บทที่ 6 อภิปรายผลการศ...

40
การศึกษาวิจัยสวัสดิการมาตรฐานที่แรงงานนอกระบบพึงไดรับ :นโยบายและแนวทางการ สงเสริมสวัสดิการใหแรงงานนอกระบบมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อศึกษาใหทราบขอมูลเกี่ยวกับ สวัสดิการและรูปแบบสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบไดรับในปจจุบัน และควรที่จะไดรับเพิ่มเติม ตลอดจนศึกษาใหทราบขอมูลเกี ่ยวกับความสามารถของแรงงานนอกระบบในการดําเนินการจัด สวัสดิการใหแกตนเองและกลุโดยพิจารณาจากกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยจากสวัสดิการทีเหมาะสมประกอบดวย สวัสดิการ 23 ประเภท ทั้งนีไดจัดกลุมประเภทสวัสดิการที่มีความ คลายคลึงกันใหอยูในประเภทเดียวกัน จึงเหลือสวัสดิการ 17 ประเภทที่ใชในการศึกษาวิจัยในครั้งนีโดยเรียงตามลําดับตามความตองการสวัสดิการที่มีความจําเปนเรงดวน (จากมากไปหานอย) ไดแก 1) การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัวและเงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวยแก แรงงานนอกระบบ 2) การใหบริการเงินกูฉุกเฉินแกแรงงานนอกระบบ 3) การออมทรัพยกรณีบํานาญ ใหแกแรงงานนอกระบบ 4) ผลประโยชนคาตอบแทน/ ประกันรายไดขั้นต่ํา และผลประโยชนทดแทน กรณีทุพพลภาพ 5) การประกันอุบัติเหตุ / การประกันภัยแกแรงงานนอกระบบ 6) การประกันชีวิตใหแก แรงงานนอกระบบ 7) การออมทรัพยแกแรงงานนอกระบบ 8) การเสี่ยงภัยและสภาพการทํางานที่ไม เหมาะสมของแรงงานนอกระบบ 9) การทําบําเหน็จใหแกแรงงานนอกระบบ 10) ความตอเนื่องในการ จางงานแกแรงงานนอกระบบ 11) การจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพแกแรงงานนอกระบบ 12) การบริการ อาหารกลางวันแกแรงงานนอกระบบ และเงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวยแกแรงงานนอกระบบ 13) การพัฒนาทักษะฝมือและคาฝมือใหแกแรงงานนอกระบบ 14) การใหบริการและคาใชจายดานทีพัก/ที่อาศัย แกแรงงานนอกระบบ 15) การใหบริการรถรับ- สง และคาเดินทางแกแรงงานนอกระบบ 16) จัดนันทนาการ/กีฬา/บันเทิง/ทองเที่ยว ใหกับแรงงานนอกระบบ 17) รัฐควรสนับสนุนเรื่องเครื่อง แตงกายในการทํางาน ในการนีไดคนพบขอสังเกตจากผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับสวัสดิการ 17 ประเภท ที่ควรนํามาอภิปรายโดยพิจารณาจากประเภทสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบมีความตองการมาก ที่สุด 5 อันดับแรก โดยแยกออกเปน 9 ประเภทสวัสดิการ ดังนีบทที6 อภิปรายผลการศึกษา

Upload: others

Post on 12-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

การศึกษาวิจัยสวัสดิการมาตรฐานที่แรงงานนอกระบบพึงไดรับ :นโยบายและแนวทางการสงเสริมสวัสดิการใหแรงงานนอกระบบมีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อศึกษาใหทราบขอมูลเกี่ยวกับสวัสดิการและรูปแบบสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบไดรับในปจจุบัน และควรที่จะไดรับเพิ่มเติม ตลอดจนศึกษาใหทราบขอมูลเกี่ยวกับความสามารถของแรงงานนอกระบบในการดําเนินการจัดสวัสดิการใหแกตนเองและกลุม โดยพิจารณาจากกรอบแนวคิดในการศึกษาวิจัยจากสวัสดิการที่เหมาะสมประกอบดวย สวัสดิการ 23 ประเภท ทั้งนี้ ไดจัดกลุมประเภทสวัสดิการที่มีความคลายคลึงกันใหอยูในประเภทเดียวกัน จึงเหลือสวัสดิการ 17 ประเภทที่ใชในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ โดยเรยีงตามลําดับตามความตองการสวัสดิการท่ีมีความจําเปนเรงดวน (จากมากไปหานอย) ไดแก 1) การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัวและเงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวยแกแรงงานนอกระบบ 2) การใหบริการเงินกูฉุกเฉินแกแรงงานนอกระบบ 3) การออมทรัพยกรณีบํานาญใหแกแรงงานนอกระบบ 4) ผลประโยชนคาตอบแทน/ประกันรายไดขั้นต่ํา และผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพ 5) การประกันอุบัติเหตุ/การประกันภัยแกแรงงานนอกระบบ 6) การประกันชีวิตใหแกแรงงานนอกระบบ 7)การออมทรัพยแกแรงงานนอกระบบ 8) การเสี่ยงภัยและสภาพการทํางานที่ไมเหมาะสมของแรงงานนอกระบบ 9) การทําบําเหน็จใหแกแรงงานนอกระบบ 10) ความตอเนื่องในการจางงานแกแรงงานนอกระบบ 11) การจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพแกแรงงานนอกระบบ 12) การบรกิารอาหารกลางวันแกแรงงานนอกระบบ และเงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวยแกแรงงานนอกระบบ 13) การพัฒนาทักษะฝมือและคาฝมือใหแกแรงงานนอกระบบ 14) การใหบริการและคาใชจายดานที่พัก/ที่อาศัย แกแรงงานนอกระบบ 15) การใหบริการรถรับ-สง และคาเดินทางแกแรงงานนอกระบบ 16) จัดนันทนาการ/กีฬา/บันเทิง/ทองเที่ยว ใหกับแรงงานนอกระบบ 17)รัฐควรสนับสนุนเรื่องเครื่องแตงกายในการทํางาน

ในการนี้ ไดคนพบขอสังเกตจากผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวของกับสวัสดิการ 17 ประเภท ที่ควรนํามาอภิปรายโดยพิจารณาจากประเภทสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบมีความตองการมากที่สุด 5 อันดับแรก โดยแยกออกเปน 9 ประเภทสวัสดิการ ดังนี้

บทที่ 6 อภิปรายผลการศกึษา

Page 2: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

230

จากผลการศึกษาขอมูลเชิงปริมาณพบวาโดยภาพรวมแลวสวัสดิการมาตรฐานที่แรงงานนอกระบบมีความตองการมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ (ตารางที่ 55 หนา 469-472) 1. การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัว และเงินชดเชยการขาดรายได กรณีเจ็บปวย

2. การใหบริการเงินกูฉุกเฉินแกแรงงานนอกระบบ 3. การออมทรัพยกรณีบํานาญใหแกแรงงานนอกระบบ 4. ผลประโยชนคาตอบแทน การประกันรายไดขั้นต่ํา และผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพ 5. การประกันอุบัติเหตุ และการประกันภัยแกแรงงานนอกระบบ

โดยภาพรวมแลวสวัสดิการมาตรฐานที่แรงงานนอกระบบมีความตองการมากที่สุด คือ สวัสดิการการรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัว ซ่ึงตรงกับผลการศึกษาขอมูล เชิงคุณภาพ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากแรงงานในระบบมีสิทธิไดรับสวัสดิการจากการทํางานทั้งจากการประกันสังคมหรือจากสถานประกอบการบางแหงที่นายจางจัดเพิ่มเติมใหนอกเหนือจากที่กฎหมายกําหนด ซ่ึงแตกตางกับแรงงานนอกระบบสวนใหญที่ยังไมมีสิทธิไดรับสวัสดิการจากการทํางาน โดยเฉพาะอยางยิ่งดานการรักษาพยาบาลทั้งในกรณีเจ็บปวยหรือประสบอุบัติเหตุจากระบบประกันสังคมเหมือนกับแรงงานในระบบ ทั้งนี้ สวัสดิการที่แรงงานนอกระบบมีความตองการมากที่สุด สามารถแยกไดเปน 9 ประเภทดังนี้

1. การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัว ตามความหมายของการศึกษาวิจัย ในครั้งนี้ หมายถึง สวัสดิการสําหรับแรงงานนอกระบบดานคาใชจายในการรักษาพยาบาลจาก ความบาดเจ็บหรือเจ็บปวยอันเนื่องมาจากการทํางาน หรือการประกอบอาชีพ ตลอดจนการขยายความคุมครองดังกลาวถึงบุคคลในครอบครัวไดแก บิดา-มารดา หรือ บุตร ทั้งนี้ความคุมครอง ตามความหมายในการศึกษาวิจัยดังกลาวสอดคลองกับความคุมครองระบบสวัสดิการในปจจุบันของประเทศไทยที่มีการจัดระบบสวัสดิการสุขภาพหลักอยู 3 ระบบ (สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ,2549) ไดแก ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ ระบบประกันสังคม และระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา โดยแตละระบบจะมีประชากรเปาหมาย ความคุมครองที่แตกตางกัน และมีขอจํากัดหรือขอสังเกตุ ตามตารางดังนี้

6.1 สวัสดิการมาตรฐานที่แรงงานนอกระบบมีความตองการมากที่สุด

Page 3: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

231

ตารางที่ 6.1 แสดงสวัสดิการประกันสุขภาพหลักของประเทศไทย สวัสดิการดานการรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัว

สวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการ

(กลุมงานสวัสดกิารรักษาพยาบาลขาราชการ

กรมบัญชีกลาง

การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยจากระบบประกันสังคม

การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยจากระบบหลักประกันสุขภาพ

ถวนหนา

ขอสังเกตที่ไดจากการศึกษาวิจัย

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1. คุมครองแกขาราชการ /ลูกจางประจํา /ลูกจางชาว ต า ง ป ร ะ เ ทศที่ ไ ม ไ ด รั บสวัสดิการอื่น 2.บุคคลในครอบครัว สิทธิประโยชน กรมบัญชีกลางไดพัฒนาร ะ บ บ เ บิ ก จ า ย ต ร ง ค ารักษาพยาบาลสําหรับผูปวยนอก โดยไมตองสํารองจายในกลุมโรคเร้ือรัง 4 โรค ใหครอบคลุมถึงผูปวยนอกอยางตอเนื่อง

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1. มีอายุไมต่ํากวา 15 ปบริบูรณ และไมเกิน 60 ปบริบูรณ ไมเปนผูทุพพลภาพ สิทธิประโยชน 1.ลาคลอดบุตร เหมาจ า ย 3,000 บาท/คร้ัง คนละ ไมเกิน 2 คร้ัง ทั้งนี้ตองเป นผู ประกันตนมาแลวไมนอย กวา 9 เดือน ติดตอกัน 2. การรักษาพยาบาลตามอาการ ทุพพลภาพ เทาที่จายจริงแตไมเกินเดือนละ 1,000 บาท 3. ตาย คาทําศพ 100 เทาของคาจางขั้นต่ํ ารายวัน อัตราสูงสุดปจจุบัน 194 บาท/วัน) โดยแบงเปน 3.1 กรณีตายดวยอุบัติเหตุไดรับสิทธิทันที 3.2 กรณีตายดวยสาเหตุอื่นมีสิทธิหลังจากเดือนที่ผู ประกันตนไดออกเงินสมทบ

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1. เปนบุคคลสัญชาติไทย 2 . ไ ม มี สิ ท ธิ ป ร ะ กั น ด า นสุขภาพภาครัฐดานอื่นๆ สิทธิประโยชน 1. ไดรับการตรวจ การวินิจฉัย การรักษา ทางการแพทยจนสิ้นสุดการรักษา 2. คุมครองคาอาหาร และคาหองสามัญ 3. การคลอดบุตร รวมกันไมเกิน 2 คร้ัง 4. การดูแลสุขภาพเด็ก 5. ยาตานไวรัสเอดส 6. การรักษาสุขภาพฟน 7. ยาและเวชภัณฑตามกรอบบัญชียาหลักแหงชาติ

ส วั ส ดิ ก า ร รั ก ษ า พ ย า บ า ลขาราชการ การเบิกจาย ยังมีขอจํากัดคือ สามารถเบิกจายไดเฉพาะยาในบัญชียาหลักแหงชาติ และยานอกบัญชีฯ ที่คณะกรรมการแพทยวินิจฉัยและออกหนังสือรับรองวาจําเปนตองใช เทานั้น สวัสดิการรักษาพยาบาลจากระบบประกันสังคม บริการมี คุณภาพต่ํ ามี ปญหาเ กี่ ย ว กั บ ม า ต ร ฐ า น ก า รรักษาพยาบาล เนื่ องจากเงินประกันสุขภาพรายหัวต่ํา แพทยมีนอยและลาออกไปทํางานในภาคเอกชน ทําใหมีคุณภาพการรักษาต่ําลง การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยจากระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนา ปญหาคลายคลึงกับการประกันสังคม อาทิ การใหบริการมี คุณภาพต่ํ า ปญหา เกี่ ย วกั บมาตรฐานการรั กษาพยาบาล คุณภาพยาที่จาย เปนตน

จากตารางที่ 6.1 แสดงสวัสดิการการประกันสุขภาพหลักของประเทศไทย ในดาน การรักษาพยาบาลของระบบประกันสุขภาพหลัก ทั้ง 3 ระบบ นั้นพบวา ขอจํากัดของสวัสดิการรักษาพยาบาลขาราชการไดแก มาตรฐานยาที่ไดรับแตกตางกับการใชบริการรักษาพยาบาลภาคเอกชน ทั้งนี้เนื่องจากสามารถเบิกจายไดเฉพาะยาในบัญชียาหลักแหงชาติ และยานอกบัญชีฯ ที่คณะกรรมการแพทยวินิจฉัยและออกหนังสือรับรองวาจําเปนตองใช เทานั้น ในขณะที่สวัสดิการระบบประกันสังคมมีขอจํากัดทั้งในดานมาตรฐานในการใหบริการมีคุณภาพต่ํารวมถึงยาที่ไดรับ

Page 4: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

232

ดวย สําหรับการรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยจากระบบหลักประกันสุขภาพถวนหนานั้น มีมาตรฐานในการใหบริการและคุณภาพของยาต่ําเปนลําดับสุดทาย

อยางไรก็ตามมีขอสังเกตวา มาตรฐานของสวัสดิการทั้ง 3 ระบบ มีขอจํากัดที่คลายคลึงกันและสอดคลองกันคือ มาตรฐานของยาที่ใชในการรักษาพยาบาล กลาวคือ มาตรฐานยายังคงเปนยาในบัญชียาหลักแหงชาติ ซ่ึงมีคุณภาพยาที่ต่ํากวาคุณภาพยาที่ใชในโรงพยาบาลภาคเอกชน แมวาจะเปนยาที่สามารถรักษาใหหายไดเชนเดียวกันก็ตาม แตระยะเวลาการรักษาอาจใชเวลานานเกินจําเปน ทําใหเสียงบประมาณในการรักษาเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้มาตรฐานการใหบริการของเจาหนาที่ในสถานพยาบาลที่ใหบริการสวัสดิการทั้ง 3 ระบบนั้น ยังมีคุณภาพต่ําเมื่อเทียบกับสวนที่ใหบริการรักษาพยาบาลในภาคเอกชน

แมวารัฐไดพยายามพัฒนาการคุมครองทางสังคม โดยเฉพาะอยางยิ่งการขยายความคุมครองสวัสดิการใหครอบคลุมแรงงานนอกระบบ (สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2549) ซ่ึงขาดสถานะที่เปนทางการหรือสถานะทางกฎหมาย รายไดจํากัดและไมสม่ําเสมอ การจางงานหรือสภาวะทางธุรกิจไมมั่นคง และมีโอกาสประสบความเสี่ยงสูงจากการเจ็บปวยและประสบอันตรายเนื่องจากการทํางาน การสูญเสียรายไดเนื่องมาจากสาเหตุดังกลาว ซ่ึงมาจากการขาดความคุมครองจากกฎหมายแรงงานและกฎหมายคุมครองทางสังคม แตแรงงานนอกระบบ สวนใหญยังคงตองพึ่งระบบสวัสดิการจากระบบประกันสุขภาพถวนหนาในการรักษาพยาบาลทั้งนี้เนื่องจาก เปนระบบสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบสามารถเขาถึงและมีความจําเปนแกแรงงาน เมื่อไดรับบาดเจ็บ หรือเจ็บปวยและมีความจําเปนจะตองเขารับการรักษาพยาบาล เพื่อบรรเทาหรือรักษาชีวิตไวใหดํารงอยู แตในสภาพความเปนจริงแรงงานนอกระบบที่อยูในระบบสวัสดิการขางตน ยังคงพบปญหาและอุปสรรคในการรักษาพยาบาลดวยขอจํากัดดังกลาวขางตน

2. เงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวย ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้หมายถึงเงินชดเชยรายไดในกรณีแรงงานนอกระบบไดรับบาดเจ็บ / เจ็บปวยหรือทุพพลภาพอันเนื่องมาจากการทํางานหรือการประกอบอาชีพ ทําใหไมสามารถทํางานสรางรายไดในชวงระยะที่เขารักษาพยาบาลได

อยางไรก็ตาม ในปจจุบันมีการจัดตั้งกองทุนทั้งที่เปนสวัสดิการจากรัฐและการรวมกลุมกันเพื่อจัดสวัสดิการภาคประชาชน โดยมีรายละเอียดสวัสดิการที่สําคัญดังนี้

Page 5: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

233

ตารางที่ 6.2 แสดงสวัสดิการดานเงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวย สวัสดิการดานเงินชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวย

กองทุนเงินทดแทน (พระราชบัญญัติเงนิทดแทน

พ.ศ.2537)

สวัสดิการชุมชนตําบล คลองเปยะ จ.สงขลา ของ

ครูชบ ยอดแกว

ภาคเอกชน ท่ัวไป

(บริษัท เอไอเอ จก.)

