456789

10Lo

w in

com

e

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

Perc

ent

AgricultureIndustryManufacturingServices

ภาพท่ี 2.6: สัดสวน GDP แยกรายภาคการผลิต ในป 2004

GDP (2004)

0

10

20

3040

50

60

70

80

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

$ m

illio

ns

AgricultureIndustryManufacturingServices

Percent

Page 10: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-10

สัดสวนของมูลคาการผลิตท่ีมาจากภาคเกษตรลดลงเปนลําดับ ในขณะท่ีภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการสูงข้ึน ท้ังนี้เกิดจากการท่ีประเทศมีการพัฒนาวิถีการผลิต (Mode of Production) เคล่ือนตัวจากการใชแรงงานเขมขน (Labor Intensive) ซ่ึงเปนลักษณะสําคัญของโครงสรางทางเศรษฐกิจแบบเกษตรกรรม เขาสูชวงวิถีการผลิตแบบใชทุนเขมขน (Capital Intensive) ซ่ึงเปนลักษณะของระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและทายท่ีสุดจะเปนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจโดยใชทุนมนุษยเขมขน (Human Capital Intensive) ซ่ึงเปนลักษณะเดนของภาคบริการ เปนตัวขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ ดังท่ีแสดงจากการเพิ่มของ มูลคาเพิ่มการผลิตจากการใชแรงงานสูงข้ึนเม่ือระดับการพัฒนาสูงข้ึน

ภาพท่ี 2.7: แสดงความสัมพนัธระหวางมูลคาเพิ่มแรงงานและ GDP per capita

-20000

0

20000

40000

60000

80000

100000

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_VA

_WO

RK

ER

PEO_VA_WORKER vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

20000

40000

60000

80000

100000

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_V

A_W

OR

KER

PEO_VA_WORKER vs. ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

อยางไรก็ตาม เราพบวาแมสัดสวนมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภาคเกษตรลดลงเปนลําดับเม่ือประเทศมีการพัฒนามากข้ึน ทวาขนาดของมูลคาเพิ่มผลิตภัณฑฯ ภาคเกษตรกลับเพิ่มสูงข้ึน ดังภาพท่ี 2.7 ท้ังนี้ เนื่องจากประเทศตางๆในโลกมีการเปลี่ยนแปลงของวิถีการผลิตโดยการนําเทคโนโลยีสมัยใหมมาใชจนทําใหผลิตภาพของการผลิตในภาคเกษตรเพ่ิมข้ึน

Note: นิยามตัวแปร

• PEO_VA_WORKER หมายถึง มูลคาเพิ่มของแรงงาน

• ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 11: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-11

ภาพท่ี 2.8: แสดงความสัมพนัธระหวางมูลคาเพิ่มภาคเกษตรและ GDP per capita

-20000

-10000

0

10000

20000

30000

40000

50000

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_PERCAP

EN

VI_A

GR

I_VA

ENVI_AGRI_VA vs. Log ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

ภาพท่ี 2.9: แสดงผลความสัมพันธระหวางการจางแรงงานในภาคอุตสาหกรรมกับการพัฒนาประเทศวัดโดย GDP per capita

0.0

0.4

0.8

1.2

1.6

2.0

2.4

2.8

3.2

3.6

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

MA

NU

_LA

B_S

HA

RE

MANU_LAB_SHARE vs. Log ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

จากการวิเคราะห ช้ีวา มูลคาเพิ่มท่ีเกิดจากผลิตภาพของ “มนุษย” เพิ่มสูงข้ึนเม่ือประเทศมีการพัฒนามากข้ึน เปนการเนนย้ําใหเห็นถึงทิศทางของการเติบโตทางเศรษฐกิจ วาเกี่ยวพันกับการสะสมและขยายตัวของทุนมนุษย (Human Capital) อยางลึกซ้ึง ท้ังนี้เม่ือโครงสรางการผลิตของประเทศ

Note: นิยามตัวแปร

• ENVI_AGRI__VA หมายถึง มูลคาเพิ่มของภาคเกษตร

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Note: นิยามตัวแปร

• MANU_LAB_SHARE หมายถึง สัดสวนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมเม่ือเทียบกับแรงงานท้ังหมดในตลาดแรงงาน

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 12: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-12

เปล่ียนแปลงไปตามลําดับช้ันการพัฒนา การใชแรงงานในแตละภาคการผลิตก็จะเปล่ียนแปลงตามไปดวย

ผลความสัมพันธระหวางการจางแรงงานในภาคอุตสาหกรรมกับการพัฒนาประเทศวัดโดย GDP per capita พบวา เม่ือระดับการพัฒนาประเทศสูงข้ึนจะมีการจางแรงงานในภาคอุตสาหกรรมนอยลง ซ่ึงเม่ือเทียบกับการเพิ่มข้ึนของสวนแบงรายไดประชาชาติท่ีการผลิตทางอุตสาหกรรมในชวงเวลาเดียวกันนี้ แสดงใหเห็นวามีการเพิ่มข้ึนของประสิทธิภาพของแรงงานในภาคอุตสาหกรรม ท้ังนี้อาจเพราะการพัฒนาดานเทคโนโลยีท่ีใชทุนเขมขนแทนการใชแรงงานเขมขน แรงงานมีทักษะการผลิต และความรูมากข้ึน เม่ือเทียบกับการใชแรงงานไรฝมือท่ีมีทักษะตํ่า (Low skill, Sweat Labor) ในอดีตนั่นเอง

ภาพท่ี 2.10: แสดงการเปล่ียนแปลงเชิงโครงสรางของการผลิต

0

10

20

30

40

50

60

140 200 400 600 1000 1600 3000

A

B

C

D

บริการ

อุตสาหกรรม

เกษตรกรรม

สาธารณูปโภค

รูปที่ 1 การเปลี่ยนแปลงโครงสรางการผลิต(รายไดตอหัว us$)

Source: Hollis Chenery and Moses Syrquin,Pattrens of Development, 1950-70 (London:Oxford University Press, 1975),Figure 5.

ผลการวิเคราะหขอมูลเชิงประจักษ (Stylized Fact) มีความสอดคลองกับสมมุติฐานและผล

การศึกษาของ Chnery และ Syrquin (1975) ท่ีศึกษาการเปล่ียนแปลงโครงสรางการผลิตของประเทศตาง ๆ ท่ัวโลกระหวางป 1950-1970 และพบวาเม่ือรายไดตอหัวเพิ่มข้ึนโครงสรางการผลิตจะเปล่ียนแปลงไปโดยการผลิตภาคเกษตรจะลดลงและการผลิตภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมข้ึน สมมุติฐานการ

บริการ

อุตสาหกรรม

เกษตรกรรม

สาธารณูปโภค

Source: Hollis Chenery and Moses Syrquin, “Patterns of Development, 1950-70”

A

B

D

C

140 200 400 600 1000 1600 3000 รายไดตอหัว (US$)

60

50

40

30

20

10

0

Page 13: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-13

เปล่ียนแปลงโครงสรางการผลิตนี้สามารถดูไดจากรูปท่ี 1 ซ่ึงแสดงใหเห็นถึงสัดสวนของผลผลิตภาคอุตสาหกรรมตอ GDP เพิ่มข้ึน ขณะท่ี สัดสวนของผลผลิตเกษตรกรรมลดลงเม่ือรายไดตอหัวเพิ่มข้ึน ตัวอยางเชน ประเทศท่ีมีรายไดตอหัว US$ 200 มีมูลคาผลผลิตภาคเกษตร 45 % ของ GDP และภาคอุตสาหกรรมประมาณ 15 % (ดูจุด A และ B ในรูปท่ี 1) และเม่ือรายไดตอหัวเพิ่มข้ึนเปน US$ 1,000 ผลผลิตภาคเกษตรลดลงเหลือ 20 % และภาคอุตสาหกรรมเพ่ิมข้ึนเปน 28 % (จุด C และ D ) การเปล่ียนแปลงโครงสรางการผลิตสามารถแบงไดเปนชวงแรกและชวงหลังโดยวัดจากจุดท่ีสัดสวนผลผลิตภาคเกษตรและผลผลิตภาคอุตสาหกรรมเกือบจะเทากัน ณ ระดับรายไดตอหัวเทากับ US$ 600

2.3 แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดานอุปทาน (Sources of Growth from Supply Side)

แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดานอุปทานประกอบไปดวย 3 ปจจัยกําหนด ไดแก ทุนกายภาพ, ทุนมนุษยและเทคโนโลยีภายใตฟงชั่นการผลิตที่กําหนด GDP = F (K, H, T) โดย K = ทุนกายภาพ (Physical Capital), H = ทุนมนุษย (Human Capital) และ T = เทคโนโลยี (Technology)

1.) ทุนกายภาพ (Physical Capital) สําหรับทุนกายภาพโดยท่ัวไป หมายถึงปจจัยการผลิตท่ีไมใชมนุษยใสเขาไปในกระบวนการ

ผลิต อยางไรก็ตาม ในบริบทคําวาทุนกายภาพน้ันครอบคลุมถึงมูลภัณฑทุนท่ีมาจากโครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานตางๆดวย อาทิเชน ระบบราง (Rail System) ทุนทางกายภาพเหลานี้มีความสัมพันธกับระดับการพัฒนา (วัดโดย GDP Per capita) ท่ีแตกตางกันไปโดยมีรายละเอียดพอสังเขปดังตอไปนี้คือ

Page 14: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-14

1.1) การนําเขาและสงออกระบบราง และ เคร่ืองมือท่ีเก่ียวของกับการคมนาคมระบบราง ภาพท่ี 2.11: สงออกระบบราง และเครื่องมือที่เก่ียวของ ภาพท่ี 2.12: การนําเขาระบบราง และเครื่องมือที่เก่ียวของ

0

400,000,000

800,000,000

1,200,000,000

1,600,000,000

2,000,000,000

2,400,000,000

2,800,000,000

3,200,000,000

3,600,000,000

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

ECO

N_C

AP_R

AILW

AY

0

200,000,000

400,000,000

600,000,000

800,000,000

1,000,000,000

1,200,000,000

1,400,000,000

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAPEC

ON

_CAP

_RAI

LWAY

_IM

P

การนําเขา และสงออกระบบรางนั้นเปนตัวช้ีวัดถึงระดับการสะสมทุนทางกายภาพ (โดยเฉพาะการนําเขา) ซ่ึงจากภาพช้ีใหทราบวาประเทศมีระดับการพัฒนามากข้ึนเพียงใด การขยายตัวในการลงทุนในทุนกายภาพยิ่งเพิ่มสูงข้ึนมากเทานั้น ความสัมพันธของทุนกายภาพ และ การพัฒนาประเทศจึงมีทิศทางท่ีเปนบวก

2.) ทุนมนุษย (Human Capital) กรอบแนวคิดเร่ือง ทุนมนุษยนั้นไดรับการพัฒนามาอยางตอเนื่องนับต้ังแต Adam Smith ท่ีผูก

โยงทุนมนุษยเอาไวกับเร่ืองทักษะทางการผลิต, ความชํานาญ และ ความสามารถในการตัดสินใจ โดยมองวาการสะสมและเสริมสรางทุนมนุษยจะสามารถกระทําไดผานการแบงงานกันทํา (Division of Labor)1 ซ่ึงตอมาในภายหลัง Theodore Schultz (1961), Jacob Mincer (1958)2 และ Gary Becker

1 The greatest improvement in the productive powers of labour, and the greater part of the skill, dexterity, and judgment with which it

is any where directed, or applied, seem to have been the effects of the division of labour (http://en.wikipedia.org/wiki/Human_capital, Wikipedia)

2 Schultz, T.W. (1961), “Investment in Human Capital” American Economic Reviews, 51(1):1-17 และ Mincer, J. (1958) “Investment in Human Capital and Personal Income Distribution “The Journal of Political Economy.

แหลงท่ีมา: OECD Statistic อางจาก http://webnet4.oecd.org/wbos/Index.aspx?DatasetCode=HS1988 Note: ECON_CAP_RAILWAY หมายถึง มูลคาการสงออกระบบราง และ เคร่ืองมือที่เก่ียวของ ECON_CAP_RAILWAY_IMP หมายถึง มูลคาการนําเขาระบบราง และ เคร่ืองมือที่เก่ียวของ LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนาวัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 15: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-15

(1964, 1975, 1993), OECD(1988)3 ไดขยายกรอบแนวคิดในการพิจารณาทุนมนุษยออกไปกวางขวางมากข้ึน ครอบคลุมความหลากหลายของการสรางสมความสามารถของมนุษยท่ีหลากหลายมิติ (Hetero-capability of each individual or each worker) ในขบวนการสรางสมทุนมนุษย นอกจากเร่ืองการลงทุนในการศึกษา (Schooling) เพื่อสรางทุนมนุษยดานความรู (Knowledge) การฝกอบรม (On-the-Job-Training: general and specific training) เพื่อสรางทักษะ (Skills) และ ความสามารถพิเศษเฉพาะ (Special ability) ทุนมนุษย สามารถวัดไดจาก (1) ตนทุน (Cost-based approach) ของการเล้ียงดูบุคคลกระท่ังถึง อายุ 25 ป (monetary valued of fully produced human being), (2) วัดจากระดับของการศึกษา (Education-based approach) ซ่ึงมักสมมุติวาระดับของการศึกษาท่ีสูงข้ึนมีความสัมพันธในเชิงบวกกับทุนมนุษยดานความรู ตัวช้ีวัดท่ีมักใชไดแก อัตราการรูหนังสือของผูใหญ (Adult literacy rates) และ อัตราการเขารับการศึกษาของประชากรวัยเรียน (School enrollment rates) จํานวนปท่ีแรงงานเขารับการศึกษา หรือลงทุนในการศึกษา (Average year of schooling) และ คุณภาพของระบบโรงเรียน (Quality of schooling) ท่ีกําหนดโดยคุณภาพของครู แรงจูงใจของครู ความสามารถของเด็ก การศึกษาของพอ แม ผูปกครอง ฯลฯ (3) วัดจากระดับรายได (Income-based approach) ท่ีคาดวาไดรับจากการลงทุนการศึกษาในสาขาวิชาตางกันมักจะอัตราผลตอบแทนท่ีตางกัน เพื่อนับเปนทุนมนุษย

กลาวโดยรวม การวัดระดับของทรัพยากรมนุษย อาจพิจารณาจากทั้งดานปริมาณหรือจํานวนแรงงาน (Size of Population and Labor Force) คุณภาพของทรัพยากรมนุษย (Human Resource Quality) ท่ีกําหนดโดยระดับการศึกษาของกําลังแรงงานผลิตภาพของแรงงานท่ีแสดงโดยระดับของคาจางและผลตอบแทนท่ีเปนรายไดตางๆของแรงงาน (wage and compensation) คุณภาพของแรงงาน ความตองการมีสวนรวมในกําลังแรงงาน (Labor force participation rate) โดยพิจารณาวาการลงทุนทางการศึกษาและการฝกอบรม (Education investment and training) เปนรากฐานในการสะสมทุนมนุษย (Human capital accumulation) ซ่ึงนําไปสูการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ีสมดุล

จากการศึกษาของ Ruttiya Bhula-or (2008) พบวาการสะสมทุนมนุษยของไทยเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องต้ังแตป 1980 เปนตนมามีปจจัยมาจากระดับการศึกษาเฉล่ียของแรงงานไทยท่ีเพิ่มสูงข้ึนอยางตอเนื่อง แตอยางไรก็ตามอัตราการเพ่ิมของดัชนีทุนมนุษยมีแนวโนมลดลง ท้ังนี้สวนหนึ่งมาจากความผันผวนของคาจางและเศรษฐกิจแรงงานผนวกกับการเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรของไทย โดยในชวง 10 ปแรก (2523 – 2532) ดัชนีทุนมนุษยของประเทศไทยเพ่ิมข้ึน 110 หนวย จาก 100 เปน 210 แตในชวง 10 ป ใหหลัง แรก (2533 – 2542) ดัชนีทุนมนุษยของประเทศไทยเพ่ิมข้ึนเพียง 20

3 Gary Becker (1993) Human Capital: A Theoretical and Empirical Analysis with Special Reference to Education, Third Edition , University of Chicago Press และ Organization for Economic Co-operation and Development (OECD) (1988), Human Capital Investment: An International Comparison, Center for Educational Research and Innovation, Paris.

Page 16: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-16

หนวย จากประมาณ 210 เปน 230 และเร่ิมดีข้ึนในชวง 6 ปหลัง (2543-2549) โดยเพิ่มข้ึน 30 หนวย จากประมาณ 230 เปน 260

ภาพท่ี 2.13: ดัชนีการสะสมทุนมนุษย 1980-2006

ที่มา: Ruttiya Bhula-or (2008) ในสวน ดัชนีฯ นํามาวาดกราฟ (scattered plot) กับ GDP ตอหัว ณ ราคาคงที่ ป2523

2.1) ประชากร และ แรงงาน (Population and Labor Force) การเปล่ียนแปลงโครงสรางการผลิต ระหวางเกษตร-อุตสาหกรรม-บริการเปนผลกระทบ

จากการเปล่ียนแปลงของโครงสรางประชากรดวย ผานการปรับตัวของอุปสงคและอุปทานในตลาดแรงงานของภาคการผลิตตางๆทั้งเกษตร อุตสาหกรรมและบริการสูดุลยภาพท่ีเหมาะสม การเปล่ียนแปลงเชิงโครงสราง ยังช้ีใหเห็นถึงความจําเปนของการวางนโยบายเพ่ือการบริหารจัดการคุณภาพประชากรในแตละชวงวัย (Age specific composition) โดยเฉพาะวัยเด็กและผูสูงอายุซ่ึงเปนวัยพึ่งพิงโดยธรรมชาติ (Dependency) และนําไปสู การพิจารณาผลกระทบของสภาพการเคล่ือนยายแรงงาน (Labor migration) ท่ีเติมเต็มตลาดแรงงานในสมบูรณมากยิ่งข้ึน

โครงสรางประชากรท่ีอายุเฉล่ียมีแนวโนมสูงข้ึน อาจมีผลกระทบตอความตองการแรงงาน ท้ังท่ีเปนสายวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ( S&T) และที่เปนนักวิชาชีพเฉพาะทาง (Professionals) ใหมๆ ท่ี อาจไมเคยมีความตองการมากอน อาทิเชน อาชีพการฟนฟูสมรรถนะและ

Page 17: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-17

อภิบาลผูสูงอายุในสถานอภิบาลผูสูงอายุ โรงพยาบาลและการใหบริการตามครัวเรือน อาชีพการบริหารเทคโนโลยี และทรัพยสินปญญา อาชีพท่ีปรึกษาเชิงระบบฯ อาชีพการแกไขปญหาความขัดแยงมวลชน ชางฝมืออิสระอัญมณี ฯลฯ ตลอดจนอาชีพท่ีควรคาแกการฝกอบรมใหกับผูสูงอายุเพื่อเตรียมการใหผูสูงอายุใชชีวิตท่ีไมเปนภาระของสังคม

นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงของโครงสรางกําลังแรงงานท้ังเพศชายและหญิงตางสงสัญญาณถึงสถานการณการแขงขันในตลาดแรงงานท่ีตองแยงชิงแรงงานวัยหนุมสาวรุนแรงมากข้ึน โดยเฉพาะอยางยิ่งในกลุมนักวิชาชีพ เชน วิศวกร เปนตน แนวโนมดังกลาวอาจนําไปสูความตองการแรงงานวิชาชีพท่ีใชทักษะ-ความรู (Knowledge worker) ท่ีตองนําเขาจากตางประเทศและนโยบายวาดวยแรงงานไรฝมืออีกท้ังการบริโภคสินคาของผูสูงอายุจะมีความสําคัญมากข้ึน เชน บริการสุขภาพอนามัย การทองเท่ียวเพื่อพักผอน เปนตน

ภาพท่ี 2.14: สัดสวนการจางงานประชากรชายรายภาคการผลิต ในป 2000- 2004

Employment share - Male (2000 - 2004)

0%

10%

20%

30%

40%

50%

60%

70%

80%

90%

100%

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Paci

fic

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Lat

in A

mer

ica

& C

arib

Mid

die

East

& N

.Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EMU

Services

Industry

Agriculture

Page 18: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-18

ภาพท่ี 2.15: สัดสวนการจางงานประชากรหญิงรายภาคการผลิต ในป 2000- 2004

Employment share - Female (2000 - 2004)

0%

10%

20%

30%

40%

50%

60%

70%

80%

90%

100%

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Paci

fic

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Lat

in A

mer

ica

& C

arib

Mid

die

East

& N

.Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EMU

Services

Industry

Agriculture

ภาพท่ี 2.16: Labor force participation rate ในป 1990 และ 2004

Labor force participation rate

-10.020.030.040.050.060.070.080.090.0

100.0

Low

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Mid

die

East

& N

.Afri

ca

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Eur

ope

EMU

% a

ges

15 -

64 Male 1990

Female 1990

Male 2004

Female 2004

Page 19: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-19

ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับโลก เปนปรากฏการณของการเปล่ียนแปลงโครงสรางในการผลิตและโครงสรางประชากร-กําลังแรงงานท่ีตอบสนองตอความตองการแรงงานในภาคบริการมากข้ึน และท่ีสําคัญมีแนวโนมของการมีสวนรวมของแรงงานสตรีมากข้ึน โดยเฉพาะในภาคการบริการ

การวางแผนเพื่อการพัฒนาประเทศไทยในการศึกษานี้ตองทราบวาเราจะพัฒนาไปสูจุดใด หรือมีสัดสวนของมูลคาเพิ่มรายสาขาระหวางเกษตร-อุตสาหกรรมการผลิต-บริการเทาใด (Structural chart of value added) มีเปาหมายการพัฒนาใหประชากรมีระดับรายไดเฉล่ียตอหัวประชากรเทาไหร (Income Growth target) การตั้งเปาหมายการการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ กําหนดจากดานอุปสงคและอุปทานท่ีมาของการเจริญเติบโต (Sources of Growth) และการเบ่ียงเบนจากแนวโนมของความสมดุลในอดีต (Causes of structural change or deviation from balanced growth path)

2.2) การศึกษา (Education) ตัวแปรทางการศึกษาท่ีนํามาวิเคราะหในฐานะตัวแทนของทุนมนุษย (ซ่ึงกําหนดการ

เจริญเติบโตเศรษฐกิจดานอุปทาน) นั้นมีอยูดวยกันหลายกลุม กลุมแรกท่ีจะกลาวถึงคือ ชุดความสัมพันธระหวางอัตราการสมัครเขารับการศึกษาตอในระดับช้ันประถมศึกษา มัธยมศึกษาและอุดมศึกษากับระดับการพัฒนาตอไปนี้คือ

ภาพท่ี 2.17: สัดสวนของรายจายเกี่ยวกับการศึกษาท่ีภาครัฐใชจายกับนักเรียนตอคนตอคา GDP ตอหัว

Public expenditure per student (2004)

-

10.0

20.0

30.0

40.0

50.0

60.0

70.0

80.0

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Paci

fic

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Lat

in A

mer

ica

& C

arib

Mid

die

East

& N

.Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EMU

% o

f GD

P pe

r cap

ita

Tertiay

Secondary

Primary

Page 20: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-20

ภาพท่ี 2.18–2.20: แสดงชุดความสัมพันธระหวางอัตราการสมัครเขารับการศึกษาตอในระดับช้ัน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อุดมศึกษา กับ ระดับการพัฒนา (วัดโดย GDP Per capita)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_ENROLL_PRI หมายถึง อัตราการเขารับการศึกษาตอประชากร ในชวงช้ันประถมศึกษา (% of relevant age group) PEO_ENROLL_SEC หมายถึง อัตราการเขารับการศึกษาตอประชากรในชวงช้ันมัธยมศึกษา (% of relevant age group) PEO_ENROLL_TERT หมายถึง อัตรากาเขารับการศึกษาตอประขากรในชวงช้ันอุดมศึกษา (% of relevant age group) LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ตอหัวประชากร ($ dollar)

40

60

80

100

120

140

160

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_E

NR

OLL

_PR

I

PEO_ENROLL_PRI vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

40

80

120

160

200

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_E

NR

OLL

_SE

C

PEO_ENROLL_SEC vs. Log ECON_GDP_PERCAP

-20

0

20

40

60

80

100

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_PERCAP

PE

O_E

NR

OLL

_TER

T

PEO_ENROLL_TERT vs. Log ECON_GDP_PERCAP

Log Log

ภาพท่ี 2.18 ภาพท่ี 2.19 ภาพท่ี 2.20

Page 21: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-21

ภาพท่ี 2.21: แสดงชุดความสัมพันธระหวางอัตราการเขารับการศึกษาตอ ในระดบัช้ัน ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และ อุดมศึกษา กบั ระดับการพฒันา

