บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 ·...

34
ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หนา 1 บทที่ 3 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต (Diversity of life) สิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีมากกวา 1.7 ลานสปชีส ในจํานวนนี้เปนสัตวถึง 1.15 ลานสปชีส พืชและโปรติสตประมาณ 0.55 ลานสปชีส แตละชนิดมีลักษณะที่แตกตางกันมากบางนอยบางมีทั้งที่อาศัยอยูในดิน บนดิน ในน้ําจืด น้ําเค็ม และ ในอากาศ นอกจากนี้ยังมีการคนพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหมๆ อยูเสมอ ฉะนั้นการศึกษาสิ่งมีชีวิตจึงตองมีการจําแนกสิ่งมีชีวิต ออกเปนหมวดหมูเพื่อความสะดวกในการศึกษา ซึ่งการศึกษาลักษณะนี้เรียกวา วิชาอนุกรมวิธาน (taxonomy) อนุกรมวิธาน (taxonomy) Taxonomy มาจากภาษากรีก taxis แปลวา การจัด + nomos แปลวา กฎ ซึ่งหมายถึง การศึกษาทั้งทาง ทฤษฎีและการปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดหมวดหมูของสิ่งมีชีวิต ซึ่งจะแบงออกเปน 3 สวนคือ 1. Classification หมายถึง กฎเกณฑการจัดสิ่งมีชีวิตออกเปนหมวดหมู โดยอาศัยพื้นฐานความรูที่เปน หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ 2. Identification หมายถึง การคนหาตรวจสอบเพื่อใหไดชื่อวิทยาศาสตรประจํากลุมโดยอาศัยหลักฐานที่มีทํา มากอน อาจเปนการทําโดยอาศัยความรูความชํานาญที่มีมากอน 3. Nomenclature หมายถึง กฎเกณฑการตั้งชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ตามที่ไดจําแนกเอาไวแลว ซึ่งตองมีหลัก และวิธีการซึ่งเปนสากล ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเรียกวา ความหลากหลายของสป7ชีส8 (specific diversity) และสิ่งมีชีวิตชนิด เดียวกันยังแตกตางกันตามสายพันธุซึ่งแตกตางกันตามพันธุกรรม เรียกวา ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ซึ่งจะสอดคลองเหมาะสมกับสภาพของแหลงที่อยูแตละทองถิ่นบริเวณตาง ๆของโลกเปนความหลากหลาย ของระบบนิเวศ (ecological diversity) ความหลากหลายทั้ง 3 ประการ คือความหลากหลายของสปชีส ความ หลากหลายทางพันธุกรรม และความหลากหลายของระบบนิเวศจึงเปนองคประกอบของความหลากหลายทาง ชีวภาพ (biological diversity) คาโรลัส ลินเนียส (Corolus Linnaeus) ป ค.ศ. 1707-1778 นักชีววิทยาชาวสวีเดน ผูวางรากฐานการจัด หมวดหมูของสิ่งมีชีวิตและไดรับยกยองวาเปน บิดาแหDงการจําแนกยุคใหมD หรือ บิดาแหDงวิชาอนุกรมวิธาน (Father of Modern Classification) ลินเนียสเปนคนแรกที่ใชชื่อภาษาลาติน 2 ชื่อ มาใชเรียกสิ่งมีชีวิต ซึ่งเรียกวา binomial nomenclature โดยชื่อแรกเปนชื่อสกุล หรือ จีนัส (generic name) และชื่อหลังเปนชื่อตัวหรือชื่อสปชีส (specific name) และวิธีนี้ยังใชกันอยูถึงปbจจุบัน นอกจากนี้ลินเนียสยังไดศึกษาพืชและเกสรตัวผู และใชเกสรตัวผูในการแบงชนิด ของพืชดอก ปbจจุบันหลักเกณฑตาง ๆของลินเนียสยังคงใชกันอยู ลําดับขั้นในการจัดหมวดหมูD ลําดับขั้นของหมวดหมูสิ่งมีชีวิต (taxonomic category) มีลําดับการจัดตั้งแต ลําดับใหญที่สุดจนถึงลําดับเล็กที่สุด ดังนี

Upload: others

Post on 28-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 1

บทท่ี 3 ความหลากหลายของส่ิงมีชีวิต (Diversity of life)

สิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีมากกว�า 1.7 ล�านสป�ชีส� ในจํานวนนี้เป�นสัตว�ถึง 1.15 ล�านสป�ชีส� พืชและโปรติสต�ประมาณ

0.55 ล�านสป�ชีส� แต�ละชนิดมีลักษณะท่ีแตกต�างกันมากบ�างน�อยบ�างมีท้ังท่ีอาศัยอยู�ในดิน บนดิน ในน้ําจืด น้ําเค็ม และในอากาศ นอกจากนี้ยังมีการค�นพบสิ่งมีชีวิตชนิดใหม�ๆ อยู�เสมอ ฉะนั้นการศึกษาสิ่งมีชีวิตจึงต�องมีการจําแนกสิ่งมีชีวิตออกเป�นหมวดหมู�เพ่ือความสะดวกในการศึกษา ซ่ึงการศึกษาลักษณะนี้เรียกว�า วิชาอนุกรมวิธาน (taxonomy)

อนุกรมวิธาน (taxonomy) Taxonomy มาจากภาษากรีก taxis แปลว�า การจัด + nomos แปลว�า กฎ ซ่ึงหมายถึง การศึกษาท้ังทาง

ทฤษฎีและการปฏิบัติเก่ียวกับการจัดหมวดหมู�ของสิ่งมีชีวิต ซ่ึงจะแบ�งออกเป�น 3 ส�วนคือ 1. Classification หมายถึง กฎเกณฑ�การจัดสิ่งมีชีวิตออกเป�นหมวดหมู� โดยอาศัยพ้ืนฐานความรู�ท่ีเป�น

หลักฐานความเก่ียวทางวิวัฒนาการ 2. Identification หมายถึง การค�นหาตรวจสอบเพ่ือให�ได�ชื่อวิทยาศาสตร�ประจํากลุ�มโดยอาศัยหลักฐานท่ีมีทํา

มาก�อน อาจเป�นการทําโดยอาศัยความรู�ความชํานาญท่ีมีมาก�อน 3. Nomenclature หมายถึง กฎเกณฑ�การต้ังชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดต�าง ๆ ตามท่ีได�จําแนกเอาไว�แล�ว ซ่ึงต�องมีหลัก

และวิธีการซ่ึงเป�นสากล ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตเรียกว�า ความหลากหลายของสป7ชีส8 (specific diversity) และสิ่งมีชีวิตชนิด

เดียวกันยังแตกต�างกันตามสายพันธุ�ซ่ึงแตกต�างกันตามพันธุกรรม เรียกว�า ความหลากหลายทางพันธุกรรม (genetic diversity) ซ่ึงจะสอดคล�องเหมาะสมกับสภาพของแหล�งท่ีอยู�แต�ละท�องถ่ินบริเวณต�าง ๆของโลกเป�นความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity) ความหลากหลายท้ัง 3 ประการ คือความหลากหลายของสป�ชีส� ความหลากหลายทางพันธุกรรม และความหลากหลายของระบบนิเวศจึงเป�นองค�ประกอบของความหลากหลายทาง ชีวภาพ (biological diversity)