ขอสังเกตที่ไดจากการศึกษาวิจัย

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ -นายจางจายที่มีลูกจางตั้งแต 1 คนขึ้นไปจายเงินสมทบเพียงฝายเดียว ปละ 1 คร้ัง ระหวางอัตรารอยละ 0.2 - 1.0 สิทธิประโยชน จะได รับเงินชดเชยในกรณีดังตอไปนี้ 1.ก ร ณี ห ยุ ด พั ก รั ก ษ า ตั วติดตอกันเกิน 3 วันขึ้นไป 2.กรณีสูญเสียอวัยวะ ไดรับเงินทดแทน ไมเกิน 10 ป 3. กรณีทุพพลภาพ ไดรับคาทดแทนรายเดือนไมเกิน 15 ป เดือน เปนเวลา 8 ป 4.กรณีตายหรือสูญหาย ไดรับคาทําศพ และคาทดแทนอัตรารอยละ 60 ของคาจางรายเดือน เปนเวลา 8 ป

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1.ทุกคนในเขตเทศบาลที่มีอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป เปนสมาชิกได สิทธิประโยชน สวัสดิการของสมาชิก มีผลคุมครองทันทีหลังสมัคร คือ ถานอนโรงพยาบาลและมีใบรับรองจากแพทย กองทุนชวยเหลือคืนละ 200 บาทเปนคาขาดรายได โดยมารับไดทั น ที ห ลั ง อ อ ก จ า กโรงพยาบาล หากเสียชีวิตกองทุนชวยงานศพละ 8,000 บาท โดยนําใบมรณะบัตรมาแสดงที่สํานักงานกองทุน

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1. ผูมีอายุในชวง 6-55 ปบริบูรณ 2.เปนผูที่มี รายไดหรือตามเ งื่ อ น ไ ขที่ บ ริ ษั ท ป ร ะ กั นกําหนด 3. มีสุขภาพรางกายแข็งแรง ไมเปนโรครายแรงตอเนื่อง สิทธิประโยชน 1. ชดเชยรายไดรายวันอันเนื่องมาจากการบาดเจ็บทางรางกายโดยอุบัติเหตุหรือการเจ็บปวย 2. ตองเขาพักรักษาตัวในโรงพยาบาลในฐานะผูปวยใน 3. วงเงินการชดเชยเริ่มที่วันละ 400 บาท ขึ้นกับความสมัครใจในการจายเบี้ยประกันไป และการพิ จ า รณาของบริษัทที่รับประกัน

1. ระเบียบของหนวยงานของรัฐไมสามารถใหการสมทบเงินกองทุนสวัสดิการชุมชนได 2.การเขาถึงสวัสดิการของแรงงานนอกระบบดานนี้ มีเพียงสวัสดิการชุมชนที่จัดตั้งขึ้นมา เนื่องจากไมมีนายจางหรือผูวาจางจายเงินสมทบในกองทุนเงินทดแทน

จากตารางที่ 6.2 พบวา การชดเชยการขาดรายไดกรณีเจ็บปวย ของกองทุนประกันสังคม

กองทุนสวัสดิการชุมชน และสวัสดิการในภาคเอกชนนั้น มีวัตถุประสงคในการความคุมครองไปในทางเดียวกันคือมุงหมายเพื่อชดเชยรายไดในกรณี บาดเจ็บ หรือเจ็บปวยและเขารักษาตัวทําให ไมสามารถทํางานได แตกตางกันที่จํานวนเงินที่จายเขากองทุนหรือเงินจายเขาสูภาคเอกชน อยางไร ก็ตามการชดเชยการขาดรายได ยังมีขอจํากัดที่เห็นไดชัดคือ กฎระเบียบของหนวยงานของรัฐ ไมสามารถใหการสมทบเงินกองทุนสวัสดิการชุมชนได จึงทําใหจํานวนเงินในกองทุนสวัสดิการชุมชนมีไมมากนัก สงผลใหเงินที่ไดรับชดเชยไมเพียงพอกับความตองการ ประกอบกับแรงงานนอกระบบยังมีปญหาในการเขาถึงสวัสดิการจากระบบอื่นจึงตองพึ่งพากองทุนสวัสดิการชุมชน อยูตอไป

Page 6: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

234

3. การใหบริการเงินกูฉุกเฉินแกแรงงานนอกระบบในการศึกษาวิจัยนี้ หมายความถึงเงินกูเพื่อใชจายหรือประกอบอาชีพจากเงินสมทบของกลุมตาง ๆ ที่รวมตัวกัน เชน สหกรณ เปนตน (มิใชเปนเงินกูจากสถาบันการเงิน) ทั้งนี้ไมจําเปนตองมีหลักทรัพย หรือหลักฐานทางการเงินประกอบในการกู กลาวคือ เมื่อสมาชิกในกลุมที่รวมจายเงินสมทบตามหลักเกณฑที่กําหนดในกลุม มีความเดือดรอนหรือมีความจําเปนเรงดวนเรื่องเงิน ก็สามารถกูเงินฉุกเฉินออกมาใชไดตามวงเงินที่ตกลงกัน

ตารางที่ 6.3 แสดงสวัสดิการดานเงินกูฉุกเฉิน สวัสดิการดานเงินกูฉุกเฉิน

สหกรณออมทรัพยขาราชการ(ไดแกกระทรวงแรง)

กองทุนสวัสดิการชมุชน เทศบาลนครนครศรีธรรมราช

สหกรณออมทรัพย (เครดิตยูเนี่ยน)

ขอสังเกตที่ไดจากการศึกษาวิจัย

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ ส ม า ชิ ก ผู มี สิ ท ธิ กู เ งิ นฉุกเฉิน เปนสมาชิกติดตอกันไมนอยกวา 3 เดือน ไมผิดนัดการชําระหนี้ /เงินเดือนติดลบ สิทธิประโยชน 1.วงเงินกูฉุกเฉินสมาชิกจะกูเงินฉุกเฉินไดไมเกินคร่ึงหนึ่งข อ ง เ งิ น เ ดื อ น แ ต ไ มเกิน 2 หมื่นบาทไมตองมีหลักประกัน 2.การกู เ งินฉุก เฉินกรณี รับเ งิ นกู ส ามัญ ถ ามีหนี้ เ งิ นกูฉุกเฉินจะตองชําระหนี้ฉุกเฉินใหหมดกอน

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1.ประชาชนในชุมชน 2.การออมเงินของสมาชิกกลุมรวมกันเปนเงินออมทรัพย สิทธิประโยชน 1.สมาชิกสามารถกูยืมในอัตราดอกเบี้ยต่ํา โดยผูกูตองเสียคาบํารุง (ดอกเบี้ย) และเงินตนคืนตามกติกาที่กลุมตั้งไว 2.ดอกผลจากเงินกูจะถูกแบงคร่ึง คร่ึงหนึ่งไวปนผล ใหกับสมาชิก ซึ่งเปนประโยชนสวนต น ค ร่ึ ง ห นึ่ ง เ ก็ บ ไ ว เ ป นเงินกองทุนสวัสดิการ เพื่อไวชวยเหลือสวนรวม โดยนํา ไปทําประโยชนใหเกิดดอก

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1.ผู ที่ อ า ศั ย อ ยู ใ น ชุ ม ช น หมู บ า น ห รื อ ตํ า บ ลห รื อโรงงาน บริษัทฯ โรงเรียนหรือวิทยาลัย เดียวกัน และบุ ค ค ล เ ห ล า นั้ น มี ค ว า มปรารถนาจะชวยเหลือซึ่งกันและกัน 2.นําเงินของตนเองมาสะสมไวเปนกองทุน สมาชิกทุกๆ คนจะต อ งสะสม เ งิ นต ามความสามารถของตนเองเปนประจําและสม่ําเสมอตามที่สหกรณกําหนด สิทธิประโยชน ส ม า ชิ ก ที่ มี ค ว า ม จํ า เ ป นเดือดรอนกูยืมไปบําบัดปญหา

1.การกู ยื ม เ งินจากกองทุนสวัสดิการชุมชนมีมาก การจัดสวัสดิการของกลุมตองใชเ ว ล า เ นื่ อ ง จ า ก ต อ ง มีเงินกองทุนสวัสดิการที่มากเพียงพอกอน ซึ่งสวนใหญใชเวลาอยางนอย 1 ป 2. แรงงานนอกระบบไมมีหลักประกันในการที่จะขอกูเงินจากสถาบันการเงินตาง ๆ ทําใหมีปญหาในการเขาถึงแหลงเงินทุนเพื่อนํามาใชในย า มฉุ ก เ ฉิ นห รื อ เ พื่ อ ก า รประกอบอาชีพ

จากตารางที่ 6.3 พบวา สวัสดิการบริการเงินกูฉุกเฉินนั้น สวัสดิการในแตละสวนลวนมี

ความมุงหมายใหสมาชิกที่มีความเดือดรอนทางการเงิน สามารถกูยืมเงินฉุกเฉินเพื่อบรรเทาความเดือดรอน และสามารถนําเงินที่กูยืมไปสงคืนไดโดยการผอนชําระพรอมดอกเบี้ย เพื่อจะไดนําเงินคืนไปชวยเหลือสมาชิกที่เดือดรอนคนอื่น ตอไป อยางไรก็ตาม สวัสดิการเงินกูฉุกเฉินยังมีขอจํากัดเนื่องจากกองทุนสวัสดิการชุมชนยังเปนกองทุนที่มีขนาดเล็กสําหรับการกูยืม การจัดสวัสดิการกูยืมของกลุมตองใชเวลานานหากรัฐไมเขามาชวยสมทบเงินกองทุน เนื่องจากตองมีเงินกองทุนสวัสดิการที่มากพอ จึงจะสามารถใหกูยืมเงินจากกองทุนสวัสดิการชุมชนไดอยางเพียงพอ

Page 7: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

235

4. การออมทรัพยกรณีบํานาญแกแรงงานนอกระบบในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ หมายถึง การฝากเงินหรือออมเงินเพื่อตลอดวัยหลังเกษียณอายุ การออมทรัพยกรณีบํานาญนั้น สามารถแยกออกเปนการจัดตั้งกองทุนในสวนราชการ ชุมชน และภาคเอกชน ซ่ึงสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ตารางที่ 6.4 แสดงสวัสดิการการออมทรัพยกรณีบํานาญ

สวัสดิการการออมทรัพยกรณีบํานาญ

กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ

(กบข.)

กองทุนสวัสดิการชมุชน กรณีบํานาญ

กองทุนบําเหน็จบํานาญแหงชาติ(กบช.)

ขอสังเกตที่ไดจากการศึกษาวิจัย

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ ขาราชการที่ เขาเปนสมาชิกก อ ง ทุ น บํ า เ หน็ จ บํ า น าญขาราชการ (กบข.) สิทธิประโยชน 1. กรณีเกษียณ / เหตุสูงอายุ (อายุ 50 ปขึ้นไป) เหตุทุพพลภาพ เหตุทดแทน จะไดรับเงินประเดิม(ถามี)+เงินชดเชย +เงินสะสม+สมทบ +ผลประโยชน 2. กรณีเสียชีวิต(ปกติ)จะไดรับเงินสะสม+สมทบ +ผลประโยชน

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ 1.ประชาชนในชุมชน 2. การออมเงินของสมาชิกกลุมรวมกันเปนเงินออมทรัพย สิทธิประโยชน กรณีเกษียณ จะไดรับเงินบํานาญตอเนื่องเปนรายเดือน จํานวนเงินบํานาญที่ไดรับตอเดือนขึ้นกับจํานวนปที่สงเงินสมทบเขามา

กลุมเปาหมาย/หลักเกณฑ แรงงานในระบบและนอกระบบ อายุตั้งแต 15 – 60 ป โดยแรงงานที่อายุมากกวา 60 ปและยังทํางานอยู ตองเปนสมาชิก กบช. สิทธิประโยชน 1. ลูกจางไดรับการยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา 1.1 การจายผลประโยชน สามารถเลือกรับเปนงวดหรือเ ป น ก อ น ไ ด เ มื่ อ เ ห ตุเกษียณอายุ ตาย และทุพพลภาพ * หมายเหตุ อยูในขั้นตอนของการดําเนินการ

บํานาญที่ได รับจากกองทุนสวัสดิการชุมชนกรณีบํานาญนั้น มีจํ านวนคอนขางนอย เมื่ อ เทียบกับค าครองชีพที่สูงขึ้น ซึ่งไมเพียงพอตอการยังชีพ

จากตารางที่ 6.4 พบวา สวัสดิการการออมทรัพยกรณีบํานาญ นั้น ผูเขารวมกองทุน

สวัสดิการมีความมุงหมายที่จะมีเงินใชเพื่อดํารงชีพหลังเกษียณอายุ อยางไรก็ตาม สวัสดิการดังกลาวยังมีขอจํากัดบางประการไดแก บํานาญที่ไดรับจากกองทุนสวัสดิการชุมชนนั้น มีจํานวนคอนขางนอย เมื่อเทียบกับคาครองชีพที่สูงขึ้น ซ่ึงไมเพียงพอตอการยังชีพ โดยเฉพาะอยางยิ่งสําหรับแรงงานนอกระบบ ซ่ึงขณะอยูในวัยกําลังแรงงาน ยังคงมีรายไดไมแนนอน ดังนั้นเมื่อพน วัยเกษียณหรืออยูนอกกําลังแรงงาน จึงมีความตองการรายไดเพื่อการดํารงชีพ ดังนั้น สวัสดิการ ออมทรัพยกรณีบํานาญจึงเปนที่ตองการของแรงงานนอกระบบดวย

5. ผลประโยชนคาตอบแทน จากการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ หมายความถึง คาใชจายตาง ๆ ที่องคการจายใหแกผูปฏิบัติงาน คาใชจายนี้อาจจายในรูปตัวเงินหรือมิใชตัวเงินก็ได เพื่อตอบแทนการปฏิบัติงานตามหนาที่ความรับผิดชอบ จูงใจใหมีการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ สงเสริม

Page 8: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

236

ขวัญ-กําลังใจของผูปฏิบัติงาน และเสริมสรางฐานะความเปนอยูของครอบครัวผูปฏิบัติงานใหดีขึ้นอยางไรก็ตาม รูปแบบของคาตอบแทนแบงออกไดเปน 2 รูปแบบ คือ

5.1 รูปแบบโดยตรง ไดแก เงินเดือนและคาจาง (ในระบบราชการไทย คําวาเงินเดือนใชกับขาราชการเทานั้น สวนคาจางใชกับลูกจางประจําและลูกจางชั่วคราว) คาจาง เปนเงินที่จายใหลูกจางโดยคิดตามผลงานที่ทําไดหรือตามจํานวนชั่วโมง หรือจํานวนวันที่ทํางาน ลูกจางจะไดรับเงินคาจางมากหรือนอยตามจํานวนงานที่ทํา หากหยุดงานจะไมไดรับคาจางในวันที่หยุด สําหรับเงินเดือนเปนเงินที่จายใหเปนรายเดือน หรืออาจจายเปนรายปก็ได ไมสัมพันธกับผลงานหรือจํานวนชั่วโมงที่ทํางาน

5.2 รูปแบบโดยออม คือ ประโยชนที่ใหกับบุคลากร เชนสวัสดิการ ซ่ึงไดแก คาเบี้ยเล้ียง คารักษาพยาบาล คาเลาเรียน เปนตน ไมเปนไปตามคาจางของงานแตจายเพราะเปนสมาชิกของหนวยงาน เชน เปนพนักงาน ลูกจาง จะเบิกไดเทากันตามสิทธิไมวาจะตําแหนงระดับอะไรเชน การประกันชีวิต ประกันอุบัติเหตุ เงินบําเหน็จ บํานาญ เปนตน อยางไรก็ตาม การจายคาตอบแทนในปจจุบันมีผลกระทบตอแรงงานนอกระบบซึ่งไมใชพนักงานประจํา ทําใหแรงงานนอกระบบไดรับคาตอบแทนที่ไมแนนอน ไมมีบรรทัดฐานที่ชัดเจนโดยเฉพาะอยางยิ่ง การจายคาตอบแทนแกแรงงานนอกระบบที่รับเหมาเปนโครงการหรือรับงานเปนชิ้น (รับเหมาชวง) (สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2550) ซ่ึงมีลักษณะงานที่มีความเสี่ยงหรือมีความใกลเคียงกับงานที่พนักงานประจําทํา แตไมมีการจัดสวัสดิการใหเหมือนกับพนักงานประจํา และการไดรับคาตอบแทนก็ยังไมเทาเทียมกับแรงงานที่เปนพนักงานประจํา ดังนั้นแรงานนอกระบบจึงตองการใหมีการปรับปรุงการจายคาตอบแทนใหมีมาตรฐานและเปนธรรม

6. การประกันรายไดขั้นต่ํา ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้หมายถึง การกําหนดเงินคาตอบแทนขั้นต่ําที่ไดรับจากการทํางานของแรงงานนอกระบบ โดยกําหนดตามประเภทงานหรือมาตรฐานฝมือแรงงานของงานในแตละประเภท ประเด็นในกระบวนการกําหนดอัตราคาจางขั้นต่ํา และหลักเกณฑในการพิจารณาขึ้นคาจางที่ยังไมเหมาะสมกลาวคือยังขาดหลักเกณฑที่เปนวิทยาศาสตร เพราะใชการเจรจาตอรองระหวางภาครัฐ นายจาง ลูกจาง ทําใหคาจางที่เพิ่มขึ้นนั้น ขึ้นอยูกับอํานาจตอรองของแตละฝาย ไมไดสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจที่แทจริง เปนกระบวนการที่ขาดความละเอียด ในความเปนจริงแตละจังหวัดยังมีสภาพเศรษฐกิจของเมืองและชนบทของจังหวัดนั้น ๆ ที่แตกตางกัน ภาวะของแตละอุตสาหกรรมก็แตกตางกัน การใชนโยบายเหมารวมแบบเดียวกันทั้งหมดกับทุกอุตสาหกรรม และทุกพื้นที่ในแตละจังหวัดจึงอาจไมเหมาะสม นอกจากนี้ หลักเกณฑในการพิจารณาขึ้นคาจางไมเหมาะสม กลาวคือการกําหนดคาจางขั้นต่ํา โดยพิจารณาเฉพาะประเด็นการทําใหคาจางเพิ่มขึ้นเทากับอัตราเงินเฟอ เปนการพิจารณาที่

Page 9: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

237

ไมละเอียด ในความเปนจริง การขึ้นคาจางสงผลกระทบตอเศรษฐกิจทั้งระบบ ตองพิจารณาผลกระทบในภาพรวมดวย ไมวาจะเปนเรื่องอัตราการวางงาน อัตราเงินเฟอ ดุลบัญชีเดินสะพัด การขยายตัวทางเศรษฐกิจ นอกเหนือจากการปรับขึ้นคาจางขั้นต่ําเพื่อชวยเหลือแรงงาน แลวรัฐบาลควรมีมาตรการชวยเหลือคนยากจน และแรงงานนอกระบบที่มีรายไดนอยอยางเจาะจง มีการเตรียมมาตรการรองรับคนวางงานที่จะเพิ่มมากขึ้น อีกทั้งควรมีการปรับปรุงระบบและแนวทางการกาํหนดคาจางขั้นต่ําใหมีความเหมาะสม และสอดคลองกับสภาพความเปนจริงมากขึ้น ซ่ึงอาจเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพในเชิงเศรษฐศาสตรมากกวา และสงผลกระทบตอภาพรวมเศรษฐกิจนอยกวา

7. ผลประโยชนทดแทนกรณีทุพลภาพ ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ หมายถึง การไดรับเงินชวยเหลือเพื่อการดํารงชีพเพื่อเปนการทดแทนกรณีที่แรงงานทุพพลภาพอันมีสาเหตุมาจากการทํางานหรือการประกอบอาชีพ ทั้งนี้ จากการศึกษาวิจัยระบบผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพประเภทตาง ๆ ที่มีอยูในปจจุบัน สามารถสรุปไดเปนตารางดังนี้

ตารางที่ 6.5 แสดงสวัสดิการผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพ สวัสดิการดานผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพ

กองทุนเงินทดแทน (กรณีทุพพลภาพ)

สวัสดิการชุมชนตําบล คลองเปยะ จ.สงขลา ของครูชบ ยอดแกว

ภาคเอกชน ท่ัวไป

(บริษัท เอไอเอ จก.)