0

40

80

120

160

200

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

PEO_ENROLL_PRIPEO_ENROLL_SECPEO_ENROLL_TERT

60

70

80

90

100

110

120

130

140

150

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_EN

RO

LL_P

RI

PEO_ENROLL_PRI vs. ECON_GDP_PERCAP

20

40

60

80

100

120

140

160

180

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_EN

RO

LL_S

EC

PEO_ENROLL_SEC vs. ECON_GDP_PERCAP

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_EN

RO

LL_T

ER

T

PEO_ENROLL_TERT vs. ECON_GDP_PERCAP

Secondary

Primary

Tertiary

Page 22: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-22

ความสัมพันธระหวางระดับการศึกษา และ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ (วัดโดย GDP Per capita) ในทิศทางเดียวกัน ระดับนัยสําคัญของความสัมพันธมากข้ึนในชวงช้ันท่ีสูงข้ึน แสดงใหเห็นวาในชวงช้ันระดับประถมศึกษาไมวาจะเปนประเทศท่ีพัฒนาแลวหรือไมตางก็มีระดับการเขาเรียนของประชากรกลุมอายุ ท่ีควรเรียนช้ันประถมอยู ท่ีรอยละ 100 ท้ังส้ิน ท้ังนี้เพราะการศึกษาในระดับช้ันประถมนั้นเปนชวงช้ันของการศึกษาภาคบังคับท่ีมีความสําคัญตอพัฒนาการพื้นฐานท่ีจะสงผลตอการส่ือสาร เชน การฟง พูด อาน เขียน ดังนั้นในทุกระดับการพัฒนา สวนใหญการศึกษาในระดับประถมจึงเปนการศึกษาข้ันตํ่าของสังคม ซ่ึงเม่ือพิจารณา อัตราการเขาศึกษาในระดับมัธยมและอุดมศึกษามีความสัมพันธเชิงบวกตอการพัฒนาประเทศ (วัดโดย GDP Per capita) เดนชัดมากยิ่งข้ึน

นอกจากพิจารณาอัตราการเขารับการศึกษาตอในแตละชวงช้ันแลว เกณฑการพิจารณาถึงคุณภาพการศึกษาเบ้ืองตนท่ีแพรหลายอีกประการหนึ่งก็คืออัตราการรูหนังสือ (Literacy Rate) ของคนในประเทศโดยในท่ีนี้จะทําการวิเคราะหอัตราการรูหนังสือของประชากรเพศชาย-หญิงใน 2 ชวงวัย ขามชวงเวลาวา มีทิศทางการเปล่ียนแปลงไปเชนไรบาง

Page 23: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-23

ภาพท่ี 2.22: แสดงชุดความสัมพันธระหวางอัตราการรูหนังสือของเพศชายกับระดับการพัฒนา

40

50

60

70

80

90

100

110

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

Log ECON_GDP_PERCAP

PEO_YOUTH_LIT_M02PEO_ADULT_LIT_M02

76

80

84

88

92

96

100

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_YO

UTH

_LIT

_M02

PEO_YOUTH_LIT_M02 vs. ECON_GDP_PERCAP

60

70

80

90

100

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_A

DU

LT_L

IT_M

02

PEO_ADULT_LIT_M02 vs. ECON_GDP_PERCAP

Note: PEO_YOUTH_LIT_M02 หมายถึง อัตราการรูหนังสือของประชากรเพศชายในเด็ก (ตํ่ากวา 14 ป) ป 2002 PEO_ADULT_LIT_M02 หมายถึง อัตราการรูหนังสือของประชากรเพศชายในผูใหญ (15-65 ป) ในป 2002 LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 24: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-24

ภาพท่ี 2.23: แสดงชุดความสัมพันธระหวางอัตราการรูหนังสือของเพศหญิงกับระดับการพัฒนา

20

30

40

50

60

70

80

90

100

110

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

Log ECON_GDP_PERCAP

PEO_YOUTH_LIT_W02PEO_ADULT_LIT_W02

60

70

80

90

100

110

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_Y

OU

TH_L

IT_W

02

PEO_YOUTH_LIT_W02 vs. ECON_GDP_PERCAP

30

40

50

60

70

80

90

100

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_A

DU

LT_L

IT_W

02

PEO_ADULT_LIT_W02 vs. ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

Note: PEO_YOUTH_LIT_W02 หมายถึง อัตราการรูหนังสือของประชากรเพศหญิงในเด็ก (ตํ่ากวา 14 ป) ป 2002 PEO_ADULT_LIT_W02 หมายถึง อัตราการรูหนังสือของประชากรเพศหญิงในผูใหญ (15-65 ป) ในป 2002 LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนาวัดโดยมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 25: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-25

พบวา เม่ือประเทศพัฒนามากข้ึน ระดับการรูหนังสือท้ังในเด็กและผูใหญเพศชายและในเด็กและผูใหญเพศหญิงตางมีทิศทางสอดคลองกันไปในเชิงบวก กลาวคือ ยิ่งประเทศมีการพัฒนาอัตราการรูหนังสือก็ยิ่งสูงข้ึนเปนลําดับ

โดยสรุปแลว จากการศึกษาขอมูลเชิงประจักษของตัวแปรดานการศึกษาตัวแปรทุกตัวท่ียกมาเปนตัวแทนตางช้ีตรงกันวาการเติบโตท้ังในแงปริมาณและคุณภาพของภาคการศึกษามีความสัมพันธเชิงบวกกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเศรษฐกิจซ่ึงวัดดวย GDP Per capita อยางมีนัยสําคัญ

2.3) สุขภาวะ (Health) นอกเหนือจากตัวแปรดานการศึกษา ตัวแปรดานสุขภาวะของประเทศก็เปนอีกปจจัยหนึ่ง

ซ่ึงถูกใหความสําคัญ และ ผูกโยงไวกับการพัฒนาทุนมนุษย ท้ังนี้เพราะเม่ือแรงงานมีสุขภาวะท่ีดีการเรียนรูทักษะ และความสามารถทางการผลิต (ผลิตภาพ) ก็สามารถพัฒนาไดดีอยางมีประสิทธิภาพ ตัวแทนท่ีจะนํามาใชเพื่อพิจารณาถึงระดับสุขภาวะของประเทศ เพื่อนําไปศึกษาถึงระบบความสัมพันธท่ีเกี่ยวโยงกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ มีดังตอไปนี้

ภาพที่ 2.24: แสดงความสัมพันธระหวางรายจายดานสาธารณสุข

คิดเปนรอยละตอ GDP กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_HEA

LTH

_PU

B_G

DP

0

1

2

3

4

5

6

7

8

9

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_H

EA

LTH

_PU

B_G

DP

PEO_HEALTH_PUB_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

Note: นิยามตัวแปร

• PEO_HEALTH_PUB_GDP หมายถึง รายจายดานสาธารณสุข คิดเปนรอยละตอ GDP

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 26: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-26

ประการท่ีหนึ่ง รายจายเพ่ือการสาธารณสุขคิดเปนรอยละของ GDP ซ่ึงผลการศึกษา ช้ีวา ยิ่งประเทศมีการพัฒนาสูงข้ึนเทาไร รายจายเพื่อการสาธารณสุขของประเทศดังกลาวก็ยิ่งเพิ่มสูงข้ึน

ประการท่ีสอง เปนจํานวนแพทยตอประชากร 1,000 คน ท้ังนี้เพราะจํานวนแพทยจะเปนตัวช้ีวัดของอุปทานทางการแพทยท่ีเพียงพอแกประชากรในประเทศ ซ่ึงสงผลตอคุณภาพประชากร ในระยะยาว โดยเม่ือพิจารณาภาพ ซ่ึงแสดงถึงความสัมพันธของจํานวนแพทยเทียบกับระดับการพัฒนา (วัดโดย GDP) แลวก็จะพบวา จํานวนแพทยตอประชากร 1,000 คนมีความสัมพันธเชิงบวกกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานท่ีวางไว

ภาพท่ี 2.25: แสดงความสัมพันธระหวางจาํนวนแพทยตอประชากร 1,000 คน และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

0

1

2

3

4

5

6

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_PH

YSIC

IAN

_100

0

ดัชนีช้ีวัดอีกประการหนึ่งซ่ึงนาจะนํามาใชเปนตัวแทนปจจัยดานสุขภาวะของประเทศเพื่อเปรียบเทียบกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (วัดโดย GDP) นั้นไดแก อายุขัยเฉล่ีย (Life Expectancy) ซ่ึงสะทอนใหเห็นถึงมาตรฐานทางการแพทยและ การสาธารณสุขท่ีดีของประเทศน้ันๆ เนื่องจากความยืนยาวของอายุไขนั้นมีสวนสัมพนัธอยางยิ่งตอมูลคาการผลิตของประเทศ อาทิ การที่ประชากรมีชีวิตยืนยาว เทากับวาประชากรสามารถสรางใหเกิดผลิตภาพแกระบบเศรษฐกิจของประเทศ (ผลทางบวก) และ/หรือเปนภาระทางงบประมาณ มากข้ึน (ผลทางลบ) ทางตรง-ออมหากไมมีการวางแผนรองรับ (การออม) ท่ีดีพอ ในทางกลับกันหากอายุขัยของประชากรส้ันเนื่องมาจากภาวะทุโภชนาการ หรือระบบสาธารณสุขที่ไมไดมาตรฐานพอเพียง ยอมสะทอนใหเห็นสวนสูญเสียทางเศรษฐกิจท่ีอาจจะเกิดข้ึนจาก การสูญเสีย ผลการศึกษาพบวา การเพิ่มข้ึนของอายุไขเฉล่ียมีความสัมพันธใน

Note: นิยามตัวแปร

• PEO_PHYSICIAN_1000 หมายถึง จํานวนแพทยตอประชากร 1,000 คน

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 27: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-27

ทิศทางสอดคลองกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ โดยมีการเพิ่มอยางรวดเร็วในชวงรายได 500-1,000 ดอลลาร การเพิ่มของอายุขัย มีอัตราลดลงเม่ือระดับรายไดสูงข้ึน และโนมเขาหาคาระยะยาว

ภาพท่ี 2.26: แสดงความสัมพันธระหวางอายุขัยเฉล่ียประชากร และการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

30

40

50

60

70

80

90

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_LIF

EEXP

_YEA

R

30

40

50

60

70

80

90

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_LIF

EEX

P_Y

EAR

PEO_LIFEEXP_YEAR vs. ECON_GDP_PERCAP

Note: นิยามตัวแปร

• PEO_LIFEEXP_YEAR หมายถึง อายุขัยเฉล่ียประชากร (ป)

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 28: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-28

0

5

10

15

20

25

30

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_H

EAL

WO

RK

_IN

DEX

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 7999.9)

40

50

60

70

80

90

100

110

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_S

KIL

LSTA

FF_B

IRTH

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 6490.8)

0

4

8

12

16

20

24

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_P

RE

V_O

VE

RW

EIG

TH

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 5827.6)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_HEALWORK_INDEX หมายถึง ดัชนีแสดงจํานวนบุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข ตอ ประชากร 1,000 คน

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_SKILLSTAFF_BIRTH หมายถึง จํานวนบุคลากรทางการแพทยวัยเด็กตอเด็กแรกเกิด 1,000 คน

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนาวัดโดยมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_PERV_OVERWEIGHT หมายถึงรอยละเด็กทารกมีน้ําหนักมากผิดปกติตอการเกิด

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนาวัดโดยมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 29: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-29

0

4

8

12

16

20

24

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_L

OW

WE

IGH

T_B

AB

Y

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 7999.9)

2.4) เทคโนโลยี (Technology) แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทางดานอุปทาน ตัวแปรเทคโนโลยีมี

ความสําคัญ ท้ังนี้เพราะวา เทคโนโลยีเปนปจจัยซ่ึงกอใหเกิดการขยายตัวของขอบเขต หรือ ลดขอจํากัดทางการผลิตท่ีในทางเทคนิคเรียกวาระดับขอบเขตการผลิตท่ีเปนไปได (Level of Production Possibility Frontier) การปรับตัวสูงข้ึนของเสนระดับการผลิตท่ีเปนไปไดนี้เปนการกลาวโดยนัยวา สวัสดิการสังคมไดรับการพัฒนา และ เกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

ภาพท่ี 2.27: แสดงการขยายตัวของระดับการผลิตท่ีเปนไปได เม่ือเทคโนโลยีไดรับการพัฒนา

ขีดความสามารถทางดานเทคโนโลยีของประเทศ เปนเคร่ืองช้ีขีดความสามารถสามารถในการแขงขันทามกลางสภาพตลาดท่ีมีความเปนพลวัตเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็ว ภาพรวมของขีด

Indifference Welfare curve 1

Indifference Welfare curve 2

PPF 1 before Technology improved

PPF 2 after Technology improved

Goods 1

Goods 2

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_LOWWEIGHT_BABY หมายถึง รอยละเด็กทารกแรกเกิดมีน้ําหนักนอยผิดปกติ

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนาวัดโดยมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 30: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-30

ความสามารถดานวิทยาศาสตรดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีท้ังของประเทศไทยและโลกสามารถแสดงไดตามขอมูลดังตอไปนี้คือ

ตารางท่ี 2.1: ภาพรวมขีดความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลย ี

IMD 2540 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2550 Technological Infrastructure 32 47 47 46 43 20 55 48 Scientific Infrastructure 32 46 47 49 48 26 45 49 จํานวนประเทศ 47 47 47 49 49 30 60 55

ท่ีมา : IMD (2004, 2007)

IMD (2004, 2007) ช้ีวา ขีดความสามารถทางการแขงขันดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทย โดย IMD พบวา ในชวงระหวางป 2540-2547 ขีดความสามารถดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยรวมของประเทศไทยลดลงอยางตอเนื่อง โดยขีดความสามารถดานวิทยาศาสตรลดลงจากอันดับท่ี 32 ในป 2540 เปนอันดับท่ี 55 ในป 2547 และขีดความสามารถดานเทคโนโลยีลดลงจากอันดับท่ี 32 ในป 2540 เปนอันดับท่ี 45 ในป 2547

ในป 2550 ประเทศไทยมีความสามารถในการแขงขันระดับนานาชาติในภาพรวมลําดับท่ี 33 มาจากการมีความสามารถดานสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ลําดับท่ี 15 ดานประสิทธิภาพภาครัฐ ลําดับท่ี 27 ดานประสิทธิภาพภาคธุรกิจ ลําดับท่ี 34 ดานโครงสรางพื้นฐาน ลําดับท่ี 48 ดานการศึกษา ลําดับท่ี 46 ดานโครงสรางพื้นฐานทางเทคโนโลยี ลําดับท่ี 48 โครงสรางพื้นฐานทางวิทยาศาสตร ลําดับท่ี 49

ในขณะท่ีการจัดอันดับของ World Economic Forum (WEF) ในป 2546-2547 พบวา ในดาน Technological Sophistication ประเทศไทยอยูในลําดับท่ี 36 จาก 102 ประเทศ โดยประเทศสิงคโปร มาเลเซีย และเวียดนาม อยูในลําดับท่ี 5 ลําดับท่ี 14 และลําดับท่ี 15 ตามลําดับ

Page 31: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-31

ภาพท่ี 2.28: สัดสวนการสงออกสินคา High technology ตอสินคาดาน Manufacture ท้ังหมด

High-technology exports (2004)

0

5

10

15

20

25

30

35

40

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

% o

f man

ufac

ture

d ex

port

s

นอกจากนี้ ในภาคภาคเอกชนของไทยซ่ึงสวนใหญเปนวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) มีการใชเทคโนโลยีการผลิตในระดับท่ี 1 คือ ใชแรงงานเขมขน (Labor Intensive) และระดับท่ี 2 คือ การใชทักษะเขมขน (Skill Intensive) หรือเปนเพียงผูรับจางผลิตตามแบบของผูวาจาง และมีเพียงสวนนอยท่ีมีขีดความสามารถในการออกแบบและสรางนวัตกรรมไดเอง ในระดับท่ี 3 คือใชเทคโนโลยีเขมขน (Technology Intensive) และระดับท่ี 4 คือการวิจัยและพัฒนา (R&D)

ภาพที่ 2.29: ระดับการใชเทคโนโลยีเพื่อการผลิต

ที่มา: แผนกลยุทธดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (พ.ศ.2547-2556) ดัดแปลงจาก World Bank 2000

ใชเทคโนโลยีไดตามสภาพท่ีจัดหามาแตไมมีความเขาใจลึกซึ้ง

ดัดแปลงเพื่อใชงานไดอยางเหมาะสม มีทักษะทางเทคโนโลยี

ออกแบบ ปรับปรุงและพัฒนาไดระดับหน่ึง แตไมสามารถเปล่ียนลักษณะหลักของผลิตภัณฑ

วิจัยและพัฒนาลักษณะหลักของผลิตภัณฑได

Labor Intensive

Skill Intensive

Technology Intensive

R&D Intensive

Page 32: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-32

ถึงแมวาประเทศไทยเปนประเทศท่ีรับการลงทุนโดยตรงจากตางประเทศรายใหญในภูมิภาค แตกลับมีการเช่ือมโยงเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและความสามารถทางเทคโนโลยีรวมกันระหวางบรรษัทขามชาติ และบริษัทในเครือกับบริษัททองถ่ินนอยมาก โดยสวนใหญการถายทอดเทคโนโลยีอยูในระดับการใชงาน (Operation) เทานั้น เชน บรรษัทขามชาติฝกอบรมพนักงานใหสามารถทํางานอยางมีประสิทธิภาพ การถายทอดเทคโนโลยีในระดับท่ีสูงกวา เชน การออกแบบและงานวิศวกรรมมีนอยมาก นอกจากนี้ บรรษัทขามชาติยังไมสนใจท่ีจะพัฒนาหรือใหความชวยเหลือทางเทคโนโลยีแกผูรับจางชวงการผลิต (local Supplier)ทองถ่ิน สวนหนึ่ง เนื่องจากผูผลิตฯ ไทยยังมีขีดความสามารถในการดูดซับเทคโนโลยีตํ่า (Low Absorptive Capacity) และนโยบายของรัฐฯไมไดใหการสนับสนุน จึงทําใหบรรษัทขามชาติไมตองการที่จะลงทุนและใชเวลาในการยกระดับ ผูรับจางชวงการผลิต ทองถ่ิน

มากไปกวานั้น แมวาประเทศไทยพยายามสงเสริมการลงทุนในการสรางความรู (Knowledge Investment) เพิ่มข้ึน เพื่อใหเปนประเทศเศรษฐกิจฐานความรู (Knowledge Base Economy) ในการสรางระดับการเจริญเติบโต เพื่อเพิ่มขนาดทางเศรษฐกิจของประเทศไทยแตจากการศึกษาประสิทธิภาพการผลิตมวลรวม (Total Factor Productivity หรือ TFP) พบวา TFP โดยรวมมีอัตราถดถอย หมายความวาไมมีการเพิ่มผลผลิต (GDP) ถาไมมีการเพิ่มปจจัยการผลิตมูลภัณฑทุนหรือแรงงานอยางเขมขน กลาวอีกนัยหนึ่ง คือประเทศไทยมีกระบวนการพัฒนาที่พึ่งการปรับเปล่ียนคุณภาพของทุนและแรงงานท่ีมาจากการเพ่ิมทักษะ (Learning by Doing) การใชเทคโนโลยี การใชการวิจัย และพัฒนา (R&D) นอยมากหรือไมมีเลย ท้ังการผลิตในและนอกภาคเกษตร ไดแก อุตสาหกรรมและภาคบริการ มีคา TFP ติดลบ (-) แทบท้ังส้ินในชวง พ.ศ.2530-2543 สาเหตุนาจะมาจากการใชความพยายามในการผลิตนักวิจัยท่ีคอนขางนอยมากเมื่อเทียบกับมาตรฐานการพัฒนา และขนาดของเศรษฐกิจไทย

ยิ่งกวานั้นการวิจัยสําคัญๆในสาขาวิทยาศาสตรธรรมชาติ เทคโนโลยี วิศวกรรม วิทยาศาสตรการแพทย วิทยาศาสตรการเกษตร ตกอยูในภาคเอกชนเพียงรอยละ 37.9 ในขณะท่ีผลการวิจัยในภาครัฐบาล และสถาบันการศึกษา รอยละ 20.4 และ 20.5 ตามลําดับ อาจไมไดกระจาย (Diffusion) สูผูท่ีตองการผลวิจัยสูการผลิตเชิงพาณิชยอยางมีประสิทธิภาพ

แมวาการศึกษาของประเทศไทยมีความกาวหนาอยางมีนัยสําคัญในชวงหลายทศวรรษท่ีผานมา ดังแสดงไดจากจํานวนปท่ีทําการศึกษาในระบบโรงเรียนเฉล่ียของประชากรวัยเรียน เพิ่มจาก 4.30 ป เปน 6.50 ป ในป 1960 และป 2000 ตามลําดับ แตหากเทียบกับประเทศเกาหลี (10.84 ป) สิงคโปร (7.05 ป) และไตหวัน (8.76 ป) แลว นับวาจํานวนปเฉล่ียของประชากรวัยเรียนยังตํ่ากวาและไมไดแสดงความกาวหนาอยางนาประทับใจนัก

การสํารวจแรงงาน (Labor Force Survey) ช้ีวาแรงงานไทยที่สําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเพียงรอยละ 14.1 และมัธยมศึกษาตอนตนรอยละ 11.3 ในป 2004 ไตรมาส 3

Page 33: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-33

เปนท่ีนาสังเกตวาแรงงานไทยเปนผูท่ีไมมีฐานความรู หรือไมไดเรียนจบจากสายวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี (Non S&T) ถึงรอยละ 92 ของกําลังแรงงานรวม โดยในป 2003 มีการจางงาน 2.01 ลานคน ในอุตสาหกรรมหลักของประเทศ 12 อุตสาหกรรมไดแก 1.Food and Animal Feed; 2.Textile and Garment; 3.Footwear and Leather; 4.Wood Furniture; 5.Petrochemical; 6.Mold and Die; 7.Rubber and Rubber Products; 8.Ceramics and Glass; 9. Iron and Steel; 10.Electrical and Electric Supplies; 11.Automobile and Parts; 12.Gems and Jewelries การจางงานสวนใหญรอยละ 60 เกิดจากสาขาการผลิตท่ี1, 2, และ3 ที่นาสังเกตคือ สาขาการผลิตท่ีมีการใชมูลภัณฑทุนสูง (Capital Intensive Industries) ไดแก petrochemical, automobile and parts และ electrical and electronics appliances แตกลับจางแรงงานท่ีไมไดจบจากอาชีวะศึกษาสายชาง ฯลฯ ไมไดจบจากอุดมศึกษาสายวิทยาศาสตร, วิศวกรรมศาสตร, เกษตรศาสตร, วิทยาศาสตรการอาหารและเทคโนโลยี เปนตน

ตารางท่ี 2.2: ตัวช้ีวดัความสามารถในการแขงขันดานการศึกษา และ เทคโนโลยี 2547-2550 2547 2548 2549 2550 1. การลงทุนทางการศึกษา, รอยละของ GDP 4.125 4.00 3.90 4.1 2. การเขาเรียนระดับมัธยมศึกษาสุทธิ, % 55.4 71.2 72 72 3. ผลสัมฤทธิ์การเรียนระดับอุดมศึกษา, % 14.5 14 18 18 4. การอุดมศึกษาที่ตอบสนองตอการแขงขัน, คะแนน 4.97 (42) 4.9 (41) 5.28 (34) 4.46 (39) 5. การถายโอนความรู ระหวางมหาวิทยาลัย-ธุรกิจ, คะแนน

4.44 (33) 4.17 (38) 4.39 (36) 3.63 (42)