คาโรลัส ลินเนียส (Corolus Linnaeus) ป� ค.ศ. 1707-1778 นักชีววิทยาชาวสวีเดน ผู�วางรากฐานการจัดหมวดหมู�ของสิ่งมีชีวิตและได�รับยกย�องว�าเป�น บิดาแหDงการจําแนกยุคใหมD หรือ บิดาแหDงวิชาอนุกรมวิธาน (Father of Modern Classification) ลินเนียสเป�นคนแรกท่ีใช�ชื่อภาษาลาติน 2 ชื่อ มาใช�เรียกสิ่งมีชีวิต ซ่ึงเรียกว�า binomial nomenclature โดยชื่อแรกเป�นชื่อสกุล หรือ จีนัส (generic name) และชื่อหลังเป�นชื่อตัวหรือชื่อสป�ชีส� (specific name) และวิธีนี้ยังใช�กันอยู�ถึงปbจจุบัน นอกจากนี้ลินเนียสยังได�ศึกษาพืชและเกสรตัวผู� และใช�เกสรตัวผู�ในการแบ�งชนิดของพืชดอก ปbจจุบันหลักเกณฑ�ต�าง ๆของลินเนียสยังคงใช�กันอยู�

ลําดับข้ันในการจัดหมวดหมูD ลําดับข้ันของหมวดหมู�สิ่งมีชีวิต (taxonomic category) มีลําดับการจัดต้ังแต�ลําดับใหญ�ท่ีสุดจนถึงลําดับเล็กท่ีสุด ดังนี้

Page 2: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 2

อาณาจักร (Kingdom) ไฟลัม (Phylum) ในพืชมักใช�ดิวิชัน(Division)

คลาส (Class) ออร�เดอร� (Order)

แฟมีลี่ (Family) จีนัส (Genus)

สป�ชีส� (Species) ช่ือของส่ิงมีชีวิต

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดท่ีรู�จักกันจะมีผู�ตั้งชื่อเพ่ือใช�ในการอ�างถึง ชือ่ขิงสิ่งมีชีวิตมี 2 ชนิด คือ 1. ช่ือสามัญ (common name) คือชื่อท่ีใช�เรียกสิ่งมีชีวิตตามภาษาท�องถ่ินหรือภาษาประจําชาติ ทําให�

สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันมีหลายชื่อ อาจเรียกชื่อตามลักษณะรูปร�าง เช�น ต�นแปรงล�างขวดปากกาทะเล ว�านหางจระเข� หรืออาจเรียกตามถ่ินกําเนิดเช�น ผักตบชวา ยางอินเดีย กกอียีปต� มันฝรั่ง นอกจากนี้อาจเรียกตามท่ีสถานท่ีอยู� เช�น ดาวทะเล ดอกไม�ทะเล ทากบก หรือประโยชน�ท่ีได�รับ เช�น หอยมุก วัวเนื้อ วัวนม เป�นต�นนอกจากนี้ในแต�ละถ่ินอาจเรียกชื่อสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันแตกต�างกันไปก็ได� ซ่ึงเรียกว�าชื่อท�องถ่ิน (local name) เช�น จิ้งโจ�น้ํา ทางแม�ฮ�องสอนเรียกว�า “หมาน้ํา” แมลงปอทางภาคใต�เรียกว�า “แมงพ้ี” ปราจีนบุรี เรียกว�า “แมงฟpา” และทางภาคเหนือเรียกว�า“แมงกะบ้ี” ดังนั้นเม่ือกล�าวถึงแมงฟpา อาจทําให�เกิดการเข�าใจผิดได� คนในภาคอ่ืนๆ ท่ีไม�ใช�จังหวัดปราจีนบุรีจะไม�ทราบว�า “แมงฟpา” คือแมลงปอ

2. ช่ือวิทยาศาสตร8 (scientific name) เป�นชื่อเรียกสิ่งมีชีวิตซ่ึงเป�นท่ียอมรับของนักวิทยาศาสตร� และเป�นชื่อท่ีกําหนดข้ึนมาหลักสากล เป�นภาษาลาติน ผู�วางหลักเกณฑ�การต้ังชื่อวิทยาศาสตร�คือ คาโรลัส ลินเนียส (Carolus Linnaeus) ชาวสวีเดน เม่ือป� ค.ศ. 1758 โดยกําหนดให�สิ่งมีชีวิตแต�ละชนิดประกอบด�วยคํา 2 คํา (binomial nomenclature) คําแรกเป�นชื่อ จีนัส (generic name) ข้ึนต�นด�วยอักษรตัวใหญ� และคําหลัง คือคําคุณศัพท�แสดงลักษณะท่ีเรียกว�า สเปซิฟRค เอพิเธต (specific epithet) ข้ึนต�นด�วยอักษรตัวเล็ก ท้ัง 2 คํารวมเรียกวDา ช่ือสป�ชีส

ต�องเขียนตัวเอนหรือขีดเส�นใต� โดยเส�นใต�ระหวDาง 2 คําไมDตDอกัน เช�น Homo sapiens or Homo sapines หมายถึง คนในแต�ละจีนัสใช�สเปซิฟsค เอพิเธต ได�เพียงครั้งเดียว แต�สเปซิฟsค เอพิเธต อาจนําไปใช�กับจีนัสอ่ืนได�เช�น

Felis เป�นจีนัสของแมวมีหลายสป�ชีส� Felis domestica แมวบ�าน Felis chaus แมวปtา Felis viverrina เสือปลา ส�วน Musca domestica เป�นแมลงวันบ�าน มีสเปซิฟsค เอพิเธต ซํ้ากับแมวบ�าน

หลักเกณฑ8ในการตั้งช่ือวิทยาศาสตร8 มีดังนี้

1. ชื่อวิทยาศาสตร�ต�องเป�นภาษาลาตินหรือรากศัพท�มาจากภาษาลาตินเสมอ เพราะภาษาลาตินเป�นภาษาท่ีตายแล�ว (เลิกใช�แล�ว) ความหมายจึงไม�มีการเปลี่ยนแปลงอีก

Page 3: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 3

2. ชื่อต�องประกอบด�วยคํา 2 คํา (binomial nomenclature) คําแรกเป�นชื่อ จีนัส (generic name) ข้ึนต�นด�วยอักษรตัวใหญ� และคําหลัง คือคําคุณศัพท�แสดงลักษณะท่ีเรียกว�า สเปซิฟRค เอพิเธต (specific epithet) ข้ึนต�นด�วยอักษรตัวเล็ก ท้ัง 2 คํารวมเรียกวDา ช่ือสป�ชีส ต�องเขียนตัวเอนหรือขีดเส�นใต� โดยเส�นใต�ระหวDาง 2 คําไมDตDอกัน

3. ถ�าทราบชื่อผู�ตั้งชื่อ จะลงชื่อย�อของผู�ตั้งชื่อตามหลังชื่อวิทยาศาสตร� เช�นต�นหางนกยูงไทยมีชื่อวิทยาศาสตร�ว�า Caesalpinia pulcherrima (Linn.) คําว�า Linn. เป�นชื่อย�อของ Linnaeus

4. แต�ละหมวดหมู�ต�องมีชื่อวิทยาศาสตร�ท่ีถูกต�องเพียงชื่อเดียว โดยใช�ชื่อท่ีตั้งก�อน 5. การกําหนดชื่อหมวดหมู�ตั้งแต� family ลงมาต�องมีตัวอย�างสิ่งมีชีวิตเป�นแบบในการพิจารณา