ขอสังเกตที่ไดจากการศึกษาวิจัย

ก ลุ ม เ ป า ห ม า ย /หลักเกณฑ นายจางที่มีลูกจาง 1 คนขึ้นไปจ าย เงินสมทบเพียงฝายเดียว ปละ 1 คร้ัง สิทธิประโยชน ลู ก จ า ง จ ะ ได รั บ เ งิ นทดแทนกรณีดังตอไปนี้ 1.กรณีสูญเสียอวัยวะ ได รับเงินทดแทนไมเกิน 10 ป 2. ก ร ณี ทุ พ พ ล ภ า พ ได รับค าทดแทนรายเดือน แตไมเกิน 15 ป

ก ลุ ม เ ป า ห ม า ย /หลักเกณฑ สมาชิกทุกคนในชุมชน ถาเปนเด็กที่ยังไมบรรลุนิตภาวะจะใหบิ ด า /มารดา หรือผูปกครองสมั ค รแทนได ส วนผูสูงอายุ ใหบุตรสมัครแทนได สิทธิประโยชน ใหเงินชวยเหลือผูพิการห รื อ ทุ พ พ ล ภ า พ ที่ยากไร ตามเงื่อนไขที่ตกลงกันภายในชุมชน

ก ลุ ม เ ป า ห ม า ย /หลักเกณฑ 1. ผูมีอายุในชวง 6-55 ปบริบูรณ 2.เปนผูที่มีรายไดหรือตามเงื่อนไขที่บริษัทกําหนด 3. มีสุขภาพรางกายแข็งแรง ไมเปนโรครายแรงตอเนื่อง สิทธิประโยชน จายเงินชดเชยรายไดอัน เนื่องมาจากการทุ พพลภาพสิ้ น เ ชิ งถาวร จากอุบัติ เหตุ จายเงินชดเชยเปนรายปวงเงินขึ้นกับจํานวนเงินที่ เอาประกันภัย ระยะเวลาไมเกิน 10 ป

เงินสมทบกองทุนสวัสดิการชุมชนเพื่อการชวยเหลือสมาชิกที่ทุพพลภาพยังมีนอย ประกอบกับการติดขัดกฎหมายบางประการทําใหภาครัฐไมสามารถสมทบเงินกองทุนใหมีขนาดใหญและสามารถชวยเหลือสมาชิกที่ทุพพลภาพไดอยางเพียงพอ

Page 10: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

238

จากตารางที่ 6.5 แสดงสวัสดิการผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพนั้น พบวา ผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพของกองทุนเงินทดแทน กองทุนสวัสดิการชุมชน และสวัสดิการในภาคเอกชนนั้น มีวัตถุประสงคในการความคุมครองไปในทางเดียวกันคือมุงหมายเพื่อชดเชยรายไดในกรณี ทุพพลภาพ ทําใหไมสามารถทํางานได แตกตางกันที่จํานวนเงินที่จายเขากองทุนหรือเงินจายเขาสูภาคเอกชน อยางไรก็ตามการชดเชยกรณีทุพพลภาพ ยังมีขอจํากัดที่เห็นไดชัดคือ กฎระเบียบของหนวยงานของรัฐไมสามารถใหการสมทบเงินกองทุนสวัสดิการชุมชนได จึงทําใหจํานวนเงินในกองทุนสวัสดิการชุมชนมีไมมากนัก สงผลใหเงินที่ไดรับชดเชยไมเพียงพอกับความตองการ สะทอนใหเห็นวาแรงงานนอกระบบยังคงตองพึ่งพากองทุนสวัสดิการชุมชน เนื่องจากติดเงื่อนไขที่ไมสามารถเขารวมกองทุนชดเชยแรงงานในระบบ เนื่องจากไมสามารถระบุนายจางหรือผูวาจางไดชัดเจน ดังนั้นแรงงานนอกระบบ ซ่ึงมีความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพคงมีความตองการสวัสดิการมาตรฐานดานการทดแทนกรณีทุพพลภาพ

8. การประกันอุบัติเหตุแกแรงงานนอกระบบ ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ หมายถึง การคุมครองคารักษาพยาบาลหรือการชดเชยกรณีเสียชีวิตหรือสูญเสียอวัยวะ อันเนื่องมาจากการประสบอุบัติเหตุจากการทํางานหรือการประกอบอาชีพ ทั้งนี้

การประกันอุบัติเหตุ เปนการซื้อความเสี่ยงภัยจากการเกิดอุบัติเหตุ โดยการจายเงินหรือเบี้ยประกันภัยในจํานวนที่เล็กนอย เพื่อแลกความคุมครอง และปองกันไมใหตองเสียเงินมากในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้นจริง โดยบริษัทประกันภัยจะเปนผูรับผิดชอบตอความเสียหายแทน โดยจะชวยลดภาระคาใชจายและแกไขปญหาเฉพาะหนาดานการเงิน ตลอดจนการดําเนินการตางๆ อันเนื่องมาจากความเสียหายนั้น แรงงานนอกระบบสวนใหญ เปนแรงงานที่มีรายไดไมสูงมากนักและมีรายไดไมแนนอน จึงไมมีความสามารถในการซื้อประกันอุบัติเหตุไดอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะการซื้อประกันอุบัติเหตุจากบริษัทประกันภัยเอกชน ทําใหขาดความคุมครอง แตแรงงานนอกระบบยังคงตองทํางานหรืออยูในความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานหรือการประกอบอาชีพและยังคงมีความตองการความคุมครองดังกลาวอยู จึงสงผลใหแรงงานนอกระบบสวนใหญมีความตองการการประกันอุบัติเหตุ

9. การประกันภัยแกแรงงานนอกระบบ ในการศึกษาวิจัยคร้ังนี้ หมายถึง การคุมครองคารักษาพยาบาลหรือการชดเชยกรณีเสียชีวิต (การประกันชีวิต) อันเนื่องมาจากการไดรับบาดเจ็บหรือเจ็บปวย หรือการสูญเสียหรือเสียหายตอทรัพยสินที่ครอบครองอยู (การประกันภัยทรัพยสิน) อันเนื่องมาจากการประสบเหตุจากการทํางานหรือการประกอบอาชีพ

หลักการของการประกันภัย (การประกันชีวิต/การประกันภัยทรัพยสิน) คือ การรวมกันจายเงินซึ่งเรียกวา เบี้ยประกันภัยในจํานวนที่เล็กนอยรวมกัน เมื่อผูใดเกิดความเดือดรอน หรือสูญเสีย ในกรณีที่เกิดความเสียหายขึ้น บริษัทประกันภัยจะเปนผูรับผิดชอบและนําเงินมาจายทดแทนความสูญเสียหรือเสียหายที่เกิดขึ้น เพื่อบรรเทาความเดือดรอนที่เกิดขึ้น ซ่ึงการประกันภัย

Page 11: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

239

มิไดเปนการทําใหความเสี่ยงหรืออุบัติเหตุหายไป แตการประกันภัยจะชวยลดภาระคาใชจายและแกไขปญหาเฉพาะหนา ดานการเงินตลอดจนการดําเนินการตางๆ อันเนื่องมาจากความเสียหายนั้น แตอยางไรก็ตามวิธีการปองกันความเสียหายที่แทจริงและดีที่สุดคือการมีความระมัดระวังในการดําเนินชีวิต สวนการประกันภัยนั้นควรมีไวเพื่อเปนแหลงสํารองในกรณีที่เกิดเหตุการณที่ไมคาดฝนขึ้น แรงงานนอกระบบสวนใหญ เปนแรงงานที่มีรายไดไมสูงมากนักและมีรายไดไมแนนอน แมวาการทํางานของแรงงานนอกระบบจะมีความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ สวนใหญจึงไมมีความสามารถในการซื้อประกันภัยหรือประกันชีวิต หรือขาดความตอเนื่องในการชําระเบี้ยประกันกับบริษัทประกันชีวิต/ประกันภัยเอกชน ทําใหขาดความคุมครองสงผลใหแรงงานนอกระบบสวนใหญไมไดรับความคุมครองการประกันชีวิตหรือการประกันภัย แตยังคงมีความตองการความคุมครองดังกลาวอยูคอนขางมาก

แมวารัฐจะไดขยายความคุมครองการประกันสังคมไปสูแรงงานนอกระบบแลวก็ตาม แตสวัสดิการการประกันสังคมยังมีสองมาตรฐาน (Double Standard) ในระบบเดียวกัน แมวาจะเปนผูใชแรงงานเหมือนกัน กลาวคือ มาตรฐานแรก เปนสวัสดิการสําหรับแรงงานในระบบ ซ่ึงจะมีการคุมครองที่ครอบคลุมมากกวามาตรฐานที่สอง ซ่ึงจัดใหสําหรับแรงงานนอกระบบ ทั้งที่เปนผูใชแรงงานเชนเดียวกัน ดังนั้น จึงควรปรับปรุงมาตรฐานสวัสดิการแรงงานนอกระบบใหมีความเทาเทียมกับแรงงานในระบบ เพื่อใหแรงงานนอกระบบไดรับความคุมครองสวัสดิการที่เปนธรรมโดยไมเลือกปฏิบัติ

นอกจากนี้ เมื่อเปรียบเทียบการจัดสวัสดิการในประเทศไทยแตกตางกับสวัสดิการในตางประเทศ โดยพบวาในกลุมประเทศที่พัฒนาแลวสวนใหญมักจะใหผูประกันตนที่เปนลูกจางและผูประกันตนอิสระ ไดรับสิทธิประโยชนเทาเทียมกัน นอกจากนี้ยังไดจัดโปรแกรมครอบคลุมประโยชนทดแทนการประกันรายไดขั้นต่ํา การประกันการวางงานการเปนหมาย การเปนกําพรา ชราภาพและ ความพิการ การดูแลดานสุขภาพ การจาย เงินชดเชยใหแกคนงาน และการสงเคราะหประชาชนทางสังคม โดยรัฐสงเสริมใหประชาชนทุกคนมีโอกาสในการเขาถึงบริการจากรัฐอยางเทาเทียมกัน

ปจจุบันแรงงานนอกระบบมีมากกวาแรงงานในระบบ โดยแรงงานทั้งหมดมีจํานวนประมาณ 37 ลานคน แบงเปนแรงงานนอกระบบประมาณ 23 ลานคน ซ่ึงปญหาที่พบสวนใหญเปนเร่ืองคาจางโดยไดรับคาจางนอยและไมมีความตอเนื่อง

สํานักงานสถิติแหงชาติ (2550) ไดใหความหมายวา ผูมีงานทําที่ไมไดรับความคุมครอง และหลักประกันสังคม ไมใชขาราชการ ลูกจางประจํา ของราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค และราชการสวนทองถ่ิน ลูกจางรัฐวิสาหกิจ ครูหรือครูใหญโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายวาดวย

6.2 ขอเสนอในการปรับเปล่ียนคํา “แรงงานนอกระบบ”

Page 12: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

240

โรงเรียนเอกชน ลูกจางของรัฐบาลตางประเทศหรือองคการระหวางประเทศ และลูกจางที่ไมไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน

องคกรแรงงานระหวางประเทศ ไดใหความหมายของแรงงานนอกระบบ คือ แรงงงานนอกระบบมีการจางงานทางเศรษฐกิจที่ไมเปนทางการ แรงงานนอกระบบ มีการแขงขันทางการตลาดในการประกอบอาชีพ จะตองมีการพัฒนาฝมือแรงงานแกแรงงานนอกระบบ มีกฎหมายรองรับแกผูประกอบการและแรงงานนอกระบบ เปนที่มาของกฎหมายของผูรับงานไปทําที่บาน ทําไมตองมีกฎหมายผูรับงานไปทําที่บาน เพราะวา ตอนทํางานในโรงงานมีผลกระทบ เชน น้ําเสีย, สารเคมี ผูวาจางเลยลดปญหาตรงนี้โดยอาจมีการปลดลูกจางออก แตแรงงานนอกระบบสวนใหญเปนผูที่ประสบการณ จึงมีการสงงานไปใหทําที่บาน

สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง (2548) ไดนิยามแรงงานนอกระบบหมายถึง แรงงานที่ยังไมไดรับการคุมครองจากประกันสังคม และไมมีกฎหมายดานแรงงานรองรับ รวมทั้งเปนแรงงานที่อยูในภาคเศรษฐกิจนอกระบบ (Informal Economy) ไมมีตัวตน ไมมีการขึ้นทะเบียน ไมมีสถานที่ในการจางงานที่ชัดเจน สถานประกอบการมีขนาดเล็ก ลักษณะงานไมมีความปลอดภัยหรือไมมีสุขอนามัย เปนงานที่ใชทักษะต่ํา ผลผลิตต่ํา รายไดนอย การจางงานไมแนนอน ช่ัวโมงการทํางานยาวนาน นอกจากนี้ยังขาดการเขาถึงขอมูลขาวสารทั้งดานการตลาด การเงิน การฝกอบรม เทคโนโลยี และไมสามารถพึ่งพาตนเองได จึงมีความดอยโอกาสในระดับที่ตางๆ กัน ไมไดรับการคุมครองทางสังคม หรือสิทธิประโยชนจากนายจางหรือภาครัฐ ไมสามารถเขาถึงทุน และเครดิตได ประสบกับความเสี่ยงในรูปแบบตางๆ ที่คุกคามตอสวัสดิการของแรงงาน

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายของคําวา แรงงาน หมายถึง คนงาน ผูใชแรงในการทํางาน เชน การพัฒนาชนบทตองอาศัยแรงงานจากทองถ่ิน งานกอสรางตองการแรงงานเพิ่ม, ประชากรในวัยทํางาน ไมรวมถึงคนพิการ คนวิกลจริต นักเรียน นักศึกษา แมบาน นักบวช ทหาร ผูตองขัง และผูประกอบกิจการเพื่อหากําไร เชน วันแรงงาน, แรงที่ใชในการทํางาน เชน ถนนนี้สรางสําเร็จดวยแรงงานของชาวบาน; ความสามารถในการทํางานเพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจ,กิจการที่คนงานทําในการผลิตเศรษฐทรัพย

นอกจากนี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใหความหมายคําวา อิสระ หมายถึง เปนใหญ เปนไทแกตัว เชน อิสรชนที่ปกครองตนเอง เชน รัฐอิสระ ไมขึ้นแกใคร ไมสังกัดใคร เชน อาชีพอิสระนักเขียนอิสระ. น. ความเปนไทแกตัวเชน ไมมีอิสระ แยกตัวเปนอิสระ

ดังนั้น แรงงานอิสระ จึงหมายถึง ผูใชแรงในการทํางานเพื่อประโยชนในทางเศรษฐกิจและทํางานโดยไมตองอยูภายใตสังกัดใคร

จากการศึกษาและทบทวนความหมายจากแหลงตาง ๆ ประกอบกับคําแนะนําจากสาํนกังานปลัดกระทรวงแรงงาน จึงสรุปและจําแนกแรงงานนอกระบบไดเปน 4 กลุมใหญ 11 กลุมยอย ดังนี้

Page 13: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

241

ตารางที่ 6.6 แสดงการจําแนกประเภทแรงงานนอกระบบ ประเภทของกลุม

แรงงาน กลุมอาชีพ

1.กลุมประกอบอาชีพอิสระวิชาชีพเฉพาะที่มีฝมือทั่วไป ไดแก โปรแกรมเมอร คอมพิวเตอร วิศวกร สถาปนิก แพทย เภสัชกร และทนายความ 2.กลุมรับงานไปทําที่บาน ไดแก รับจางทําของ รับจางผลิตและรับจางแปรรูป

1.กลุมการผลิต

3. กลุมรับเหมา-รับชวงงาน ไดแก กอสราง

2.กลุมการคา กลุมอื่นๆโดยประกอบอาชีพที่ไมมีนายจางและไมไดรับการคุมครอง ไดแก หาบแร-แผงลอย จําหนายอาหารในตลาด เก็บขยะ 3.1กลุมประมง ไดแก แรงงานกิจการประมง เลี้ยงสัตวน้ํา (ทะเล-น้ําจืด) 3.กลุมการเกษตร 3.2กลุมเกษตร ไดแก เกษตรกรรับจาง ทํานา ทําสวน ทําไร เลี้ยงสัตว และเกษตรพันธะสัญญา 4.1กลุมประกอบอาชีพอิสระ ไดแก มัคคุเทศก ตอนรับ ชางเสริมสวย สาธิตสินคา นักแสดง นักดนตรี นักรอง นายแบบ นางแบบ สอนพิเศษ นวด-สุขภาพ 4.2กลุมรับจางทํางานนอกบาน ไดแก รับจางอิสระ 4.3กลุมรับจางทํางานในครัวเรือนสวนบุคคล ไดแก คนรับใชในบาน 4.4 กลุมขับรถรับจาง ไดแก สามลอเครื่อง จักรยานยนต แท็กซี่ สี่ลอเล็ก

4. กลุมบริการ

4.5กลุมขับรถตูรับจาง

จากตารางที่ 6.6 พบวา แรงงานนอกระบบ สามารถจําแนกไดเปน 4 กลุมใหญ โดยจําแนกตามประเภทกลุมแรงงาน ไดแก กลุมการผลิต กลุมการคา กลุมการเกษตร และกลุมบริการ โดยจําแนกออกเปนกลุมยอยไดตามประเภทอาชีพของแรงงานนอกระบบเปน 11 กลุมยอย

อยางไรก็ตาม จากผลการศึกษายังพบอีกวา แรงงานนอกระบบ ยังไมไดรับการคุมครองตามกฎหมายเทาที่ควร ประกอบกับคําวา แรงงานนอกระบบ นั้นมักไมเปนที่ยอมรับทั้งในดานสิทธิและความเสมอภาคทางสังคมเมื่อเทียบกับแรงงานในระบบ ดังนั้นจึงควรยกเลิกการใชคําวา แรงงาน

นอกระบบ โดยเปลี่ยนเปน แรงงานอิสระ ทั้งนี้จากการศึกษาวิจัยไดประมวลความหมายของแรงงานนอกระบบและสามารถนิยาม

ความหมายของแรงงานนอกระบบตลอดจนประเภทของแรงงานนอกระบบใหมไดดังนี้

Page 14: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

242

แรงงานอิสระ หมายถึง แรงงานที่ทํางานในภาคเศรษฐกิจที่ถูกตองตามกฎหมาย (ไมรวมแรงงานที่ทํางานอยูในระบบเศรษฐกิจใตดิน) แตยังไมไดรับการคุมครองสวัสดิการเกี่ยวกับการทํางาน หรือยังไมไดรับการคุมครองสวัสดิการประกันสังคมเทาเทียมกับแรงงานในระบบตลอดจน ไมมีกฎหมายดานแรงงานรองรับ ไมมีสถานที่ในการจางงานที่ชัดเจน ลักษณะงานไมมีความปลอดภัยหรือไมมีสุขอนามัย การจางงานไมแนนอน ยากตอการเขาถึงแหลงเงินทุนในระบบเพื่อการประกอบอาชีพ และไมสามารถระบุผูวาจางหรือนายจางไดอยางชัดเจน