6. ทักษะดานภาษา, คะแนน - 5.03 (35) 4.27 (47) 3.71(48) 7. การสอนวิทยาศาสตรศึกษาในโรงเรียน, คะแนน 4.43 (42) 4.21(36) 4.48 (36) 4.13 (35) 8. จํานวนคอมพิวเตอรตอ 1,000 คน, เครื่อง 49.6 (52) 57 (53) 66 (53) 76 (48) 9. ตนทุนอินเตอรเน็ตตอ 20 ช่ัวโมง, USD 6.98 (2) 6.98 (2) 7.39 (2) 6.95 (4) 10. จํานวนการใช อินเตอรเน็ตตอ 1,000 คน, คน 95.54 116.7 119.8 140.56 11. ทักษะดานเทคโนโลยีขอมูลขาวสาร, คะแนน 6.13 (55) 6.04 (54) 6.03 (56) 5.88 (49) 12. คาใชจายเพ่ือวิจัยพัฒนา, % GDP 0.25 (57) 0.26 (58) 0.28 (56) 0.24 (52) 13. จํานวนนักวิจัยตอ 1,000 คน, คน 32 (29) 24.5 (33) 42.4 (25) 37 (27)

หมายเหตุ: ตัวเลขในวงเล็บคือลําดับเปรียบเทียบความสามารถในการแขงขัน จัดทําโดย IMD ที่มา: IMD World Competitiveness Yearbook 2004-2007 อางอิงใน สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2551)

สมรรถนะการศึกษาไทยในเวทีสากล พ.ศ. 2550, หนา 122

ในภาพรวมผลการศึกษาดานวิทยาศาสตรและคณิตศาสตรของนักเรียนมัธยมศึกษาของไทยคอนขางตํ่าเม่ือเทียบกับประเทศอ่ืนๆ ท่ีนาเปนหวงคือ แรงงานไทยมีทักษะดานภาษาอังกฤษและ

Page 34: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-34

IT ตํ่ากวามาตรฐานท่ียอมรับไดของนายจางมาก ท้ังนี้ทักษะดานภาษาอังกฤษและ IT มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญกับความสามารถในการใชเทคโนโลยีของธุรกิจ

ตารางขางตนแสดงถึงสถานภาพของการศึกษาและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทยในเวทีสากลลําดับขีดความสามารถท่ีไทยดํารงอยู ณ ขณะน้ี ไมไดแสดงวาประเทศของเราอยูในแถวหนาของประเทศช้ันนําทางการพัฒนาปจจัยพื้นฐานท่ีเอ้ือตอการพัฒนาเทคโนโลยี และ แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตดานอุปทาน

การศึกษาถึงรูปแบบความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยอาศัยขอมูลเชิงประจักษในระดับนานาชาติ ประการแรกพิจารณาจากมูลคารายจายดานเทคโนโลยีสาร สนเทศและการส่ือสาร (Information & Communication Technology) ซ่ึงนาจะมีความสัมพันธเชิงบวกตอการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

ภาพท่ี 2.30: การพัฒนาทางเศรษฐกิจ แสดงถึงความสัมพันธระหวาง

รายจายดานเทคโนโลยีสาร สนเทศ และการส่ือสาร กับระดับการพัฒนา

-1000

0

1000

2000

3000

4000

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_I

CT_

CA

P

TECH_ICT_CAP vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

200

400

600

800

1000

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_I

CT_

PER

CAP

TECH_ICT_PERCAP vs. ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: นิยามตัวแปร

• TECH_ICT_CAP หมายถึง มูลคารายจายดานเทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสารตอหัวประชากร ($ dollar)

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 35: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-35

ภาพท่ี 2.31: ปริมาณการนําเขาสินคา ICT

Imports of ICT goods

0

50

100

150

200

250

1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004

Curr

ent U

SD b

illio

ns

United StatesEU-15ChinaJapan

ภาพท่ี 2.32: ปริมาณการสงออกสินคา ICT

Exports of ICT goods

0

20

40

60

80

100

120

140

160

180

200

1996 1997 1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004

Cur

rent

USD

bill

ions

United StatesChinaEU-15Japan

การศึกษาพบวารายจายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารตอหัวประชากรมี

ความสัมพันธเชิงบวกกับระดับการพัฒนาประเทศ ท้ังนี้ แบบแผนความสัมพันธท่ีสอดคลองกันดังกลาวสามารถอธิบายไดจาก ปรากฏการณงายๆเชน การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจภายใตสถานการณท่ีมีระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารท่ีดียอมทําใหผลิตภาพการบริหาร การผลิตสูงข้ึนและสรางความแตกตางทางผลกําไรไดดีกวาในกรณีท่ีไมมีเครือขายระบบ

Page 36: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-36

สารสนเทศและการส่ือสารทําใหสามารถสรุปไดวา มูลคาเพิ่มจากการผลิตท่ีถูกนําไปนับเปนแหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางดานอุปทานสูงข้ึนโดยเปรียบเทียบหาก ประเทศ มีเครือขาย ระบบสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไดรับการพัฒนา อยางไรก็ตามหากตองการลงรายละเอียดเกี่ยวกับผลของ ICT ท่ีมีตอระบบเศรษฐกิจเราสามารถจะจําแนกได 3 แนวทางดวยกันคือ

ประการแรก คือ เพิ่มประสิทธิภาพของการกระจายองคความรู (Knowledge Dissemination) และความรวมมือระหวางธุรกิจท้ังในระดับภายในประเทศและระหวางประเทศในการบริหารจัดการระบบเครือขายการลอจิสติกส (Logistic System) เพิ่มความรวมมือทางดานการจัดการ Logistic ทางดานการกระจายปจจัยการผลิตประเภทชิ้นสวนและสวนประกอบ อาทิ เร่ืองของ SCM (Supply Chain Management) และอ่ืนๆ ประมาณวา ICT ลดตนทุนดานการขนสง การส่ือสาร การเขาถึงขอมูลของธุรกิจ ประเภท B2B และธุรกิจ B2C ไปไดถึง 10 เทา ICT จึงเปนตัวการสําคัญท่ีทําใหเกิดการพัฒนาตลาด Virtual Market Place

ประการท่ีสอง ความกาวหนาทางดาน ICT ทําใหสามารถแยกกิจกรรมทางดาน Hardware กับกิจกรรมทางดาน Software ออกจากกันทําใหขบวนการผลิต (Production) ขบวนการใหบริการ (Services) และขบวนการประดิษฐคิดคน (Innovation) สามารถแยกออกจากกันไดโดยโรงงานผลิต ฝายบริหารจัดการ ฝายวิจัยและพัฒนา ฯลฯ ไมจําเปนตองอยูท่ีเดียวกันหรือใกลกันอีกตอไป และทําใหอุตสาหกรรมประเภทเดียวกันหรือแมกระทั่งตางอุตสาหกรรมแตก็มีความคลายคลึงกันในขบวนการผลิต การขนสง การตลาด การวิจัยและพัฒนา สามารถท่ีจะมาใชบริการรวมกันได ทําใหเกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมท่ีใหบริการ สนับสนุน แกอุตสาหกรรมเหลานี้หรือ Supporting Industry ข้ึน โดยแยกออกไปเปนหนวยงานหรือธุรกิจตางหาก เกิดการรวมศูนยงานวิจัยและพัฒนาซ่ึงตองลงทุนเปนจํานวนมาก และบอยคร้ังตองพึ่งพารัฐบาลทางดานการเงิน ท้ังยังตองการผูชํานาญการพิเศษท่ีมีจํานวนจํากัดข้ึนมาและเกิดธุรกิจใหบริการทางดาน การวิจัยตลาด (market research), การออกแบบผลิตภัณฑ(product design) , การพัฒนาผลิตภัณฑ (product development) และบริการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ใชงานประเภทตางๆ ฯลฯ ข้ึนมาเปนธุรกิจตางหากเปนจํานวนมาก เกิดการประหยัดตอเครือขาย (economy of scope) แมอาจไดประโยชนเพิ่มเติมจากการประหยัดตอขนาด (economy of scale)ในขบวนการผลิตข้ึนท้ังในระดับประเทศและในระดับโลก

ประการท่ีสาม เกิดวิวัฒนาการการรวมตัวกันเปนกลุมอุตสาหกรรม(industrial clusters), เกิดขบวนการรวมหนวย (agglomeration ) เพื่อใชทรัพยากรรวมกันเชน ICT Infrastructure, R&D Facilities, องคความรู ฯลฯ ขบวนการผลิตของประเทศท่ีสามารถเขาไปเช่ือมโยงกับหวงโซมูลคา (value chain) ของขบวนการผลิตโลก สามารถลดตนทุนการผลิต การบริหารจัดการ การขนสงท้ังสินคาและปจจัยการผลิต และสามารถพัฒนาประเทศหรือ clusters ของตัวเองข้ึนมาเปนศูนยกลาง (Hub) เชน Production Hub, Service Hub, Innovation Hub และเกิดการพัฒนาประเทศเพ่ือกาวข้ันบันได value chain อุตสาหกรรมตางๆในระดับโลกจาก production base เปน production

Page 37: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-37

hub, service hub, innovation hub เพราะการยกระดับทําใหสามารถเพ่ิมสวนแบงของอุตสาหกรรมในประเทศตนใน value chain ของอุตสาหกรรมน้ันๆในระดับโลกเพราะในปจจุบันขบวนการผลิตในแตละข้ันตอนของอุตสาหกรรมตางๆ (value chain) กระจายอยูตามประเทศในภูมิภาคตางๆ ท่ัวโลกและเช่ือมโยงกันโดยอาศัย ICT infrastructure ท่ีประเทศตางๆแขงขันกันสรางข้ึนมา

นอกจากท่ีไดกลาวมานี้ เรายังสามารถทราบถึงทิศทางการบริโภคเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารท่ีเพิ่มข้ึน ซ่ึงแปรผันตามระดับรายไดของกลุมประเทศไดโดยการพิจารณา ดังตอไปนี้

ภาพท่ี 2.33: ปริมาณการเขาถึงส่ือขอมูลขาวสารประเภทตางๆ

0

100

200

300

400

500

600

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

East

Asi

a &

Paci

fic

Euro

pe &

Cen

tral A

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

East

& N

. Afri

ca

Sout

h As

ia

Sub-

Saha

ran

Afric

a

Hig

h in

com

e

Euro

pe E

MU

per 1

,000

peo

ple

Daily newspaperPersonal computerInternet user

Page 38: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-38

ภาพท่ี 2.34: สัดสวนการเขาถึงส่ือ ICT ประเภทตางๆ

0

20

40

60

80

100

120Lo

w in

com

e

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

Perc

ent

Household with televisionSchool connected to Internet

ภาพท่ี 2.35: สัดสวน GDP ของคาใชจายดานขอมูลและเทคโนโลยีการส่ือสาร

Expenditure about Information and Communications technology

0

1

2

3

4

5

6

7

8

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

ein

com

e

Upp

er m

iddl

ein

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

% o

f GDP

Page 39: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-39

ภาพท่ี 2.36: สัดสวนประชากรที่สามารถเขาถึงเทคโนโลยีโทรศัพทเคล่ือนท่ี

Population covered by mobile telephony 2004

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100Lo

w in

com

e

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

Per

cent

ภาพท่ี 2.37: สัดสวน GDP ของรายไดจากการส่ือสาร

Total communication revenue

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

3.5

4

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

% o

f GD

P

Page 40: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-40

ภาพท่ี 2.38: จาํนวนประชากรที่สามารถใชโทรศัพท

Telephone access 2004

0

100

200

300

400

500

600

700

800

900

1000Lo

w in

com

e

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

East

Asi

a &

Paci

fic

Euro

pe &

Cen

tral A

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

East

& N

. Afri

ca

Sout

h As

ia

Sub-

Saha

ran

Afric

a

Hig

h in

com

e

Euro

pe E

MU

per 1

,000

peo

ple

Fixed mainline

Mobile

อยางไรก็ตาม โดยสวนใหญแลวระบบสารสนเทศและการส่ือสารนั้นเปนการกลาวถึงในแง Software ซ่ึงลําพังตัวระบบสารสนเทศและการส่ือสารเองไมสามารถกระทําการเองไดหรือแสดงผลไดหากปราศจากการพัฒนาดาน Hardware และขาดผูใชหรือก็คือ User ซ่ึงท้ัง 2 ตัวแปรนี้จะเปนตัวแสดงผลและผลักดันใหระบบเดินไปได โดยในท่ีนี้ ตัวแทน Hardware ของระบบสารสนเทศและการส่ือสารจะใชเปน เคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคล ในขณะท่ี User ท่ีจะนํามาใชเปนตัวแทนศึกษาในกรณีนี้คือ จํานวนผูใชอินเตอรเน็ต

Page 41: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-41

ภาพท่ี 2.39: แสดงความสัมพันธระหวาง จํานวนเคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคล กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

-400

-200

0

200

400

600

800

1000

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_P

C_1

000

TECH_PC_1000 vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

200

400

600

800

1000

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_P

C_1

000

TECH_PC_1000 vs. ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: นิยามตัวแปร

• TECH_PC_1000 หมายถึง เคร่ืองคอมพิวเตอรสวนบุคคลใน 1,000 คน

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ ตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 42: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-42

ภาพท่ี 2.40: แสดงความสัมพันธระหวาง จํานวนผูใชอินเตอรเน็ตใน 1,000 คน กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

-200

0

200

400

600

800

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_U

SE

R_1

000

TECH_USER_1000 vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

100

200

300

400

500

600

700

800

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_U

SE

R_1

000

TECH_USER_1000 vs. ECON_GDP_PERCAP

จากภาพเราจะพบวาท้ังคอมพิวเตอรสวนบุคคล และ ผูใชงานอินเตอรเน็ตมีความสัมพันธเชิงบวกตอระดับการพัฒนาประเทศ ท้ัง 2 ตัวแปรมีลักษณะของความสัมพันธตอการพัฒนาประเทศในรูปแบบใกลเคียงกันนั้นก็เนื่องมาจากในปจจุบันคอมพิวเตอรสวนบุคคลกับอินเตอรเน็ตนั้นเปนสินคาใชประกอบกัน (Complementary Goods) เม่ือใชงานคอมพิวเตอรก็มักท่ีจะใชงานอินเตอรเน็ตไปพรอมกันดวย

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: นิยามตัวแปร

• TECH_USER_1000 หมายถึง จํานวนผูใชอินเตอรเน็ตใน 1,000 คน

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 43: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-43

จํานวนนักวิจัยและผูเช่ียวชาญทางเทคนิคในประเทศตอประชากร 1,000,000 คนเปนเคร่ืองช้ีศักยภาพของการพัฒนาเชนเดียวกัน ในอดีตมักเช่ือวาเทคโนโลยีไดมาจากการนําเขา-การชวยเหลือ จากตางประเทศ (Exogenous factor in Growth Model) ในปจจุบันมักเช่ือกันวา ความรูเปนปจจัยภายในท่ีกําหนดการเจริญเติบโต (Endogenous Growth Model) ความรูมักไดมาจากการที่ประเทศมีการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนา ซ่ึงในการเปรียบเทียบมักใชจํานวนนักวิจัย ในฐานะผูมีมีบทบาทสรรคสรางนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหแกกระบวนการผลิต และ สังคม สัดสวนนักวิจัยนักวิจัยและผูเช่ียวชาญทางเทคนิคยังเปนตัวช้ีความสามารถของการสะสมทุนทางเทคโนโลยีของประเทศในระยะยาว (potential technology accumulation in the long run)

ภาพท่ี 2.41: จาํนวนนักวิจยัและชางเทคนคิในการวจิัยและพัฒนา ในชวงป 1996 – 2004

Number of Researcher and Technician in R&D (1996 - 2204)

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

3,000

3,500

4,000

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

per m

illio

n pe

ople

Researchers in R&DTechnicians in R&D

เม่ือเรานําขอมูลจํานวนนักวิจัยของประเทศไทยมาเทียบเคียงเพื่อระบุสถานะเชิงเปรียบเทียบกับประเทศตางๆในโลกพบวา จากขอมูลดัชนีช้ีวัดดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ IMD 2003 ประเทศไทยยังมีความจําเปนในการพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยเพิ่มข้ึน เนื่องจากสัดสวนนักวิจัยของประเทศไทยยังอยูในระดับตํ่าเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย คิดเปนรอยละ 0.33 ตอประชากร 1,000 คนเทานั้น ในขณะท่ีประเทศญ่ีปุน ไตหวัน และเกาหลี ซ่ึงเปนประเทศท่ีผลิตสินคาและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี มีสัดสวนดังกลาวถึง 7.07, 4.77 และ 2.92 ตามลําดับ และใชจายดานการวิจัยและพัฒนาเทากับรอยละ 0.49, 2.12, 2.16 และ 2.92 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตามลําดับ (IMD 2003)

จํานวนของนักวิจัย และ ผูเช่ียวชาญทางเทคนิค ตางมีความสัมพันธเชิงบวกกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ซ่ึงสอดคลองกับทฤษฎีและหลักการท่ีกลาวไวในตอนตนวานักวิจัยและผูเช่ียวชาญทาง

Page 44: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-44

เทคนิคนั้นเปนเสมือนผูสรางและผูใช เทคโนโลยี ซ่ึงเทคโนโลยีก็จะเปนตัวกระตุนใหเกิดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอีกลําดับหนึ่ง

จากการศึกษาขอมูลดัชนีช้ีวัดดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของ IMD 2003 พบวา ประเทศไทยยังมีความจําเปนในการพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยเพิ่มข้ึน เนื่องจากสัดสวนนักวิจัยของประเทศไทยยังอยูในระดับตํ่าเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคเอเชีย คิดเปนรอยละ 0.33 ตอประชากร 1,000 คนเทานั้น ในขณะท่ีประเทศญ่ีปุน ไตหวัน และเกาหลี ซ่ึงเปนประเทศท่ีผลิตสินคาและนวัตกรรมดานเทคโนโลยี มีสัดสวนดังกลาวถึง 7.07, 4.77 และ 2.92 ตามลําดับ

ภาพท่ี 2.42: แสดงความสัมพันธระหวาง จํานวนนักวิจยั กับ การพัฒนาทางเศรษฐกจิ

-2000

0

2000

4000

6000

8000

10000

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_R

ES

EA

RC

HE

R_M

ILL

TECH_RESEARCHER_MILL vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

1000

2000

3000

4000

5000

6000

7000

8000

9000

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_R

ES

EAR

CH

ER

_MIL

L

TECH_RESEARCHER_MILL vs. ECON_GDP_PERCAP

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: นิยามตัวแปร

• TECH_RESEARCHER_MILL หมายถึง จํานวนนักวิจัย ใน 1,000,000 คน

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนาวัดโดยมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 45: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-45

ภาพท่ี 2.43: แสดงความสัมพันธระหวาง จํานวนผูเช่ียวชาญทางเทคนิค กับ การพัฒนาเศรษฐกจิ

-1000

0

1000

2000

3000

4000

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_T

EC

HN

ICIA

N_M

ILL

TECH_TECHNICIAN_MILL vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

500

1000

1500

2000

2500

3000

3500

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_T

ECH

NIC

IAN

_MIL

L

TECH_TECHNICIAN_MILL vs. ECON_GDP_PERCAP

เม่ือกลาวถึงตัวนักวิจัยและผูเช่ียวชาญทางเทคนิคแลวตัวแปรอีกตัวหนึ่งซ่ึงมีผลตอการขยายตัวของจํานวนนักวิจัย อันและอาจสงผลตอเนื่องไปสูการเกิดข้ึนของเทคโนโลยีใหมๆ คือ งบประมาณรายจายตอปท่ีจายไปเพ่ือการวิจัยและพัฒนาคิดเปนรอยละของ GDP ปจจัยนี้ถือเปนปจจัยกําหนดการเติบโตของเทคโนโลยีจากตนน้ํา เพราะหากปราศจากซ่ึงงบวิจัยและพัฒนาก็ยอมไมมีการขยายตัวของนักวิจัยและเม่ือขาดแคลนนักวิจัย เทคโนโลยีท่ีเกิดจากการวิจัยก็จะมีจํานวนลดลงหรือไมเกิดข้ึนเลย งบประมาณในการวิจัยจึงกลายเปนตัวแปรสําคัญท่ีจะละเลยไมพูดถึงมิได

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: นิยามตัวแปร

• TECH_TECHNICIAN_MILL หมายถึง จํานวนผูเชี่ยวชาญทางเทคนิค ใน 1,000,000 คน

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 46: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-46

โดยภาพรวมสถานการณการวิจัยและพัฒนาของไทยเทียบกับของโลกเปนดังตอไปนี้คือ จากขอมูลคาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาของประเทศไทยในชวงป 2542-2544 อยูในระดับเฉล่ียประมาณป 12,596 ลานบาท คิดเปนอัตราสวนคาใชจายการวิจัยและพัฒนาตอผลิตภัณฑมวลรวมของประเทศ (Gross Expenditure on Research and Development/Gross Domestic Product : GERD/GDP) เฉล่ียประมาณรอยละ 0.25 ตอป โดยคาใชจายดานการวิจัยและพัฒนาดังกลาวเปนการลงทุนโดยภาครัฐ ประมาณรอยละ 60 ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับประเทศท่ีพัฒนาแลว เชน ประเทศญ่ีปุน สหรัฐอเมริกา และประเทศในภูมิภาคเอเชีย มาเลเซีย และ สิงคโปร เปนตน พบวาในประเทศท่ีพัฒนาแลวมีการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาในระดับประมาณรอยละ 2.1-2.9

ภาพท่ี 2.44: คาใชจายตอหัวดานขอมูลและเทคโนโลยีการส่ือสาร

Expenditure about Information and Communications technology

0

500

1,000

1,500

2,000

2,500

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

ein

com

e

Upp

er m

iddl

ein

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

&C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t &N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

$ pe

r cap

ita

Page 47: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-47

ภาพท่ี 2.45: สัดสวน GDP คาใชจายเก่ียวกบัการวิจยัและพัฒนา ในชวงป 1996 – 2003

Expenditures for R&D 1996 - 2003

0

0.5

1

1.5

2

2.5

3

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

ein

com

e

Upp

er m

iddl

ein

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

% o

f GD

P

ตารางท่ี 2.3: รายจายดานวิจยัและพัฒนาแยกตามหมวดการศึกษาและหนวยงานของประเทศไทย ป 2004

Page 48: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-48

ภาพท่ี 2.46: แสดงความสัมพันธระหวางงบประมาณการวิจัย กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ

-1

0

1

2

3

4

5

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_R

D_G

DP

TECH_RD_GDP vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

1

2

3

4

5

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

TEC

H_R

D_G

DP

TECH_RD_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

คอนขางชัดเจนเชนเดียวกับตัวแปรอ่ืนๆในกลุมเทคโนโลยีมีความสัมพันธเชิงบวกกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทวาท่ีนาสนใจเปนพิเศษในกรณีนี้ก็คือ การเพิ่มข้ึนของงบประมาณการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาไปเพียงแตเพิ่มในเชิงมูลคาเทานั้น แตยังเพิ่มสัดสวนรอยละตอ GDP ดวย จึงมีความหมายโดยนัยวา เม่ือประเทศพัฒนามากข้ึน นโยบายสาธารณะท่ีรัฐบาลและประชาชนตองการจะมีทิศทางซ่ึงใหน้ําหนักกับการวิจัยและพัฒนามากข้ึนโดยเปรียบเทียบ

นอกจากตัวแปรท่ีนํามาใชเปนตัวแทนถึงการพัฒนาทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเหลานี้ ยังมีอีกหลายดัชนีช้ีวัดดวยกันท่ีการศึกษา เห็นวานาจะมีสวนในการผลักดันใหมีการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดแก

Note: นิยามตัวแปร

• TECH_RD_GDP หมายถึง งบประมาณการวิจัยเทียบเปนรอยละของ GDP

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 49: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-49

จํานวนสิทธิบัตร (Patent) มีจํานวนเพียง 65 สิทธิบัตรเทานั้น ในขณะท่ีประเทศท่ีมีการลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาอยางตอเนื่อง เชน ประเทศญ่ีปุน และเกาหลี มีจํานวนสิทธิบัตรถึง 123,978 และ34, 052 สิทธิบัตร ตามลําดับ ซ่ึงการมีสิทธิบัตรโดยเฉพาะท่ีเกี่ยวของกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีจะสามารถเพ่ิมขีดความสามารถทางการแขงขัน และมูลคาสินคาของประเทศ