ตัวอยDางช่ือวิทยาศาตร8 บอกสถานท่ีพบหรือท่ีอยูDอาศัยได�แกD

ช่ือสามัญ ช่ือวิทยาศาสตร8 ความหมาย พยาธิใบไม�ในตับ Fasciola hepatica คําว�า hepatica หมายถึง ตับ ไม�รวก Thyrosostachys siamensis คําว�า siamensis มาจากคําว�า siam ซ่ึงหมายถึงไทย มะม�วง Mangifera indica คําว�า indica หมายถึง ประเทศอินเดีย บอกลักษณะ เชDน สี รูปรDาง ขนาด ได�แกD

ช่ือสามัญ ช่ือวิทยาศาสตร8 ความหมาย จําป� Michelia alba คําว�า alba หมายถึง สีขาว มะยม Phyllantus acidus คําว�า acidus หมายถึง มีรสเปรี้ยว ปลาบึก Pangasianodon gigas คําว�า gigas หมายถึง ใหญ�ท่ีสุด เชื้อโรคแอนแทรกซ� Bacillus anthrasis คําว�า bacillus =รูปท�อน และ anthrasis =โรคแอนแทรกซ� บอกช่ือผู�ตั้งหรือเปYนเกียรติแกDผู�ใดผู�หนึ่ง ได�แกD ปลาปูtมหิดล Mahidolia mystasina คําว�า Mahidolia เป�นชื่อของสมเด็จพระมหิตลาธิเบศ

อดุลเดชวิกรม พระบรมราชชนก ก้ังเจ�าฟpา Acanthosquilla sirindhorn คําว�า sirindhorn เป�นพระนามของสมเด็จพระเทพ ฯ

(Naiyanetr, 1995) คําว�า Naiyanetr คือชื่อย�อของ ศ. ไพบูลย� นัยเนตร ผู�ตั้ง ชื่อ ป� 1995

Page 4: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 4

Dichtomous key โดยแยกข�อแตกตDางทีละ 2 ข�อ ตัวอย�างเช�น ไดโคโตมัสคีย�สําหรับจัดหมวดหมู�ไฟลัมของสัตว�ไม�มีกระดูกสันหลัง 1. a. ร�างกายไม�มีสมมาตรหรือมีสสมมาตรแบบรัศมี…………………………ดูข�อ 2 b. ร�างกายมีสมมาตรแบบครึ่งซีก…………………………………………..ดูข�อ 3 2. a. มีเทนทาเคิล(tentacle)……………………………………………………Cnidaria b. ไม�มีเทนทาเคิล…………………………………………………………...ดูข�อ 4 3. a. ผนังลําตัวมีรูจํานวนมาก…………………………………………………Porifera b. ผนังลําตัวไม�มีรู………………………………………………………….Echinodermata 4. a. มีโครงร�างภายนอกตัว(exoskeleton)…………………………………….ดูข�อ 5 b. ไม�มีโครงสร�างภายนอกตัว………………………………………………ดูข�อ 6 5. a. รยางค�เป�นข�อ…………………………………………………………….Arthropoda b. รยางค�ไม�เป�นข�อ…………………………………………………………Mollusca 6. a. ลําตัวเป�นรูปทรงกระบอก………………………………………………..ดูข�อ 7 b. ลําตัวแบน………………………………………………………………Platyhelmenthes 7. a. ลําตัวแบ�งออกเป�นปล�อง ๆ …………………………………………….Annelida b. ลําตัวไม�เป�นปล�อง………………………………………………………ดูข�อ 8 8. a. มีเทนทาเคิลหรือแขนยื่นออก……………………………………………Mollusca b. ไม�มีเทนทาเคิล…………………………………………………………..Nematoda

Whittaker จําแนกสิ่งมีชีวิตเป�น 5 อาณาจักร 1. Kingdom Monera ไม�มีระยะเอ็มบริโอ เซลล�ขาดเยื่อหุ�มนิวเคลียส ได�แก� แบคทีเรีย และสาหร�ายสีเขียว

แกมน้ําเงิน 2. Kingdom Protista ไม�มีระยะเอ็มบริโอ เซลล�มีเยื่อหุ�มนิวเคลียส ได�แก� สาหร�ายสีต�างๆ โปรโตซัว ฯลฯ 3. Kingdom Fungi มีหลายเซลล� ไม�มีระยะเอ็มบริโอ ดํารงชีวิตแบบภาวะท่ีมีการย�อยสลายผนังเซลล�สร�าง

จากไคติน ได�แก� เห็ด รา และยีสต� 4. Kingdom Plantae มีระยะเอ็มบริโอ ไม�เคลื่อนท่ีตลอดชีวิต มีเม็ดสีเขียว ได�แก� พืชต�างๆ 5. Kingdom Animalia มีระยะเอ็มบริโอ เคลื่อนท่ีตลอดชีวิต หรือช�วงใดช�วงหนึ่งของชีวิต เช�น สัตว�ต�างๆ

อาณาจักรมอเนอรา (Monera)

แบ�งออกเป�น 2 ไฟลัม คือ ไฟลัมชิโซไฟตา (Phylum Schizophyta) และ ไฟลัมไซยาโนไฟตา (Phylum Cyanophyta) 1. ไฟลัมชิโซไฟตา - แบคทีเรีย

Page 5: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 5

- แหล�งท่ีพบ พบได�ท่ัวไป แทบทุกแห�งในดินในน้ําในอากาศ แหล�งท่ีเป�นน้ําพุร�อน เขตหิมะ ทะเลลึก ระบบทางเดินอาหาร และผิวหนังของสิ่งมีชีวิต

- ขนาดท่ัวไป 1-5 µm - ลักษณะรูปร�าง มี 3 ลักษณะคือ รูปร�างกลม – coccus, รูปร�างแบบแท�งยาว เรียก bacillus และรูปร�าง

เกลียว เรียก spirillum

ภาพท่ี 3-1 ลักษณะรูปร�างของแบคทีเรีย

2. ribosome ชนิด 70 s , DNA (single circular DNA) 3. cell wall ทําหน�าท่ีคงรูปร�างของเซลล� ปpองกันเซลล�แตกประกอบด�วย peptidoglycan ซ่ึงประกอบด�วยน้ําตาล 2 ชนิด คือ N-actyl glucosamine และ N-acytyl muramic acid และมี amino acid หลายชนิด และ lipid 4. บางชนิดมี capsule 5. inclusion เป�นสารสะสมในเซลล� 6. mesosome เป�นส�วนท่ีเยื่อหุ�มเซลล�บางส�วนยื่นเว�าเข�าไปในcytoplasm จะพบบริเวณท่ีจะมีการแบ�งเซลล� 7. DNA พันเป�นเกลียวคู� เรียกว�า “Bacterial chromosome” 8. plasmid จําลองตัวเองอิสระ และนําลักษณะ เช�น การด้ือยา การสร�างสารพิษ 9. มี Flagella เส�นใยเส�นเดียวหรือหลายเส�น ประกอบด�วย 3 ส�วน คือ basal body hook และ filament 10. Pilli ช�วยให�เกาะยึดติดกับผิววัสดุ และ Sex pilli ช�วยในการถ�ายทอด DNA ใน Conjugation 11. บางชนิดมี endospore เกิดในภาวะท่ีไม�เหมาะสม จะไม�ถือว�าเป�นการสืบพันธุ�แต�ถือว�าเป�นการดํารงชีพ 12. Capsule เป�นส�วนท่ีอยู�นอกเซลล� สามารถทนต�อสภาพแวดล�อมท่ีไม�เหมาะสม และทนต�อการทําลายของเม็ดเลือดขาว