ท้ังนี้สามารถจําแนกแรงงานนอกระบบเปน 3 กลุมไดแก

1.กลุมการคา ไดแก กลุมประกอบอาชีพที่ไมมีนายจางและไมไดรับการคุมครองสวัสดิการ ไดแก หาบแร-แผงลอย จําหนายอาหารในตลาด เก็บขยะ

2.กลุมการเกษตร ประกอบดวย 2.1 กลุมประมง ไดแก แรงงานกิจการประมง เล้ียงสัตวน้ํา (ทะเล-น้ําจืด) 2.2 กลุมเกษตร ไดแก เกษตรกรรับจาง ทํานา ทําสวน ทําไร เล้ียงสัตว

3. กลุมบริการ 3.1 กลุมรับจางทํางานนอกบาน ไดแก รับจางอิสระ 3.2 กลุมขับรถรับจาง ไดแก สามลอเครื่อง จักรยานยนต แท็กซี่ ส่ีลอเล็ก 3.3 กลุมขับรถตูรับจาง

จากผลการศึกษา แรงงานนอกระบบที่มีการแบงกลุมแบบเดิมคือแบงเปน 4 กลุมใหญ 11 กลุมยอยนั้น พบวา มีบางกลุมอาชีพยอยที่สามารถระบุผูวาจางที่ชัดเจนและสามารถผลักดันเขาสูประกันสังคมได จะมีเพียงบางกลุมอาชีพเทานั้นท่ีไมสามารถระบุผูวาจางที่ชัดเจนไดและไม

สามารถเขาสูระบบประกันสังคมได ซ่ึงมีความแตกตางจากการแบงกลุมแบบเดิม ดังนั้น จึงได

ดําเนินการจัดกลุมใหมและนิยามชื่อเปน “แรงงานอิสระ” ทั้งนี้ จะไดนําเสนอรายละเอียดในบทที่ 7 ตอไป

Page 15: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

243

1. รูปแบบสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบไดรับในปจจุบัน

จากผลการศึกษาพบวา แรงงานนอกระบบบางสวนเคยไดรับสวัสดิการประเภทตาง ๆ ในสัดสวนที่แตกตางกันไปตามลักษณะงาน ซ่ึงสรุปเปนตารางไดดังนี้

6.3 รูปแบบสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบไดรับในปจจุบันและที่ควรจะไดรับเพิ่มเติม

Page 16: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

244

ตารางที่ 6.7 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามสวัสดิการที่ไดรับ กลุมอาชีพ จํานวน(รอยละ)

สวัสดิการที่ไดรับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

รวม

การประกันอุบัติเหตุ/การประภัยแกแรงงานนอกระบบ

301 (60.20)

189 (18.90)

466 (46.60)

245 (16.33)

98 (9.80)

152 (15.20)

211 (21.10)

76 (7.60)

167 (16.70)

320 (32.00)

721 (72.10)

2,946 (26.78)

การประกันชีวิตใหแกแรงงานนอกระบบ 301

(60.20) 182

(18.20) 466

(46.60) 245

(16.33) 98

(9.80) 152

(15.20) 211

(21.10) 76

(7.60) 167

(16.70) 320

(32.00) 721

(72.10) 2,939 (26.72)

การทําบําเหน็จใหแกแรงงานนอกระบบ 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00)

การออมทรัพยกรณีบํานาญแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

ความตอเนื่องในการจางงานแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

การพัฒนาทักษะฝมือและคาฝมือใหแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

295 (29.50)

367 (36.70)

112 (7.47)

0 (0.00)

0 (0.00)

238 (23.80)

119 (11.90)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

1,131 (10.28)

การเสี่ยงภัยและสภาพการทํางานที่ไมเหมาะสมของแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

จัดนันทนาการ/กีฬา/บันเทิง/ทองเที่ยวใหกับแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

การใหบริการรถรับ-สง และคาเดินทางแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

การใหบริการและคาใชจายดานที่พักอาศัยแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

821 (82.10)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

821 (7.46)

การบริการอาหารกลางวันแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

124 (12.40)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

821 (82.10)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

945 (8.59)

Page 17: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

245

ตารางที่ 6.7 จํานวนและรอยละของผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามสวัสดิการที่ไดรับ (ตอ) กลุมอาชีพ จํานวน(รอยละ)

สวัสดิการที่ไดรับ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11

รวม

การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวยบุคคล/ครอบครัว และเงินชดเชย การขาดรายไดกรณีเจ็บปวยแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

ผลประโยชนคาตอบแทน/ประกันรายไดขั้นต่ํา และผลประโยชนทดแทนกรณีทุพพลภาพ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

รัฐควรสนับสนุนเรื่องเครื่องแตงกายในการทํางาน

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

การจัดตั้งกองทุนสํารองเลี้ยงชีพแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

การออมทรัพยแกแรงงานนอกระบบ 0

(0.00) 316

(31.60) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 0

(0.00) 316

(2.87)

การใหบริการเงินกูฉุกเฉินแกแรงงานนอกระบบ

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

208 (20.80)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

0 (0.00)

208 (1.89)

หมายเหตุ จํานวนและรอยละผูตอบแบบสอบถามจําแนกตามสวัสดิการที่ไดรับ 17 ประเภท โดยใชฐานการคิดคํานวณจากผูตอบแบบสอบถามทั้งหมดจํานวน 11,000 คน คิดเปนรอยละ 100.00 ไดแก ประเภทสวัสดิการการประกันอุบัติเหตุ/การประกันภัยแกแรงงานนอกระบบ จํานวน 11,000 คน คิดเปนรอยละ 100.00 ไดรับสวัสดิการประกันอุบัติเหตุ/การประกันภัยแกแรงงานนอกระบบ 2,946 คน คิดเปนรอยละ 26.78

Page 18: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

246

จากตารางที่ 6.7 แสดงใหเห็นวาแรงงานนอกระบบสวนใหญไดรับสวัสดิการการประกันอุบัติเหตุ/การประภัยแกแรงงานนอกระบบ รองลงมาไดรับสวัสดิการ การประกันชีวิต และไดรับการพัฒนาทักษะฝมือและคาฝมือ ตามลําดับ

เมื่อพิจารณาในภาพรวมจากตารางขางตน จํานวนผูที่ เคยไดรับสวัสดิการและไมไดรับสวัสดิการประเภทตาง ๆ เมื่อคิดเปนสัดสวนแลวพบวา ผูเคยไดรับสวัสดิการประเภทตางๆ มีจํานวนนอยกวาผูที่ไมเคยไดรับสวัสดิการ จึงควรสงเสริมใหแรงงานนอกระบบไดรับสวัสดิการประเภทตาง ๆ ใหครอบคลุมและเพียงพอตามความเหมาะสมของแรงงานแตละสาขาอาชีพในเบื้องตนกอน จึงดําเนินการจัดสวัสดิการประเภทอื่นเพิ่มเติมใหแกแรงงานนอกระบบตอไป

อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณาปจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมในปจจุบัน พบวาประเภทสวัสดิการที่ควรจัดเพิ่มเติมในแงของความครอบคลุมและใหทันตอภาวะการณที่เปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจในปจุบัน ไดแก สวัสดิการสําหรับผูสูงอายุและสวัสดิการชวยเหลือผูตกงาน ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้

2. รูปแบบสวัสดิการที่แรงงานนอกระบบควรจะไดรับเพิ่มเติม

2.1 สวัสดิการสําหรับผูสูงอายุ แมวาในปจจุบันประเทศไทยจะมีระบบประกันทางเศรษฐกิจใหกับประชาชนเมื่อเขาสู

วัยสูงอายุในหลายลักษณะ นับตั้งแตป พ.ศ. 2535 แตยังคงจํากัดอยูเพียงประชากรบางกลุม เชน กลุมขาราชการ พนักงานสภากาชาดไทย และพนักงานของการรถไฟแหงประเทศไทย และการทาเรือแหงประเทศไทย ที่เมื่อเกษียณอายุราชการมีระบบบําเหน็จและบํานาญ สวนรัฐวิสาหกิจอื่นๆ และองคกรเอกชนขนาดใหญบางแหงจะมีเพียงระบบบําเหน็จเทานั้น

รูปแบบระบบสวัสดิการผูสูงอายุในประเทศไทย ระบบสวัสดิการสําหรับผูสูงอายุไทยที่มีอยูในปจจุบัน จําแนกตามประเภทบริการ 3 ประเภท

(ศศิพัฒน ยอดเพชร, 2549) สรุปไดดังนี้ 1. การประกันสังคม (Social Insurance) เปนการสรางหลักประกันความมั่นคงในการ

ดํารงชีวิตและคุมครองลูกจาง ปญหาการขาดรายไดเมื่อเกษียณอายุการทํางาน สภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทําใหผูสูงอายุไดรับการเกื้อหนุนจากครอบครัวนอยลง ปญหาสุขภาพที่เร้ือรังสงผลใหตัวเลขคาใชจายในการรักษาพยาบาลสูง (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, 2548) เหลานี้ลวนเปนปญหาทางเศรษฐกิจที่ผูสูงอายุตองเผชิญและอาจรุนแรงมากยิ่งขึ้น หากไมมีการวางแผนเพื่อแกไขและปองกันปญหา การสรางหลักประกันทางเศรษฐกิจจึงมีความสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง

Page 19: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

247

2. การชวยเหลือสาธารณะ (Public Assistance) เปนการสงเคราะหแบบใหเปลาสําหรับผูที่ตองการความชวยเหลือ เพราะชวยเหลือตนเองไมได ดอยโอกาสทางสังคมและไรที่พึ่ง รูปแบบของสวัสดิการที่มีอยูคือ เบี้ยยังชีพผูสูงอายุ เปนการจายเงินแบบใหเปลา ตั้งแต พ.ศ.2535 เปนตนมา กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมไดดําเนินโครงการเงินอุดหนุนกองทุนสงเสริมสวัสดิการผูสูงอายุในชุมชนหรือโครงการเบี้ยยังชีพ โดยไดมีการมอบเงินยังชีพ 200 บาทแกผูสูงอายุที่มีความจําเปนดานการเงิน ขาดผูดูแลหรือผูอุปการะ และเปนผูไมสามารถประกอบอาชีพได ซ่ึงตอมาไดเพิ่มเปนคนละ 300 บาท และในปจจุบันเพิ่มเปน 500 บาท นาน 6 เดือน นับตั้งแตเดือนเมษายน 2552 ตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาล ทั้งนี้เพื่อใหผูสูงอายุมีชีวิตที่มีคุณคา มีเกียรติภูมิ คงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีวิถีชีวิตที่ไมแปลกแยกจากชุมชน และอยูกับครอบครัวไดอยางปกติสุข

3. การบริการสังคม (Social Services) เปนระบบบริการที่ตอบสนองความตองการขั้นพื้นฐานของประชาชนประกอบดวยบริการดานตางๆ 4 ดาน ดังนี้

3.1 ดานสุขภาพอนามัย ประกอบดวย หลักประกันสุขภาพถวนหนา ถือเปน "สิทธิ" ขั้นพื้นฐานของประชาชนที่รัฐมอบใหเพื่อเปนการสรางหลักประกันใหประชาชนทุกคน สามารถเขาถึงบริการทางดานสุขภาพไดตามความจําเปน โดยขอบขายการใหบริการครอบคลุมดานการตรวจสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค ดําเนินงานโดยสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.) ในป พ.ศ. 2549 เพื่อใหประชาชนในทุกพื้นที่ไดรับหลักประกันสุขภาพที่เหมาะสมกับความตองการในแตละทองถ่ิน 3.2 ดานการศึกษา ประกอบดวย การศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการ โดยศูนยสงเสริมการศึกษานอกโรงเรียนกลุมเปาหมายพิเศษ (ศกผ.) ไดพัฒนาแนวทางการจัดการศึกษานอกโรงเรียนสําหรับผูสูงอายุตามความตองการและความสนใจของผูสูงอายุ มีแผนปฏิบัติการจัดการศึกษานอกโรงเรียนสําหรับผูสูงอายุ ระยะ 5 ป (พ.ศ. 2550-2554) การดําเนินงานประกอบดวยโครงการสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิตสําหรับผูสูงอายุ โครงการเสริมสรางคุณคาและการพัฒนาที่ยั่งยืนสําหรับผูสูงอายุ เปนตน (สํานักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน, 2551)

3.3 ดานที่อยูอาศัย ประกอบดวย การสงเคราะหที่อยูอาศัยและการดูแล เปนบริการในสถานสงเคราะหสําหรับผูสูงอายุที่ครอบคลุมความจําเปนดานปจจัย 4 รวมทั้งบริการดานการรักษาพยาบาล กายภาพบําบัด ศาสนกิจ งานอดิเรก นันทนาการ กิจกรรมสงเสริมประเพณีและวัฒนธรรมปจจุบันมีสถานสงเคราะหของรัฐ 21 แหงใหบริการได 3,000 คน ในจํานวนนี้มี 13 แหงที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดถายโอนใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินที่มีความพรอมเปนผูรับผิดชอบ และอีก 8 แหงจัดเปนศูนยสาธิตสังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ปญหาของบริการในสถานสงเคราะหคือขาดแคลนบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะดาน (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2549) และเกณฑในการรับผูสูงอายุเขารับบริการ กําหนดใหเปนผูที่ยังชวยเหลือตนเองได จึงขัดกับแนวคิดที่ควรชวยเหลือผูที่มีภาวะพึ่งพา และไมมีอัตรากําลังของ

Page 20: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

248

เจาหนาที่เพื่อรองรับผูสูงอายุที่อยูนานจนชวยเหลือตนเองไมได ซ่ึงสอดคลองกับผลการศึกษาความตองการหลักประกันทางสังคมสําหรับผูสูงอายุของสํานักงานปลัดกระทรวงแรงงาน พบวาผูสูงอายุสวนใหญอยากอยูกับครอบครัว (สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2549) ดังนั้น แผนระยะยาวสําหรับผูสูงอายุ จึงควรมุงขยายบริการในรูปศูนยบริการหนวยสงเคราะหเคลื่อนที่ และจํากัดจํานวนสถานสงเคราะหไวเทาที่จําเปน (ศศิพัฒน ยอดเพชร, 2549)

3.4 ดานการมีงานทําและการมีรายได ประกอบดวย กองทุนสวัสดิการผูสูงอายุ สถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) หรือพอช. เปนผูใชงบประมาณ 80 ลานบาทในการพัฒนาระบบสวัสดิการผูสูงอายุใน 76 จังหวัด โดยสนับสนุนจังหวัดละ 1 ลานบาท เปนโครงการที่ยึดหลักการใหผูสูงอายุเปนแกนนําในการกําหนดและตัดสินใจรวมกันในการบริหารจัดการสวัสดิการสําหรับผูสูงอายุกันเอง โดยมีแนวคิดหรือมีปรัชญารวมกันคือ “ไมใหแบง ไมใหสูญ ตองถึงมือผูสูงอายุ” ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาที่วาผูสูงอายุในชนบทมากกวาครึ่งมีรายไดไมเพียงพอตอการดํารงชีวิต อยากทํางาน ผูสูงอายุที่ยากจนไมคอยมีโอกาสไดเขารวมกิจกรรมในชุมชน(สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, 2549) สรุปไดวา ระบบสวัสดิการที่รัฐมอบให แมจะชวยทําใหปญหาของผูสูงอายุไดรับการบรรเทาแตระบบสวัสดิการแบบบรรเทาปญหานี้ ไมไดชวยสงเสริมใหผูสูงอายุเกิดความเขมแข็งและสามารถพึ่งพาตนเอง ความตองการการสงเคราะหจึงเพิ่มมากขึ้นจนรัฐเองก็ยากที่จะตอบสนองไดอยางครอบคลุม อีกทั้งยังทําใหสังคมเกิดทัศนคติทางลบตอกลุมผูรับบริการ คือ ถูกมองวาเปนภาระของสังคม เปนคนไรคา ขาดศักดิ์ศรี (ศศิพัฒน ยอดเพชร, 2550) ตอมาสวัสดิการที่รัฐจัดใหจึงไดเปลี่ยนแนวคิด มาเปนการลดการพึ่งพิงจากสถาบัน (Deinstitutionalization) สรางความตระหนักถึงการพึ่งตนเอง และใหความสําคัญกับปจเจกชนวามีสิทธิเสรีภาพในการเลือกใชบริการ แผนระยะยาวสําหรับผูสูงอายุแหงชาติ พ.ศ. 2545-2565 จึงพัฒนาขึ้นบนพื้นฐานความเชื่อวา ผูสูงอายุเปนบุคคลที่มีประโยชนตอสังคมและสมควรสงเสริมใหคงคุณคาไวใหนานที่สุด ชุมชนและครอบครัวตองเปนหลักในการใหการดูแลแกผูสูงอายุที่อยูในภาวะพึ่งพา โดยรัฐเปนผูรับผิดชอบระบบบริการเสริม อยางไรก็ตาม รูปแบบของการจัดบริการของรัฐในระยะหลังนี้ก็ยังคงเนนที่การใหความชวยเหลือในปจจัยพื้นฐาน (ศศิพัฒน ยอดเพชร, 2543) อยางไรก็ตาม แรงงานนอกระบบยังคงมีปญหาในการเขาถึงระบบสวัสดิการสําหรับผูสูงอายุ ซ่ึงเปนกลุมคนที่มีแนวโนมเพิ่มสูงในอนาคตอันใกล จึงควรเรงดําเนินการสงเสริมไมเฉพาะแรงงานนอกระบบเทานั้น แตหมายรวมถึงผูสูงอายุทุกคน ทุกอาชีพ ไดเขาถึงระบบสวัสดิการผูสูงอายุอยางดวยเงื่อนไขที่เทาเทียมกันและไดรับสวัสดิการที่เปนธรรม

2.2 สวัสดิการชวยเหลือคนตกงาน สืบเนื่องจากผลกระทบจากภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจของประเทศ จึงเกิดการวางงานขึ้น

ทั้งเกิดจากการเลิกจาง ผูสําเร็จการ ศึกษาใหมจะเขาสูตลาดแรงงาน และการวางงานตามธรรมชาติ ซ่ึงใน

Page 21: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

249

ป พ.ศ. 2551 มีแรงงานที่วางงานแลวประมาณ 5 แสนคน และ คาดวาในป พ.ศ.2552 จะมีเพิ่มขึ้นเปนประมาณ 1,000,000 คน (http://www.tonkla-archeep.com/) ดังนั้น เพื่อบรรเทาปญหาการวางงาน รัฐบาลจึงกําหนดมาตรการสงเสริมการจางงานในระยะสั้น การเรงรัดบรรจุกําลังคนในตําแหนงงานวาง และการพัฒนาทักษะฝมือแรงงานเพื่อสรางโอกาสในการมีงานทําขึ้น โครงการเพิ่มศักยภาพผูวางงานเพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนนี้ จึงเปนโครงการตามมาตรการเรงดวน ที่จะเพิ่มศักยภาพใหผูวางงานใหมีความสามารถและทักษะเพิ่มขึ้น มีความตื่นตัว รับรูในความสําคัญของการสรางงาน สรางธุรกิจในระดับ ชุมชนทองถ่ิน ผูผานการฝกอบรมจะสามารถนําความรูและทักษะกลับไปทํางานในภูมิลําเนาได