อยางไรก็ตาม ขอมูลสิทธิบัตรของประเทศไทยท่ีจัดเก็บโดย IMD ขางตน อาจมีความคลาดเคล่ือนจากขอเท็จจริง จากขอมูลสถิติการจดสิทธิบัตรของประเทศไทย พบวา ณ มีนาคม 2546 มีจํานวนสิทธิบัตรในประเทศไทยท้ังส้ิน 13,991 ราย อยางไรก็ตาม ในจํานวนสิทธิบัตรของคนไทย 2,978 ราย เปนสิทธิบัตรส่ิงประดิษฐเพียง 375 ราย และเม่ือพิจารณาในรายละเอียดพบวา สิทธิบัตรการประดิษฐของคนไทย สวนใหญเปนการประดิษฐท่ีใชเทคโนโลยีข้ันตน เชน เคร่ืองขอดเกล็ดปลา เคร่ืองสอยมะมวง และสูตรทําน้ําลูกยอ เปนตน ซ่ึงสิทธิบัตรการประดิษฐดังกลาว เนื่องจากเปนการใชเทคโนโลยีข้ันตน ทําใหมูลคาเพิ่ม (Value Added) ท่ีจะเกิดข้ึนจากการมีสิทธิบัตรดังกลาวไมสูงมากนัก

ผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เม่ือเปรียบเทียบจํานวนผูสําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทยตอผูสําเร็จการศึกษาดานสังคมศาสตร (UNESCO, 2000) พบวา ในป 2543 ประเทศไทยมีผูสําเร็จการศึกษาดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพียงรอยละ 29 ขณะท่ีประเทศจีน เกาหลี และสิงคโปร มีผูสําเร็จการศึกษาดานนี้ถึงรอยละ 41 38 และ 58 ตามลําดับ

กําลังคนบางสวนท่ีผลิตไดมิไดเขาทํางานในสาขาวิชาชีพท่ีตนศึกษามา และยังมีปญหาเร่ืองคุณภาพ กลาวคือ ผูสําเร็จการศึกษาสวนใหญมีความรูพื้นฐานเพียงพอตอการนํามาใชในการทํางานเพียงระดับหนึ่งเทานั้น ยังขาดความคิดริเร่ิมและการประยุกตความรูพื้นฐานท่ีเรียนมาในการปฏิบัติงานจริง เนื่องจากการพัฒนาหลักสูตรของสถาบันการศึกษายังคงเนนความรูทางทฤษฎีท่ีสถาบันการศึกษาตองการสอนเปนหลักมากกวาความรูในการปฏิบัติจริงในวิชาชีพหรือการทํางานท่ีภาคอุตสาหกรรมตองการ

Page 50: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-50

ภาพท่ี 2.47: จาํนวนรายรับและรายจายเก่ียวกับคาธรรมเนียมลิขสิทธ์ิ ในป 2004

Royalty and license fees 2004

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

120,000Lo

w in

com

e

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

ein

com

e

Upp

er m

iddl

ein

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

$ m

illio

n

ReceiptsPayments

ดุลการชําระคาธรรมเนียมเทคโนโลยี เม่ือพิจารณาการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีของประเทศไทยในปจจุบัน พบวา ประเทศไทยตองซ้ือเทคโนโลยีจากตางประเทศเปนสวนใหญ ดังจะเห็นไดจากตัวเลขรายจายคาธรรมเนียมทางเทคโนโลยี ซ่ึงในชวงระยะเวลา 8 ปท่ีผานมา คาใชจายดังกลาวเพิ่มข้ึนจาก 71,728 ลานบาท ในป 2538 มาเปน 146,813 ลานบาทในป 2546 ทําใหประเทศไทยขาดดุลชําระเงินทางเทคโนโลยี (Technology Balance of Payment) ถึงประมาณ 114,312 ลานบาท

โดยสรุปแลว ในสวนของเทคโนโลยีผูวิจัยไดเช่ือมโยงรายละเอียดของแหลงท่ีมาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดานอุปทานในกลุมเทคโนโลยี ใหทราบและเห็นภาพอยางครบวงจร นับต้ังแตการส่ือสาร และระบบสารสนเทศ ซ่ึงเปนตัวระบบ ไลเรียงมาท่ีตัวเคร่ืองคอมพิวเตอรซ่ึงเปนตัว Hardware & Interface สําหรับเทคโนโลยี รวมไปถึงตัวผูใชงาน (User) ซ่ึงทุกตัวแปรท่ีไดกลาวมานี้ตางมีความสัมพันธเชิงบวกตอการเจริญเติบโตและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ท้ังส้ินมากไปกวานั้น เราไดเช่ือมรอยใหทราบลึกลงไปอีกวา เทคโนโลยีเหลานี้จะพัฒนาหรือเกิดข้ึนได จะตองไดรับแรงหนุนเสริมในทิศทางท่ีเปนบวกจากปจจัยกําหนดอีกอยางนอย 2 ตัวไดแก 1) จํานวนนักวิจัยและผูเช่ียวชาญทางเทคนิค และ 2) งบประมาณท่ีใชเพื่อการวิจัยตอป

Page 51: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-51

20

30

40

50

60

70

80

90

100

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

ECO

N_M

ANU

_%M

ERC

HAN

IMP

0

5

10

15

20

25

30

35

40

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

ECO

N_F

OO

D_%

MER

CH

ANIM

P

2.4 แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ดานอุปสงค (Sources of Growth from Demand Side)

แหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในดานอุปสงคนั้น ในท่ีนี้วัดจากระดับของมูลคารายจายประชาชาติ (Gross Domestic Expenditure) ไดแก รายจายเพ่ือการการบริโภคของครัวเรือน รายจายภาครัฐบาล การลงทุนภาคเอกชนและรัฐบาล และ มูลคาการสงออกสุทธิ ซ่ึงสะทอนใหเราเห็นถึงแหลงท่ีมาของการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดานรายจาย โดยมีรายละเอียดของความสัมพันธระหวางปจจัยท่ีสงผลตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจดานอุปสงคและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (วัดโดยรายไดตอหัวประชากร) ดังตอไปนี้คือ

2.4.1) การบริโภคของครัวเรือน (Private Consumption) การบริโภคน้ัน ถือเปนอีกตัวแปรหนึ่งซ่ึงสงผลตอการเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมี

นัยสําคัญ ท้ังนี้เนื่องจากผลของการตัดสินใจบริโภคมีกระทบตอผลทวีคูณทางเศรษฐกิจมหภาค (Multiplier Effect) 4 และกระทบตออัตราการเจริญเติบโตและการจางงาน ตลอดจนการตัดสินใจในการการออม (Saving) ผลกระทบของการบริโภคภาคครัวเรือนมีท้ังในระยะส้ันและในระยะยาวซ่ึงแบบแผนการบริโภคของครัวเรือนเปล่ียนไป เม่ือประเทศมีการพัฒนาสูงข้ึน ในการศึกษาแทนดวยตัวแปร การบริโภคในอาหาร และการบริโภคสินคาคงทน

ภาพท่ี 2.48: แสดงความสัมพันธระหวางการบริโภค (Proxy) อาหารและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ภาพท่ี 2.49: แสดงความสัมพันธระหวางการบริโภค (Proxy) สินคาคงทนและการพฒันาทางเศรษฐกิจ

4 นอกจากนี้ผลกระทบของการบริโภคภาคเอกชนตอระดับรายไดนั้น จะสามารถอธิบายไดดวยแบบจําลองอื่นๆอาท ิแบบจําลอง Life cycle Hypothesis ของ Franco Modigliani ที่มี consumption function: )( YWC βα += เปนตน

ภาพท่ี 2.48 ภาพท่ี 2.49

Page 52: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-52

ภาพท่ี 2.50: แสดงความสัมพันธระหวางการบริโภค (Proxy) สินคาคงทนและอาหาร กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ

0

20

40

60

80

100

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

ECON_FOOD_%MERCHANIMPECON_MANU_%MERCHANIMP

0

10

20

30

40

50

60

70

80

90

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_FO

OD

_MER

CH

ANIM

P

ECON_FOOD_MERCHANIMP vs. ECON_GDP_PERCAP

0

20

40

60

80

100

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_MA

NU

_ME

RC

HA

NIM

P

ECON_MANU_MERCHANIMP vs. ECON_GDP_PERCAP

การปรับโครงสรางทางอุปสงค ดานการบริโภคในระยะยาวเม่ือประเทศพัฒนาสูงข้ึน เรา

พบวาการบริโภคในสินคาจําพวกอาหารมีสัดสวนลดลง ท้ังนี้เพราะความตองการในการบริโภคอาหารของครัวเรือนมีความสัมพันธในทางตรงขามกับการเพ่ิมข้ึนของระดับรายได ในขณะท่ีความม่ัง

ECON_MANU_%MERCHANIMP หมายถึง รอยละของมูลคานําเขาสินคาอตุสาหกรรมเทียบกับมูลคามวลรวมท่ีนําเขา ECON_FOOD_%MERCHANIMP หมายถึง รอยละของมูลคานําเขาสินคาอาหารเทียบกับมูลคามวลรวมท่ีนําเขา แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007

(Proxy) สินคาคงทน

(Proxy) อาหาร

LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 53: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-53

ค่ังสูงข้ึนครัวเรือนมักปรับพฤติกรรมหันไปสูการบริโภคสินคาคงทนมากข้ึน (ซ่ึงในท่ีนี้ใชสินคาอุตสาหกรรม เปน Proxy ของสินคาคงทน ‘Durable goods’)

2.4.2) รายจายภาครัฐบาล (Government Expenditure) การใชจายภาครัฐ มีความสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจ จากการพิจารกราฟ ขอมูลจาก

World Development Indicator 2007 พบวาการบริโภคภาครัฐมีโนมเขาหาคา ท่ีทรงตัวอยูระหวางชวงรอยละ 10-20 ของ GDP ซ่ึงช้ีวาระดับการพัฒนาประเทศมีความสัมพันธกับสัดสวนการบริโภคภาครัฐมากอยางมีนัยสําคัญในชวงทีรายไดตอหัวมีระดับตํ่ากวา 5,000 เหรียญ สหรัฐฯ ในระยะยาวรายจายภาครัฐฯโนมเขาหาคาคงท่ี ท่ี สัดสวนต่ําประมาณ รอยละ 18-20 เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจระยะยาว

ภาพท่ี 2.51: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนรายจายภาครัฐ กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ

0

10

20

30

40

50

60

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_GO

V_C

ON

S_%

GD

P

ECON_GOV_CONS_%GDP vs. Log ECON_GDP_PERCAP

0

5

10

15

20

25

30

35

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

ECO

N_G

OV_

GD

P

ECON_GOV_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

Note: นิยามตัวแปร

• ECON_GOV_CONS_%GDP หมายถึง สัดสวนรายจายภาครัฐ (รอยละตอ GDP)

• LOG_ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 54: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-54

อยางไรก็ตาม Alfonso Arpaia & Alexandro Turrini (ใน Government Expenditure and Economic Growth in EU: Long-run Tendencies and Shot-run Adjustment, 2008) ช้ีวาในระยะยาวการบริโภคภาครัฐจะทําใหเกิดการขยายตัวของระดับรายไดประชาชาติ ท้ังนี้อาจเพราะการลงทุน/บริโภคภาครัฐในระยะส้ันโดยเฉพาะการลงทุนสรางระบบสาธารณูปโภคตางๆ จูงใจใหเกิดการลงทุนภาคเอกชนตามมาในระยะยาว

การพิจารณาถึงผลของการบริโภคภาครัฐตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจหรือการเพ่ิมข้ึนของระดับรายไดประชาชาตินั้นอาจไดผลแตกตางกันออกไปหากมีการแบงกลุมประเทศโดยอิงเกณฑรายได ระหวางประเทศท่ีมีรายไดตอหัวประชากรตํ่ากวา 1,000 ดอลลารสหรัฐ เทียบกับประเทศท่ีมีรายได มากกวาหรือเทากับ 1,000 ดอลลารสหรัฐ

ภาพท่ี 2.52: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนรายจายภาครัฐ กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita นอยกวา 1,000 $ dollar ภาพท่ี 2.53: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนรายจายภาครัฐ กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita มากกวา 1,000 $ dollar

0

10

20

30

40

50

60

0 200 400 600 800 1000

Log ECON_GDP_TRIM

EC

ON

_GO

V_G

DP

ECON_GOV_GDP vs. Log ECON_GDP_TRIM

0

5

10

15

20

25

30

35

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log ECON_GDP_TRIM2

EC

ON

_GO

V_G

DP

2

ECON_GOV_GDP2 vs. Log ECON_GDP_TRIM2

ประเทศท่ีมีรายไดตอหัวประชากรตํ่ากวา 1,000 ดอลลารสหรัฐ รายไดเพิ่มพรอมๆกับการใชจายภาครัฐฯ เม่ือรายไดเพิ่มข้ึนกวา 1,000 ดอลลาร สัดสวนการใชจายภาครัฐเพิ่มอยางรวดเร็วเพื่อตอบสนองตอการใหบริการภาครัฐฯ แกประชาชน ความสัมพันธระหวางรายไดที่แสดงระดับการ

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: ECON_GOV_ GDP1 หมายถึง สัดสวนรายจายภาครัฐ (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita < 1,000 $ dollar)

ECON_GOV_ GDP2 หมายถึง สัดสวนรายจายภาครัฐ (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita > 1,000 $ dollar) LOG_ECON_GDP_TRIM1&2 หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

ภาพท่ี 2.52 ภาพท่ี 2.53

Page 55: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-55

พัฒนามีการเพิ่มอยางรวดเร็ว (Trend shift) เม่ือระดับรายไดสูงข้ึนเขาสูระดับ 5,000-10,000 ดอลลาร เม่ือระดับรายไดสูงกวา 10,000 ดอลลาร การใชจายภาครัฐมีสัดสวนโนมเขาสูระดับรอยละ 18-20 ในระยะยาว

2.4.3) การลงทุนภาคเอกชน (Investment) ภาพท่ี 2.54: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนการลงทุน กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita นอยกวา 1,000 $ dollar ภาพท่ี 2.55: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนการลงทุน กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita มากกวา 1,000 $ dollar

0

10

20

30

40

50

0 200 400 600 800 1000

Log GDP per capita

Inve

stm

ent (

%G

DP

)

TEST_I1 vs. Log TEST_GDP1

10

20

30

40

50

60

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log GDP per capita

Inve

stm

ent (

%G

DP

)

TEST_I2 vs. Log TEST_GDP2

10

20

30

40

50

60

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_IN

V_G

DP

ECON_INV_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

หากแบงระดับการพัฒนาออกเปน ชวงท่ีระดับรายไดนอยกวา 1,000 ดอลลาร พบวา

ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศมีความสัมพันธเชิงบวกอยางชัดเจนโดยมีสัดสวนสูงกวารอยละ 20 เนื่องจากเปนชวงของการสะสมทุนท่ีรัฐฯ มีสวนสําคัญ ในขณะท่ีกลุมประเทศซ่ึงมีระดับรายไดสูงกวา 1,000 ดอลลาร การลงทุนระยะยาวโนมลดลงเขาสูระดับรอยละ 20

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: TEST_I1 หมายถึง สัดสวนการลงทุน (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita < 1,000 $ dollar)

TEST_I2 หมายถึง สัดสวนการลงทุน (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita > 1,000 $ dollar) LOG_TEST_GDP1&2 หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

ภาพท่ี 2.54 ภาพท่ี 2.55

Page 56: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-56

2.4.4) มูลคาการสงออกสุทธิ (Net Exporting) มูลคาการสงออกสุทธิ เปนแหลงท่ีมาของอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทางดานอุป

สงค ท่ี เ ช่ือมตอกับภาคตางประเทศประกอบไปดวย การสงออก (Exporting) และการนําเขา (Importing) ประเด็นท่ีนาสนใจคือการสงออกและนําเขามีความสอดคลองสัมพันธกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ (วัดโดย GDP per capita) อยางไรการเปดประเทศมากนอยมีความสัมพันธกับระดับการพัฒนา (GDP per capita) เชนไร

ภาพท่ี 2.56: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนการสงออก กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita นอยกวา 1,000 $ dollar ภาพท่ี 2.57: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนการสงออก กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita มากกวา 1,000 $ dollar

0

10

20

30

40

50

60

70

80

0 200 400 600 800 1000

Log GDP per capita

Exp

ort V

alue

(% G

DP

)

TEST_EX1 vs. Log TEST_GDP3

0

40

80

120

160

200

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

Log GDP per capita

Exp

ort V

alue

(% G

DP

)TEST_EX2 vs. Log TEST_GDP4

0

40

80

120

160

200

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

EC

ON

_EX

P_G

DP

ECON_EXP_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

ภาพท่ี 2.56 ภาพท่ี 2.57

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: TEST_EX1 หมายถึง สัดสวนมูลคาการสงออก (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita < 1,000 $ dollar)

TEST_EX2 หมายถึง สัดสวนมูลคาการสงออก (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita > 1,000 $ dollar) LOG_TEST_GDP1&2 หมายถึง Logarithm ของระดับการพฒันา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 57: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-57

ภาพท่ี 2.58: ปริมาณการสงออกสินคาและบริการ

Exports of goods and services

05

101520253035404550

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

% o

f GDP 1990

2004

มูลคาสงออกตอผลิตภัณฑในประเทศรวม เพิ่มสูงข้ึนในชวง 1990-2004 ในทุกกลุมประเทศ เม่ือพิจารณา เฉพาะประเทศท่ีอยูในกลุมประเทศกําลังพัฒนาท่ีมีระดับรายไดตํ่ากวา 1,000 ดอลลาร การสงออกเปนตัวขับเคล่ือนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอยางมีนัยสําคัญ การสงออกเพ่ิมจาก รอยละ 20 ท่ี ระ ดับรายได 200 ดอลลาร ไปสูรอยละ 40 ท่ีระดับรายได 1,000 ดอลลาร ในระยะยาว

ภาพท่ี 2.59: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนการนําเขา กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita นอยกวา 1,000 $ dollar ภาพท่ี 2.60: แสดงความสัมพันธระหวาง สัดสวนการนําเขา กับ การพัฒนาทางเศรษฐกิจ เฉพาะประเทศท่ีมี GDP Per capita มากกวา 1,000 $ dollar

0

20

40

60

80

100

120

0 200 400 600 800 1000

GDP per capita

Impo

rt V

alue

(% G

DP

)

TEST_IM1 vs. Log TEST_GDP5

0

40

80

120

160

200

0 10000 20000 30000 40000 50000 60000

GDP per capita

Impo

rt V

alue

(% G

DP

)

TEST_IM2 vs. Log TEST_GDP6

ภาพท่ี 2.59 ภาพท่ี 2.60

Page 58: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-58

0

40

80

120

160

200

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

ECO

N_I

MP_

GD

P

ECON_IMP_GDP vs. ECON_GDP_PERCAP

ภาพท่ี 2.61: มูลคาการนําเขาสินคาและบริการ

Imports of goods and services

05

1015202530354045

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Upp

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

. Afri

ca

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

% o

f GD

P

19902004

มูลคาการนําเขามีความสัมพันธเชิงบวกกับระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ จําเพาะกลุมประเทศท่ีมีรายได นอยกวา 1,000 ดอลลาร ตองพึงพิงสินคาทุนจากตางประเทศเพื่อสรางโครงสรางพื้นฐาน เม่ือระดับรายได สูงกวา 1,000 ดอลลาร ความสัมพันธระหวางการนําเขาและการพัฒนาโนมเขาหาสัดสวน รอยละ 42 ในระยะยาว

นอกจากท่ีไดกลาวมานี้ เรายังพบวาเม่ือประเทศมีการพัฒนามากข้ึน ความสําคัญของการพัฒนาเครือขายการขนสงและคมนาคม หรือ ระบบลอจิสติกส (Logistic network) ทีมีตอการลดตนทุนการขนสง และการส่ือสารฯมีความสําคัญมากข้ึน เราวัดเครือขายดวยตัวแปรท่ีแสดงถึงความคับค่ังของการขนสงสินคาทางเรือ และ ขนสงมวลชนทางอากาศ ท่ีมีผลตอการคาระหวางประเทศ

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: TEST_IM1 หมายถึง สัดสวนการนําเขา (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita < 1,000 $ dollar)

TEST_IM2 หมายถึง สัดสวนการนําเขา (รอยละตอ GDP) (GDP Per capita > 1,000 $ dollar) LOG_TEST_GDP1&2 หมายถึง Logarithm ของระดับการพฒันา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 59: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-59

ภาพท่ี 2.62: ปริมาณความคับค่ังของ Port container ในป 2004

Port container traffic (2004)

0

20,000

40,000

60,000

80,000

100,000

120,000

140,000

160,000

180,000

200,000

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

ein

com

e

Upp

er m

iddl

ein

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

Thou

sand

TE

U

ภาพท่ี 2.63: ปริมาณความคับค่ังของการขนสงมวลชนทางอากาศ ในป 2004

Air transportation - Passenger carried (2004)

0

200,000

400,000

600,000

800,000

1,000,000

1,200,000

1,400,000

1,600,000

Low

inco

me

Mid

dle

inco

me

Low

er m

iddl

ein

com

e

Upp

er m

iddl

ein

com

e

Low

& m

iddl

ein

com

e

Eas

t Asi

a &

Pac

ific

Eur

ope

& C

entra

lA

sia

Latin

Am

eric

a &

Car

ib.