การจําแนก Bacteria อาศัยลักษณะดังนี้ 1. ลักษณะทางสัณฐานวิทยา ได�แก� รูปร�าง 2. ตามอาหารท่ีได�รับ แบ�งเป�น

2.1 พวก Autotroph เป�นพวกท่ีสามารถสร�างอาหารเองได� 2.2 พวก Heterotroph เป�นพวกท่ีสามารถสร�างอาหารเองไม�ได�

3. การติดสีของผนังเซลล� [ Gram stain ] แบ�งเป�น 3.1 Gram positive เป�นพวกท่ีติดสีย�อมคริสตัลไวโอเลต

Page 6: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 6

3.2 Gram negative เป�นพวกท่ีติดสีย�อมซาฟานิน การสืบพันธุ8 * ส�วนใหญ�สืบพันธุ�แบบไม�อาศัยเพศ เรียกว�า Transverse Binary Fission * บางชนิดมีการแลกเปล่ียนสารพันธุกรรม ซ่ึงเกิดได� 3 วิธี คือ

1. Conjugation คือ การถ�ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล�หนึ่งไปยังอีกเซลล�หนึ่งด�วยการจับคู�สัมผัสกันโดยตรง 2. Transformation คือ การถ�ายทอด DNA ตัวเปล�า (naked DNA) หรือ DNA อิสระจากแบคทีเรียเซลล�หนึ่ง

ไปยังอีกเซลล�หนึ่ง 3. Transduction คือ การถ�ายทอดยีนจากแบคทีเรียเซลล�หนึ่งไปยังอีกเซลล�หนึ่งโดยอาศัยไวรัส หรือ

bacteriophage

ภาพท่ี 3-2 กระบวนการสืบพันธุ�แบบต�างๆ ของแบคทีเรีย

ไฟลัมไซยาโนไฟตา – สาหรDายสีเขียวแกมน้ําเงิน ล่ิงท่ีพบ แหล�งน้ําท่ัวๆไป แหล�งน้ําจืด น้ําเค็ม ความร�อนสูง เย็นจัด ความชื้นและแห�งแล�ง บางชนิดอยู�ร�วมกับ

เชื้อรา (ไลเคนส�) ลักษณะ * ไม�มีเยื่อหุ�มนิวเคลียส * มี chlorophyll phycocyanin phycorythin กระจายในเซลล� ไม�ได�รวมเป�น chloroplast * ผนังเซลล�เป�น cellulose pectin อยู�ในเยื่อเมือก

Page 7: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 7

* มีขนาดเล็ก มีเซลล�เด่ียวหรือเซลล�กลุ�ม เช�น Gleocapsa เซลล�ท่ีเป�นสาย เช�น oscillatoria, anabaena * ผนังเซลล�เป�นสารพวก peptidoglycan *ไม�มี flagella การสืบพันธุ8 - ส�วนมากเป�นแบบไม�อาศัยเพศ เช�น หักเป�นสาย (fragmentation ) - Binary fission ประโยชน8 - เป�นผู�ผลิตอาหาร และ O2 - Spirulina หรือเกลียวทอง มี protein สูง ใช�ทําอาหารเสริมคนและสัตว� - Nostoc Anabaena Oscillatori สามารถเพ่ิมความตรึง N ทําเป�นปุ�ยในดิน เช�น แหนแดง (Azolla) ซ่ึง Anabaena อยู�ช�องว�างกลางใบ

ภาพท่ี 3-3 สาหร�ายสีเขียวแกมน้ําเงิน

อาณาจักรโพรทิสตา (Protista Kingdom)

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตาหรือเรียกรวมๆว�า กลุDมโพรทิสต8 มีลักษณะสําคัญคือส�วนใหญ�เป�นพวกท่ีมีเซลล�เดียวหรือหลายเซลล� แต�เซลล�ยังไม�มีการจัดตัวกันเป�นเนื้อเยื่อดังเช�นพืชและสัตว� สิ่งมีชีวิตบางชนิดในกลุ�มนี้ ยังมีลักษณะของท้ังพืชและสัตว�ร�วมกัน กล�าวคือในเซลล�มีคลอโรฟsลล�เช�นเดียวกับพืช แต�มีโครงสร�างท่ีใช�ในการเคลื่อนท่ีได�เช�นเดียวกับสัตว� ดังนั้น นักชีววิทยาจึงจัดสิ่งมีชีวิตพวกนี้ไว�เป�นอาณาจักรท่ีแยกออกจากกลุ�มสัตว�และพืช

ลักษณะสําคัญของโปรติสต8 (Protist)

1.รDางกายประกอบด�วยโครงสร�างงDายๆไมDซับซ�อน ส�วนมากประกอบด�วยเซลล�เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล�รวมกันเป�นกลุ�ม เรียกว�า โคโลนี (colony) หรือเป�นสายยาว (filament) แต�ยังไม�ทําหน�าท่ีร�วมกันเป�นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต�ละเซลล�สามารถทําหน�าท่ีของความเป�นสิ่งมีชีวิตได�ครบถ�วนอย�างอิสระ 2.ไมDมีระยะตัวอDอน (Embryo) ซ่ึงต�างจากพืชและสัตว�ท่ีมีระยะตัวอ�อนก�อนท่ีจะเจริญเติบโตเป�นตัวเต็มวัย 3.การดํารงชีพ มีท้ังชนิดท่ีเป�นผู�ผลิต(Autotroph) เป�นผู�บริโภค (Consumer)และเป�นผู�ย�อยสลายอินทรียสาร 4.โครงสร�างของเซลล8เปYนแบบยูคาริโอติก(Eucaryotic) ซ่ึงมีเยื่อหุ�มนิวเคลียส 5.การเคล่ือนท่ี บางชนิดเคลื่อนท่ีได�โดยใช� ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม

Page 8: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 8

(Pseudopodium) บางชนิดเคลื่อนท่ีไม�ได� 6.การสืบพันธุ8 ท้ังแบบไม�อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีท้ังชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซ่ึงเกิดจากเซลล�สืบพันธุ�ท่ีมีรูปร�างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเช�นท่ีพบในพารามีเซียม ราดํา เป�นต�น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซ่ึงเกิดจากเซลล�สืบพันธุ� ท่ีมีรูปร�างและขนาดต�างกันมารวมกัน ดังเช�นพบในสาหร�ายเป�นส�วนใหญ�

อาณาจักรโพรทิสตา (Protista Kingdom) แบ�งออกเป�น 6 ไฟลัม คือ Phylum Protozoa Phylum Chlorophyta Phylum Chrysophyta Phylum Phaeophyta Phylum Rhodophyta Phylum Myxomycophyta

ไฟลัมโพรโทซัว (Phylum Protozoa)

ภาพท่ี 3-4 ตัวอย�างสิ่งมีชีวิตในไฟลัมโพรโทซัว

เป�นโพรทิสต�เซลล�เดียวท่ีมีขนาดเล็กมาก ต�องดูด�วยกล�องจุลทรรศน� โพรโทซัวมีรูปร�างลักษณะหลายแบบ บางพวกมีแฟลเจลลัม (flagellum) ซ่ึงมีลักษณะเป�นเส�นยาวๆยื่นออกไปจากตัวสําหรับใช�ในการเคลื่อนท่ี เช�น ยูกลีนา แคลมิโดโมแนส (Chlamydomonas sp.) บางพวกมีซิเลีย (cilia) ซ่ึงมีลักษณะคล�ายขนเส�นเล็กๆสั้นๆอยู�ท่ีผิวหรือส�วนใดส�วนหนึ่งของเซลล� สําหรับใช�ในการเคลื่อนท่ีเช�น พารามีเซียม (Paramecium sp.) วอร8ติเซลลา (Vorticella sp.)