การพัฒนาศักยภาพของผูวางงานใหมีความรูและทักษะใหมๆเพิ่มขึ้นเพื่อใชในการเลือกประกอบอาชีพ โดยโครงการเพิ่มศักยภาพผูวางงานเพื่อสรางมูลคาทางเศรษฐกิจและสังคมในชุมชนจะเปนผูสนับสนุนคาใชจายในการฝกอบรม และเสนอแนะแหลงทุนเพื่อการ ประกอบอาชีพในชุมชนถิ่นกําเนิด ทั้งการเปนผูประกอบการ การทําวิสาหกิจชุมชน การประกอบอาชีพเพื่อเล้ียงตนเองและครอบครัว เปนการชวยใหผูวางงานนําความสามารถกลับไปพัฒนาชุมชนทองถ่ินของตนเอง ชวยยกระดับชุมชน และรวมกันสรางชุมชนที่ยั่งยืนทั่วประเทศ โดยมีวิธีการดําเนินการ ดังนี้

- กําหนดใหมีสถาบันจัดฝกอบรม (Service Provider) ท่ีหลากหลาย

ประกอบดวย กลุมผูรับผิดชอบ 3 กลุมหลัก ไดแก - มหาวิทยาลัย/สถาบันการศึกษา ไดแก มหาวิทยาลัยของรัฐ

มหาวิทยาลัยราชภัฎ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล และสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา - กลุมเครือขายภาคประชาสังคม เชน เครือขายปราชญชาวบาน สถาบันองคกรพัฒนาชุมชน มูลนิธิ สมาคม องคการ เอกชน และภาคธุรกิจเอกชน เปนตน - กลุมสวนราชการอื่น ที่มีกิจกรรมดานการฝกอบรม เชน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน กรมสงเสริมการเกษตร เปนตน แตละหนวยเสนอหลักสูตรฝกอบรมที่ไดมาตรฐานสอดคลองกับศักยภาพและความตองการของกลุมเปาหมายแตละประเภท พรอมทั้งชี้ใหเห็นโอกาสในการมีงานทําเมื่อผานการฝกอบรมแลว โดยขอเสนอประกอบดวย เนื้อหาสาระหลักสูตรและวิธีการที่ชัดเจน ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ขนาด/จํานวนผูเขารับการฝกอบรมตอหลักสูตร สถานที่ฝกและคาใชจายตอหัว เร่ิมฝกอบรมไดตั้งแต เดือนเมษายน เปนตนไป โครงสรางหลักสูตรประกอบดวย สวนสําคัญ 2 สวน สวนแรก ไดแก ความรูพื้นฐานในการประกอบอาชีพ เชน ทัศนคติ ความรับผิดชอบ วินัยในการทํางาน ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความยั่งยืนในชุมชน ฯลฯ และสวนที่สอง ไดแก ความรูความ สามารถในวิชาชีพ เชน การเกษตรเพื่อยังชีพ การใชพลังงานทดแทน การคาขาย การใชโปรแกรมคอมพิวเตอรในการประกอบอาชีพ เชน การบัญชี เปนตน หลักสูตรการฝกอบรมควรมีลักษณะเบ็ดเสร็จสามารถประกอบ

Page 22: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

250

อาชีพไดเมื่อส้ินสุดการฝกอบรม ทั้งการประกอบ อาชีพในภาคเกษตร การประกอบอาชีพในวิสาหกิจชุมชน การประกอบอาชีพในสาขาบริการ

จากการศึกษาพบวากลุมที่มีความเขมแข็งที่สามารถจัดระบบสวัสดิการใหกับตนเองและกลุมได มีดังนี้ ตารางที่ 6.8 แสดงกลุมอาชีพท่ีเขมแข็งท่ีสุดท่ีสามารถรวมกลุมเพื่อจัดระบบสวัสดิการใหกับตนเองและกลุมได

กลุมอาชีพ ความสามารถในการรวมกลุม ขอสังเกต

1. กลุมเกษตร ไดแก เกษตรกรรับจางทํานา,ทําสวน,ทําไร,เลี้ยงสัตว 2.กลุมขับรถตูรับจาง 3. กลุมรับงานไปทําที่บาน ไดแก รับจางทําของ,รับจางผลิต,รับจางแปรรูป

สามารถรวมกลุมกันไดอยางเขมแข็ง เพื่อประโยชนในการสงเสริมอาชีพและการผลิต โดยจัดหาสวัสดิการเพื่อกลุมตนเองเพื่อลดขอจํากัดในการรวมกลุมตามลักษณะการประกอบอาชีพ

การเสริมสรางความเขมแข็งจากการรวมกลุม เปนกระบวนการที่มีความจําเปนตอการพัฒนาองคกรชุมชน เครือขาย และการพัฒนาในทองทีถ่ิน เพร าะ เปนกระบวนการจั ดการความสัมพันธระหวางคนกับคน และคนกับกระบวนทํางาน เพื่อใหองคกรชุมชนและเครือขายมีความเขมแข็ง บรรลุเปาหมายของการพัฒนาซึ่งจะเปนสวนสนับสนุนใหการพัฒนาในพ้ืนที่ประสบผลสําเร็จได

จากตารางที่ 6.8 พบวา กลุมที่มีความเขมแข็งที่สามารถจัดระบบสวัสดิการใหกับตนเองและ

กลุมได คือกลุมเกษตรกร รองลงมาคือกลุมขับรถตูรับจาง และกลุมรับงานไปทําที่บาน เชน กลุมแมบานเกษตรกร กลุมสินคาโอทอปในตําบลตาง ๆซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาวิจัยโครงการเศรษฐกิจนอกระบบ ความยากจนและการจางงานของสํานักงานแรงงานตางประเทศ (2548) พบวา เกษตรกรและแรงงานรับจางสวนใหญ ไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานภาครัฐใหรวมกลุมกันเพื่อประโยชนในการสงเสริมอาชีพและการผลิต โดยเปนสมาชิกกลุมออมทรัพย หรือกลุมอาชีพชุมชน เชนกลุมแมบาน กลุมชาว สวนยาง กลุมชาวนา กลุมเลี้ยงกุง เปนตน และไดรับการชวยเหลือดานสวัสดิการบางสวนจากกลุม อาทิ เงิน ฌาปนกิจแตการรวมกลุมดังกลาวมิไดมีวัตถุประสงคดานการคุมครองทางสังคม ในสวนของแรงงานรับจางยังไมมีการรวมกลุมอยางชัดเจน ทั้งๆ ที่แรงงานรับจางสวนใหญก็คือเกษตรกรที่ออกมารับจางทํางานนั่นเอง

6.4 การรวมกลุมเพื่อจัดสวัสดิการแรงงานนอกระบบ

Page 23: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

251

อยางไรก็ตาม การรวมกลุมกันจะกอใหเกิดการพึ่งพาตนเอง มีกระบวนการทํางานที่เขมแข็งและสามารถแกไขปญหาของกลุมไดแลว สมาชิกในกลุมก็สามารถที่จะพึ่งพาตนเองได ทั้งเรื่องของทุน ทรัพยากร ความรู และการจัดการ ที่จะนําไปสูการพัฒนาสังคมและการพัฒนาศักยภาพของกลุมที่ตอเนื่อง นอกจากนี้ การรวมกลุมยังกอใหเกิดอํานาจหรือพลัง อํานาจที่แฝงอยูเกิดขึ้นจากการรวมตัวของกลุมองคกร และเครือขาย อํานาจหรือการตอรองนี้จะไมมีการเกิดขึ้นได หากไมมีการรวมกลุมองคกรตางๆ เขาดวยกัน พลังอํานาจของการรวมกลุมนี้ บางครั้งอาจไมสงผลที่เปนรูปธรรมโดยตรง แตเปนพลังหรือประโยชนในทางออมที่บรรดากลุมหรือเครือขายอื่นๆ ใหความยอมรับในระบบการจัดการและสามารถนํามาเปนการตอรอง ในดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองได กลุมเกษตรมีการรวมกลุมกันเปนจํานวนมาก ในทีน่ี้จะขอนําเสนอตัวอยางกลุมเกษตรที่มีการบริหารจัดการและมีผลงานดเีดนระดับชาติ ซ่ึงไดรับการคัดเลือกจากกระทรวงเกษตรและสหกรณใหเปนสถาบันเกษตรกรดีเดนแหงชาติประจําป พ.ศ. 2552 พอสังเขปดังนี ้ 1. กลุมเกษตรกรทํานาทายตลาด อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี กลุมเกษตรกรทํานาทายตลาด จดทะเบียนเมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2543 มีสมาชิกแรกตั้ง 48 คน ทุนเรือนหุน 4,800.- บาท ปจจุบันมีสมาชิก 175 คน ทุนเรือนหุน 67,450.- บาท ประธานกรรมการช่ือ นายสุชาติ มวงสกุล ที่ทําการกลุมเกษตรกรตั้งอยูเลขที่ 5/3 หมูที่ 3 ต.ทายตลาด อ.เมืองลพบุรี จ.ลพบุรี

กิจกรรมเดนในปจจุบันของกลุมเกษตรกร - ผลิตปุยอินทรียจําหนายแกสมาชิกและบุคคลทั่วไป

- โครงการระดมเงินออมจากสมาชิก ความคิดริเร่ิม

1. โครงการระดมทุน มีทุนดําเนินงานนอยไมเพียงพอกับความตองการของสมาชิกในการทําธุรกิจ กลุมจึงเห็นถึงความสําคัญของการระดมทุนภายในโดยสมาชิกจะถือหุนเพิ่มอยางนอยคนละ 100 บาท ทุกครั้งเมื่อทําธุรกิจทําใหกลุมมีทุนดําเนินงานเพิ่มขึ้น ในแตละปไมนอยกวา 6,800 บาท

2. โครงการระดมเงินออมจากสมาชิก เพื่อสงเสริมใหสมาชิกรูจักการประหยัด รูจักการออมทรัพย โดยสมาชิกมีการออมทรัพยสัจจะอยางนอยวันละ 1 บาท ในปบัญชีส้ินสุด 31 มกราคม 2551 สมาชิกเขารวมโครงการ 56 ราย เปนเงิน 17,640 บาท และปบัญชีส้ินสุด 31 มกราคม 2552 สมาชิกเขารวมโครงการ 77 ราย เปนเงิน 48,100 บาท

3. โครงการขับเคล่ือนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในกลุมเกษตรกร กลุมฯ ไดเขารวมโครงการกับสํานักงานสหกรณจังหวัดลพบุรี ในปงบประมาณ 2551 จนถึงปจจุบัน เพื่อสงเสริมการประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในครัวเรือนสมาชิก มีสมาชิกเขารวมโครงการ จํานวน 70 ราย

Page 24: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

252

สมาชิกรูรายรับ-รายจายของครัวเรือนโดยจัดทําบัญชีครัวเรือน ลดรายจายในครัวเรือนโดยปลูกผักสวนครัวและผลิตน้ําปลาไวบริโภค ลดตนทุนการผลิตโดยการใชปุยอินทรีย รณรงคใหสมาชิก ลด ละ เลิก อบายมุข และสรางภูมิคุมกันใหครัวเรือนโดยการออมเงิน

4. โครงการจัดรางวัลผูมียอดเงินฝากสัจจะสูงสุดทุกรอบระยะเวลา 6 เดือน (นัดเปดกระปุก) เพื่อกระตุนใหสมาชิกเห็นประโยชน และมีกําลังใจในการออมเงินเพิ่มมากขึ้น 5. ผลิตปุยอินทรียจําหนาย เพื่อลดตนทุนการผลิตใหแกสมาชิก รณรงคลดการใชปุยเคมี และสนับสนุนใหชุมชนอนุรักษส่ิงแวดลอมที่ดี 6. กิจกรรมเชื่อมโยงธุรกิจ เพื่อใหกลุมฯ สามารถใหบริการจัดหาปุยมาจําหนายแกสมาชิกไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมฯ ไดติดตอเชื่อมโยงธุรกิจกับชุมนุมสหกรณจังหวัดลพบุรี จํากัด ทําใหกลุมไดรับสินเชื่อปุยสามารถบริการแกสมาชิกไดอยางทั่วถึง สมาชิกไดใชปุยที่มีคุณภาพ และราคาถูกกวาทองตลาด กลุมจัดหาปุยมาจําหนายแกสมาชิกในปบัญชีส้ินสุด 31 มกราคม 2551 จํานวน 540,000 บาท และปบัญชีส้ินสุด 31 มกราคม 2552 จํานวน 2,492,390 บาท 7. โครงการสงเสริมความรูดานการประกอบอาชีพ กลุมฯ เปนศูนยกลางการเรียนรู ดานการประกอบอาชีพใหแกสมาชิก โดยประสานความรวมมือกับหนวยงานราชการที่เกี่ยวของ

ความสามารถในการบริหารและการจัดการ กลุมเกษตรกรทํานาทายตลาด มีการกําหนดระเบียบเกี่ยวกับการดําเนินงานไวเปน

แนวทางในการปฏิบัติงานปบัญชีส้ินสุด 31 มกราคม 2551 กลุมเกษตรกรดําเนินธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนาย ธุรกิจการผลิตสินคาและเงินรับฝาก มีมูลคารวมทั้งสิ้น 2,100,025 บาทตอป หรือเฉลี่ยเดือนละ 175,002 บาท การบริหารธุรกิจแตละดานสรุปได ดังนี้

- ธุรกิจจัดหาสินคามาจําหนาย มีมูลคาทั้งสิ้น 1,828,031 บาท - ธุรกิจการผลิตสินคา ผลิตปุยอินทรียผสมเองโดยมีตนทุนการผลิต จํานวน 350,248.99บาท ขายใหกับสมาชิกเปนเงิน จํานวน 467,240 บาท - เงินรับฝาก รับฝากเงินจากสมาชิก จํานวน 9,180 บาท

- มีรายไดทั้งสิ้น 2,297,158.32 บาท มีคาใชจายทั้งสิ้น 2,194,239.17 บาท จึงมี กําไรสุทธิ102,919.15บาท บทบาทการมีสวนรวมของสมาชิกตอกลุมเกษตรกร

จากผลการดําเนินงานที่ผานมา มีสมาชิกรวมทําธุรกิจกับกลุมเกษตรกรจํานวน 109 ราย คิดเปนรอยละ 60.56 ของจํานวนสมาชิกทั้งหมด และสมาชิกไดเขามามีสวนรวมในการดําเนินกิจกรรมของกลุมเกษตรกร อยางตอเนื่อง ดังนี้

1) โครงการขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จํานวน 70 ราย 2) โครงการสงเสริมการผลิตสินคามาตรฐานและปลอดภัย GAP จํานวน 50 ราย 3) สมาชิกเขาประชุมใหญ จํานวน 95 ราย คิดเปนรอยละ 55 ของสมาชิกทั้งหมด

Page 25: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

253

ความมั่นคงและฐานะทางเศรษฐกิจ กลุมเกษตรกรทํานาทายตลาด มีทุนดําเนินงาน จํานวน 1,234,064.03 บาท ทุน

ดําเนินงานดังกลาวมาจากแหลงเงินทุนภายใน รอยละ 29.03 เปนทุนของกลุมเกษตรกรรอยละ 27.46 เงินรับฝากจากสมาชิกรอยละ 1.43 และหนี้สินหมุนเวียนอื่นรอยละ 0.14 สวนที่เหลืออีกรอยละ 70.97 มาจากแหลงเงินทุนภายนอกซึ่งไดรับความชวยเหลือสนับสนุนจากกรมสงเสริมสหกรณและขบวนการสหกรณในรูปของการเชื่อมโยงธุรกิจ

กิจกรรมดานสาธารณประโยชน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม - กลุมเกษตรกร ผลิตปุยอินทรียจําหนาย และสอนใหสมาชิกตลอดจนบุคคลทั่วไป ทํา การเกษตรอินทรียเพื่อรักษาสิ่งแวดลอมตั้งแตป 2550 และสงเสริมใหชุมชนผลิตเอง เพื่อจําหนายใหกลุมเกษตรกรทํานาทายตลาดจําหนายใหสมาชิกตอไป - กลุมเกษตรกร ไดสนับสนุนวัดหลวงทายตลาดตามเทศกาลและประเพณีตาง ๆ โดย ชวยเหลือบําเพ็ญประโยชนบํารุงพุทธศาสนา - กลุมเกษตรกร ไดสงเสริมใหสมาชิกใชปุยอินทรียทุกครัวเรือนทั้งการปลูกขาว และ ผักสวนครัวที่บริโภคเองและจําหนายดวย ทําใหชุมชนมีความเปนอยูดีขึ้นทาง คุณภาพชีวิตที่ปลอดภัยจากสารเคมี

2. กลุมเกษตรกรทําสวนธารน้ําทิพย จ.ยะลา ระหวาง ป พ.ศ. 2530 – 2531 ทางหมูบาน (หมูที่ 1 ตําบลธารน้ําทิพย) ไดรับงบประมาณจากทางราชการใหจัดสรางโรงปรับปรุงคุณภาพยางแผนขึ้นมาหนึ่งหลัง โดยไดรับงบประมาณจากองคการบริหารสวนจังหวัดยะลา จากนั้นโดยแกนนําซึ่งมีนายแสวง พิงพิทยากุล (กํานันตําบล -ธาน้ําทิพย) กับดวยการประสานงานของนายชํานาญ ทิพยสมบัติ เกษตรตําบลธารน้ําทิพย ในขณะนั้น ไดรวบรวมสมาชิกเพิ่มเติม และจัดตั้งเปนกลุมปรับปรุงคุณภาพยางแผนและขายยางขึ้นมา เมื่อวันที่กันยายน 2532 โดยมีสมาชิกขณะนั้น จํานวน 65 คน และไดดําเนินกิจกรรมซื้อน้ํายางสดมาแปรรูปเปนยางแผนชั้นดีออกจําหนายในตลาดเบตง และสามารถจําหนายไดราคาสูงกวาปกติ 2 บาท /กิโลกรัม เปนผลใหสมาชิกไดกําไรเปนที่นาพอใจ ทําใหเกษตรกรขางเคียงเกิดความสนใจสมัครเปน สมาชิกเพิ่มมากขึ้นเร่ือย ๆ เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2533 และไดมีการจดทะเบียนเพื่อจัดตั้งเปนกลุมเกษตรกร เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2533 มีเกษตรกรเขาเปนสมาชิกครั้งแรก จํานวน 99 คนตั้งอยูเลขที่ 95 หมูที่ 1 ตําบลธารน้ําทิพย อําเภอเบตง จังหวัดยะลา

วัตถุประสงคของการจัดตั้งกลุม 1. เพื่อดํารงไวซ่ึงผลประโยชนของสมาชิกที่มีอาชีพทําสวนยางพาราหรือสวนไมผล

2. เพื่อสงเสริมใหสมาชิกมีประสบการณในการทํางานรวมกัน 3. เพื่อจัดหาวัสดุการเกษตรบริการแกสมาชิกในราคาที่เปนธรรม