Mid

dle

Eas

t & N

.A

frica

Sou

th A

sia

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Hig

h in

com

e

Eur

ope

EM

U

Thou

sand

peo

ple

Page 60: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-60

2.5 แนวโนมของสังคมผูสูงอายุ การพัฒนาทางดานสุขอนามัย, ความสามารถทางการแพทยและการวางแผนครอบครัวท่ีดี ใน

ประเทศซ่ึงมีระดับการพัฒนาที่สูงข้ึนมีอัตราการเกิดและอัตราการตายลดลงจะสงผลใหโครงสรางประชากรในประเทศพัฒนาฯ มีแนวโนมเขาใกลสังคมสูงอายุมากข้ึนเปนลําดับดังจะแสดงไดดังนี้คือ

ภาพท่ี 2.64: จาํนวนประชากร ชวงป 1990, 2004 และ 2020

Total Population

-

500.0

1,000.0

1,500.0

2,000.0

2,500.0

3,000.0

3,500.0

4,000.0

4,500.0

5,000.0

5,500.0

6,000.0

6,500.0

7,000.0

1990 2004 2020

mill

ions

Low income

Middle income Lower middle income

Upper middle income

Low & middle income East Asia & Pacific

Europe & Central Asia

Latin America & Carib Middie East & N.Africa

South Asia

Sub-Saharan Africa

High income Europe EMU

ภาพท่ี 2.65: สัดสวนประชากรรายชวงอาย ุในป 2004

Population age composition (2004)

0%

20%

40%

60%

80%

100%

Low

inco

me

Low

er m

iddl

e in

com

e

Low

& m

iddl

e in

com

e

Eur

ope

& C

entra

l Asi

a

Mid

die

East

& N

.Afri

ca

Sub

-Sah

aran

Afri

ca

Eur

ope

EMU

Age 65+

Age 15 - 64

Ages 0 - 14

Page 61: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-61

ภาพท่ี 2.66: แสดงชุดความสัมพันธระหวางอัตราการพึ่งพิงในเด็กและผูสูงอายุ กับ ระดับการพัฒนา (วัดโดย GDP per capita)

0.0

0.2

0.4

0.6

0.8

1.0

1.2

0 10,000 20,000 30,000 40,000 50,000 60,000

ECON_GDP_PERCAP

PEO_DEPEND_O_RATIOPEO_DEPEND_Y_RATIO

0.1

0.2

0.3

0.4

0.5

0.6

0.7

0.8

0.9

1.0

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_D

EP

END

_Y_R

ATIO

PEO_DEPEND_Y_RATIO vs. ECON_GDP_PERCAP

.08

.12

.16

.20

.24

.28

.32

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PE

O_D

EP

EN

D_O

_RA

TIO

PEO_DEPEND_O_RATIO vs. ECON_GDP_PERCAP

Note: นิยามตัวแปร

• PEO_DEPEND_O_RATIO หมายถึง อัตราภาวะพ่ึงพิง นับเฉพาะผูสูงอายุ (อายุ > 65 ป)

• PEO_DEPEND_O_RATIO หมายถึง อัตราภาวะพ่ึงพิง นับเฉพาะเด็ก (อายุ < 15 ป)

• ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร

Page 62: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-62

บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุขของประเทศตางๆ ท่ีเพิ่มสูงข้ึนเม่ือประเทศมีระดับการพัฒนาท่ีสูงข้ึน สงผลกระทบโตยตรงตอแนวโนมอัตราการตายประชากรท่ีลดตํ่าลงในชวงการพฒันาท่ีมีรายไดสูงข้ึนกอนระดับ 50,000 เหรียญสหรัฐอเมริกา

0

5

10

15

20

25

30

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_CR

UD

E_D

EATH

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 7999.9)

อัตราการตายของประชากรมีลักษณะท่ีทรงตัวในระดับการพัฒนาชวงแรกและลดลงเมื่อระดับการพัฒนามากถึงระดับหนึ่ง นอกจากบริการทางการแพทยและบุคลากรทางการแพทยท่ีเพิ่มสูงข้ึนจะสงผลดีตออัตราการตายแลวยังสงผลใหสุขภาวะของเด็กทารกและเด็กซ่ึงยังอยูในชวงวัยท่ีตองการการดูแลดานสุขภาพและพัฒนาการดานสมองไดรับการพัฒนาอยางเต็มท่ีเม่ือทารกไดรับการดูแลอยางดีมีโอกาสอยูรอดสูงจึงไมจําเปนตองคลอดบุตรมาก ประกอบกับการวางแผนครอบครัวและสุขอนามัยเจริญพันธุท่ีดีจึงสงผลใหความตองการมีบุตรลดลง

อยางไรก็ดีเม่ือประเทศพัฒนาระดับของรายไดสูงข้ึนรายจายเพื่อการใชชีวิต (Cost of living) สูงข้ึนเชนกัน ประกอบกับภาระการดูแลผูสูงอายุของครัวเรือนเพิ่มข้ึนตามแนวโนมเขาสูสังคมผูสูงอายุ กําลังแรงงานในชวงอายุท่ีตองทํางานในตลาดแรงงานจําเปนตองเพ่ิมรายได โดยการทํางานมากข้ึน อยางไรก็ตาม เนื่องจากการกําหนดอุปทานแรงงานของปจเจกบุคคล-ครัวเรือนจําตองพิจารณาผลของการเพิ่มรายได (Income effect) และผลของการทดแทนกันระหวางการใชแรงงาน-เวลาวางเพ่ือปฏิบัติภารกิจทางครอบครัว-สังคม-วัฒนธรรม (Substitution effect) วามีผลสุทธิตอการนําเสนอแรงงานเขาสูตลาดแรงงานเทาใด เม่ือรายไดเพิ่มข้ึนถึงระดับหนึ่งครัวเรือนเห็นคุณคาของภารกิจทางสังคมฯ มีคากวารายไดท่ีคาดวาจะได ประกอบกับการเพ่ิมตนทุนการเล้ียงดูบุตร การลงทุนการศึกษาบุตร เพื่อการสะสมทุนมนุษยสูงข้ึนตามระดับการพัฒนา ฯลฯ สงผลใหความตองการมีบุตรลดลงและสงผลตออัตราภาวะเจริญพันธุของสตรีและการเปล่ียนแปลงของอัตราเพิ่มของประชากรที่มีแนวโนมลดลงเปนลําดับ

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_CRUDE_DEATH หมายถึง อัตราการตายตอประชากร 1,000 คน

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 63: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-63

ภาพท่ี 2.67: แสดงชุดความสัมพันธระหวางภาวะเจริญพันธุของสตรี กับ ระดับการพัฒนา (วัดโดย GDP per capita)

0

1

2

3

4

5

6

7

100,00040,00015,0005,0002,5001,000500

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_FER

TAL_

PER

W

0

20

40

60

80

100

120

140

160

100,00040,00015,0005,0002,5001,000500

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_FER

TAL_

PER

1000

Y

-2

-1

0

1

2

3

4

5

6

7

100,00040,00015,0005,0002,5001,000500

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_PO

P_G

RO

WT

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_POP_GROWTH หมายถึง อัตราการเปลี่ยนแปลงของประชากร

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_FERTAL_PER1000 หมายถึงภาวะเจริญพันธุของหญิงอายุ 15-19 (จํานวนการเกิดตอประชากรหญิง 1000 คน)

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_FERTAL_PERW หมายถึง ภาวะเจริญพันธุของสตรี (birth per woman)

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 64: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-64

0

10

20

30

40

50

500 5000 50000

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_CR

UD

E_BI

RTH

Kernel Fit (Epanechnikov, h= 7999.9)

ภาพท่ี 2.68: แสดงความสัมพันธระหวางสัดสวนของประชากรท่ีมีโอกาสรอดชีวิตถึงอายุ 65 ข้ึนไปในเพศชาย และ หญิงกับการพฒันาทางเศรษฐกิจ

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100,00040,00015,0005,0002,5001,000500

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_AG

E65U

P_C

OH

OR

TM

10

20

30

40

50

60

70

80

90

100

100,00040,00015,0005,0002,5001,000500

ECON_GDP_PERCAP

PEO

_AG

E65U

P_C

OH

OR

TW

แหลงท่ีมา: World Development Indicator 2007 Note: PEO_CRUDE_BIRTH หมายถึง อัตราการเกิดตอประชากร 1,000 คน

ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Note: นิยามตัวแปร

• PEO_AGE65UP_COHORTM หมายถึงสัดสวนของประชากรท่ีมีโอกาสจะรอดชีวิตถึงอายุ 65 ขึ้นไปในเพศชาย

• ECON_GDP_PERCAP หมายถึง Logarithm ของระดับการพัฒนา วัดโดย มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศตอหัวประชากร ($ dollar)

Page 65: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-65

2.5.1) แนวโนมของสังคมผูสูงอายุในประเทศไทย 1) การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรของประเทศไทย ในป 1970 ประเทศไทยไดประกาศนโยบายประชากรที่จะลดอัตราเพิ่มประชาการ

ของประเทศท่ีสูงมากในขณะนั้นใหสอดคลองกับการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของประเทศ ผลจากการดําเนินงานลดอัตราเพิ่มประชากรของประเทศตามนโยบายดังกลาวทําใหอัตราเจริญพันธุของสตรีไทยลดลงจากประมาณ 6 คนในป 1970 อยางตอเนื่องจนถึงระดับตํ่ากวาระดับทดแทน (Replacement level) ในชวงปลายทศวรรษ 1990

ตารางท่ี 2.4 : การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรไทย 1970 – 2025 1970 1980 1990 2000 2010 2025

อัตราเจริญพันธรวม 6.09 3.84 2.28 1.82 1.53 1.35

จํานวนประชากรรวม (ลานคน) 36.37 46.70 55.84 62.24 68.56 70.65

โครงสรางประชากร (รอยละ) วัยเด็ก 0-14 ป 45.8 38.3 29.2 24.7 20.5 15.0

วัยทํางาน 15-59 ป 49.6 56.2 63.4 65.9 67.6 63.8

วัยสูงอายุ 60 ปขึ้นไป 4.6 5.5 7.4 9.4 11.9 21.2

อัตราสวนการพึ่งพิง (รอยละ) รวม 101.7 77.8 57.7 51.7 47.9 56.8

วัยเด็ก 92.4 68.0 46.1 37.4 30.3 23.5

วัยสูงอายุ 9.2 9.7 11.6 14.3 17.6 33.3

ที่มา : 1) ป 1970 – 2000 สํามะโนประชากรและเคหะ สํานักงานสถิติแหงชาติ 2) ป 2010 – 2025 การคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543 – 2568 (ฉบับปรับปรุง) สํานักพัฒนาสังคมและ

คุณภาพชีวิต สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, ตุลาคม 2550

โครงสรางประชากรเปล่ียนแปลงไปคอนขางมากจากอดีต ปจจุบัน และในอนาคต โดยมีรายละเอียดการเปล่ียนแปลงดังตอไปนี้

(ก) ประชากรวัยเด็กอายุ 0-14 ป มีสัดสวนลดลงอยางรวดเร็วจากรอยละ 45.8 ในป 1970 เปนรอยละ 24.7 ในป 2000 และคาดวาจะลดลงเหลือรอยละ 20.5 ในป 2010 และรอยละ 15.0 ในป 2025

(ข) ประชากรวัยทํางานอายุ 15-59 ป มีสัดสวนสูงข้ึนอยางตอเนื่องจากรอยละ 49.6 ในป 1970 ไปจนถึงรอยละ 67.6 ในป 2010 หลังจากนัน้จะลดลงเหลือรอยละ 63.8 ในป 2025

(ค) ประชากรวัยสูงอายุ 60 ปข้ึนไป มีสัดสวนเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องจากรอยละ 4.6 ในป 1970 เปนรอยละ 9.4 ในป 2000 คาดวาจะเพิ่มข้ึนเปนรอยละ 11.9 ในป 2010 และรอยละ 21.2 ในป 2025

Page 66: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-66

2) ผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรไทย การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรไทยท่ีเปนอยูในปจจุบันและท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนในอนาคตจะสงผลกระทบตอการพัฒนาประเทศในปจจุบันและอนาคต 5 - 10 ป ขางหนาดังนี ้

(ก) การที่สัดสวนประชากรวัยเด็กลดลงอยางตอเนื่องเปนโอกาสท่ีจะพัฒนาเด็กใหคุณภาพและท่ัวถึงมากข้ึนท้ังทางดานรางกาย จิตใจ สติปญญา อารมณและสังคม และสามารถขยายการเขาถึงการศึกษาในระดับสูงไดอยางกวางขวางและหลากหลายมากข้ึน โดยเฉพาะในสาขาท่ีจําเปนตอการพัฒนาประเทศ

(ข) การท่ีประชากรวัยทํางานยังมีสัดสวนสูงเพิ่มข้ึนในปจจุบัน ในขณะที่สัดสวนประชากรวัยเด็กลดลงและสัดสวนประชากรวัยสูงอายุยังเพิ่มไมมากเปนชวงเวลาท่ีเหมาะสมท่ีสุดท่ีจะใชประโยชนจากประชากรวัยทํางานเหลานี้ในการเพ่ิมผลผลิตและสรางรายไดใหแกประเทศไดอยางมากโดยการเรงเพิ่มผลิตภาพแรงงานและสรางรายไดใหแกประเทศไดอยางมากโดยการเรงเพิ่มผลิตภาพแรงงานและสรางกําลังคนท่ีมีความรูและทักษะท่ีสอดคลองกับความตองการและการขยายตัวของภาคผลิต ในทางวิชาการประชากรศาสตรเรียกชวงเวลาน้ีวาชวงการปนผลทางประชากร (Demographic Dividend) ซ่ึงประเทศไทยจะอยูในชวงเวลาปนผลประชากรนี้ไปจนถึงป 2009 หลังจากนั้นประชากรวัยทํางานจะมี สัดสวนลดลงต้ังแตป 2010 จากรอยละ 67.6 เหลือรอยละ 63.8 ในป 2005

(ค) ประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุในชวงระยะเวลาอันส้ัน ความเร็วของการเขาสูสังคมผูสูงอายุพิจารณาไดจากจํานวนปท่ีใชในการเพิ่มสัดสวนประชากรอายุ 65 ป ข้ึนไปจากรอยละ 7 เปนรอยละ 14 ตามนิยามขององคกรสหประชาชาติ ขอมูลในตารางท่ี 2.5 เปรียบเทียบจํานวนปท่ีประเทศพัฒนา และกําลังพัฒนาบางประเทศใชในการท่ีสัดสวนประชากรอายุ 60 ปข้ึนไปเพิ่มจากรอยละ 7 เปนรอยละ 14 พบวาประเทศไทยมีอัตราการเขาสูสังคมผูสูงอายุในป 2010 และเปนสังคมผูสูงอายุเต็มตัวในป 2030 ทําใหประเทศไทยมีเวลาเตรียมพรอมคนและระบบท่ีจะรองรับสังคมผูสูงอายุในระยะเวลาส้ัน

Page 67: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-67

ตารางท่ี 2.5: ป ค.ศ. ท่ีสัดสวนของประชากรอายุ 65 ปข้ึนไปตอประชากรท้ังหมดเทากับรอยละ 7 และรอยละ 14 ในประเทศตางๆ

รอยละ 7 รอยละ 14 จํานวนปท่ีใช

กลุมประเทศท่ีพัฒนาแลว - ฝร่ังเศส 1865 1980

115

- สวีเดน 1886 1971 85 - สหรัฐอเมริกา 1941 2013 72 - อิตาลี 1924 1987 63 - ญ่ีปุน 1969 1994 26 กลุมประเทศกําลังพัฒนา - เกาหลี 2000 2020

20

- สิงคโปร 2000 2017 17 - ไทย 2010 2030 20 - จีน (ไมรวมฮองกง) 2002 2027 25 ที่มา : World Population Prospects the 2002 volume I: comprehensive Tables, United Nations.

3) การเปล่ียนแปลงโครงสรางกําลังแรงงานของประเทศไทย การท่ีประเทศไทยประสบความสําเร็จในการลดอัตราเพิ่มประชากรลงอยางรวดเร็ว ในขณะเดียวกันก็มีการขยายโอกาสทางการศึกษาเพิ่มข้ึนเปน 12 ป สาเหตุท้ังสองประการน้ีจะสงผลใหอัตราการเพ่ิมของกําลังแรงงานของประเทศเปล่ียนแปลงไปในอนาคตดวย การคาดประมาณขนาดและโครงสรางกําลังแรงงานของประเทศในการศึกษานี้ไดคํานวณจากขนาดของประชากรในกลุมอายุ 5 ป แยกตามเพศชายและเพศหญิงคูณดวยอัตราการเขาสูกําลังแรงงาน (Labor force participation rate) ของประชากรในกลุมอายุและเพศนั้น ขนาดของประชากรตามกลุมอายุ 5 ปแยกตามเพศชายและเพศหญิงไดจากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย พ.ศ. 2543-2568 (ฉบับปรับปรุง)ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (รายละเอียดตามตารางท่ีแนบ) สวนอัตราการเขาสูกําลังแรงงานจําแนกตามกลุมอายุ 5 ป และเพศในอดีตต้ังแตป 2530-2549 ไดจากการสํารวจแรงงาน(รอบ 3) ของสํานักงานสถิติแหงชาติ สวนแนวโนมอัตราการเขาสูกําลังแรงงานตามกลุมอายุและเพศในอนาคตระหวางป 2550-2563 ไดต้ังสมมุติฐานเกี่ยวกับแนวโนมอัตราการเขาสูกําลังแรงงานในแตละกลุมอายุ 5ป และเพศดังนี้

(ก) กลุมอายุ 15-19 ป สมมติใหอัตราการเขาสูกําลังแรงงานท้ังเพศชายและหญิงลดลงเน่ืองจากการขยายโอกาสทางการศึกษาเปน 12 ป ทําใหกําลังแรงงานกลุมอายุนี้ เขาสู

Page 68: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-68

ตลาดแรงงานลดลงโดยสมมติใหเพศชายลดลงเหลือรอยละ 25 และเพศหญิงลดลงเหลือรอยละ 20 ในป 2563

(ข) กลุมอายุ 20-24 ป ถึงกลุมอายุ 55-59 ป สมมติใหอัตราการเขาสูกําลังแรงงานท้ังเพศชายและหญิงไดจากคาเฉล่ียอัตราการเขาสูกําลังแรงงานของแตละเพศในชวง 10 ประหวางป 2539-2549 และสมมติใหคงท่ีจนถึงป 2563

(ค) กลุมอายุ 60-64 ป สมมติใหอัตราการเขาสูกําลังแรงงานท้ังเพศชายและหญิงเพิ่มข้ึนเนื่องจากในอนาคตประเทศไทยมีแนวโนมท่ีจะสงเสริมใหผูสูงอายุทํางานหลังเกษียณอายุโดยเพศชายสมมติใหเพิ่มข้ึนเปนรอยละ 75 และเพศหญิงเปนรอยละ 60 ในป 2563

(ง) กลุมอายุ 65 ปข้ึนไป สมมติใหอัตราการเขาสูกําลังแรงงานท้ังเพศชายและหญิงเพิ่มข้ึนเนื่องจากแนวโนมท่ีประเทศไทยจะสงเสริมใหผูสูงอายุทํางาน โดยเพศชายเพ่ิมข้ึนเปนรอยละ 60 และเพศหญิงเปนรอยละ 30 ในป 2563

รายละเอียดสมมติฐานอัตราการเขาสูกําลังแรงงานและผลการคาดประมาณกําลังแรงงานแยกตามกลุมอายุ 5 ป เพศชายและหญิงและกําลังแรงงานรวมของประเทศไทยรายป ต้ังแตป 2550-2563 ดูไดจากตารางท่ีแนบซ่ึงสามารถสรุปสถานการณและแนวโนมกําลังแรงงานของประเทศไทยไดตามตารางตอไปนี้

ตารางท่ี 2.6: สถานการณและแนวโนมกาํลังแรงงานของประเทศไทย ป 2533-2563 2533 2538 2543 2549 2553 2563

กําลังแรงงานรวม(ลานคน) 30.8 32.7 33.8 36.8 38.1 40.7

ชาย (ลานคน) 16.4 17.8 18.6 19.9 20.7 22.2

หญิง (ลานคน) 14.4 14.9 15.2 16.9 17.4 18.5

อัตราการเขาสูกําลังแรงงานรวม (รอยละ )

81.95 76.16 72.66 72.95 76.18 75.96

ชาย (ลานคน) 87.67 83.49 80.56 81.27 84.23 84.12

หญิง (ลานคน) 76.29 68.94 64.89 65.11 68.41 68.05

หมายเหตุ ป 2533- 2549 ขอมูลจากการสํารวจแรงงาน(รอบ 3) สํานักงานสถิติแหงชาติ

จากขอมูลการคาดประมาณกําลังแรงงานของประเทศไทยพบวา กําลังแรงงานของประเทศไทยเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องโดยจะเพ่ิมข้ึนจาก 36.8 ลานคนในป 2549 เปน 38.1 ลานคนในป 2553 และ 40.7 ลานคนในป 2563 สวนอัตราการเขาสูกําลังแรงงานก็จะเพิ่มข้ึนจากรอยละ 72.95 ในป 2549 เปนรอยละ 76.18 ในป 2553 และเปนรอยละ 75.96ในป 2563 และเม่ือพิจารณาแยกตามเพศชายและหญิงก็พบวามีแนวโนมเพิ่มข้ึนเชนเดียวกันกับระดับภาพรวมของประเทศดวย

Page 69: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-69

ขอคิดเชิงนโยบายท่ีไดจากแนวโนมของการคาดประมาณการกําลังแรงงาน (Labor Force) ตามระดับช้ันอายุ 2550-2563 ใหทิศทางวาประเทศไทยมีกําลังแรงงานอายุนอยลดลงเร่ิมในชวงอายุ 15-19ป จนถึง อายุ 40-44ป ในขณะท่ี ประชากรที่พรอมจะทํางานท่ีมีอายุเกินกวา 60 ป แมโดยคําจํากัดความเปนผูอยูนอกกําลังแรงงาน ในการศึกษานี้เห็นวาประชากรเหลานี้จํานวนหน่ึงเปนผูท่ีมีความรู ทักษะ และประสบการณ ท่ีสะสมมาตลอดชีวิตการทํางานและนับเปนทรัพยสินมากกวาจะนับเปนภาระ

กระนั้นก็ตามเนื่องจากความชรามักจะควบคูกับการเจ็บปวยตามอายุขัย ดังนั้น แมจํานวนผูสูงอายุท่ีพยากรณในท่ีนี้จะตองการทํางาน (กําลังแรงงานใหมเทากับผูท่ีอยูนอกกําลังแรงงานและตองการกลับเขามาในตลาดแรงงานอีกคร้ัง) แตก็มิไดหมายความวาความตองการทํางานนี้จะไดรับการสนองจากตลาด ณ ระดับคาจางท่ีเหมาะสม ประเด็นเชิงนโยบายท่ีควรมีการปรึกษาหารือกันไดแก

ประการท่ี หนึ่ง หากประเทศไทยมีแนวโนมของการเปนสังคมผูสูงอายุเชนนี้ ตนทุนสวนบุคคล (Private cost of Caring) และสวนรวม (Public cost of Caring) ในการดูแลควรจะเปนเทาใดและใครจะเปนผูจาย (Tax burden)

ประการท่ี สอง หากรัฐบาลเช่ือวาบุคคลเหลานี้เปนสินทรัพยท่ีมีคาก็ตองมีการลงทุนในการ อบรมใหผูสูงอายุอยูอยางไมเปนภาระและสามารถ ถายทอดประสบการณใหกับคนรุนปจจุบันไดผานการทํางานท่ีเปนระบบแตเหมาะสมสําหรับชวงอายุสูงวัย (คําตอบนี้จะชัดเจนเม่ือมีการนําเอาผลการพยากรณดานอุปสงคเขามารวมพิจารณา)

ประการท่ี สาม ตลาดแรงงานในอนาคตสําหรับผูท่ีรองรับความตองการของผูสูงอายุในดานตางๆ และตลาดแรงงานผูสูงอายุเองจะสามารถตอบสนองอุปสงครวมภายใต ระบบคาตอบแทนเชนใด?

Page 70: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-70

ภาพที่ 2.69: กําลังแรงงานอายุ 15 ป ข้ึนไป จําแนกตามช้ันอายุของประเทศไทย ชวงป พ.ศ. 2530-2549

0

1,000,000

2,000,000

3,000,000

4,000,000

5,000,000

6,000,000

7,000,000

2530

2531

2532

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

ป พ.ศ.

จํานวนประชากร

( คน

)

15-19 ป 20-24 ป 25-29 ป 30-34 ป 35-39 ป 40-44 ป45-49 ป 50-54 ป 55-59 ป 60-64 ป 65 ป ข้ึนไป

ที่มา : สํานักสถิติแหงชาติ

ภาพที่ 2.70 : สัดสวนกําลังแรงงานเพศหญิงอายุ 15 ป ข้ึนไปจําแนกตามช้ันอายุของประเทศไทย ชวงป 2530-2549

48.00%

49.00%

50.00%

51.00%

52.00%

53.00%

54.00%

55.00%

56.00%

57.00%

2530

2531

2532

2533

2534

2535

2536

2537

2538

2539

2540

2541

2542

2543

2544

2545

2546

2547

2548

2549

ป พ.ศ.