Page 9: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 9

บางพวก เช�น อะมีบา (Amoeba) เคลื่อนท่ีได�โดยการไหลของไซโทพลาสซึม คือ เม่ือไซโทพลาสซึมไหลไปทางใด ก็จะทําให�เยื่อหุ�มเซลล�ทางนั้นยื่นปูดออกไป เรียกส�วนนั้นว�า ซูโดโปเดียม (pseudopodium) ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta)

สิ่งมีชีวิตในไฟลัมนี้เรียกรวมๆกันว�า "สาหรDายสีเขียว" เป�นสาหร�ายท่ีมีคลอโรพลาสต�สีเขียวสด ท้ังพวกเซลล�เดียว เช�น คลอเรลลา (Chlorella sp.) ชนิดท่ีเซลล�อยู�รวมกันเป�นกลุ�ม เช�น ซีนเดสมัส (Scenedesmus sp.) เพดิแอสตรัม (Pediastrum sp.) หรือเซลล�ต�อกันเป�นสายยาว เช�น สไปโรไจรา (Spirogyra sp.) หรือเทาน้ํา โดยสาหร�ายท้ังหมดท่ีกล�าวมานี้เป�นสาหร�ายท่ีพบในแหล�งน้ําจืด สาหร�ายสีเขียวท่ีอยู�ในทะเลก็มีหลายชนิด เช�น อะเซตาบูลาเรีย (Acetabularia sp.) บางชนิดมีขนาดใหญ� ได�แก� อุลวา (Ulva sp.) และโคเดียม (Codium sp.) รวมถึงสาหร�ายสีเขียวท่ีอาศัยร�วมกันกับรา ท่ีเรียกว�า ไลเคน

ภาพท่ี 3-5 คลอเรลลา (Chlorella sp.)

ไฟลัมคริโซไฟตา (Phylum Chrysophyta)

เป�นสาหร�ายท่ีมีรงควัตถุสีเหลืองหรือสีน้ําตาลปนกับคลอโรฟsลล� ได�แก� พวกไดอะตอม (Diatom sp.) หรือ สาหรDายสีน้ําตาลแกมเหลือง ผนังเซลล�มีลักษณะเป�น 2 ฝาประกบกันสนิท มีสารซิลิกาผสมอยู� ไดอะตอมพบมากท้ังในน้ําจืดและน้ําเค็ม เช�น Vancheria, Pinnularia, Cymbella เป�นต�น ซากของไดอะตอมท่ีตายทับถมอยู�ใต�ผืนน้ํามีความหนามาก จนบางแห�งมีลักษณะเป�นภูเขาใต�น้ํา สามารถนําไปใช�ประโยชน�ในอุตสาหกรรมหลายด�าน เช�น ทําเครื่องแก�ว ยาขัดโลหะ ยาสีฟbน และทําฉนวนกันความร�อนในตู�เย็น เตาอบ เตาหลอมโลหะ นอกจากนี้ยังใช�ทําไส�กรอง แผ�นกรองในอุตสาหกรรมเครื่องด่ืม

ภาพท่ี 3-6 ไดอะตอม

อาณาจักรฟmงไจ (Kingdom Fungi)

Page 10: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 10

สิ่งมีชีวิตท่ีอยู�ในอาณาจักรฟbงไจ ประกอบด�วย รา เห็ด และยีสต� ลักษณะของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรฟbงไจ 1. เซลล�เป�นแบบ Eucaryotic cell มีเยื่อหุ�มนิวเคลียส 2. ไม�มีคลอโรฟsลล� ดํารงชีวิตเป�นผู�ย�อยสลายสารอินทรีย�ท่ีเน�าเป��อย 3. ผนังเซลล�เป�นสารไคตินกับเซลลูโลส 4. มีท้ังเซลล�เดียวและเป�นเส�นใยเล็ก เรียกว�าไฮฟา (Hypha) รวมกลุ�ม เรียกว�าขยุ�มรา (mycelium) ลักษณะของเส�นใยแบ�งออกเป�น 2 ชนิด 4.1 เส�นใยมีผนังก้ัน (Septate hypha) 4.2 เส�นใยท่ีไม�มีผนังก้ัน (Nonseptate hypha or coencytic hypha)

ภาพท่ี 3-7 (a) เส�นใยมีผนังก้ัน (b) เส�นใยท่ีไม�มีผนังก้ัน

ส�วนยีสต� เป�นสิ่งมีชีวิตเซลล�เดียว แต�อาจมีการต�อกันเป�นสาย เรียกว�า Pseudomycelium เส�นใยของฟbงไจอาจเปลี่ยนแปลงแปลงรูปร�างเพ่ือทําหน�าท่ีพิเศษ ได�แก� - Haustorium เป�นเส�นใยท่ียื่นเข�าเซลล�โฮสต� เพ่ือดูดอาหารจากโฮสต� พบในราท่ีเป�นปรสิต - Rhizoid มีลักษณะคล�ายรากพืชยื่นออกจากไมซีเลียม เพ่ือยึดให�ติดกับผิวอาหารและช�วยดูดซึมอาหารด�วย เช�นราขนมปbง

สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ�งเป�น 4 ไฟลัม คือ 1. ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota) 2. ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota) 3. ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา ( Phylum Basidiomycota) 4. ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา ( Phylum Deuteromycota) ไฟลัมไซโกไมโคตา ( Phylum Zygomycota)

ราท่ีมีวิวัฒนาการตํ่าสุด ลักษณะ 1. เซลล�เด่ียวเจริญอยู�ในน้ํา บนบก และซากพืชซากสัตว� 2. เส�นใยชนิดไม�มีผนังก้ัน สร�างสปอร� เรียกว�า zygospore 3. ต�องการความชื้น 4. ดํารงชีวิตแบบปรสิต(Parasite) และผู�ย�อยสลาย (saprophyte) ประโยชน� 1. Rhizopus oryzae ผลิตแอลกอฮอล�

Page 11: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 11

2. R. nigricans ผลิตกรดฟูตริก โทษ ทําให�เกิดโรคในพืชและสัตว� ไฟลัมแอสโคไมโคตา ( Phylum Ascomycota) ลักษณะ 1. เซลล�เดียว ได�แก� ยีสต� นอกนั้นเป�นพวกมีเส�นใยมีผนังก้ันและเป�นราคล�ายถ�วย (cup fungi) 2. ดํารงชีวิตบนบก สร�างสปอร� ท่ีมีชื่อว�า ascospore ไฟลัมเบสิดิโอไมโคตา ( Phylum Basidiomycota) ลักษณะ 1. เส�นใยมีผนังก้ันและรวมตัวอัดแน�นเป�นแท�งคล�ายลําต�น เช�น ดอกเห็ด 2. การสืบพันธุ� สร�างสปอร�ท่ีสร�างโดยอาศัยเพศสร�างบนอวัยวะคล�ายกระบองหรือเบสิเดียม (basidium) เรียกว�า แบสิดิโอสปอร� (basidiospore) ไฟลัมดิวเทดโรไมโคตา ( Phylum Deuteromycota) ลักษณะ 1. เส�นใยมีผนังก้ัน 2. สืบพันธุ�ไม�แบบอาศัยเพศเท�านั้น โดยสร�างสปอร�ท่ีเรียกว�า โคนิเดีย (conidia) จึงเรียกราในกลุ�มนี้ว�า Fungi Imperfecti 3. แต�หากเม่ือใดมีการสืบพันธุ�แบบอาศัยเพศจะไปอยู�ใน Ascomycetes และ Basidiomycetes ประโยชน�

Penicillium chrysogernum ใช�ผลิตยาปฏิชีวนะเพนิซิลลิน Aspergillus wendtii ใช�ผลิตเต�าเจี้ยว A. oryzae ใช�ผลิตเหล�าสาเก เป�นต�น โทษ

ทําให�เกิดโรคในพืช และทําให�เกิดโรคในคน เช�น กลาก เกลื้อน โรคเท�าเป��อยหรือฮ�องกงฟุต อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)

พืชมีโครงสร�างท่ีประกอบข้ึนด�วยหลายเซลล�ท่ีมารวมกลุ�มกันเป�นเนื้อเยื่อท่ีทําหน�าท่ีเฉพาะอย�าง เซลล�ของพืชมีผนังเซลล�ท่ีมีสารประกอบ เซลลูโลส (cellulose) เป�นองค�ประกอบท่ีพบเป�นส�วนใหญ� พืชทุกชนิดท่ีคุณสมบัติท่ีสามารถสร�างอาหารได�เองจากระบวนการสังเคราะห�ด�วยเสง โดยบทบาทของรงควัตถุคลอโรฟsลล� (chlorophyll a & b) ท่ีอยู�ในคลอโรพลาสต�เป�นสําคัญ รงควัตถุหลักท่ีพบได�ในเซลล�พืชจะเหมือนกับพบในเซลล�ของสาหร�ายสีเขียว ได�แก� คลอโรฟsลล� เอ คลอโรฟsลล� บี และแคโรทีนอยด� นอกจากนี้พืชยังสะสมอาหารในรูปของแปpง (starch) วงชีวิต (life cycle) ของพืชเป�นวงชีวิตแบบสลับ (Alternation of Generation) คือ ประกอบด�วยช�วงชีวิตท่ีเป�นสปอโรไฟต�

Page 12: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 12

(sporophyte generation) ทําหน�าท่ีสร�างสปอร� (spore) สลับกับช�วงชีวิตท่ีเป�นแกมีโทไฟต� (gametophyte generation) ทําหน�าท่ีสร�างแกมีต ( gamete) ได�แก� เซลล�สืบพันธุ�เพศผู�หรือสเปsร�ม (sperm) และเซลล�สืบพันธุ�เพศเมียหรือไข� (egg) ซ่ึงจะมารวมกันเพ่ือให�ได�เป�นเซลล�ใหม�คือ ไซโกต (zygote)

ภาพท่ี 3-8 วงชีวิตแบบสลับของพืช การจัดจําแนกพืช

พืชท่ีพบในปbจจุบันมีจํานวนไม�น�อยกว�า 260,000 ชนิด แบ�งออกได�เป�น 2 กลุ�มใหญ� ๆ คือ 1. พืชไม�มีระบบท�อลําเลียง (nonvascular plant) 2. พืชมีระบบท�อลําเลียง (vascular plant)

การจัดจําแนก ลักษณะสําคัญ ตัวอยDางพืช 1. Division Bryophyta 2. Division Lycophyta 3. Division Sphenophyta 4. Division Psilophyta 5. Division Pterophyta 6. Division Coniferophyta 7. Division Gnetophyta 8. Division Ginkgophyta 9. Division Anthophyta

พืชไม�มีท�อลําเลียง แบ�งเป�น 3 คลาส คือ Bryopsida(mosses) Hepaticopsida(liverwort) Anthoceropsida (hornwort) พืชมีท�อลําเลียงแต�ยังสร�างสปอร� lycopodium selaginella พืชมีท�อลําเลียงแต�ยังสร�างสปอร� equisetum พืชมีท�อลําเลียงแต�ยังสร�างสปอร� psilotum พืชมีท�อลําเลียงแต�ยังสร�างสปอร� fern พืชมีท�อลําเลียงสร�างเมล็ดเปลือย conifers พืชมีท�อลําเลียงสร�างเมล็ดเปลือย ephedra Gnetum Welwitschia พืชมีท�อลําเลียงสร�างเมล็ดเปลือย ginkgo พืชมีท�อลําเลียงสร�างเมล็ด angiosperm

1. พืชไมDมีระบบทDอลําเลียง หมายถึง พืชท่ียังไม�เนื้อเยื่อลําเลียงน้ํา คือ ไซเล็ม (xylem) และเนื้อเยื่อลําเลียงอาหาร คือ โฟลเอ็ม (phloem) พืชกลุ�มนี้มีเพียงดิวิชันเดียวได�แก� ดิวิชันไบรโอไฟตา (Division Bryophyta) เรียกโดยท่ัวไปว�า ไบรโอไฟต� (bryophyte) มีท้ังสิ้นประมาณ 16,000 ชนิด พืชในดิวิชันนี้มีขนาดเล็ก มีโครงสร�างง�าย ๆ ยัง

Page 13: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 13

ไม�มีราก ลําต�นและใบท่ีแท�จริง ชอบอาศัยอยู�ตามท่ีชุ�มชื้น การสืบพันธุ�แบบอาศัยเพศยังต�องอาศัยน้ําสําหรับให�สเปsร�มท่ีมีแฟเจลลา (flagella) ว�ายไปผสมกับไข� ต�นท่ีพบเห็นโดยท่ัวไปคือแกมีโทไฟต� (มีแกมีโทไฟต�เด�น) รูปร�างลักษณะมีท้ังท่ีเป�นแผ�นหรือแทลลัส (thallus) และคล�ายลําต�นและใบของพืชชั้นสูง (leafy form) มีไรซอยด� (rhizoid) สําหรับยึดต�นให�ติดกับดินและช�วยดูดน้ําและแร�ธาตุ มีส�วนคล�ายใบ เรียก phylloid และส�วนคล�ายลําต�นเรียกว�า cauloid แกมีโทไฟต�ของไบรโอไฟต�มีสีเขียวเพราะมีคลอโรฟsลล�สามารถสร�างอาหารได�เอง ทําให�อยู�ได�อย�างอิสระ เม่ือแกมีโทไฟต� เจริญเต็มท่ีจะสร�างเซลล�สืบพันธุ�คือสเปsร�มและไข�ต�อไป ภายหลังการปฏิสนธิของสเปsร�มและไข�จะได�ไซโกตซ่ึงแบ�งตัวเจริญต�อไปเป�นเอ็มบริโอและสปอร�โรไฟต�ตามลําดับ สปอโรไฟต�ของ ไบรโอไฟต�มีรูปร�างลักษณะง�าย ๆ ไม�สามรถอยู�ได�อย�างอิสระจะต�องอาศัยอยู�บนแกมีโทไฟต�ตลอดชีวิต พืชในดิวิชันนี้สร�างสปอร�เพียงชนิดเดียว จําแนกพืชในดิวิชัน ไบรโอไฟตาได�เป�น 3 คลาส (Class) ดังต�อไปนี้