Page 26: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

254

4. เพื่อชวยเหลือสมาชิกใหมีงานทํา โดยการกระจายรายไดใหกับสมาชิกซึ่งกันและกัน 5. เพื่อรวบรวมผลผลิตยางพาราของสมาชิกมาปรับปรุงเพื่อยกระดับราคาใหสูงขึ้นโดย แปรรูปและจําหนาย 6. เพื่อบริการรับฝากเงินจากสมาชิกและสงเสริมการออมทรัพย 7. เพื่อสงเสริมและเผยแพรทางวิชาการการบริหารงานของกลุมเกษตรกรทําสวนธาร น้ําทิพย

บทบาทของกลุมเกษตรกรทําสวนธารน้ําทิพย 1. บทบาทของคณะกรรมการและสมาชิกตอการดําเนินงานของกลุม 2. ประชุมคณะกรรมการทุกเดือน เดือนละ 1 คร้ัง 3. กลุมมีคณะกรรมการ จํานวน 7 คน มีหนาที่ในการบริหารงานของกลุม 4. กลุมมีคณะผูตรวจสอบกิจการ จํานวน 3 คน ทําหนาที่ตรวจสอบกิจกรรมของ กลุมและทํารายงานเสนอตอที่ประชุมใหญ 5. คณะกรรมการทําหนังสือแตงตั้งผูจัดการและผูชวยผูจัดการ ทําหนาที่บริหารธุรกิจ ของกลุม และรับผิดชอบโรงงาน บัญชี และกิจการของกลุม 6. จัดใหมีการประชุมใหญสามัญประจําป ปละ 1 คร้ัง กําหนดใหประชุมหลังปดบัญชี วันที่ 28 กุมภาพันธของทุกป ภายใน 150 วัน 7. จัดใหมีการประชุมใหญวิสามัญประจําป 1 คร้ัง ตามที่กรรมการกําหนด 8. สมาชิกไดมีสวนรวมในการลงคะแนนเลือกตั้งคณะกรรมการบริหาร 7 คน และ ผูตรวจสอบของกลุม 3 คน ในวันประชุมใหญสามัญประจําป 9. สมาชิกมีสวนรวมในการเสนอแกไขขอบังคับของกลุมในวันประชุมใหญสามญั ประจําป ในระเบียบขอบังคับที่กลุมปรับปรุงและจัดทําใหม

บทบาทของกลุมที่มีตอการพัฒนาความเปนผูนําของคณะกรรมการและสมาชิก 1. สมาชิกเขารวมกลุมปรับปรุงคุณภาพไมผล 2. คณะกรรมการกลุมเปนคณะกรรมการหมูบานและกรรมการอื่น ๆ 3. ประธานกลุมเปนประธานกลุมเกษตรกรระดับจังหวัดและคณะกรรมการกลางระดับ ภาค 4. สนับสนุนใหสมาชิกกลุมเขารับการฝกอบรมหลักสูตรตาง ๆ 5. สนับสนุนใหสมาชิกมีสวนรวมในการประสานงานทั้งภาครัฐและเอกชน

6. สนับสนุนใหสมาชิกไปศกึษาดูงานภายในประเทศและตางประเทศ บทบาทของกลุมที่สนับสนุนใหมีความรวมมือสามัคคีในหมูคณะ 1. การเขาประชุมของคณะกรรมการและสมาชิกพรอมเพรียง 2. การรวมกันสรางงานในกลุมโดยไมคิดคาแรงและงบประมาณของทางการ

Page 27: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

255

3. การจัดหาเงินทุนในระบบตาง ๆ 4. กลุมจัดใหมีการจัดเลี้ยงสังสรรค เพื่อเชื่อมความสามัคคีระหวางสมาชิกหลังมีการ ประชุมใหญสามัญประจําป ทุกป

บทบาทของกลุมตอการพัฒนาการเกษตรและถายทอดเทคโนโลยีการเกษตร 1. รวมจัดทําหลักสูตรทองถ่ิน เร่ืองยางพารากับโรงเรียนในหมูบานและตําบล จํานวน โรงเรียน เพื่อประกอบการเรียนการสอน วิชากลุมการงานพื้นฐานอาชีพ กลุมเปนผู ออกคาใชจาย ทั้งหมด จํานวน 100 เลม งบประมาณ 6,534 บาท

2. สมาชิกไดรับการคัดเลือก ใหจัดทําแปลงสาธิตการปลูกปาลมน้ํามัน 1 ราย พื้นที่ไร งบสนับสนุน 100,000 บาท 3. สมาชิกไดรับการคัดเลือกเปนวิทยากรจุดสาธติและถายทอดเทคโนโลยี 3 จุด 3 แปลง 4. เปนฐานมวลชนในการดําเนินงานสงเสริมการเกษตรทุกรูปแบบ 5. เปนจุดสาธิตการรวมกลุมปรับปรุงคุณภาพยางแผน ศูนยถายทอด เทคโนโลยีการเกษตรประจําตําบล 6. เปนจุดแทรกแซงตลาดยางพารา ระยะที่ 6 ใชเงินรับซื้อยางพาราของเกษตรกร เปนเงินประมาณ 12 ลานบาท บทบาทของกลุมตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

กลุมขุดบอน้ําเสีย รวม 4 บอ ไวเก็บน้ําเสยีจากการแปรรูปยางแผนรมควันและยางเครฟไมใหน้ําเสียไหลลงสูคลองสาธารณะ เปนการรักษาสิ่งแวดลอม

บทบาทของกลุมตอการชวยเหลือสมาชิกและชุมชน 1. กลุมรับซื้อน้ํายางสดจากสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป สูงกวาทองตลาด 1 บาท/กก. ทําใหสมาชิกมีรายไดเพิ่ม จากการขายยางและไดเงินเฉลี่ยคืนจากการนําน้ํายางมา ขายและจากเงินปนผลคาหุน

2. ทําใหเกิดการจางแรงงานในทองถ่ิน สนับสนุนใหบุตรหลาน สมาชิกไดมีงานทํา 3. จัดหาวัสดุการเกษตร เชนปุยเคมี ยาปราบศัตรูพืช และเครื่องอุปโภคบริโภคอื่น ๆ จําหนายใหแกสมาชิกและเกษตรกรทั่วไป ในราคาถูก 4. กลุมไดขึ้นทะเบียนประกันสังคมและลงทะเบียนจายเงินสมทบกองทุนเงินทดแทน กับสํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมใหกับเจาหนาที่ และคนงาน 5. ทําใหสมาชิกมีเวลาวางเพิ่มขึ้น เนื่องจากไมตองทํายางแผนจึงมีเวลาไปทํางานอยาง อ่ืน เชน ทําสวนไมผล 6. กลุมใชระเบียบขอบังคับตามกฏหมายแรงงานลูกจางตองมีอายุไมต่ํากวา 16 ป

Page 28: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

256

ทํางานไมเกินวันละ 8 ช่ัวโมง โดยใชเครื่องนาฬิกาตอกบัตรเวลาเขางานและเลิกงาน 7. กลุมไดจดทะเบียนกองทุนฟนฟูและพัฒนาองคกรเกษตรกรมีสมาชิกรวมจดจํานวน 190 คน จํานวน 4 โรงเรียน จํานวน 4,000 บาท / ป

สรุปไดวา การรวมกลุมกันจะนําไปสูการจัดตั้งกองทุนสวัสดิการชุมชนเปนการแปรทุนทางสังคมของชุมชนใหเปนการคุมครองทางสังคม (Social Safety Network) ของสมาชิกชุมชน กองทุนสวัสดิการชุมชนสวนใหญพึ่งตนเองได ไมตองของบประมาณจากภาครัฐ และถือเปนบริษัทประกันชีวิตภาคประชาชนที่ชวยบรรเทาปญหาเมื่อสมาชิกเจ็บปวยขาดรายไดหรือเสียชีวิต นอกจากนั้น ยังเปนการสงเสริมการออมและการทํางานรวมกัน อันจะนําไปสูความเขมแข็งของชุมชนอยางยั่งยืน

ประเทศไทยไดกาวเขารวมในกระบวนการโลกาภิวัตนตามกระแสการเปลี่ยนแปลงในอนาคต จะเห็นไดจากการพัฒนาที่ผานมา ไดเปลี่ยนแปลงรูปแบบการผลิตและวิถีการดําเนินชีวิตของคนในสังคม จากสังคมเกษตรกรรมที่ผลิตเพื่อการยังชีพมาสูสังคมกึ่งอุตสาหกรรมที่ผลิตเพื่อการพาณิชย สงผลใหเกิดแรงงานรับจางขึ้นจํานวนมากและกลายเปนกลุมคนอีกชนชั้นหนึ่งของสังคมไทยขึ้นมาที่เรียกวา ผูใชแรงงาน ประเทศไทยคงปฏิเสธการเขารวมกระบวนการโลกาภิวัตนไมได เนื่องจากประเทศไทยมีความเปราะบางอยูหลายดานที่ทําใหการแผอิทธิพลเขามาของโลกาภิวัตนสามารถเกิดขึ้นโดยงาย ปราศจากการจําแนกคัดสรรหรือการชะลอเทาที่ควร อีกทั้งปจจัยภายในประเทศมีความพรอมจะเชื่อมตอกับกระแสทุนโลกาภิวัตนอยูแลว นอกจากนี้นโยบายอาศัยการลงทุนจากตางชาติเปนอีกหนึ่งปจจัยที่ชวยกระตุนการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมเปนยุทธศาสตรสําคัญในการนําเขาเทคโนโลยีทางการผลิตและทําใหเชื่อมโยงเศรษฐกิจไทย ตนทุนทางสังคมจนไปสูเศรษฐกิจโลก ดังนั้นเมื่อกระแสโลกาภิวัตนถูกเรงใหเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว อันเปนผลมาจากความกาวหนาของเทคโนโลยีในดานตาง ๆ สงผลใหมีการเรงสรางความทันสมัยซ่ึงใหความสําคัญกับการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (วัตถุนิยม) ทําใหสังคมไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางมาก เชน เปลี่ยนจากการดํารงชีวิตที่เรียบงายตามจารีตประเพณีและอาศัยความรูภูมิปญญาชาวบาน มาเปนวัตถุนิยมและเชื่อมโยงไปสูโครงสรางของครอบครัวเปลี่ยนจากครอบครัวขยายเปนครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น เปนตน จากการศึกษาเรื่อง สวัสดิการมาตรฐานที่แรงงานนอกระบบพึงไดรับ : นโยบายและแนวทางการสงเสริมสวัสดิการใหแรงงานนอกระบบ โดยภาพรวมมีขอคนพบที่จะนําไปสูการหาแนวทางแกไขปญหาหรือแนวทางการสงเสริมรวมถึงการปรับเปลี่ยนวิธีคิดเพื่อการปรับตัวใหเขากับ ยุคโลกาภิวัตน ซ่ึงปญหาเหลานี้สวนใหญจะเปนปญหาพื้นฐานแตจะมีขบวนการที่ซับซอนมากยิ่งขึ้นทํา

6.5 ขอคนพบที่แปลกใหม

Page 29: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

257

ใหการแกปญหาดังกลาวเปนไปไดยากยิ่งขึ้นตามกระแสโลกที่เปลี่ยนแปลงไป (โลกาภิวัตน) นอกจากนี้การแกปญหาหรือหาวิธีการในการสงเสริมดังกลาวนั้นที่สําคัญคือการแกปญหาเชิงลึกและแกปญหาระยะยาว โดยมีปจจัยหลักที่ขึ้นอยูกับสภาพการณทางสังคมของแตละประเทศ ซ่ึงแตละประเทศจะมีเอกลักษณที่แตกตางกันไป ทั้งนี้ปญหาสาเหตุหลัก คือ ดานเศรษฐกิจ และดานสังคม ซ่ึงมีแนวทางในการดําเนินการ ดังนี้

1. ดานเศรษฐกิจ เนื่องจากเปนปญหาสําคัญในเรื่องปากทอง ความอยูดี กินดี ซ่ึงสงผลกระทบโดยตรงตอการดํารงชีวิตของประชาชน และเปนปญหาเรงดวนสําคัญที่รัฐบาลจะตองผลักดันกอนที่จะมีผลกระทบ ตอเสถียรภาพของเศรษฐกิจในอนาคต ทั้งนี้สาเหตุประกอบดวย 1.1 การผลิตและการบริโภค 1.2 การกระจายรายไดสูประชาชน

1.3 ฐานการผลิต

1.1 การผลิตและการบริโภค การที่แตละสังคมจะสรางผลผลิตออกมาที่เรียกวาสินคาและบริการ หรือการสรางอุปกรณ เครื่องใช รวมถึงการใหบริการดานตางๆจะตองใชปจจัยการผลิตโดยพื้นฐานก็คือ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ แรงงาน ทุน และผูประกอบการ ซ่ึงปจจัยการผลิตเหลานี้เปนปจจัยที่แตละสังคมจะตองจัดหามาเพื่อนําไปผลิตในการนํามาใชในการบริโภค แตวาปญหาที่ประเทศกําลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาแลวประสบอยูก็คือปญหาความขาดแคลน ซ่ึงเปนภาวะที่ทรัพยากรมีอยางจํากัดไมเพียงพอตอการนํามาตอบสนองแกประชาชนได ซ่ึงปญหาขาดแคลนจะนําไปสูปญหาเศรษฐกิจได 3 ประการคือ 1) ผลิต อะไร (What) เนื่องจากสภาวะการณที่ขาดแคลนทรัพยากรในปจจุบัน เปนสิ่งที่สังคมจะตองรวมมือกัน เชน ภาครัฐ ภาคเอกชน และสังคมจะตองรวมคิด รวมตัดสินใจในการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เพื่อนําไปใชในทางเลือกที่ดีสุดเปนประโยชนสูงสุด และตองตอบสนองความตองการของประชาชนมากที่สุด 2) ผลิต อยางไร (How) หลังจากที่ตัดสินใจไดแลวจะนําเอาปจจัยการผลิตที่มีอยางจํากัดไปผลิตอะไรจะตองเจอกับปญหาอีกอยางคือ จะมีขั้นตอนและวิธีการผลิตอยางไร เพื่อที่จะไดผลผลิตที่เสียทรัพยากรและตนทุนที่ต่ําที่สุด 3) ผลิต เพื่อใคร (For Whom) กอนที่จะผลิต จะตองทราบถึงปญหาและความตองการของสังคมและประชาชนกอน แตวาประชาชนทุกคนก็ลวนที่มีความจําเปน ความตองการในการที่จะไดรับผลผลิตนั้น แตเนื่องจากผลผลิตที่ออกมานั้นมักจะมีอยูอยางจํากัดซึ่งจะไมสามารถตอบสนองแกประชาชนทุกคนได ซ่ึงจะตองหาทางออกใหเปนที่ยอมรับเพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางสังคม เชน การทําขอตกลงในรูปแบบสัญญาหรือการทํากติกา ขึ้นอยูกับแตละสังคม ทั้งนี้ควรใหความสําคัญกับ

Page 30: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

258

ประชาชนที่ประสบปญหาและขาดแคลนที่มีความตองการอยางแทจริงเปนสําคัญ ในการวางรากฐานใหเกิดภูมิคุมกันเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนตอไป

1.2 การกระจายรายไดสูประชาชน การกระจายรายได คือ การที่รายไดรวมของประเทศถูกจัดสรรไปยังประชาชนกลุมตางๆ ในประเทศอยางไร โดยทั่วไปไมมีประเทศใดในโลกที่มีการกระจายรายไดเทาเทียมกันหมด ทั้งนี้เพราะมนุษยเรามีความสามารถแตกตางกัน มีโอกาสไมเทากัน นอกจากนี้ยังมีปจจัยภายนอกอื่นๆ ที่มีผลตอการกระจายรายได เชน ภาวะเงินเฟอ การวางงาน และการใชนโยบายการคลังในการเก็บภาษีและใชจายเงินของรัฐบาล เปนตน ซ่ึงรัฐบาลเปนผูมีบทบาทสําคัญในการลดชองวางของรายไดในสังคมทั้งนี้เพราะการกระจายรายไดสูประชาชน เปนสูหนทางหนึ่งที่สามารถจะชวยใหประชาชนสามารถพึ่งพาตัวเองไดบางครั้งเมื่อเราพิจารณาระดับรายไดของประเทศ จากรายไดประชาชาติหรือผลิตภัณฑประชาชาติ เมื่อเปรียบเทียบที่ผานมาจะพบวา มีการเพิ่มขึ้นในอัตราสูงเปนที่นาพอใจ รายไดเฉลี่ยตอบุคคลก็เพิ่มสูงขึ้นดวย ถาจะสรุปวาสภาพเศรษฐกิจและความเปนอยูของประชาชน ทั้งหมดในประเทศดีขึ้น อาจทําใหเขาใจผิดได ทั้งนี้เพราะการที่ประเทศมีรายไดสูงขึ้น รายได สวนใหญอาจจะไปตกอยูกับประชาชนกลุมใดกลุมหนึ่งหรือเพียงบางกลุมเทานั้น ซ่ึงกอใหเกิดความไมเสมอภาคในการกระจายรายได ดังนั้น เปาหมายในดานการกระจายรายไดของประเทศ จึงจําเปนตองดําเนินควบคูไปกับเปาหมายการเพิ่มขึ้นของระดับรายได ทําใหประชาชนสวนใหญของประเทศมีรายไดเพิ่มขึ้นอยางแทจริง ในความเปนจริงเราจะพบวาไมมีประเทศใดในโลกนี้ที่มีการกระจายรายไดระหวางบุคคลในประเทศอยางเสมอภาคเทาเทียมกันหมด แมแตในประเทศที่พัฒนาแลว เชน สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน เปนตน ซ่ึงสาเหตุใหญที่กอใหเกิดความเหลื่อมลํ้าในการกระจายรายได คือ

1) ความแตกตางในความสามารถของมนุษยแตละคน 2) ความแตกตางในทรัพยสินที่ครอบครองอยู 3) โอกาสในการศึกษาแตกตางกัน 4) การดําเนินนโยบายการคลังของรัฐบาล

5) การวางงาน 6) ภาวะเงนิเฟอ 7) นโยบายพฒันาเศรษฐกิจที่ไมเสมอภาค

1.3 ฐานการผลิต จากปรากฏการณของโลกาภิวัตนทางการคา การลงทุน และการเงินมีเกิดขึ้นแลว โลกาภิวัตนทางดานแรงงาน การเคลื่อนยายแรงงานไรพรมแดนก็จึงมีมากขึ้นตามไปดวย การผลิตไรพรมแดน คือ ลักษณะประการหนึ่งของโลกาภิวัตนทางดานการผลิต สําหรับบรรษัทขามชาติขนาดใหญมีความยืดหยุนในการผลิตสินคาและบริการมากและมีการใชแรงงานเปนจํานวนมากขึ้นเพื่อ

Page 31: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

259

ในการสามารถลดขอจํากัดของตนทุนการผลิตโดยการยายฐานการผลิตเพื่อไปสูยังแรงงานที่มีคาจางถูกและประเทศที่มีทรัพยากรอยางเพียงพอ