จํานวนประชากร

( คน)

15-19 ป 20-24 ป 25-29 ป 30-34 ป 35-39 ป45-49 ป 50-54 ป 55-59 ป 60-64 ป 65 ป ขึ้นไป

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ

Page 71: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-71

ตารางท่ี 2.7: กําลังแรงงานอายุ 15 ป ข้ึนไป จําแนกตามชั้นอายุและเพศของประเทศไทย ชวงป พ.ศ. 2530-2549

หนวย : คน

ที่มา : สํานักงานสถิติแหงชาติ

Page 72: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-72

2.5.2 กรณีศึกษาประเทศญ่ีปุน ประเทศญ่ีปุนมีอัตราเจริญพันธุอยูในระดับทดแทน (replacement level) ต้ังแตปลาย

ทศวรรษ 1950 และอยูในระดับทดแทนน้ีจนถึงป 1974 อัตราเจริญพันธุไดลดลงตํ่ากวาระดับทดแทนและลดลงตอมาเร่ือย ๆ หลังจากป 1974 จนถึงระดับ 1.34 ในป 1999 การลดลงของอัตราเจริญพันธุอยางตอเนื่องเปนระยะเวลายาวนานน้ีเปนผลมาจากการเพิ่มข้ึนของสัดสวนสตรีท่ีไมแตงงานในชวงอายุ 20 ป และ 30 ป ตน ๆ จากการคาดประมาณประชากรของประเทศญ่ีปุนคาดวาประชากรญ่ีปุนจะเพิ่มจาก 126 ลานคนในป 1995 จนถึงจุดสูงสุดท่ี 128 ลานคนในป 2007 แลวจะลดลงหลังจากนั้นจนเหลือ 100 ลานคนในป 2050 อัตราเพิ่มประชากรของญ่ีปุนคาดวาจะเปนรอยละ – 0.8 ในชวงทศวรรษ 2040 สงผลใหสัดสวนของประชากรสูงอายุเพิ่มข้ึนจากรอยละ 14.5 ในป 1995 เปนรอยละ 25 ในป 2015 และมากกวารอยละ 30 ในชวงปลายทศวรรษ 2030 การเพิ่มข้ึนของประชากรสูงอายุนี้ทําใหอัตราสวนภาระพึ่งพิงของประชากรสูงอายุ (Aged dependency ratio) เพิ่มข้ึนจากรอยละ 20.9 ในป 1995 เปนรอยละ 59.1 ในป 2050 ซ่ึงจะสงผลใหสัดสวนของประชากรวัยทํางานตอประชากรสูงอายุลดลงจากรอยละ 4.77 ในป 1995 เหลือรอยละ 2.17 ในป 2025 และรอยละ 1.69 ในป 2050

ตารางท่ี 2.8: การคาดประมาณประชากรของประเทศญ่ีปุน 1995- 2025

1995 2025 2050

อายุคาดหมายเฉล่ียเม่ือแรกเกิด(ชาย) 76.36 78.80 79.40

(หญิง) 82.84 85.83 86.50 อัตราเจริญพันธุรวม 1.42 1.61 1.61 อัตราการยายถิ่นสุทธิเฉล่ียตอป(ตอประชากรพันคน) -0.1 -0.1 -0.1 ประชากรรวม (พันคน) 125 570 120 913 100 496 สัดสวนประชากรสูงอายุ(รอยละ) 14.5 27.4 32.3 อัตราการพ่ึงพิงของประชากรสูงอายุ (รอยละ) 20.9 46.0 59.1

สัดสวนประชากรวัยทํางานตอประชากรสูงอายุ (รอยละ) 4.77 2.17 1.69

ที่มา : National Institute of Population and Social Security Research (1997)

Page 73: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-73

นโยบายตอบสนองตอประชากรสูงอายุในประเทศญ่ีปุน

1) รักษาระดับอัตราเจริญพันธุ ในป 1991 รัฐบาลญ่ีปุนไดประกาศนโยบายท่ีจะสนับสนุนใหเกิดสภาวะแวดลอมทาง

สังคมท่ีเอ้ือประโยชนตอคนหนุมสาวท่ีตองการแตงงานและมีบุตรโดยกําหนดแนวทางท่ีจะรักษาความสมดุลระหวางชีวิตครอบครัวกับชีวิตการทํางาน ปรับปรุงสภาพท่ีอยูอาศัยและสนับสนุนการดูแลบุตรโดยเพิ่มเปนคาชวยเหลือการดูแลบุตรและอนุญาตใหลางานได 1 ป เพื่อดูแลบุตรท่ีอายุตํ่ากวา 1 ปได โดยไดรับคาจางรอยละ 25 ในชวงลางาน ตอมาในป 1994 รัฐบาลญ่ีปุนไดดําเนินโครงการสนับสนุนการดูแลเด็กในชวงป 1995-1999 ภายใต Angel Plan โดยเพิ่มพยาบาลดูแลเด็กในเขตเมือง ขยายการใหบริการการดูแลเด็กประกอบดวย การดูแลเด็กเล็ก ขยายช่ัวโมงการดูแลเด็กและการใหคําปรึกษา สนับสนุนใหโรงเรียนอนุบาลใหบริการการดูแลเด็ก ขยายการใหบริการดูแลเด็กช้ันประถมศึกษาหลังเลิกเรียนและต้ังศูนยสนับสนุนครอบครัวในเขตเมือง ซ่ึงตอมาในป 1997-1998 รัฐบาลญ่ีปุนไดประเมินผลการดําเนินโครงการภายใต Angel Plan พบวายังไมสามารถทําใหสัดสวนการแตงงานและการมีบุตรของหนุมสาวเพิ่มข้ึนไดเนื่องจากความขัดแยงระหวางชีวิตครอบครัวและชีวิตการทํางานทําใหผูหญิงทํางานประมาณรอยละ 70 ตองออกจากงานหลังจากแตงงานหรือหลังจากมีบุตรคนแรก นอกจากนั้นคานิยมเกี่ยวกับครอบครัวท่ีแบงบทบาทผูหญิงกับผูชาย โดยผูชายเปนผูทํางานหาเงิน สวนผูหญิงทํางานบานทําใหผูหญิงมีความยากลําบากท่ีจะทํางานนอกบานไปดวยในขณะท่ีตองดูแลงานในบาน ทําใหนโยบายของรัฐบาลญ่ีปุนในความพยายามที่จะยกระดับอัตราเจริญพันธุไมประสบความสําเร็จตราบจนปจจุบัน

2) การนําเขาแรงงานตางชาติ ในชวงกลางทศวรรษ 1980 ประเทศญ่ีปุนมีเศรษฐกิจฟองสบูเจริญเติบโตสูงมากทําให

เกิดปญหาการขาดแคลนแรงงานอยางรุนแรงในขณะเดียวกันคนหนุมสาวญ่ีปุนก็ไมนิยมทํางานประเภท 3 D คือ ยาก (Difficult) สกปรก (Dirty) และอันตราย (Dangerous) เพราะคนหนุมสาวเหลานี้สวนใหญเกิดในครอบครัวท่ีมีฐานะและการศึกษาสูงกวาคนรุนพอแม ประกอบกับตลาดแรงงานในประเทศญ่ีปุนก็ดึงดูดความสนใจจากแรงงานตางชาติเนื่องจากคาเงินเยนสูงข้ึนอยางรวดเร็วจาก Plaza Agreement ในป 1985 ทําใหมีแรงงานตางชาติเขาไปทํางานในประเทศญ่ีปุนเพิ่มข้ึนจากประมาณปละไมเกิน 10,000 คนในชวงกลางทศวรรษ 1970 เปน 260,000 คน หรือรอยละ 0.2 ของประชากรญ่ีปุนท้ังหมดในป 1992 จากการประมาณการลาสุดคาดวาสัดสวนแรงงานตางชาติในญ่ีปุนสูงถึงรอยละ 1.44 ในป 1999 นอกจากนั้นยังมีแรงงานผิดกฎหมายซ่ึงคาดวาจะมีจํานวนประมาณ 270,000 คนดวย รัฐบาลญ่ีปุนจึงไดปรับปรุงกฎหมายเขาเมืองใหมในป 1989 โดยหาม

Page 74: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-74

แรงงานทักษะฝมือตํ่าทํางาน ลูกหลานชาวญ่ีปุนท่ีเกิดในตางประเทศอนุญาตใหอาศัยอยูในญ่ีปุนและทํางาน นายจางท่ีจางแรงงานผิดกฎหมายจะถูกลงโทษ

ตอมาในชวงตนทศวรรษ 1990 เศรษฐกิจฟองสบูส้ินสุดลงเกิดปญหาการวางงานทําใหการยายเขาของแรงงานตางชาติลดลงอยางมากในชวงคร่ึงทศวรรษแรกของ 1990 แตในชวงหลังทศวรรษ 1990 แรงงานตางชาติก็กลับเพิ่มข้ึนอีก แนวโนมเชนนี้สรุปไดวาเศรษฐกิจญ่ีปุนตองพึ่งแรงงานตางชาติอยางนอยก็งานบางประเภทหรืออุตสาหกรรมบางประเภท องคการสหประชาชาติไดประมาณการวาประเทศญ่ีปุนจะตองนําเขาแรงงานตางชาติโดยเฉลี่ย 600,000 คนตอป เพื่อรักษาขนาดของประชากรวัยทํางานใหคงอยูเทากับระดับปจจุบัน แตการประมาณการน้ีแมวาจะถูกตอง แตยากท่ีสังคมญ่ีปุนและรัฐบาลญ่ีปุนจะยอมรับเนื่องจากรัฐบาลญ่ีปุนเช่ือวา ความตองการแรงงานในอนาคตของประเทศญ่ีปุนจะลดลงไดหากเพิ่มผลิตภาพแรงงานไดจากนวัตกรรมใหม ๆ ทางดานเทคโนโลยี เชน เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) นอกจากนั้นอาจจะเพ่ิมจํานวนแรงงานในตลาดไดโดยพิจารณาใหสตรีและประชากรสูงอายุเขาสูตลาดแรงงานเพ่ิมข้ึน อยางไรก็ตามการท่ีสังคมประเทศญ่ีปุนมีประชากรสูงอายุเพิ่มมากข้ึนเร่ือย ๆ ในขณะท่ีคนหนุมสาวไมนิยมทํางาน 3 D จะทําใหประเทศญ่ีปุนจําเปนตองนําเขาแรงงานตางชาติเพิ่มมากข้ึนในอนาคตถึงแมจํานวนนําเขาจะไมสูงเทาท่ีองคการสหประชาชาติประมาณการโดยเฉพาะแรงงานท่ีมีฝมือและเช่ียวชาญในเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือใหประเทศญ่ีปุนสามารถแขงขันไดในตลาดโลก

3) การเพิ่มอายุเกษียณและการทํางานของผูสูงอายุ ในป 1994 Diet ไดอนุมัติใหขยายอายุเกษียณจาก 60 ปเปน65 ป ในขณะเดียวกันก็มี

มาตรการหลายอยางท่ีจะสนับสนุนใหผูสูงอายุทํางานในตลาดแรงงาน กระทรวงแรงงานของประเทศญ่ีปุนกําหนดใหทุกบริษัทในญ่ีปุนตองกําหนดอายุเกษียณของพนักงานเปนอายุ 60 ป เปรียบเทียบกับสถานการณเม่ือป 1990 มีเพียงรอยละ 64.1 ของบริษัทในญ่ีปุนเทานั้นท่ีกําหนดอายุเกษียณพนักงานท่ีอายุ 60 ป นอกจากนั้นยังมีการอุดหนุนหลายอยางเพ่ือสงเสริมใหผูสูงอายุทํางาน เชน ใหเงินอุดหนุนแกนายจางท่ีจางแรงงานอายุ 60 ปข้ึนไปไดรับแกแรงงานสูงอายุท่ีมีอายุตํ่ากวา 65 ปท่ียังคงทํางานอยู อยางไรก็ตามอัตราวาจางลดลงอยางมากเม่ืออายุ 60 ป ผลจากมาตรการดังกลาวทําใหประชากรสูงอายุญ่ีปุนมีอัตราเขาสูตลาดแรงงานสูงมากในป 1998 อัตราการเขาสูตลาดแรงงานของผูสูงอายุในญ่ีปุนท่ีมีอายุ 65 ปข้ึนไปสูงถึงรอยละ 35.9 ซ่ึงเปนอัตราท่ีสูงกวาประเทศในกลุม OECD ท้ังนี้เปนผลมาจากการเพ่ิมอายุเกษียณเปน 60 ปของบริษัทตาง ๆ ในญ่ีปุนในป 1999 มากกวารอยละ 99 ของบริษัทในญ่ีปุนกําหนดอายุเกษียณท่ีอายุ 60 ป

Page 75: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-75

2.5.3) กรณีศึกษาประเทศฝร่ังเศส ประชากรสูงอายุ (Population Ageing) เกิดข้ึนคร้ังแรกในประเทศฝรั่งเศสเม่ือปลาย

ศตวรรษท่ี 18 และขยายไปยังประเทศพัฒนาอ่ืน ๆ อยางชา ๆ โดยประชากรหญิงเกิดข้ึนมากกวา

ตารางท่ี 2.9: สัดสวนประชากรอายุ 60 ป และ 65 ปข้ึนไปในประเทศฝร่ังเศส 1776-1966

ป สัดสวนตอประชากรท้ังหมด 100 คน สัดสวนตอประชากรหญิง 100 คน

อายุ 60 ป ขึ้นไป อายุ 65 ปขึ้นไป อายุ 60 ปขึ้นไป อายุ 65 ปขึ้นไป 1776 7.3 4.4 7.3 4.5 1801 8.7 5.5 8.8 5.6 1851 10.1 6.6 11.1 7.2 1911 12.6 8.4 13.6 9.1 1921 13.7 9.1 14.5 9.8 1936 14.7 9.9 16.0 10.9 1946 15.9 10.9 17.9 12.4 1956 16.9 12.0 20.0 14.4 1966 17.7 12.3 20.6 15.0

ท่ีมา : J.D. Pitchford, “The Economics of Population: An Introduction” Austral: on National University Press, Canberra, 1974, p .305.

1) ผลกระทบจากประชากรสูงอายุในประเทศฝร่ังเศส ผลกระทบจากประชากรสูงอายุในประเทศฝรั่งเศส มีดังนี้

ผลกระทบประการแรก คือ การไมมีสตรีวัยเจริญพันธุอายุ 15-49 ป ท่ีมากเพียงพอ จํานวนสตรีวัยเจริญพันธุในฝรั่งเศสสูงข้ึนถึง 40 % ระหวางป 1950-1990 โดยมีจํานวนสูงถึง 14 ลานคนระหวางทศวรรษ 1990 แลวก็ลดลงในชวงทศวรรษ 2000 เปนตนไป ซ่ึงมีผลตอจํานวนประชากรในอนาคตของประเทศฝร่ังเศสเน่ืองจากทําใหมีจํานวนคนเกิดนอยลงเหลือประมาณ 600,000 คนตอปแทนท่ีจะมีจํานวนเกิด 850,000 คนตอปเหมือนในอดีต ทําใหปรามิดประชากรของประเทศฝร่ังเศสจะมีฐานที่แคบลงเร่ือย ๆ ในขณะท่ียอดของปรามิดก็จะขยายใหญข้ึนเร่ือย ๆ ซ่ึงสงผลใหประเทศฝร่ังเศสมีสัดสวนประชากรสูงอายุ (อายุ 60 ปข้ึนไป) มากกวาประชากรอายุ 0-24 ป เกือบสองเทาในป 2050และภายในป 2010 จํานวนประชากรอายุ 65 ปข้ึนไปจะมากกวาจํานวนประชากรอายุ 0-14 ป ซ่ึงปรากฏการณนี้จะเปนเร่ืองใหมในประวัติศาสตรของมนุษยชาติในอนาคตจํานวนผูสูงอายุจะมากกวาประชากรหนุมสาวเปนเร่ืองท่ีทาทายสําหรับสังคมฝร่ังเศส

ผลกระทบประการท่ีสอง คือ การเพิ่มข้ึนของงบประมาณเพื่อประชากรสูงอายุเกี่ยวกับคาใชจายบํานาญและรักษาพยาบาล การประกันสังคมในฝร่ังเศสสวนใหญเปนเร่ืองระบบบํานาญโดยตองใชจายสูงถึง 1,000 พันลานฟรังคฝร่ังเศสจากงบประมาณดานสังคมท้ังหมด 2,200

Page 76: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-76

พันลานฟรังคฝร่ังเศสและตองใชจายเปนคารักษาพยาบาลผูสูงอายุอีก 600 พันลานฟรังคฝร่ังเศส ในขณะท่ีครอบครัวและประชากรวัยเด็กไดรับงบประมาณเพียง 200 พันลานฟรังคฝร่ังเศส ปจจุบันคนฝร่ังเศสเกษียณอายุจากตลาดแรงงานโดยเฉล่ีย 58.5 ป ซ่ึงคอนขางตํ่าเนื่องจากคาเบ้ียบํานาญคอนขางสูงจูงใจใหคนฝร่ังเศสออกจากงาน ในขณะท่ีคนฝร่ังเศสรุนใหมเขาสูตลาดแรงงานเม่ือมีอายุสูงข้ึนโดยเฉล่ียประมาณ 22.5 ปเทียบกับในอดีตคนฝร่ังเศสเขาสูตลาดแรงงานเม่ือมีอายุเพียง 13 ปเทานั้น ทําใหประเทศฝรั่งเศสจําเปนตองเพ่ิมอายุเกษียณและลดระดับคาเบ้ียบํานาญใหตํ่าลงอยูในระดับท่ีเหมาะสมในอนาคตเพ่ือไมทําใหมาตรฐานการครองชีพของผูท่ีเกษียณสูงกวาผูท่ีกําลังทํางานอยูในตลาดแรงงาน

ตารางท่ี 2.10: แนวโนมประชากรในประเทศฝรั่งเศส: อดีต (1950-2000) และอนาคต (2000-2050) 2010 2030 2050 1950 1970 1990 2000 A B A B A B จํานวนประชากรรวม (ลานคน) 41.8 50.8 56.7 59.1 59.7 60.6 57.8 6 1 . 6 5 1 . 7 59.9 จํานวนสตรีอายุ 15-49 ป 10.3 12.0 14.1 14.4 13.8 13.8 11.6 12.4 9 . 5 11.8 (ลานคน) จํานวนประชากรอายุ 60 ปขึ้นไป 6.8 9.2 10.8 12.1 13.9 13.9 18.2 18.2 1 8 . 8 18.8 (ลานคน) อายุมธัยฐาน (ป) 34.5 32.3 34.7 37.6 40.3 40.8 43.6 46.1 4 3 . 9 49.8 สัดสวนของประชากรอายุ 60 ป ขึ้นไปตอประชากรอายุ 0-24 ป 0.43 0.44 0.54 0.64 0.77 0.81 1.04 1.30 1 . 1 2 1.63 สัดสวนประชากรอายุ 65 ป ขึ้นไปตอประชากรอายุ 0-14 ป 0 0 0 0.85 1.01 0.95 1.76 1.37 2 . 3 3 1.51

ที่มา : World Population Prospects: The 1998 Revision, vol. I Comprehensive Tables (United Nations publication, Sales No. E .99. XIII. 9) หมายเหตุ : A: ระดับตํ่า อัตราเจริญพันธุรวมลดลงจาก 1-71 ในชวงทศวรรษ 1990 เปน 1.56 ในชวงระหวางป 2005 -2010 แลวคงท่ีหลังจากน้ันระดับตํ่าน้ีเปนการลดลงของอัตราเจริญพันธุเล็กนอย B: ระดับปานกลาง: อัตราเจริญพันธุรวมเพิ่มขึ้นจาก 1.71 ในชวงทศวรรษ 1990 เปน 1.96 ในชวงระหวางป 2015 – 2020 แลวคงที่หลังจากน้ันระดับปานกลางน้ีเปนการเพ่ิมขึ้นของอัตราเจริญพันธุเล็กนอย

Page 77: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-77

ผลกระทบประการท่ีสาม คือ กําลังแรงงานของฝร่ังเศสท่ีโดยเฉล่ียมีอายุมากทําใหปรับตัวไดยาก การเคล่ือนยายแรงงานก็มีนอยท้ังทางดานพื้นท่ีและอาชีพและมีศักยภาพนอยท่ีจะปรับตัวเขากับการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจซ่ึงเปนอุปสรรคตอการมีนวัตกรรมใหม ๆ ซ่ึงจําเปนตอการแขงขันในตลาดโลก นอกจากน้ันยังมีประเด็นสําคัญเกี่ยวกับความเช่ือมโยงระหวางประชากรสูงอายุกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเนื่องจากการเปล่ียนแปลงในขนาดและโครงสรางของประชากรมีผลกระทบทางดานลบตอความตองการสินคาและบริการโดยเฉพาะสาขาการผลิตใหญ ๆ เชน ท่ีอยูอาศัยโครงสรางพื้นฐาน เคร่ืองใชตาง ๆ เปนตน ท้ังนี้ เพราะเม่ือจํานวนประชากรที่มีอายุนอย ๆ ลดลง การลงทุนในสาขาการผลิตท่ีเกี่ยวของก็ลดนอยลงไปดวยสงผลใหเกิดแรงกดดันทางลบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นอกจากนั้น ประชากรสูงอายุยังสงผลทางลบตอมูลคาของทรัพยสินตาง ๆ ดวย โดยเฉพาะในตลาดอสังหาริมทรัพย การลดลงของประชากรทําใหมีจํานวนท่ีอยูอาศัยท่ีวางเปลาสูงกวาความตองการสงผลใหราคาของอสังหาริมทรัพยลดลง ซ่ึงคนฝร่ังเศสสวนใหญนิยมซ้ือทรัพยสินในรูปของบานท่ีอยูอาศัยก็จะมีผลทําใหมูลคาทุนของครอบครัวลดลงไปดวย อยางไรก็ตาม การที่ประชากรสูงอายุก็จะเปดโอกาสใหกับตลาดใหม ๆ เกี่ยวกับผูสูงอายุในอนาคตดวย โดยจะเปนตลาดท่ีเกี่ยวของกับความตองการของผูสูงอายุ เชน แฟลต การใหบริการดานสุขภาพ ความปลอดภัย การแปรรูปอาหาร เปนตน

ผลกระทบประการสุดทาย เกี่ยวกับดานการเมือง เม่ือประชากรสูงอายุเพิ่มข้ึนมาก ซ่ึงประชากรเหลานี้ไมคอยยอมรับการเปล่ียนแปลงและมักจะพยายามรักษาสถานภาพตัวเอง เม่ือจํานวนผูสูงอายุเหลานี้เพิ่มมากข้ึนก็จะมีอํานาจตอรองมากและสามารถชวงชิงสัดสวนงบประมาณสาธารณะมาไดมากกวาผูท่ีกําลังทํางานและเสียภาษีใหรัฐ ดังนั้น แนวโนมท่ีจะมีความขัดแยงทางสังคมเกิดข้ึนในฝร่ังเศสระหวางผูท่ีเสียภาษีกับผูสูงอายุท่ีรับบํานาญหลังเกษียณ การไมกลาตัดสินใจท่ีจะเปล่ียนแปลงผลประโยชนท่ีไดรับจาการเกษียณอายุระหวางภาครัฐและเอกชน นอกจากทําใหมีคาใชจายเพิ่มข้ึนมากแลว ยังสงผลตอการปรับปรุงผลิตภาพการผลิตของประเทศดวย ทําใหประเทศฝร่ังเศสลาหลังในเร่ืองการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและนวัตกรรมใหม ๆ ในการจัดอันดับระหวางประเทศ

2) นโยบายตอบสนองตอประชากรสูงอายุในประเทศฝร่ังเศส

2.1) การนําเขากําลังแรงงานจากตางประเทศ การท่ีประเทศฝร่ังเศสเขาสูประชากรสูงอายุสงผลกระทบตอตลาดแรงงาน

เนื่องจากประชากรวัยทํางานอายุ 20-59 ป ไดเพิ่มข้ึนปละ 150,000 คน จนกระท่ังถึงป 2005 หลังจากนั้นจะลดลงอยางตอเนื่องโดยลดลงจากประชากรวัยทํางาน 32.85 ลานคนในป 2005 เหลือ 29.7 ลานคนในป 2050 สงผลใหเกิดปญหาการขาดแคลนแรงงานในฝร่ังเศสและเพื่อใหฝร่ังเศสมีแรงงาน

Page 78: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-78

พอเพียงกับความตองการ ฝร่ังเศสจึงตองนําเขาแรงงานจากตางประเทศท้ังในระดับ Low skill และ high skill เพิ่มข้ึนจากปละ 50,000 คน ต้ังแตป 2006 เปนประมาณ 100,000 คนตอปในป 2010 และจะตองนําเขาแรงงานเพ่ิมข้ึนตอไปอีกหลังจากป 2010

2.2) การปรับระบบประกันสังคม จากการคาดประมาณประชากรของฝร่ังเศสท่ีพบวา สัดสวนของประชากรอายุ 60

ปข้ึนไปจะมากกวาประชากรอายุ 0-24 ป เกือบ 2 เทาในป 2050 ทําใหประเทศฝรั่งเศสตองปรับระบบประกันสังคมต้ังแตป 1993 โดยเพิ่มจํานวนปในการทํางานของประชากรจากประมาณ 58.5 ปในปจจุบันใหเพิ่มมากข้ึนในขณะเดียวกันกับปรับอัตราการสงเงินสมทบเขาระบบประกันสังคมใหสูงข้ึน เพื่อใหระบบประกันสังคมอยูได

2.5.4) กรณีศึกษาประเทศเยอรมัน หลังสงครามโลกคร้ังท่ี 2 ประเทศเยอรมัน(ตะวันตกและตะวันออกรวมกัน) มีอัตราเจริญ

พันธุ (TFR) สูงข้ึนเล็กนอย เชนเดียวกับประเทศอ่ืน ๆ ในยุโรปตะวันตก โดยสูงข้ึนจาก 2.16 คนในชวงป 1950 – 1955 เปน 2.49 คนในชวงป 1960-1965 กอนท่ีจะลดลงอยางรวดเร็วเหลือเพียง 1.30 ในชวงป 1995-2000 องคการสหประชาชาติไดคาดวา อัตราเจริญพันธุจะเพ่ิมข้ึนเปน 1.64 ในป 2040-2050 แตจํานวนประชากรของประเทศเยอรมันก็จะลดลงจาก 81.7 ในป 1995 เหลือเพียง 50.7 ลานคนในป 2050 และเหลือ 24.3 ลานคนในป 2100และถามีการยายถ่ินเขาสุทธิปละ 250,000 คน จํานวนประชากรของประเทศเยอรมันก็จะลดลงเหลือ 66.1 ลานคนในป 2050 และเหลือ 50.0 ลานคนในป 2100 ซ่ึงการท่ีคาดวาจะมีผูยายถ่ินเขาสุทธิปละ 250,000 คน นับวาสูงกวาขอมูลจริงท่ีมีผูยายถ่ินเขาสุทธิเพียงปละ 170,000 คนในชวงทศวรรษ 1990 ดังนั้นเม่ือมีจํานวนผูยายถ่ินเขาสุทธินอยกวาท่ีคาดประมาณก็จะยิ่งทําใหการลดลงของจํานวนประชากรในประเทศเยอรมันรุนแรงยิ่งข้ึน