♦ คลาสเฮปาทิคอปซิดา (Class Hepaticopsida) เรียกโดยท่ัวไปว�า ลิเวอร�เวิร�ต (liverwort)

♦ คลาสแอนโทเซอรอปซิดา (Class Anthoceropsida) เรียกโดยท่ัวไปว�า ฮอร�นเวิร�ต (hornwort)

♦ คลาสไบรออฟซิดา (Class Bryopsida) เรียกโดยท่ัวไปว�า มอส (moss)

ภาพท่ี 3-9 ลิเวอร�เวิร�ต ฮอร�นเวิร�ต และมอส

2. พืชมีระบบทDอลําเลียง หมายถึง พืชท่ีมีเนื้อเยื่อลําเลียงน้ํา (xylem) และเนื้อเยื่อลําเลียงอาหาร (phloem) เกิดข้ึนแล�ว ส�วนใหญ�ของพืชกลุ�มนี้มีราก ลําต�น และใบ ท่ีแท�จริง มีรูปร�างลักษณะและขนาดแตกต�างกันออกไปเป�นหลายรูปแบบ ต�นท่ีเห็นได�ท่ัวไปคือสปอโรไฟต� (มีสปอร�โรไฟต�เด�น) แกมีโทไฟต�มีขนาดเล็ก แบ�งออกได�เป�น 2 พวก คือ

2.1 พืชมีระบบท�อลําเลียงท่ียังไม�สร�างเมล็ด (seedless plant) จําแนกพืชพวกนี้ออกได�เป�น 4 ดิวิชัน ดังต�อไปนี้

� ดิวิชันไซโลไฟตา (Division Psilophyta) พืชในดิวิชันนี้ท่ีพบได�ในประเทศไทย ได�แก� Psilotum รู�จักกันในชื่อไทยว�า หวายทะนอย สปอโรไฟต�ของพืชนี้ มีรูปร�างลักษณะง�าย ๆ คือ มีแต�ลําต�นยังไม�มีรากและใบ ลําต�นมีลักษณะเป�นไม�เนื้ออ�อนขนาดสูงประมาณ 20 –30 เซนติเมตร แตกก่ิงเป�น 2 แฉก (dichotomous branching)

Page 14: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 14

ภาพท่ี 3-10 ลักษณะของหวายตะนอย

� ดิวิชันไลโคไฟต� (Division Lycophyta) สปอโรไฟต�ของพืชดิวิชันนี้มีราก ลําต�นและใบครบ ทุกส�วน ใบมีขนาดเล็ก เป�นใบแบบไมโครฟsลล� (microphyll) คือเป�นใบท่ีมีเส�นใบเพียงเส�นเดียว สปอโรไฟต�ท่ีเจริญ เต็มท่ีแล�ว จะสร�างอับสปอร�บนใบท่ีมักมีรูปร�างและขนาดแตกต�างไปจากใบท่ีพบท่ัวไป เรียกใบชนิดนี้ว�า สปอโรฟsลล� (sporophyll) ซ่ึงจะมาเรียงซ�อนกันแน�นอยู�ท่ีปลายก่ิงเป�นโครงสร�างท่ีเรียกว�า สโตรบิลัส (strobilus) หรือโคน (cone) พืชในดิวิชันนี้มีท้ังท่ีสร�างสปอร�ชนิดเดียวและ 2 ชนิด ตัวอย�างท่ีรู�จักกันดีได�แก� Lycopldium (ช�องนางคลี่ สร�อยสุกรม สามร�อยยอด และหางสิงห�) และ Selaginella (ตีนตุ�กแก พ�อค�าตีเมีย เฟ�อยนก)

ภาพท่ี 3-11 ลักษณะของ Lycopldium

� ดิวิชันสฟ�โนไฟตา (Division Sphenophyta) พืชท่ีมีท�อลําเลียงในดิวิชันนี้มีเพียงวงศ�เดียว

คือ Equisetaceae (Equisetum)

Page 15: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 15

ภาพท่ี 3-12 Equisetum

� ดิวิชันเทอโรไฟตา (Division Pterophyta) พืชดิวิชันนี้มีชื่อท่ัวไปว�า เฟsร�น (fern) มีจํานวน มากท่ีสุดในบรรดาพืชท่ียังไม�สร�างเมล็ดคือประมาณ 11,000 ชนิด สปอโรไฟต�ของเฟsร�นมีราก ลําต�นและใบเจริญดี เฟsร�นส�วนใหญ�มีลําต�นใต�ดิน ใบของเฟsร�นเรียกว�า ฟรอนด� (frond) เป�นส�วนท่ีเห็นเด�นชัด มีขนาดใหญ�เป�นใบแบบเมกะฟsลล� (megaphyll) ใบอ�อนของเฟsร�นมีลักษณะพิเศษคือ จะม�วนเป�นวง (circinate venantion) สปอโรไฟต�ท่ีเจริญเต็มท่ีจะสร�างอับสปอร� ซ่ึงมารวมกลุ�มอยู�ท่ีด�านได�ใบ แต�ละกลุ�มของอับสปอร�เรียกว�า ซอรัส (sorus) เฟsร�นส�วนใหญ�สร�างสปอร�ชนิดเดียว ยกเว�นเฟsร�นบางชนิดท่ีอยู�ในน้ํา และท่ีชื้นแฉะ ได�แก� จอกหูหนู แหนแดง และผักแว�น

2.2 พืชมีระบบท�อลําเลียงท่ีสร�างเมล็ด (seed plant) พืชพวกนี้นับว�ามีวิวัฒนาการอย�างดี การ

สืบพันธุ�แบบอาศัยเพศไม�จําเป�นต�องอาศัยน้ําเป�นตัวกลางเหมือนกับพืชอ่ืนท่ี กล�าวมาข�างต�น สปอโรไฟต�มีรูปร�างลักษณะและขนาดหลายรูปแบบ ทุกชนิดสร�างสปอร� 2 ชนิด แกมีโทไฟต�ยิ่งลดรูปลงไปมาก และไม�สามารถอยู�ได�อย�างอิสระ ต�องอาศัยสปอร�โรไฟต� มีการสร�างเมล็ด ซ่ึงเป�นส�วนห�อหุ�มเอ็มบริโอเอาไว� เมล็ดเจริญเปลี่ยนแปลงมาจากโครงสร�างท่ีเรียกว�า ออวุล (ovule) ซ่ึงเป�นโครงสร�างท่ีไม�พบในพืชท่ีไม�สร�างเมล็ด

พืชพวกนี้แบ�งออกได�เป�น 2 กลุ�ม คือ พืชท่ีเมล็ดไม�มีเครื่องห�อหุ�ม ได�แก� พืชพวกจิมโนสเปsร�ม (gymnosperm) และพืชท่ีเมล็ดมีเครื่องห�อหุ�ม ได�แก� พืชพวกแองจิโอสเปsร�ม (angiosperm) หรือพืชมีดอก (flowering plant)

2.2.1 จิมโนสเปsร�ม เป�นพืชท่ีเมล็ดไม�มีเครื่องห�อหุ�ม สปอโรไฟต�ส�วนใหญ�มีลักษณะเป�นไม� ยืนต�น (tree) บางชนิดเป�นไม�พุ�ม (shrub) และไม�เลื้อย (climber) เม่ือแกมีโทไฟต�เพศผู�หรือละอองเรณูไปตกลงท่ีออวุล จะงอกหลอดละอองเรณู (pollen tube) เข�าไปในแกมีโทไฟตเพศเมีย และสร�างสเปsร�มเข�าไปผสมกับไข�ได�เป�น ไซโกตและเอ็มบริโอ พืชกลุ�มจิมโนสเปsร�มแบ�งเป�น 4 ดิวิชันดังต�อไปนี้