ประเทศตะวันตกมีการเคลื่อนยายฐานการผลิตและการลงทุนมายังประเทศดอยพัฒนาหรือประเทศกําลังพัฒนาอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใชกําลังแรงงาน เพราะไมมีบริษัทไหนที่มีฐานผลิตขนาดใหญในประเทศของตนเพราะตนทุนสูงกวา การยายฐานการผลิตมายังประเทศดอยพัฒนาหรือประเทศกําลังพัฒนา ทําใหจายคาจางต่ําลง จายสวัสดิการต่ํากวา ลงทุนดานความปลอดภัย ต่ํากวา และตนทุนการผลิตต่ํากวา ดังนั้นรัฐบาลในประเทศดอยพัฒนาหรือประเทศกําลังพัฒนาตางๆ จึงมีวิธีการที่จะดึงดูดใหบรรษัทเหลานี้ยายฐานการผลิตมายังประเทศของตน เพราะมองวาเปนประโยชนตอระบบเศรษฐกิจโดยรวม เชน การจางงาน การกอใหเกิดการถายโอนเทคโนโลยี และสรางมูลคาเพิ่มตอเศรษฐกิจทองถ่ินและแรงงาน หากพิจารณาดูอุปสงคอุปทานในตลาดแรงงานแลว จะพบวา แรงงานฝมือต่ําหรือ ไรฝมือนั้นอํานาจการตอรองเปนของนายจาง เพราะยังมีอุปทานแรงงานตางดาวจากประเทศเพื่อนบานเปนอีกทางเลือกสําหรับนายจางในการจางงาน สวนแรงงานมีฝมือยังขาดแคลนในหลายสาขาวิชาชีพ อํานาจการตอรองจึงอยูที่ลูกจาง การเปดเสรีตลาดแรงงานจะบรรเทาปญหาการขาดแคลนแรงงานในบางสาขา ขณะเดียวกันก็มีผลทําใหอํานาจตอรองของฝายแรงงานลดลง ทั้งนี้ รัฐบาลควรมีการกําหนดกฏเกณฑหรือมีการสรางเงื่อนไขมาตรฐานในการตอรอง เพื่อแรงงานที่มีกําลังสามารถที่จะตอรองผูวาจาง หรือกําหนดกรอบใหผูวาจางตองมีความรับผิดชอบตอสังคม ส่ิงแวดลอม และมีคุณธรรม จริยธรรม จากขอมูลที่กลาวมาขางตน ยังมีปจจัยที่อาจทําใหการยายฐานการลงทุนและฐานการผลิตขาดประสิทธิผล เชน ปจจัยแรก คือ ขอจํากัดในการเปลี่ยนผานสูธุรกิจและอุตสาหกรรมที่เนนการสรางมูลคาเพิ่มสูง หากรัฐบาลมีการสงเสริมใหผูประกอบการยายฐานการผลิตสูตางประเทศ โดยไมมีการปรับโครงสรางอุตสาหกรรมภายในประเทศ หรือขยับมาสูอุตสาหกรรมทีกอใหเกิดมูลคาเพิ่มสูง จะทําใหการพัฒนาขาดความสมดุล และสงผลกระทบตอตนทุนของอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ ปจจัยที่สอง คือ แรงงานในประเทศยังไมไดรับการพัฒนาทักษะเพื่อรองรับภาคการผลิตที่ตองใชทักษะสูงขึ้น เมื่อเรงรีบผลักดันผูประกอบการยายฐานการผลิตสูประเทศที่มีตนทุนแรงงานต่ํากวา แรงงานไรทักษะตองสูญเสียการจางงานเปนจํานวนมาก ดั้งนั้นการยายฐานการผลิต การพัฒนาสูอุตสาหกรรมที่มีมูลคาเพิ่มสูง และการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน ไมสามารถเดินหนาสอดประสานไปพรอมกัน อาจสรางปญหาตอภาคการผลิตและแรงงานทั้งในระบบและนอกระบบรวมถึงแรงงานตางดาว จนสงผลกระทบตอเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและความเจริญเติบโตของประเทศได ทั้งนี้ ภาครัฐควรคํานึงถึงความแตกตางของขนาดทางธุรกิจ และ

Page 32: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

260

เขาใจความตองการของผูประกอบการไทย และควรดําเนินการปรับโครงสรางภาคการผลิตภายในประเทศ เพื่อรองรับสถานการณอยางทันทวงที

2. ดานสังคม การพัฒนาคนและสังคมในชวงที่ผานมาสวนใหญเปนบทบาทของภาครัฐที่เนนการทํางานเชิง

ตั้งรับเพื่อฟนฟูและแกไขปญหาสังคมที่เกิดขึ้นและมุงขยายบริการทางสังคมใหกระจายครอบคลุมประชากรทุกกลุมอยางทั่วถึง ทําใหคุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้นอยางตอเนื่อง แตยังไมอยูในระดับที่ นาพอใจ เมื่อวิกฤตเศรษฐกิจเกิดขึ้นไดสะทอนใหเห็นถึงปญหาเชิงโครงสรางที่เปนจุดออนของการพัฒนาหลายประการ อาทิ ภาครัฐมีขอจํากัดในเรื่องทรัพยากรและการบริหารจัดการที่ไมสามารถสนองตอบสถานการณการเปลี่ยนแปลงได ทันทวงที การจัดสรรเงินลงทุนเพื่อการพัฒนายังเนนดานกายภาพมากกวาการพัฒนา คุณภาพคน สงผลใหคนไทยสวนใหญไมสามารถปรับตัวใหทันตอการเปลี่ยนแปลงและใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและวิทยาการใหมๆอยางรูเทาทันโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงที่กระแสโลกาภิวัตนและเศรษฐกิจยุคใหมมีผลกระทบอยางกวางขวาง

นอกจากนี้ ยังมีปญหาเชิงโครงสรางดานเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอยางยิ่งปญหาความยากจน ปญหาการทุจริตประพฤติมิชอบ รวมทั้งปญหาความเสื่อมถอยของเอกลักษณ วัฒนธรรม คานิยมความเปนไทย ความสามัคคีและความรักชาติ ดังนั้นจะตองคํานึงถึงการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาผสมผสานกับจุดเดนของสังคมไทยที่มีความเปดกวางและยืดหยุนบนพื้นฐานวัฒนธรรมชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน โดยเนนการปรับปรุงกระบวนการและกลไกเพื่อระดมความรวมมือจากทุกฝายในการสรางภูมิคุมกันใหคนทั้งประเทศ และเสริมสรางขีดความสามารถจากฐานรากของสังคมใหเขมแข็งและรูเทาทันโลก ทั้งนี้สาเหตุอาจจะประกอบดวย 2.1 การเตรียมความพรอมและยกระดับทักษะฝมือคนไทยใหมีคุณภาพไดมาตรฐานและสอดคลองกับโครงสรางการผลิตและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป 2.2 การสงเสริมใหคนมีงานทํา 2.3 การปรับระบบการคุมครองทางสังคมใหมีประสิทธภิาพ 2.4 สังคมเอื้ออาทร 2.5 การสรางสังคมมีสวนรวม

2.6 การสงเสริมการสรางเครือขายสวัสดิการชุมชน

Page 33: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

261

2.1 การเตรียมความพรอมและยกระดับทักษะฝมือคนไทยใหมีคุณภาพไดมาตรฐานและสอดคลองกับโครงสรางการผลิตและเทคโนโลยีท่ีเปล่ียนแปลงไป เชน 2.1.1 ผลิตและพัฒนากําลังคนระดับกลาง โดยผสมผสานภูมิปญญา ทองถ่ิน ทักษะชีวิต กับความรูพื้นฐาน เชน ภาษา คณิตศาสตร คอมพิวเตอร การจัดการ เปนตน รวมทั้งใหมีบริการการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานที่หลากหลายและทั่วถึง 2.1.2 สรางเครือขายความรวมมือระหวางสถาบันการศึกษาและฝกอบรมกับสถานประกอบการทั้งในประเทศและที่ตางชาติเขามาลงทุนในการแลกเปลี่ยนทรัพยากร การประสานพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน รวมทั้งการแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศเพื่อประโยชนในการปรับหลักสูตร และการกําหนดเปาหมายการผลิตกําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน 2.1.3 สนับสนุนและเปดโอกาสใหมีการนําประสบการณในการทํางานมาเทียบโอนเพื่อเขารับการศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้น และสงเสริมใหมีการพัฒนาระบบคุณวุฒิวิชาชีพที่เนนสมรรถนะในการปฏิบัติงาน ควบคูกับการสงเสริมใหแรงงานในสถานประกอบการมีพื้นฐานการศึกษา ไมต่ํากวามัธยมศึกษาตอนตน

2.1.4 สงเสริมใหภาครัฐและเอกชนรวมมือกันจัดการฝกอบรมเพิ่มเติมใหกับ ผูที่กําลังทํางานอยูในสถานประกอบการในสาขาตางๆ เพื่อเพิ่มศักยภาพใหแรงงานมีผลิตภาพสูงขึ้น มีทักษะ ทันตอการเปลี่ยนแปลงของการคาเสรี และนําไปสูการเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันระหวางประเทศ

2.1.5 สงเสริมใหภาครัฐและเอกชนทําการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหเกิดองคความรูใหมๆ มาพัฒนาการเรียนและการฝกอบรมที่สอดคลองกับยุคโลกาภิวัตน เศรษฐกิจยุคใหมและการพัฒนาเทคโนโลยีในอนาคตบนพื้นฐานการพึ่งตนเอง

2.2 การสงเสริมใหคนมีงานทํา โดยมุงสรางอาชีพแกแรงงานใหสามารถประกอบอาชพีสวนตัวและเปนผูประกอบการขนาดเล็ก กระจายโอกาสการมีงานทําในทุกๆ พื้นที่ทั่วประเทศ สงเสริมการจางงานนอกภาคเกษตร และสงเสริมใหเกิดการจางงานในตางประเทศเปนการขยายตลาดแรงงานใหมๆ ใหแกแรงงานไทย ควบคูไปกับการพัฒนาระบบขอมูลขาวสารตลาดแรงงานและตัวช้ีวัดดานแรงงานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยใหความสําคัญดังนี้

2.2.1 สรางผูประกอบอาชีพสวนตัวและผูประกอบการขนาดเล็ก 1) สงเสริมใหผูที่ตกงานและผูวางงานโดยเฉพาะผูที่สําเร็จอาชีวศึกษาหรืออุดมศึกษามีความรูในการประกอบอาชีพสวนตัวหรือธุรกิจขนาดเล็ก โดยใหการฝกอบรมเพิ่มความรูดานเทคนิคการทําธุรกิจ การเงิน การตลาด การจัดการ แหลงเงินทุนและกฎหมายที่เกี่ยวของ

Page 34: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

262

2) เพิ่มทักษะความรูความสามารถแกผูประกอบอาชีพอิสระ ตลอดจนแรงงานที่อยูในตลาดแรงงานที่มีฝมือและกึ่งฝมือใหสามารถปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง 3) สนับสนุนแหลงเงินกูเพื่อประกอบอาชีพทั้งในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตรใหกวางขวางยิ่งขึ้น รวมทั้งสงเสริมใหชุมชนรวมกันจัดตั้งกองทุนหรือสหกรณ 4) สนับสนุนใหแรงงานไทยทํางานในภาคการผลิตที่ขาดแคลนแรงงาน โดยกําหนดมาตรการจูงใจใหมีการจางแรงงานไทยเพิ่มขึ้น ควบคูกับการจัดระบบการทํางานของแรงงาน ตางดาวใหเปนไปตามกฎหมาย ความมั่นคงของประเทศ และการมีงานทําของแรงงานไทย โดยคํานึงถึง ขอผูกพันระหวางประเทศ

2.2.2 กระจายโอกาสการมีงานทํา 1) ขยายการจางงานนอกภาคเกษตร โดยสงเสริมการฝกอาชีพที่เหมาะสมในแตละพื้นที่และตามศักยภาพใหแกเกษตรกร และกลุมแมบานเกษตรกร โดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตชลประทาน 2) สรางโอกาสการจางงานเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในกลุมผูมีรายไดนอยและกลุมยากจน โดยกระตุนใหเกิดการลงทุนในกิจกรรมทางธุรกิจที่ใชแรงงานมีทักษะฝมือนอย และกระจายไปในพื้นที่ตางๆ 2.2.3 สงเสริมการจางงานในตางประเทศ โดยการฝกอบรมทักษะอาชีพใหมๆ ซ่ึงเปนที่ตองการของตลาดตางประเทศใหกับแรงงานไทย โดยเฉพาะอาชีพในภาคบริการ เชน พนักงานดูแลเด็กและผูสูงอายุ ผูประกอบอาหารไทย หรือนวดแผนไทย เปนตน เพื่อสรางโอกาสใหคนไทยมีงานทําในตางประเทศมากขึ้น รวมถึงการสรางภาพลักษณที่ดีตอตางประเทศ และสนับสนุนเงินกูยืมดอกเบี้ยต่ําแกแรงงานไทยที่จะไปทํางานตางประเทศ และหาลูทางเปดตลาดแรงงานใหมๆ ในตางประเทศ รวมทั้งใหความรูเกี่ยวกับขอพึงปฏิบัติในการไปทํางานในแตละประเทศ 2.2.4 พัฒนาระบบขอมูลขาวสารตลาดแรงงานและดัชนีช้ีวัด 1) พัฒนาระบบขอมูลขาวสารตลาดแรงงานและระบบจัดหางานใหมีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยจัดทําทะเบียนผูวางงานทั่วประเทศและเชื่อมโยงเครอืขายขอมลูขาวสารตลาดแรงงานและระบบจัดหางานทั้งภาครัฐและเอกชนในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค ระดับจังหวัด ระดับอําเภอและชุมชน พรอมทั้งสรางความเขมแข็งใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินและชุมชนสามารถรวบรวมขอมูลดานแรงงานไดอยางครบถวนสมบูรณมากขึ้น 2) พัฒนาระบบตัวช้ีวัดดานแรงงานเพื่อสรางระบบเตือนภัยลวงหนาหรือสภาพการณแรงงานในปจจุบัน และอนาคต เพื่อใชในการกําหนดนโยบาย โดยการวิเคราะหและจัดทําตัวช้ีวัดดานตลาดแรงงาน รายได ประสิทธิภาพการผลิตของแรงงานในทุกระดับ

Page 35: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

263

2.3 การปรับระบบการคุมครองทางสังคมใหมีประสิทธิภาพ โดยพัฒนาหลักประกันทางสังคมที่มีอยูใหมีประสิทธิภาพในการสรางความมั่นคงดานรายไดและคุณภาพชีวิตแกประชาชน โดยเฉพาะการคุมครองและชวยเหลือกลุมแรงงาน คนยากจนและผูดอยโอกาส ใหพึ่งตนเองไดในระยะยาว โดยใหความสําคัญกับการคุมครองและสิทธิประโยชนที่ควรจะไดรับ 2.3.1 การปรับปรุงประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการหลักประกันทางสังคม 1) ขยายขอบเขตและประเภทการคุมครองของกองทุนประกันสังคมใหครอบคลุมแรงงานทั้งในและนอกระบบ รวมทั้งปรับปรุงระบบการบริหารจัดการกองทุนประกัน ชราภาพทั้งโดยสมัครใจและโดยการบังคับใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกองทุนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาคนและสังคมใหเปนกลไกสําคัญในการพัฒนาทั้งดานการศึกษา สุขภาพอนามัย ทักษะฝมือ และระบบสวัสดิการทางสังคม 3) พัฒนามาตรฐานดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางานใหสอดคลองกับมาตรฐานสากล รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายคุมครองแรงงานเพื่อสรางความเปนธรรมแกแรงงานสตรี ผูดอยโอกาสและแรงงานนอกระบบ

2.4 สังคมเอื้ออาทร สังคมไทยในอดีตเปนสังคมที่มีการชวยเหลือเกื้อกูลกันภายในชุมชน เพื่อใหสามารถอยูรวมกันไดอยางเปนสุข จากความเอื้ออาทรซึ่งกันและกันจึงเกิดแนวคิดประชาคมแรงงานนอกระบบขึ้น ซ่ึงทุกฝายที่เกี่ยวของกับแรงงานนอกระบบจะสามารถอยูรวมกันได จะตองมีมาตรการสําคัญดังนี้ 2.4.1 การกระจายทรัพยากรใหทั่วถึง ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ดิน น้ํา ปาความหลากหลายทางชีวภาพ และพันธุกรรม เปนสวัสดิการที่ทุกคนสามารถเขาถึงและใชประโยชนได เพื่อสรางความมั่นคงทางดานอาหาร สําหรับบางคนบางพื้นที่ก็อาจใชเปนแหลงหารายไดและวัตถุดิบพรอมกัน การใชประโยชนจากปาสาธารณะ (เชน หาเห็ด หาปลา หาหนอไม หาพืชผัก เพื่อการบริโภค) การใชประโยชนจากแหลงน้ํา (เชน การใชน้ํากิน ใชน้ําเพื่อการทํานา เพาะปลูก เล้ียงสัตว) การใชประโยชนจากทรัพยากรทางทะเล (เชน การประมง) และการใชประโยชนจากทรัพยากรสวนบุคคลของผูอ่ืน บนแนวคิดของสังคมรวมหมู (เชน การจับปลาในนาเพื่อนบาน การอนุญาตใหเพื่อนบานนําสัตวมาเลี้ยงในที่ดินของตน) (ประภาส ปนตบแตง, สุภา ใยเมือง และบัญชร แกวสอง, 2546: 118-119) ประชาชนในชุมชนเกษตรกรรม โดยเฉพาะเกษตรกร คือกลุมคนที่มีชีวิตพึ่งพิงสวัสดิการฐานทรัพยากรธรรมชาติมากที่สุด แตก็ไมไดหมายความวาประชาชนกลุมอื่นๆจะไมมีโอกาสพึ่งพิงสวัสดิการฐานนี้ ตัวอยางเชน ผูใชแรงงานอาจไปไปจับปลาในแมน้ํา ผูสูงอายุอาจไปเก็บหนอไมที่ ชายปา เด็กอาจเก็บผักบุงในลําคลองขางบาน ฯลฯ เหลานี้ก็ถือเปนการใชสวัสดิการฐานทรัพยากรเชนกัน ดังนั้นภาครัฐจึงควรการกระจายทรัพยากรใหทั่วถึง เทาเทียมกัน และใหเกิดประโยชนสูงสุด

Page 36: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

264

2.4.2 การทําใหแรงงานนอกระบบเขาถึงทรัพยากร โดยการจัดสรรพื้นที่อยูอาศัยและที่ทํากินใหกับเกษตรกรและใหแบงพื้นที่ตามแนวหลักเศรษฐกิจพอเพียงออกเปน 4 สวน ตามอัตราสวนพื้นที่สวนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ใหขุดสระเก็บกักน้ํา เพื่อใชเก็บกักน้ําฝนในฤดูฝนและ ใชเสริมการปลูกพืชในฤดูแลง ตลอดจนการเลี้ยงสัตวน้ําและพืชน้ําตาง ๆ พื้นที่สวนที่สอง ประมาณ 30% ใหปลูกขาวในฤดูฝน เพื่อใชเปนอาหารประจําวัน สําหรับครอบครัวใหเพียงพอตลอดป เพื่อตัดคาใชจายและสามารถพึ่งตนเองได พื้นที่สวนที่สาม ประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใชเปนอาหารประจําวัน หากเหลือบริโภคก็นําไปจําหนาย พื้นที่สวนที่ส่ี ประมาณ 10% เปนที่อยูอาศัย เล้ียงสัตวและโรงเรือนอื่น ๆ