การลดลงของประชากรในประเทศเยอรมันทําใหจํานวนผูสูงอายุเพิ่มข้ึนในขณะท่ีจํานวนประชากรวัยแรงงานลดลง ปจจุบันอายุเฉล่ีย (Medium Age) ของประชากรในเยอรมันอยูท่ี 38 ป ซ่ึงหมายความวา 1 ใน 2 ของประชากรชายอายุมากกวา 37 ป ในขณะท่ี 1 ใน 2 ของประชากรหญิงอายุมากกวา 40 ป อายุเฉล่ียของประชากรเยอรมันจะสูงมากข้ึนเร่ือย ๆ เม่ือเวลาผานไป เนื่องจากจํานวนคนเกิดใหมลดลงและอายุคาดหมายเฉลี่ยของประชากร (life expectancy) เพิ่มข้ึนภายในป 2050 คาดวา 1 ใน 2 ของประชากรชายจะมีอายุมากกวา 51 ป และ 1 ใน 2 ของประชากรหญิงจะมีอายุมากกวา 55 ป ซ่ึงการคาดประมาณนี้มีสมมุติฐานวามีผูยายถ่ินเขาสุทธิปละ 150,000 คน หากไมมีการยายถ่ินเขาอายุเฉล่ียของผูชายจะเปน 53 ปและผูหญิง 58 ป จํานวนประชากรอายุต่ํากวา 20 ป ลดลงอยางตอเนื่องจาก 17.7 ลานคนในป 1998 เหลือ 9.7 ลานคนในป 2050 ในขณะเดียวกันจํานวนประชากรอายุ 80 ปข้ึนไปจะเพิ่มข้ึนจาก 3.0 ลานคนเปน 10.0 ลานคนในชวงเวลาเดียวกัน จํานวนประชากร

Page 79: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-79

อายุตํ่ากวา 40 ปท่ีเคยมากกวาจํานวนประชากรอายุ 60 ปข้ึนไป ในป 1998 (42.3 ลานคนตอ 17.9 ลานคน) จะกลับนอยกวาต้ังแตป 2030 สัดสวนของประชากรอายุตํ่ากวา 20 ป จะลดลงจากรอยละ 21.6 เหลือ 14.3 ในป 2050 ในขณะท่ีสัดสวนของประชากรอายุ 60 ปข้ึนไปจะเพิ่มข้ึนจากรอยละ 21.8 เปน40.9 ในป 2050 และสัดสวนของประชากรอายุ 80 ปข้ึนไปจะใกลเคียงกับสัดสวนของประชากรอายุตํ่ากวา 20 ป นับต้ังแตป 2050 เปนตนไป

ตารางท่ี 2.11 : จํานวนและสัดสวนของประชากรประเทศเยอรมัน: 1998-2080

กลุมอายุ 1998 จํานวน

(ลานคน)

สัดสวนรอยละ

2030 จํานวน

(ลานคน)

สัดสวนรอยละ

2050 จํานวน

(ลานคน)

สัดสวนรอยละ

2080 จํานวน

(ลานคน)

สัดสวนรอยละ

ตํ่ากวา 20 ป 17.7 21.6 12.0 15.5 9.7 14.3 7.8 14.6

20-39 ป 24.6 30.0 16.3 21.0 13.4 19.7 10.4 19.6

40-59 ป 21.9 26.7 19.9 25.7 17.1 25.2 13.1 24.7

60 ปขึ้นไป 17.9 21.8 29.4 37.9 27.8 40.9. 21.7 40.9

80 ปขึ้นไป 3.0 3.7 6.6 8.5 10.0 14.7 7.6 14.3

รวม 82.1 100.0 77.5 100.0 68.0 100.0 53.1 100.0

ที่มา : Institute for Population Research and Social Policy, University of Bielefeld, Germany

1) นโยบายท่ีตอบสนองตอการลดลงของประชากรและการเปนสังคมผูสูงอายุของประเทศเยอรมัน

1.1) นโยบายประชากร รัฐบาลเยอรมันไมเห็นวา การลดลงของประชากรเปนปญหาจึงไมมีนโยบายท่ีจะ

เปล่ียนแปลงแนวโนมอัตราการเจริญพันธุของประเทศโดยเห็นวา แบบแผนการบริโภคและการผลิตไมใชขนาดของประชากรท่ีมีผลกระทบตอการพัฒนาอุตสาหกรรมของเยอรมัน แตรัฐบาลเยอรมันใหความสําคัญกับนโยบายครอบครัวท่ีมีวัตถุประสงคเพื่อปรับปรุงสภาพความเปนอยูของเด็กและพอแมและมาตรการท่ีชวยใหพอและแมสามารถทํางานไดโดยไมมีปญหากับบทบาทในครอบครัวซ่ึงรัฐบาลเยอรมันหวังวาจะมีสวนชวยทางออมใหคนเยอรมันมีบุตรเพ่ิมข้ึน

1.2) การนําเขาแรงงานตางชาติ ประเทศเยอรมันไมเคยเห็นวา การนําเขาแรงงานตางชาติเพื่อรักษาขนาดและ

โครงสรางประชากรของประเทศในชวงทศวรรษ 1960 มีความจําเปนตองใชแรงงานทําใหประเทศเยอรมันตองนําเขาแรงงานตางชาติ ในเวลานั้น การนําเขาแรงงานตางชาติไดยุติลงในป 1973 มีการ

Page 80: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-80

ยกเวนใหกับสมาชิกของครอบครัวและบุคคลจากประเทศในสหภาพยุโรป จนเมื่อเร็ว ๆ นี้ไดมีการนําเขาแรงงานท่ีมีฝมือเฉพาะทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศโดยมีการจํากัดจํานวนนําเขาดวย ตอมาก็ไดมีการนําเขาผูเช่ียวชาญดานคอมพิวเตอร ดังนั้นประเทศเยอรมันจึงมีการนําเขาช่ัวคราวแรงงานตางชาติท่ีมีทักษะฝมือสูง

1.3 ) การปฏิรูประบบบํานาญ ประเทศเยอรมันยังไมตัดสินใจท่ีจะปฏิรูประบบบํานาญ ระบบท่ีใชอยูในปจจุบัน

เปนระบบ pay as you go ซ่ึงผูท่ีจะไดรับบํานาญจะตองมีอายุเกษียณแลว ดังนั้นระบบนี้จึงเปนระบบท่ีจายใหกับผูท่ีเกษียณอายุแลว โดยผูท่ีจายเงินสบทบเขากองทุนซ่ึงกําลังทํางานอยูในปจจุบัน และเม่ืออัตราสวนของผูท่ีรับบํานาญสูงกวาผูท่ีจายเงินเขากองทุนก็จะตองมีการเพิ่มเงินสมทบกับผูท่ีกําลังทํางานและจายเงินเขากองทุน (ปจจุบันรอยละ 20 ของรายได) ตลอดชวงอายุการทํางานจนกระท่ังเกษียณหรือลดอัตราการจายบํานาญใหกับผูท่ีเกษียณลง (ปจจุบันรอยละ 70 ของรายได) ซ่ึงท้ังสองแนวทางนี้ยังไมเปนท่ียอมรับทางการเมือง นอกจากน้ัน การเพิ่มอายุเกษียณจาก 60 ปเปน 65 ป ก็เปนไปไดยากเนื่องจากนายจางชอบท่ีจะจางแรงงานท่ีมีอายุนอยกวามากกวา ปจจุบันอาชีพหลายอยางยกเวนนักบินหรือผูเช่ียวชาญทางเทคโนโลยีสารสนเทศ แรงงานท่ีมีอายุ 40 หรือ 50 ป นายจางก็พิจารณาวาอายุสูงเกินไปแลวท่ีจะทํางาน

2.5.5) กรณีศึกษาประเทศเกาหลีใต ประเทศเกาหลีใตมีการเปล่ียนแปลงประชากรที่ใกลเคียงกับประเทศไทย คือ อัตราเจริญ

พันธุไดลดลงตํ่ากวาระดับทดแทนภายในเวลาส้ันเพียง 25 ป โดยอัตราเจริญพันธุไดลดลงอยางรวดเร็วจาก 6.0 คนในป 1960 เหลือ 1.6 คนในป 1987 และลดลงตอไปอีกเหลือ 1.48 คน ในป 1998 และ 1.42 ในป 1999 ไดมีการคาดการณวาถาอัตราเจริญพันธุระดับตํ่านี้ตอเนื่องไปในอนาคตประเทศเกาหลีใตจะมีประชากรคงท่ีประมาณ 52.8 ลานคนภายในป 2028 และจะเร่ิมลดลงหลังจากนี้

การลดลงของอัตราเจริญพันธุในประเทศเกาหลีใตเปนผลมาจากการเพ่ิมข้ึนของสัดสวนสตรีท่ีเปนโสดและทัศนคติของสตรีท่ีตองการลดจํานวนบุตร สัดสวนของสตรีอายุ 20 – 24 ปท่ีไมเคยสมรสเพ่ิมข้ึนจากรอยละ 57.3 ในป 1970 เปนรอยละ 83.3 ในป 1995 สัดสวนของสตรีอายุ 25 – 29 ป และ 30 – 34 ปท่ีไมเคยสมรสก็เพิ่มข้ึนดวยเชนกัน โดยสตรีอายุ 25- 29 ป เพิ่มข้ึนจากรอยละ 9.7 เปนรอยละ 29.6 และสัดสวนสตรีอายุ 30 -34 ป เพิ่มข้ึนจากรอยละ 1.4 เปนรอยละ 6.7 ในชวงระหวางป 1970 และ 1995 สงผลใหอายุเม่ือแรกสมรสของสตรีเพิ่มข้ึนจาก 21.6 ป ในป 1960 เปน 24.1 ป ในป 1980 และ 26.2 ป ในป 1998 และคาดวาสัดสวนของสตรีท่ีไมเคยสมรสและอายุเม่ือแรกสมรสของสตรีเกาหลีใตจะเพิ่มข้ึนอยางตอเนื่องไปอีกในอนาคต

Page 81: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-81

ผลจากการลดลงอยางรวดเร็วของอัตราเจริญพันธุในประเทศเกาหลีใตไดสงผลใหมีการลดลงของกําลังแรงงาและการเพ่ิมข้ึนของประชากรผูสูงอายุ สํานักงานสถิติแหงชาติของประเทศเกาหลีใตไดคาดประมาณประชากรของประเทศเกาหลีใตในอนาคตโดยมีสมมุติฐานอัตราเจริญพันธุจะอยูในระดับ 1.7 คนจนถึงป 2015 และเพิ่มข้ึนเปน 1.8 คน หลังจากนั้น ผลการคาดประมาณประชากรพบวา ประชากรของประเทศเกาหลีใตจะมีจํานวนสูงท่ีสุด 52.8 ลานคนในป 2028 และจํานวนประชากรวัยทํางานจะมีจํานวนสูงสุด 36.5 ลานคนในป 2018 แลวจะลดลงหลังจากนั้น ในขณะท่ีประชากรวัยสูงอายุอายุ 65 ปข้ึนไปจะเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องโดยมีอัตราเพ่ิมท่ีสูงมากโดยเฉล่ียรอยละ 4 ตอป สัดสวนประชากรวัยสูงอายุเพิ่มข้ึนจากรอยละ 7 ในป 2000 เปนสองเทา (รอยละ 14.3) ในป 2022 แสดงใหเห็นวา ประเทศเกาหลีใตกลายเปนสังคมผูสูงอายุ

Page 82: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “ศึกษาตลาดแรงงานเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-82

ตารางที่ 2.12 : จํานวนและสัดสวนประชากรของประเทศเกาหลีใต: 2000 - 2050

ป ประชากรรวม

จํานวน (พันคน) สัดสวน(รอยละ) อายุ 0-14 ป

จํานวน (พันคน) สัดสวน(รอยละ) อายุ 15-64 ป

จํานวน(พันคน) สัดสวน(รอยละ) อายุ 65 ป

จํานวน (พันคน) สัดสวน(รอยละ)

สัดสวนของประชากรวั ย ทํ า ง า น ต อประชากรอายุ 65 ปขึ้นไป

2000………… 47 275 100.0 10 233 21.7 33 671 71.2 3 371 7.1 10.01

2005………… 49 123 100.0 10 421 21.2 34 450 70.1 4 253 8.7 8.10

2010………… 50 618 100.0 10 080 19.9 35 506 70.1 5 032 10.0 7.06

2015………… 51 677 100.0 9 515 18.4 36 316 70.3 5 846 11.3 6.21

2020………… 52 358 100.0 9 013 17.1 36 446 69.7 6 899 13.2 5.29

2025………… 52 712 100.0 8 633 16.4 35 465 67.3 8 613 16.3 4.12

2030………… 52 744 100.0 8 448 16.0 34 130 64.7 10 165 19.3 3.36

2035………… 52 896 100.0 8 338 15.8 32 877 62.2 11 681 22.1 2.81

2040………… 52 810 100.0 8 175 15.5 31 584 59.8 13 051 24.7 2.42

2045………… 52 327 100.0 7 922 15.1 30 764 58.8 13 641 26.1 2.26

2050………… 51 546 100.0 7 687 14.9 29 935 58.1 13 924 27.0 2.15

ที่มา : Korea National Statistical Office, 1996

Page 83: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-83

ผลกระทบและนโยบายท่ีตอบสนองตอการท่ีภาวะเจริญพันธุอยูในระดับต่ําและการเขาสูสังคมผูสูงอายุของประเทศเกาหลีใต

1. นโยบายประชากร การลดลงอยางรวดเร็วของอัตราเจริญพันธุในประเทศเกาหลีใตไดสงผลใหเกิดปญหาตาง ๆ มากมาย เชน การขาดแคลนกําลังแรงงาน การไมสมดุลระหวางเพศเพราะคนเกาหลีใตนิยมมีบุตรชาย การเปนสังคมผูสูงอายุ เปนตน รัฐบาลเกาหลีใตจึงไดปรับเปล่ียนนโยบายประชากรของประเทศใหมจากการควบคุมปริมาณจํานวนประชากรไปสูการพัฒนาคุณภาพของประชากรในป 1966 โดยเนนคุณภาพชีวิตและสวัสดิการของประชากรเกาหลีใตและกําหนดเปาหมายของนโยบายประชากรใหม ดังนี้ ก) รักษาระดับภาวะเจริญพันธุใหอยูในระดับทดแทนและปรับปรุงอัตราการเจ็บปวยและการตายของประชากรเปนสวนหนึ่งของในความสําเร็จของกระบวนการพัฒนาท่ียั่งยืน ข) สงเสริมดานสุขภาพและสวัสดิการแกครอบครัว ค) ปองกันการไมสมดุลระหวางเพศเม่ือแรกเกิดและลดการทําแทง ง) ตอสูกับปญหาตาง ๆ เกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธในเด็กและเยาวชน จ) สงเสริมบทบาทสตรีโดยเพิ่มโอกาสการมีงานทําและสวัสดิการสังคมตาง ๆ ฉ) ปรับปรุงโอกาสการทํางานและใหบริการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพและสวัสดิการสังคมตาง ๆ ใหกับผูสูงอายุ

2. นโยบายสงเสริมโอกาสการมีงานทําใหผูสูงอายุ การเพิ่มข้ึนอยางรวดเร็วของผูสูงอายุในประเทศเกาหลีใตทําใหรัฐบาลเกาหลีใตโดยกระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการ ไดประกาศนโยบายสวัสดิการเพื่อผูสูงอายุในป 1995 และไดกําหนดมาตรการ 5 มาตรการที่จะเพิ่มโอกาสการมีงานทําของผูสูงอายุ ดังนี้ : ก) พัฒนาและเพ่ิมโอกาสการทํางานท่ีเหมาะสมใหกับผูสูงอายุ ข) ขยายอายุเกษียณและยกเลิกขอจํากัดเกี่ยวกับอายุสําหรับการจางแรงงานใหม ค) สงเสริมใหสาธารณชนเขาใจถึงความจําเปนท่ีจะตองใหผูสูงอายุทํางาน ง) กําหนดระบบที่เอ้ือใหองคกรตาง ๆ เสนอโอกาสการทํางานใหกับผูสูงอายุ จ) จัดสถานท่ีทํางานใหกับผูสูงอายุเพิ่มข้ึน

Page 84: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-84

3. นโยบายแกไขปญหาการขาดแคลนกําลังแรงงาน จากการคาดประมาณการพบวา หากประเทศเกาหลีใตตองการรักษาจํานวนประชากรวัยทํางานอายุ 15-64 ปใหคงท่ีไมลดลงในอนาคต ประเทศเกาหลีใตตองนําเขาประชากรวัยทํางานจํานวน 6.4 ลานคน ในชวงระหวางป 1995-2050 ซ่ึงรัฐบาลจะตองเผชิญการตอตานอยางมากเพราะประเทศเกาหลีใตเปนประเทศท่ีมีเช้ือชาติเดียวมาเปนเวลานานกวา 5,000 ป ดังนั้น กฎหมายเขาเมืองของประเทศเกาหลีใตจึงจํากัดใหมีการอนุญาตนําเขาแรงงานตางชาติเขามาทํางานไดในบางกิจการเทานั้น คือ การพิมพ การถายทอดเทคโนโลยี ธุรกิจ การลงทุน การศึกษาและวิจัย สันทานการ หรือการจางงานท่ีเสนอโดยรัฐมนตรีกระทรวงตาง ๆ แรงงานไรฝมือตางชาติจะไมมีการอนุญาต แตผูเขารับการฝกงานจะไดรับอนุญาตใหเขาประเทศได อยางไรก็ตาม เม่ือไมกี่ปมานี้ แรงงานไรฝมือจากตางประเทศไดเขามาทํางานในประเทศเกาหลีใตเพราะมีการขาดแคลนแรงงานในบางอาชีพ จํานวนแรงงานตางประเทศท่ีเขาไปทํางานในประเทศเกาหลีใตไดเพิ่มข้ึนจากไมกี่พันคนในชวงตนทศวรรษ 1980 เปนประมาณ 168,000 คน ในป 1999 และในจํานวนนี้รอยละ 65 เปนแรงงานตางประเทศท่ีเขามาทํางานอยางผิดกฎหมาย การนําเขาแรงงานตางประเทศอยางถูกตองตามกฎหมายเพื่อทดแทนแรงงานขาดแคลนอันเปนผลมาจากการลดลงของอัตราเจริญพันธุในประเทศเกาหลีใตยังเปนไปไดยากในอนาคตอันใกลเนื่องจากความกลัวท่ีจะสูญเสียเอกลักษณของเช้ือชาติเกาหลี ดังนั้น รัฐบาลเกาหลีใตจึงสงเสริมโอกาสใหสตรีทํางานในตลาดแรงงานเพิ่มข้ึน เพราะในประเทศเกาหลีใตมีการแบงแยกเพศในสังคมสูงมากโดยเฉพาะในสถานประกอบการ มีการแบงแยกเพศในการรับแรงงานใหม มีการใหคาจาง และผลประโยชนท่ีแตกตางกันระหวางเพศชายและเพศหญิง การแบงแยกเพศในทุกเร่ืองจําเปนตองยกเลิกใหไดเพื่อใหสตรีไดมีสวนรวมทํางานเพื่อแกไขปญหาการขาดแคลนแรงงานของประเทศ นอกจากนั้น สถานประกอบการยังมีบทบาทในการชวยแกไขปญหาการขาดแคลนแรงงานดวย รัฐบาลไดแนะนําใหสถานประกอบการปรับตัวท้ังในระยะส้ันและระยะยาว ในระยะส้ันสถานประกอบการควรใหส่ิงจูงใจเพิ่มข้ึนแกแรงงานปกติในรูปของคาลวงเวลา จางแรงงาน Part-time จางแรงงานตางชาติลดข้ันตอนการผลิตและผลผลิต สวนในระยะยาวควรเพิ่มคาจางและส่ิงจูงใจใหแรงงานทํางาน ปรับปรุงเง่ือนไขและส่ิงแวดลอมในการทํางาน ใชเทคโนโลยีท่ีใชแรงงานนอย/ ระบบอัตโนมัติ ปรับเปล่ียนไปใชเทคโนโลยีการผลิตท่ีใชแรงงานนอย ยายโรงงานการผลิตไปยังพื้นท่ี / ประเทศท่ีมีแรงงานมาก

Page 85: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-85

2.6 แนวโนมของความไมแนนอนและความเสี่ยงของระบบโลก (Risk and Uncertainty of World System)

การวิเคราะห แบบแผนการพัฒนาและ แนวโนมการเปล่ียนแปลงของโครงสรางประชากร การเปดระบบเศรษฐกิจสังคมตอการไหลเวียนของระบบขอมูลขาวสาร ทําใหเราทราบวา ประเทศไทยกําลังเขาสูสังคมผูสูงอายุ และ ระบบเศรษฐกิจของประเทศมีความออนไหวตอการเปล่ียนแปลงของบรรทัดฐานตางๆในสังคม และ วิธีการบริหารจัดการระบบเศรษฐกิจ และสังคมภายใตความไมแนนอนของระบบโลก ท่ีกําลังถูกกระทบจากปจจัยภายนอกซ่ึงระบบเศรษฐกิจ-สังคมไมสามารถควบคุมได เชน ภาวะโลกรอนอันเกิดจากกาซเรือนกระจก และสงผลตอความแปรปรวนตางๆของ ดินฟาอากาศ และ อุณหภูมิของโลก และกระทบตอความสามารถในการผลิตอาหารของโลก นอกจากนั้นระบบกลไกของโลกท่ีไมอาจแกปญหาการใชพลังงานท่ีมาจากน้ํามัน และถานหิน ท่ีสงผลตอสภาวะ โลกรอน สังคมโลกไมสามารถแกปญหาความขัดแยงตางๆทางสังคม เช้ือชาติ ศาสนา เผาพันธุ ท่ีแยงชิงทรัพยากรตางของโลกท่ีถูกใชจนเกินระดับพอดี และ ไมสามารถฟนคืนไดทันตอการบริโภค ความขัดแยงตางๆ แสดงออกทั้งในรูปสงครามใน และ นอกรูปแบบเชนการกอการรายขามชาติ ฯลฯ ผลกระทบจากโลกาภิวัตน นํามาท้ังปญหา และ โอกาสหากประเทศไทยสามารถเขาใจ ปญหา และ สามารถบริหารจัดการไดตามควรแกกรณี โดยสรุป การศึกษานี้เช่ือวา การพัฒนาของระเบียบโลกใหมตามกระแส โลกาภิวัตน นั้นมีประเด็นท่ีประเทศซ่ึงเปนสวนหนึ่งของกระแสโลกตองใหความสําคัญและปองกันปญหาท่ีอาจะเกิดข้ึน โดยประเด็นหลักๆท่ีนาสนใจ อาทิ

Page 86: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-86

แผนภูมิที่ 1 : ผลกระทบและผลไดจากโลกาภิวัตน

กระแสโลกาภิวัตน

การเปลี่ยนแปลงเขาสูยุค Molecular Economy

โครงสรางประชากร และพฤติกรรมผูบริโภคเปลี่ยนแปลง

การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตใหม และ Global Value Chain

ความเช่ือมั่นตอภาคธุรกิจลดลง /การควบคุมและออกกฎระเบียบของภาครัฐ,มากขึ้น

อาชญากรรมขามชาติ / อาชญากรรมไซเบอร / ภัยจากอินเตอรเนต

ความเสี่ยง และความไมแนนอน (Risk & Uncertainty)

ความสามารถในการแขงขันลดลง เศรษฐกิจ สังคม ไมย่ังยืน (รายไดไมเพิ่ม หนี้สินเพิ่ม)