นอกจากนี้ควรสนับสนุนใหแรงงานนอกระบบสามารถเขาถึงแหลงเงินทุนเพื่อการประกอบอาชีพไดสะดวกมากขึ้น โดยผานกองทุนกูยืมจากสถาบันการเงินตาง ๆ และไมมีขั้นตอนที่ยุงยากซับซอนมาก 2.4.3 การสรางความรูที่ถูกตองในการจัดการทรัพยากรไดอยางถูกตอง แตในปจจุบัน แรงกดดันของระบบทุนนิยมทําใหเกิดการบริโภคนิยม ความตองการซื้อความตองการเงิน มีมากขึ้นเรื่อยๆ การใชทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการผลิต จึงมุงการผลิตเพื่อขายผลิตใหไดมากๆ เพื่อหวังจะขายใหไดเงินมากๆ การใชปา การใชน้ํา การใชดิน จึงมุงเพิ่มปริมาณผลผลิต ทั้งผลผลิตที่ไดโดยตรงจากธรรมชาติ (เชนผลผลิตจากปา) และผลผลิตที่สรางขึ้นโดยอาศัยธรรมชาติ (เชนการเพาะปลูก) ลวนแตทําใหความอุดมสมบูรณรอยหรอลงไปอยางรวดเร็วเพราะทรัพยากรธรรมชาติมีจํากัด แตความตองการของคนมีไมจํากัด ในที่สุดคนรุนหลังๆก็ไมสามารถจะยังชีพไดดวยการอาศัยฐานทรัพยากรธรรมชาติแตเพียงดานเดียว นี่คือปรากฏการณที่ดํารงอยู รัฐจึงควรสรางความรูที่ถูกตองในการบริหารจัดการทรัพยากรไดอยางถูกตองและเปนระบบเพื่อประโยชนสูงสุด 2.5 การสรางสังคมมีสวนรวม (Social participation) แรงงานนอกระบบ มักไมคอยไดรับการเอาใจใสจากภาครัฐไมวาจะเปนเรื่องการมีสวนรวมในการทํางาน การมีสวนรวมในการคิด หรือกําหนดนโยบาย ดังนั้นภาครัฐจึงควรใหแรงงานนอกระบบเขามามีสวนรวมในการกําหนดนโยบาย ตัดสินใจ โดยรัฐมีหนาที่คอยแนะนําหรือใหความรูในฐานะพี่เล้ียงเทานั้น และไมควรเขามาแทรกแซงการดําเนินการตางๆ ของแรงงานนอกระบบ นอกจากนี้ภาครัฐจะตองมีสงเสริมทักษะและเพิ่มพูนองคความรู เชน การอบรม สัมมนาทางวิชาการ ใหความรู และประสบการณแกผูนําชุมชนเพื่อเปนการสรางความเข็มแข็งและภูมิคุมกันใหแกชุนชน โดยรัฐมีหนาที่คอยสนับสนุนหรือสงเสริม เพื่อใหผูนําชุมชนนําความรูที่ไดรับไปถายทอดสูคนในชุมชนใหสามารถดูแลประคับประคองชุมชนของตนเองไดในระยะยาว ภาครัฐควรจะมีวิธีการในการสงเสริมดังนี้ - การสรางจิตวิญญาณ เชน การปรับความรูสึก จิตใจ ทัศนคติ การยอมรับ และการคิดดี ทําดี พูดดี - การสงเสริมสติปญญา เชน การเรียนรู เพื่อใหเกิดองคความรูใและสามารถนํามาปรับใช

Page 37: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

265

แกปญหารวมถึงการมีความคิดสรางสรร เพื่อเปนการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ - การมีจริยธรรม เชน ใหมีคุณธรรมนําใจ

ดังนั้นการสรางสังคมมีสวนรวม จะดําเนินการไดโดยการจัดระบบตัวแทนจากภาคีตางๆ เขารวม เปนคณะกรรมการในการพิจารณาพัฒนาสวัสดิการแรงงานนอกระบบ ซ่ึงจะไดนําเสนอตัวแบบไวในบทที่ 7 ตอไป

อยางไรก็ตาม ในยุคโลกาภิวัตน มีการสื่อสารที่รวดเร็วทันสมัย สามารถสรางความตระหนักและการรับรูขอมูลของคนไดอยางรวดเร็ว ดังนั้นรัฐควรดําเนินการจัดทําฐานขอมูลที่ถูกตองสําหรับแรงงานนอกระบบที่สามารถพยากรณความตองการของตลาดแรงงาน หรือเหตุการณตาง ๆ ที่เกี่ยวกับเร่ืองแรงงานทั้งในประเทศและทั่วโลกวามีที่ใดมีแนวโนมความตองการความตองการสินคา หรือแรงงานประเภทใด และตองเปนขอมูลที่แรงงานนอกระบบสามารถเขาถึงไดโดยสะดวก เพื่อใหแรงงานนอกระบบสามารถพิจารณาตัดสินใจในการผลิตสินคาหรือเดินทางไปทํางานในสถานที่มีความตองการสินคา หรือแรงงานประเภทนั้น ๆ

2.6 การสงเสริมการสรางเครือขายสวัสดิการชุมชน จากการศึกษาวิจัยพบวา ปจจุบันภาคประชาชนมีการรวมกลุมกันเพื่อจัดสวัสดิการ

กันเองมากขึ้น ทั้งนี้ระบบสวัสดิการชุมชนภาคประชาชน แตยังไมไดรับการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงาน อยางไรก็ตาม ตอมากระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ไดตั้ง “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดสวัสดิการชุมชนทองถิ่น” ขึ้น โดยมีผูแทนเครือขาย/องคกรชุมชนดานสวัสดิการชุมชนทั่วทุกภูมิภาคเปนกรรมการ และจากหนวยงานที่เกี่ยวของ อาทิ กรมสงเสริมการปกครองทองถ่ิน สันนิบาตเทศบาลแหงประเทศไทย มหาวิทยาลัย สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สคช.) สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแหงชาติ และสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน(พอช.) นับเปนยางกาวที่สําคัญของงานสวัสดิการชุมชนที่รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมความเขมแข็งของชุมชนทองถ่ินใหสามารถจัดการตนเองเกี่ยวกับชีวิตความเปนอยู โดยสงเสริมบทบาทของครอบครัว ชุมชน ในการพัฒนาและแกไขปญหาสังคม ตามที่กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยไดมี “ยุทธศาสตรการพัฒนาสังคมไมทอดทิ้งกัน สังคมเขมแข็งและสังคมคุณธรรม” ขณะที่ภาคประชาชนไดมีการจัด “ระบบสวัสดิการชุมชนทองถ่ิน” อยางกวางขวางซึ่งถือเปนสวนหนึ่งของการสนับสนุนนโยบายของรัฐ เพื่อใหการจัด “ระบบสวัสดิการชุมชนทองถ่ิน” โดยภาคประชาชนที่มุงสรางหลักประกันเพื่อความมั่นคงดวยระบบการชวยเหลือเกื้อกูลของคนในชุมชนทองถ่ิน ใหมีภูมิคุมกันในการดํารงชีวิตและ “ระบบโครงขายการคุมครองทางสังคม” (Social Safety Net) ในรูปแบบวิธีการที่หลากหลายเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล มีการเชื่อมโยง ขยายผลทั่วประเทศ และมีการประสานเรียนรู เชื่อมโยงระหวาง “ระบบสวัสดิการของชุมชนกับระบบขององคกรปกครองทองถ่ินและระบบของหนวยงานภาครัฐ” อยางเกื้อกูลซ่ึงกันและกัน

Page 38: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

266

ป 2542 เกิด “สถาบันการเงินชุมชน” โดยประสานความคิดจาก 3 สวน คือ รัฐ ชุมชน และ NGOs การจัดระบบสวัสดิการชุมชน ในระยะตอมาจึงไดรับการพัฒนาอยางเปนระบบ ตัวอยางเชน ที่อําเภอ จะนะ จังหวัดสงขลา ตําบลน้ําขาว ภายใตการนําของครูชบ ยอดแกว กลุมคลองเปรี๊ยะ ภายใตการนําของนายอําพร ดวงปาน (ผูกอตั้งและอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยภูมิปญญาไท จ.สงขลา) และกลุมออมทรัพยตําบลนาหวา ภายใตการนําของนายเคลา แกวเพชร ในอําเภอเดียวกันทั้งสามกลุม ทางภาคอีสานผูนําความคิดสวนหนึ่งเปนพัฒนากร แตอีกสวนหนึ่งมาจาก NGOs เชน เครือขายองคกรชุมชน “อินแปง” ภายใตการนําของพอเล็ก กุดวงศแกว พื้นที่สวนใหญอยูที่ภูพานสกลนคร บางสวนอยูอุดรธานี กาฬสินธและมุกดาหาร มีจํานวนกวา 80 ตําบล เกือบพันหมูบาน สมาชิกกวาแสนคนซึ่งรูจักกันในนาม“อินแปง มหาวิทยาลัยชีวิต สถาบันการเรียนรูเพื่อปวงชน” LIFE : Learning Institute For Everyone รวมทั้งครูบาสุทธินันท ปรัชญพฤกษ พอผาย สรอย สระกลาง พอดําเดื่อง ภาษี พอมหาอยู สุนทรธัย พอเชียง ไทยดี ในกรุงเทพฯ รับความคิดจาก NGOs เปนสําคัญเหมือนกัน เชน เครือขายองคกรเงินผูมีรายไดนอยในชุมชนเมือง โดยสํานักงานพัฒนาชุมชนเมือง (พชม.) ปจจุบันคือสถาบันพัฒนาองคกรชุมชน (องคการมหาชน) หรือ (พมช.) เครือขายองคกรการเงินชุมชน เหลานี้ประกอบดวย เครือขายสหกรณเครดิตยูเนียน เครือขายกลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต ซ่ึงมีกรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุน เครือขายสหกรณการเกษตร ซ่ึงมีกรมสงเสริมสหกรณสนับสนุน เครือขายกลุมเกษตรกร โดยกรมสงเสริมการเกษตร เครือขายกองทุนพัฒนาหมูบานในเขตปฏิรูปที่ดินโดย สปก. เครือขายธนาคารหมูบานโดยสมาคมนักพัฒนาหมูบานและมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เครือขายกลุมสัจจะสะสมทรัพย โดยพระสุบิน ปณีโต จังหวัดตราดและพระอธิการมนัส ขันติธัมโม จังหวัดจันทบุรี เครือขายกลุมสัจจกรณ โดยมูลนิธิไทยเพื่อการพัฒนา เครือขายกองทุนหมุนเวียนที่ตั้งโดยองคกรพัฒนาเอกชน เครือขายกลุมแมบานเกษตรกร และเครือขายกลุมเยาวชนเกษตรกร ซ่ึงมีกรมสงเสริมการเกษตรสนับสนุน ทั้งหมดนี้มีกระจายไปในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ถาปราศจากสวนหนึ่งสวนใดแลวการพัฒนาระบบสวัสดิการชุมชนทองถ่ินตาง ๆ คงจะเติบโตมาถึงทุกวันนี้ไมได ในป 2544 ไดมีการเสนอรายงานวิจัยโครงการพัฒนาระบบสวัสดิการสําหรับคนจนและคนดอยโอกาสในสังคมไทย ดร.สีลาภรณ บัวสาย กลาวถึง “การศึกษารูปแบบและความเปนไปไดในการจัดสวัสดิการโดยภาคชุมชน” เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2544 ความวา การจัดสัมมนาครั้งนี้พยายามเนนศึกษาศักยภาพในการดูแลตัวเองของชุมชน และการจัดระบบสวัสดิการแบบนี้นาจะดีกวาระบบที่รัฐจัดหรืออาจจะเขาไปเสริมที่รัฐพยายามจะจัดไดอยางไร ทําใหมีการทบทวนระบบการกระจายทุนลงไปในชุมชน เพื่อปองกันไมใหเกิดสภาพที่เอาเงินเขาไปแลวชุมชนแตก เกิดการแยงชิงกัน เกิดกลุมอิทธิพลตาง ๆ (ศิริพร ยอดกลมศาสตร,2544 : 240) ที่มีการศึกษาเรื่องนี้ขึ้นมาเนื่องจากรัฐบาลใหมในชวงนั้นมีนโยบายกองทุนหมูบานละ 1 ลาน หนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) การพักชําระหนี้เกษตรกร และ 30 บาทรักษาไดเกือบทุกโรค ซ่ึงถือเปนนโยบายที่มีผลกระทบกับคนในชุมชนโดยตรง

Page 39: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

267

อยางไรก็ตาม หลักการสําคัญในการจัดสวัสดิการชุมชน โดยสรุปจากแนวคิดของลักษณะรูปแบบการจัดสวัสดิการชุมชน ที่เกิดขึ้นโดยฐานตาง ๆ ดังกลาวได 7 ประการ คือ 1. ทําจากสิง่ที่เปนจริง สอดคลองกับวิถีของแตละพื้นที่ 2. เร่ิมจากเล็กไปใหญ ทําแบบคอยเปนคอยไป 3. เงินเปนเพียงเครื่องมือไมใชเปาหมาย ใชเงินสรางเงื่อนไขทําใหคนอยากทํางาน อยากทําความดี ส่ิงสําคัญ คือ การใหความคิด ทําใหคนพึ่งตนเอง ทําความดี 4. ระบบสวัสดิการที่ดีตองชวยเหลือแบบไมกอใหเกิดการแบงแยกในชุมชน 5. เปนองครวมที่ทุกอยางเชื่อมโยงเขาหากัน กิจกรรมทุกอยางสามารถกอใหเกิดสวัสดิการไดทุกเรื่อง ตั้งแตเกิดจนตายกับคนทุกเพศทุกวัย 6. ตองเปนทั้งผูใหและผูรับ คนในชุมชนที่เกี่ยวของกับการจัดสวัสดิการเปนทั้งผูใหและผูรับเสมอ จึงมีความสัมพันธที่เทาเทียมกันและมีศักดิ์ศรี 7. ตองทําดวยความรักและอดทน ดังนั้นความหมายของ “สวัสดิการชุมชน” ในชวงป 2546 โดยสรุปไดความวา “สวัสดิการชุมชน เปนกิจกรรมอยางหนึ่งที่ชุมชนจัดขึ้น เพื่อสรางหลักประกันความมั่นคงใหคนในชุมชนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวิตดี สามารถพึ่งตนเองได ผูที่ไดประโยชนจากสวัสดิการชุมชนไดแก สมาชิกในชุมชน” ดังนั้น สวัสดิการชุมชน ถือเปนทางเลือกหนึ่ง ที่จะชวยใหเกิดความมั่นคงของชุมชนรากฐาน ใหสามารถดํารงอยูทามกลางกระแสโลกาภิวัตนไดอยางมีศักดิ์ศรี สามารถยืนหยัดไดดวยตนเอง ลดการพึ่งพาภายนอก มีการคิดคนรูปแบบสวัสดิการไดอยางหลากหลาย เชน “สวัสดิการ” ในความหมายที่กวาง ครอบคลุมการดํารงชีวิต ตั้งแตเกิดจนตาย (พอช.2547)ในชวงที่ผานมาชุมชนไดคิดคนสวัสดิการชุมชนในรูปแบบตาง ๆ ทั้งในสวนที่ชุมชนดําเนินการดวยทุนภายในของตนเอง และรูปแบบที่หนวยงานเขาไปหนุนเสริมให ส่ิงที่ชุมชนคิดทําสามารถขยายการเรียนรูไปสูพื้นที่อ่ืน ๆ อยางกวางขวาง รูปแบบการจัดสวัสดิการโดยชุมชน หรือ ฐานการจัดสวัสดิการชุมชน ในปชวง 2547 กําหนดได 7 ประการ ซ่ึงมีการเปลี่ยนแปลงไปบางจากฐานการจัดสวัสดิการชุมชนเดิมในป 2546 อยูบางประการ เชน การจัดสวัสดิการโดยฐานวิสาหกิจชุมชน การจัดสวัสดิการโดยฐานที่อยูอาศัย/ชุมชนเมือง การจัดสวัสดิการโดยฐานทรัพยากร(ดินน้ําปา) การจัดสวัสดิการผูนํา เปนตน

สรุป หัวใจของสวัสดิการชุมชน คือ การพึ่งตนเองและการชวยเหลือเกื้อกูลกัน

“ใหอยางมีคุณคา รับอยางมีศักดิ์ศรี” การจัดสวัสดิการตั้งอยูบนพื้นฐานของการเคารพและอยูรวมกันกับธรรมชาติ อยางเห็นคุณคา อยูบนพื้นฐานของศาสนา ภูมิปญญา วัฒนธรรมทองถ่ิน และการมีสวนรวมในทุกระดับ

การดําเนินงานเพื่อจัดระบบสวัสดิการชุมชนที่ผานมา สงผลใหเกิดการจัดสวัสดิการ ในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อสรางระบบการดูแลซึ่งกันและกันในชุมชนทองถ่ินตั้งแตเกิดจนตาย อาทิ เชน การจายคารักษาพยาบาลกรณีเจ็บปวย การสมทบคาทําศพ การใหทุนการศึกษาแกเด็กดอยโอกาส ในชุมชน ซ่ึงการจัดสวัสดิการดังกลาว มุงเนนใหคนในชุมชนรวมกันสมทบ และพัฒนากองทุนสวัสดิการใหมีความเขมแข็ง ดังนั้น จึงควร ยกระดับพัฒนาคุณภาพสวัสดิการชุมชนในพื้นที่เดิม ขยายกองทุนสวัสดิการในพื้นที่ใหม เชื่อมโยงขบวนสวัสดิการชุมชนใหเปนเครือขายอันจะสงผลใหเกิดพลัง

Page 40: บทที่ 6 อภิปรายผลการศ ึกษาresearch.mol.go.th/2013/rsdat/data/doc/JJHMcm1/06JJHMcm1.pdfสว สด การและร ปแบบสว

268

และผลักดันใหเร่ืองสวัสดิการชุมชนเปนวาระแหงชาติ ในการขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลใหเกิดความอยูดีมีสุข ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตลอดจนใหภาครัฐหนุนเสริมการขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการชุมชน โดยการทํางานรวมกับชุมชนทองถ่ิน และหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมทั้งบูรณาการการทํางานของหนวยงานภาครัฐโดยจัดทําแนวปฏิบัติการ ออกกฎระเบียบ ขอบัญญัติที่ทําให อปท. สนับสนุนกองทุนสวัสดิการไดอยางถูกตอง สนับสนุนกระบวนการเรียนรูเร่ืองสวัสดิการ จัดทําหลักสูตรสวัสดิการชุมชนบรรจุในหลักสูตรการศึกษา ใหประกาศเกียรติคุณกองทุนสวัสดิการ และเผยแพรสูสาธารณะ สําหรับ ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตให ศอบต. สนับสนุนกองทุนสวัสดิการชุมชน และเงินกองทุน เพื่อการแสวงบุญของชาวมุสลิม