ลดผลกระทบจากโลกาภิวัตน / เพิ่มโอกาสการไดประโยชนจากโลกาภิวัตน

โอกาส ผลกระทบ

ความกาวหนาของเทคโนโลยี

วิกฤติพลังงานและส่ิงแวดลอม

การระบาดของโรคอุบัติใหม

ภาพท่ี 2.71: ผลกระทบและผลไดจากโลกาภิวัตน

ผลกระทบดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ปจจุบันรอยละ 5 ของประชากรโลกขาดแคลนน้ํา และอีกรอยละ 5 ของประชากรโลกขาดแคลนน้ํา และอีกรอยละ 5 ของประชากรขาดแคลนนํ้าในข้ันวิกฤติ คาดวาภายใน ป ค.ศ .2050 ประมาณรอยละ 50 ของประชากรโลกจะประสบภาวการณขาดแคลนน้ํา การขาดแคลนนํ้าจะนําไปสูผลผลิตภาพเกษตรท่ีลดลง และอุปทานดานอาหารท่ีลดลง สงผลใหประเทศท่ีขาดแคลนน้ําตองพึ่งพิงการนําเขาอาหาร ในขณะท่ีอุปทานดานอาหารลดลงอาจสงผลใหราคาพืชผลเพิ่มสูงข้ึน นอกจากนั้นพลังงานท่ีใชอยูในปจจุบัน ไดแก น้ํามัน กาซธรรมชาติ ถานหิน โดยน้ํามันเปนพลังงานท่ีมีการใชสูงสุด รองลงมาคือ กาซธรรมชาติ วิกฤติพลังงานในปจจุบันนั้นจะสงผลใหพลังงานท่ีสามารถนํากลับมาไดใหม (Renewable energy) และพลังงานทางเลือกมีความสําคัญมากข้ึนในอนาคต ปญหาเหลานี้สวนหนึ่งเปนผลมาจากภาวะโลกไรพรมแดน ทําใหการแสวงหาและการดึงดูดทรัพยากรจากพื้นท่ีตางๆของโลกเปนไปดวยความเรง และ มากเกินกวาอัตราการสรางใหมนั่นเอง

การระบาดของโรคอุบัติใหม และโรคอุบัติซํ้า ซ่ึงสาเหตุหนึ่งจากการเคล่ือนยายคนอยางสะดวกเสรี นอกจากการแพรระบาดของโรคอุบัติใหมเชน SARS และ Bird Flue ท่ีคาดไมไดแตมีผลกระทบ

Page 87: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-87

รุนแรงแลว โรคระบาดบางโรคท่ีเคยหายไปจากประเทศไทยมีโอกาสกลับมาระบาดซํ้าอีกคร้ัง โดยเฉพาะการเขามาพรอมกับแรงงานอพยพ การระบาดดังกลาว สงผลกระทบทางลบตอสินคาท่ีเกี่ยวของธุรกิจการทองเท่ียวและการแตกต่ืนของประชาชน ขณะเดียวกันภาระคาใชจายดานสุขภาพของรัฐจะเพิ่มสูงข้ึน ซ่ึงอาจสงผลกระทบตอการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม อยางไรก็ตาม กระแสนิยมการสรางเสริมสุขภาพตามแนววิถีเอเชียหรือตะวันออก เชน การใชสมุนไพร การนวดและสปา การแพทยทางเลือก ฯลฯ จะเปนโอกาสท่ีชวยสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลท่ีต้ังเปาใหไทยเปนศูนยกลางสุขภาพแหงเอเชีย (health hub)

อาชญากรรม ยาเสพติด และอาชญากรรมขามชาติ มีแนวโนมสลับซับซอนเปนเครือขายท่ีสามารถสรางความเสียหายกระจายเปนวงกวางมากข้ึนเพราะความกาวหนาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาวะไรพรมแดนและความเขมขนขององคกรอาชญากรรมขามชาติ (Transnational Organized Crime) มีมากข้ึน ธุระกรรมผิดกฎหมายจะเช่ือมโยงกันและปรับเปล่ียนรูปแบบไดอยางแยบยลมากข้ึน เชน การคายาเสพติด การคามนุษย การคาประเวณี การฟอกเงิน อาชญากรรมทางเศรษฐกิจสมัยใหม หรืออาชญากรรมไซเบอร การคาสมบัติทางวัฒนธรรม ฯลฯ ซ่ึงเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ันพื้นฐานและละเมิดทรัพยสมบัติของชาติ นอกจากนี้ ยังมีภัยจากอินเตอรเน็ต (Internet Digital Crime) และภัยจากการกอการรายขามชาติ

2.7 การฉายภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมไทย จากแนวโนมของสภาวะดานตางๆของโลกดังกลาวขางตน อันประกอบดวย ภาวะโลกรอน และ

การเปล่ียนแปลงของภูมอากาศ การเปล่ียนแปลงโครงสรางประชากรสูสังคมผูสูงอายุ การเงินของโลกท่ีมีความไมแนนอน และความเส่ียงจากการไหลเขา-ออกของทุนการเงินโลก ความไมพอเพียงของพลังงาน และ ปญหาความม่ันคงทางอาหาร การรวมกลุมเศรษฐกิจ และ อาชญากรรมขามชาติ สามารถคาดการณไดวา เศรษฐกิจไทยตองมีการปรับตัวอยางขนานใหญ (Structural shift) ในหลายมิติ ไดแก การผลิตในภาคเกษตร มีโอกาส จากแนวโนมของความตองการอาหาร และ พลังงานจากพืชพลังงานท่ีมากข้ึน ท้ังนี้ข้ึนอยูกับความสามารถของคนไทยในการบริหารจัดการโอกาส และ ขอจํากัดตางใหเปนประโยชนสูงสุด ในอนาคตการผลิตอาหาร และพืชพลังงานตองอาศัยทุนมนุษย ในสวนของความรู (knowledge) ทักษะ (skills) และ ความสามารถเฉพาะงาน (competency) และ ปจจัยดานท่ีดินท่ีจําตองจัดสรรใหเหมาะสมกับการผลิตอาหาร และ พืชพลังงาน

ภาคอุสาหกรรมการผลิต มีแนวโนมท่ีผลิตสินคาท่ีใชฐานความรูเปนสําคัญ ความรูนี้ไดแก Nano-science, Material-science, Information and Communication science, และ Biological science ซ่ึงนําไปสู เทคโนโลยี ท่ีเปนการผสมผสานระหวางความรูนี้ ตัวอยางเชน เทคโนโลยี พลังงานแสงอาทิตยท่ีมีราคาถูก การส่ือสารไรสายในทองท่ีหางไกล การเขาถึงขอมูลขาวสารตลอดเวลา-ทุกสถานท่ี (ubiquitous information

Page 88: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-88

access, ubiquitous radio frequency identification tagging) ยานยนตรท่ีใชพลังงานทดแทนรวมกับพลังงานหลัก (hybrid vehicles) การวิศวกรรมเนื้อเยื้อ(tissue engineering) และ Quantum cryptography เปนตน

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดทําการวิเคราะหศักยภาพในการแขงขันของกลุมอุตสาหกรรม5 โดยใช Thailand Competitiveness Matrix (TCM) พบวาอุตสาหกรรมไทยแบงไดเปน 4 กลุมท่ีมีศักยภาพตาง ๆ คือ

(1) กลุมอุตสาหกรรมเพ่ืออนาคต (New wave Industries) (2) กลุมอุตสาหกรรมศักยภาพ (Potential Industries) (3) กลุมอุตสาหกรรมท่ีตองพัฒนา (Improving Industries) และ (4) อุตสาหกรรมท่ีตองปรับปรุง (Survival Industries)

ผลการวิเคราะหเบ้ืองตนพบวา กลุมอุตสาหกรรมเพ่ืออนาคตและกลุมศักยภาพเปนกลุมท่ีนาจะเปนกําลังสําคัญในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ปจจุบันการผลิตและการสงออกท่ีตองใชเทคโนโลยีระดับสูง-กลาง มีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของประเทศ (จัดในหนวยของ GDP) อุตสาหกรรมยานยนต อิเลคทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟา อยางไรก็ดี อุตสาหกรรมเหลานี้เปนอุตสาหกรรมประเภทมุงเนนการสงออก (Expert Oriented) และกอใหเกิดการนําเขาช้ินสวนและเทคโนโลยีจากตางประเทศคอนขางมาก การสรางเครือขายใหมีการเช่ือมโยงขางหนา (Forward Linkage) และขางหลัง (Backward Linkage) กําลังเร่ิมตนสรางความเขมขนของความสัมพันธ (Inter-Industrial Relationship)

ในอดีตจนถึงปจจุบัน อุตสาหกรรมไทยพ่ึงพาการใชแรงงานท่ีเขมขน (Labor Intensive) คาแรงไมสูงนัก การไมมีทางเดินแหงอาชีพ (Career Path) ท่ีชัดเจนและรายไดตํ่าทําใหแรงงานไมสนใจในการปรับปรุงประสิทธิภาพของตนเองและสงผลตอผลิตภาพ (Productivity) ของแรงงานตํ่าและขาดการตอยอดองคความรู

จากแนวโนมของการพัฒนาประเทศ พิจารณาจากการเปล่ียนแปลงของปจจัยตาง ๆท่ีสงผลตอการเปล่ียนแปลงของลําดับข้ันการพัฒนา (แทนดวยรายไดตอหัวประชากรในราคาคงท่ี) ปจจัยเหลานี้ไดแก

1) ปจจัยดานโครงสรางประชากร 2) ปจจัยดานการใชจายท่ีกําหนดรายจายประชาชาติไดแก การบริโภค การลงทุน

สงออก นําเขาและไหลเวียนของทุน 3) โครงสรางของการผลิต GDP วามีสัดสวนการผลิตจากภาคเกษตร,อุตสาหกรรมการ

ผลิตและบริการเปล่ียนแปลงไปอยางไร 4) ปจจัยดานการศึกษาวามีผูท่ีจบในระดับท่ีมีความรูสูงข้ึนในสัดสวนมากนอยเพียงใด 5) ปจจัยดานการจางงานวามีแรงงานท่ีมีทักษะความรูมากนอยเพียงใด

5 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แนวโนมการขยายตัวของอุตสาหกรรมเปาหมายใน 5 ป (2550-2554) และการพัฒนาพื้นที่รองรับ กรกฎาคม 2550

Page 89: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-89

6) ปจจัยท่ีเกิดจากการสนับสนุนและช้ีนําจากภาครัฐ ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ดานการส่ือสารมวลชน การใชขอมูลขาวสารและสารสนเทศ การใชเคร่ืองมือทางวิทยาศาสตรและการคํานวณ การใชจายภาครัฐในการวิจัยและพัฒนา การสรางสิทธิบัตรและทรัพยสินปญญา การสงออก-นําเขาสินคาทางเทคโนโลยี เปนตน

สภาพัฒนา ฯ เสนอกลุมอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพสูงใหแกอุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพดานการผลิตและการคา ไดแก ยานยนต ปโตรเคมี และพลาสติกเคมี อิเล็กทรอนิกส ผลิตภัณฑยาง เหล็กและเหล็กกลา ปลาและอาหารทะเลกระปองแปรรูปผักและผลไม

กลุมอุตสาหกรรมท่ีตองพัฒนาไดแก อุตสาหกรรมเฟอรนิเจอร เคร่ืองดื่ม ยา ส่ิงทอ แฟช่ัน เคร่ืองใชไฟฟา เคร่ืองใชในบานและสํานักงาน ผลิตภัณฑจากขาว น้ําตาลและเนื้อสัตว และสัตวปก

กลุมอุตสาหกรรมท่ีตองปรับปรุง ไดแก อุตสาหกรรมเคร่ืองจักร ผลิตภัณฑเหล็กช้ินสวนเรือ รางรถไฟ และเคร่ืองบิน อุตสาหกรรมแรอโลหะ กระดาษ ยาสูบ ผลิตภัณฑนม และอาหารสัตว

อุตสาหกรรมท่ีมีศักยภาพสูงท่ีคาดวาจะเกิดในอีก 5 ปขางหนา ไดแก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟา (ขอรับการสงเสริมการลงทุนในป 2549 260 โครงการและเงินลงทุน 80 พันลานบาท)

กลุมอุตสาหกรรมท่ีสรางโอกาสใหม (New S-Curve) ไดแกกลุมท่ีเช่ือมโยงกับสาขาเกษตรกรรม อุตสาหกรรมและบริการที่มุงเนนนําความสามารถหลัก (Core Competency) มาพัฒนาตอยอด (Value Creation) ไดแก อุตสาหกรรมท่ีใชความรูทางการแพทย อาทิเชน เซลตันแมนชีวิต (Stem Cell) อุตสาหกรรมท่ีเกี่ยวของกับสมองกลฝงตัว (Embedded Technology) อาทิเชน RFIF (Radio Frequency Identification Device) ท่ีจะชวยใหการติดตามสินคา – วัสดุภัณฑ ตาง ๆ มีตนทุนถูกลงและใชประยุกตในอุตสาหกรรมผลิตภัณฑท่ีใชในครัวเรือน , ยานยนต ,การแพทย ฯลฯ

สภาพัฒนา ฯ จึงต้ังเปาหมายอุตสาหกรรมหลักของประเทศดังตอไปนี้ 1) ปโตรเคมีและพลาสติก 2) ยานยนตและช้ินสวน 3) อิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟา 4) เหล็กและเหล็กกลา 5) ส่ิงทอและเคร่ืองนุงหม 6) ผลิตภัณฑยาง 7) อาหาร ผลิตภัณฑอาหาร โดยเฉพาะแปรรูปผักและผลไม 8) กระดาษและผลิตภัณฑกระดาษ 9) การผลิตเอทานอล

Page 90: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-90

10) การผลิตไบโอพลาสติก 2.7.1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย องคความรูและนวัตกรรม

อุตสาหกรรมปโตรเคมี อุตสาหกรรมปโตรเคมีตองการปรับปรุงและพัฒนาทักษะและความรูของปลอดอากรในดาน

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีดานการวิจัยและพัฒนา (วิศวกรดานวิจัย ฯ) ดานเทคนิคเฉพาะทาง (วิศวกรดานการผลิตและซอมบํารุงและชางเทคนิค) ดานการขายและการตลาด (นักการตลาดและการขาย) และคาดวามีความตองการบุคลากรเพิ่ม 3,000 คน และวิศวกร 670 คน

ท้ังนี้คุณสมบัติของบุคลากรท่ีผูประกอบการตองการ ไดแก 1) ความรู ความเขาใจดานเทคนิคอยางดีในดานการผลิต กลาวคือ

- Energy & Lose Control - Process Simulation - Material & Polymer Science - Reliability - Safety & Environment - Unit operation (Polymer Processing) - Basic Equipment Care - การวิจัยพัฒนา Catalyst Development - Advanced Polymer Chemistry - Customer Needs / Product Application

2) ทักษะการปฏิบัติท่ีเปนเลิศในกระบวนการผลิต ไดแก - Analytical / Problem Solving Skills - Knowledge Application - Learning Skills - Term work / Interpersonal - Leadership / Coaching Skills - English Skills

3) การพัฒนาทัศนคติและพฤติกรรมท่ีเหมาะสมอยางเปนระบบโดยใหมีความคิดสรางสรรคและสมบุกสมบัน (Hands-on) และใฝรู (Curiosity)

Page 91: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-91

อุตสาหกรรมยานยนตและชิ้นสวน บุคลากรไมพอในเชิงปริมาณและคุณภาพท้ัง 3 ระดับ คือ ระดับวิศวกร ระดับชางเทคนิคและ

ระดับแรงงาน โดยเฉพาะดานคุณภาพท่ีบุคลากรยังขาดความเช่ียวชาญเฉพาะทาง และขาดประสบการณตรงในกรณีผูท่ีจบการศึกษาใหม ๆ

อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกสและเคร่ืองใชไฟฟา ในป 2552 คาดวามีความตองการกําลังแรงงานระดับวิศวกรประมาณ 13, 547 คน ระดับ

ปวส. ประมาณ 37, 980 คน

ตารางท่ี 2.13: การประมาณการความตองการแรงงานของอุตสาหกรรมไฟฟาอิเล็กทรอนิกส ป 2550 – 2552

บุคลากร 2550 2551 2552

1. วิศวกร 1.1 การผลิต/ประกอบและบรรจุ 2,672 2,893 3,126 1.2 วิจัยและพัฒนา 1,594 1,726 1,865 1.3 ออกแบบ 1,875 2,030 2,194 1.4 ซอมบํารุง 1,172 1,269 1,371 1.5 ควบคุมคุณภาพ 1,500 1,624 1,755 1.6 อ่ืนๆ 2,766 2,994 3,236 รวม 11,579 12,536 13,547

2. ปวส. 1.1 การผลิต/ประกอบและบรรจุ 9,990 10,778 11,609 1.2 วิจัยและพฒันา 1,497 1,617 1,745 1.3 ออกแบบ 747 806 869 1.4 ซอมบํารุง 12,505 13,525 14,603 1.5 ควบคุมคุณภาพ 2,328 2,507 2,695 1.6 อ่ืนๆ 5,585 6,011 6,459 รวม 32,652 35,244 37,980

ที่มา : รายงานการศึกษาโครงการการศึกษาเพื่อจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาทรัพยากรมนุษยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของอุตสาหกรรม โดยสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ/มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาแหงประเทศไทย/สิงหาคม 2547

Page 92: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-92

อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกลา ในป 2552 มีความตองการแรงงานเพ่ิมข้ึน 62,002 คน ไทยเปนวิศวกร 3,861 คน และปวส. ท่ี

เปนชางเทคนิค 14,272 คน

อุตสาหกรรมส่ิงทอและเคร่ืองนุงหม คาดวาในป 2552 มีความตองการแรงงานเพ่ิม 4.96 แสนคน และตองการการพัฒนาองคความรู

และนวัตกรรมใหมๆ โดยเฉพาะเทคโนโลยีและเคร่ืองจักรท่ีทันสมัย หองปฏิบัติการทดสอบส่ิงทอ สภาพัฒนาฯ เสนอใหมีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางปญญาอาทิเชน การต้ังอุทยาน

วิทยาศาสตร ศูนยบมเพาะในมหาวิทยาลัยใหกระจายในท่ัวทุกภาคเพื่อรองรับอุตสาหกรรม ฐานความรูและสราง Cluster การผลิตท่ีใชปญญาและสรางระบบการวิจัยและพัฒนารวมระหวางมหาวิทยาลัย สถาบันเฉพาะทางรวมกับธุรกิจเอกชน

สภาพัฒนาฯ ใหความสําคัญกับการพัฒนามหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาในฐานะเปนแหลงผลิตบุคลากรรวมกับอุตสาหกรรม ตลอดจนการเปน Technology Licensing Office (TLO) และรวบรวมขอมูลธุรกิจ (Business Intelligence) ของอุตสาหกรรม พัฒนาการใชวัตถุดิบภายในประเทศ ลดปญหามลพิษและตอยอดภูมิปญญาไทยสูสากลในดานอุตสาหกรรม

2.8 การนําประเทศเขาสูสังคมและเศรษฐกิจฐานความรู แนวโนมของการพัฒนาท้ังดาน อุปทาน-อุปสงค ท่ีมีท้ังโอกาส และขอจํากัดตางๆ สําหรับประเทศ

ไทย แมจะมีโอกาส ประเทศของเราจําตองมีการบริหารจัดการโอกาสนั้นเกิดผลจริง พรอมๆกับการทําใหขอจํากัดตางๆผอนคลายลง ในกรอบยุทธศาสตร เราจําตองสรางใหประเทศไทยเขาสูสังคม-เศรษฐกิจฐานความรู

ประเทศไทยท่ีจําตองอิงการใชความรูเปนแหลงท่ีมาของการเจริญเติบโต (Sources of growth) เปนสําคัญ เพื่อขับเคล่ือนเศรษฐกิจ ส่ิงสําคัญคือ การสราง นวัตกรรม (innovation) อันเกิดจากการสรางความรู (knowledge creation) การแพรกระจายความรู (knowledge diffusion) โดยใชกลยุทธการสรางทรัพยสินทางปญญา เปนเคร่ืองมือเช่ือมโยงหวงโซมูลคา (innovation value chain) ในการผลิตสินคา และบริการ โดยเร่ิมจากการสรางความคิด (idea) การวิจัยและพัฒนาเพื่อแปลงความคิดไปสูรูปธรรม การใชประโยชน จากทรัพยสินปญญาท่ีไดจากการวิจัย-พัฒนา โดยการนําไปใชเองหรือโอนสิทธิใหผู อ่ืนใช (technology licensing assignment)

เพื่อสรางสังคม-เศรษฐกิจฐานความรู สําหรับประเทศไทย องคประกอบสําคัญท่ีควรสรางใหเกิดไดแก (1) การผลิตความรู (knowledge production) โดยการคนควา วิจัย พัฒนา ออกแบบ และ วิศวกรรมเพื่อใหไดความรูใหม (knowledge creation) และการไดมาซ่ึงความรูท่ีมีอยูแลว (knowledge acquisition) (2) การแพรกระจายความรู (knowledge diffusion) โดยใหการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหความรูซึม

Page 93: บทที่ 2 แนวโน มการเปล ี่ยนแปลงบร ิบทการพ ัฒนาของโลกและภ …research.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JEHO049/02JEHO049.pdfบทที่

โครงการ “โครงการศึกษาตลาดแรงงานเพ่ือรองรับสังคมผูสูงอายุ”

ศูนยบริการวิชาการแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2-93

ซับในผูเรียน และ นําไปสูการเผยแพรสูสาธารณะตอไป (3) การใชองคความรู (knowledge utilization) คือการใชความรูไปแกปญหา ในขบวนการผลิต การผลิตบริการสาธารณะ

ประเทศไทยควรสงเสริมใหมีการใชความรู ท่ีสามารถจัดระบบและบันทึกบนส่ือ (codified knowledge) โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเปนโครงสรางพื้นฐาน (knowledge infrastructure) เพื่อประมวล เก็บรักษา ถายโอน และส่ือสารในรูปเสียง และภาพ และความรูท่ีไมสามารถบันทึกได (tacit knowledge) เชน ประสบการณและทักษะ(embodied knowledge) สะสมในทรัพยากรมนุษย (human capital accumulation) โดยมีคนเปนพาหะสําคัญในการสราง กระจาย และใชความรูเพื่อนําไปสูการสรางส่ิงใหมๆ ไดแก ตัวผลิตภัณฑ กระบวนการผลิต คุณภาพวัตถุดิบการเขาถึงกลไกตลาดและการจัดการ ซ่ึงเรียกรวมๆวานวัตกรรม (innovation)

การสรางสังคมแหงการเรียนรู ใหเปนวัฒนธรรม ใหมโดยสรางใหคนไทยกลาคิดและกลายอมรับส่ิงใหมๆ เรียนรูจากความลมเหลว มีความไววางใจ กับเครือขายเดียวกัน และ แลกเปล่ียนเรียนรูกับเครือขายอ่ืน การมีกฎหมาย และแรงจูงใจ ใหความรูเปนทรัพยสินปญญา (Intellectual property หรือ IP) ตามกฎหมาย สรางกลไกทางการเงิน การคลัง การสรางสถาบันรองรับสิทธิ (IP Right) ในการสนับสนุนสงเสริมใหแปรความรูเปนทรัพยสินทางปญญาเพ่ือนําไปสูการสรางสังคม-เศรษฐกิจฐานความรู

ในการประชุมคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 8 มกราคม 2551 มีมติเห็นชอบในหลักการยุทธศาสตร และมาตรการในการนําประเทศไทยเขาสูสังคม-เศรษฐกิจฐานความรู โดยมีสาระสําคัญคือ (1) เตรียมความพรอม ในการสรางสังคมไทยใหเปนสังคมแหงการเรียนรู ใชความรูเปนพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ของประเทศ มีการพัฒนาความรูอยางตอเนื่อง ใหสามารแขงขันไดในกระแสโลกาภิวัตน (2) เปาหมายของการสรางสังคม-เศรษฐกิจสังคมฐานความรู ไดแก 1) การใหประชาชนสามารถเขาถึงอินเทอรเน็ต อยางท่ัวถึง ในราคาเหมาะสม 2) มีการวิจัย ประดิษฐคิดคน และจดสิทธิบัตรเพ่ิมข้ึน 3) มีการนําความรู เทคโนโลยี และ นวัตกรรม ผลการวิจัย และ พัฒนา ใชประโยชนเพิ่มข้ึน 4) มีกลไกสนับสนุนดานการเงิน การคลัง และ การลงทุน เพื่อการสราง พัฒนา และ การประยุกตใชความรูเทคโนโลยี และ นวัตกรรม ใหเกิดผลในทางปฏิบัติ 5) มีการสงเสริม และพัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหเปนแรงงานความรู และ เปนผูสรางและพัฒนาองคความรู เทคโนโลยี และ นวัตกรรม