� ดิวิชันไซแคโดไฟตา (Division Cycadophyta) พืชดิวิชันนี้มีอยู�ประมาณ 60 ชนิด ตัวอย�าง ท่ีรู�จักกันดีคือ พวกปรง (Cycas) สปอโรไฟต�มีลําต�นอวบ เต้ีย และมักไม�แตกแขนง มีใบเป�นใบประกอบแบบขนนกขนาดใหญ� เกิดเป�นกระจุกท่ีบริเวณยอดของลําต�น ใบย�อยมีรูปร�างเรียวยาว และแข็งสปอโรไฟต�ท่ีเจริญเต็มท่ีจะสร�างโคนเพศผู� และโคนเพศเมีย แยกตัวกัน

ภาพท่ี 3-13 สปอโรไฟต� และ male gametophyte - female gametophyte ของปรง

Page 16: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 16

� ดิวิชันกิงโกไฟตา (Division Ginkgophyta) ปbจจุบันมีเพียงชนิดเดียวคือ Ginkgo biloba

หรือแปะก�วย เป�นพืชท่ีข้ึนอยู�ในเขตอบอุ�น เช�น ในประเทศจีน สปอโรไฟต�มีลักษณะเป�นไม�ยืนต�นขนาดสูงใหญ� แตกก่ิงก�านสาขาเป�นจํานวนมาก ใบมีรูปร�างคล�ายพัด สปอโรไฟต�ท่ีเจริญเติบโตเต็มท่ีจะสร�างโคนเพศผู�และโคนเพศเมีย แยกต�นกัน

ภาพท่ี 3-14 Ginkgo

� ดิวิชันโคนิเฟอโรไฟตา (Division Coniferophyta) เป�นจิมโนสเปsร�มท่ีมีจํานวนมากท่ีสุด มี หลายสกุลด�วยกัน ท่ีรู�จักกันดีคือ Pinus ได�แก� สนสองใบ และสนสามใบ เป�นต�น

� ดิวิชันนีโทไฟตา (Division Gnetophyta) Gnetum (มะเม่ือย) ส�วนใหญ�มีลักษณะเป�นไม� เลื้อยท่ีมีใบรูปร�าง คล�ายใบของพืชใบเลี้ยงคู�ในพืชมีดอก

ภาพท่ี 3-15 Gnetum

2.2.1 แองจิโอสเปsร�ม หรือ พืชมีดอก เป�นพืชกลุ�มท่ีจัดว�ามีวิวัฒนาการสูงสุดในบรรดาสิ่งมีชีวิต ใน อาณาจักรพืช สามารถปรับตัวให�เข�ากับสภาพแวดล�อมต�าง ๆ ได�ดีกว�าพืชกลุ�มอ่ืน จึงพบเห็นได�ท่ัวไป ดิวิชัน แอนโทไฟตา (Division Anthophyta) แบ�งออกได�เป�น 2 คลาส คือ

♦ คลาสไดคอทีเลโดเนส (Class Dicotyledones) ได�แก� พืชใบเลี้ยงคู�ท้ังหมดมีอยู�ประมาณ 170,000 ชนิด ลักษณะท่ัวไปคือ มีใบเลี้ยง 2 ใบ เส�นใบเป�นร�างแห รากเป�นระบบรากแก�ว และส�วนประกอบของดอก (เช�น กลีบเลี้ยง กลีบดอก) มีจํานวนเป�น 4 – 5 หรือทวีคูณของ 4 – 5

Page 17: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 17

♦ คลาสมอโนคอทีเลโดเนส (Class Monocotyledones) ได�แก� พืชใบเลี้ยงเด่ียว ท้ังหมดมีอยู�ประมาณ 60,000 ชนิด ลักษณะท่ัวไป คือ มีใบเลี้ยงใบเดียว ใบมีเส�นใบเรียงตัวแบบขนาน รากเป�นระบบรากฝอย ส�วนประกอบของดอกมีจํานวนเป�น 3 หรือทวีคูณของ 3

ภาพท่ี 3-16 เปรียบเทียบพืชใบเลี้ยงเด่ียว กับ พืชใบเลี้ยงคู�

อาณาจักรสัตว8 (Kingdom Animalia หรือ Metazoa)

อาณาจักรสัตว�ประกอบด�วยสิ่งมีชีวิตหลายเซลล� มีวิวัฒนาการมาจากสิ่งมีชีวิตเซลล�เดียว ไม�มีคลอโรฟsลล�จึงสร�างอาหารเองไม�ได� จัดเป�นสิ่งมีชีวิตพวกเฮเทอโรโทรพ (Heterotroph) มีตั้งแต�สัตว�ชั้นตํ่าท่ียังไม�มีอวัยวะจนถึงสัตว�พวกท่ีมีอวัยวะต�างๆสลับซับซ�อนเพ่ือทําหน�าท่ีเฉพาะอย�าง ในปbจจุบันมีสัตว�ประมาณ 1.8 ล�านชนิด เกณฑ8ในการพิจารณาและจดัส่ิงชีวิตเข�าไว�ในอาณาจักรสัตว8

1. เซลล�แบบยูคาริโอต (Eukaryotic cell) คือเซลล�ท่ีมีเยื่อหุ�มนิวเคลียส ในไซโทพลาสซึมมีออร�แกนเนลล�ต�างๆ กระจายอยู�

2. ร�างกายประกอบด�วยเซลล�ชนิดท่ีไม�มีผนังเซลล� เรียกว�าเซลล�สัตว� ทําให�เซลล�มีลักษณะอ�อนนุ�มและแตกต�างไปจากเซลล�พืช เซลล�เหล�านี้จะมารวมกันเป�นเนื้อเยื่อเพ่ือทําหน�าท่ีเฉพาะอย�าง ซ่ึงพบว�าเซลล�ในเนื้อเยื่อมักมีขนาดและรูปร�างเหมือนกัน มีการประสานการทํางานระหว�างกัน สัตว�ชั้นสูงมีเนื้อเยื่อหลายชนิดสามารถจําแนกตามหน�าท่ีและตําแหน�งท่ีอยู�ของร�างกายเป�น 5 ประเภท คือ เนื้อเยื่อบุผิว (Epithelial tissue) เนื้อเยื่อเก่ียวพัน (Connective tissue) เนื้อเยื่อกล�ามเนื้อ (Muscular tissue) เนื้อเยื่อลําเลียง (Vascular tissue) และเนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue)

3. สร�างอาหารเองไม�ได� เพราะไม�มีคลอโรฟsลล� ดังนั้นการดํารงชีวิตจึงต�องกินสิ่งมีชีวิตอ่ืนเป�นอาหารซ่ึงอาจเป�นพืชหรือสัตว�ด�วยกัน การดํารงชีวิตจึงมักเป�นแบบผู�ล�าเหยื่อหรือปรสิตเสมอ

4. โดยท่ัวไปเคลื่อนท่ีได�ด�วยตนเองตลอดชีวิต มีบางชนิดพบว�าเม่ือเป�นตัวเต็มวัยแล�วเกาะอยู�กับท่ี 5. โดยส�วนใหญ�สามารถตอบสนองต�อสิ่งเร�าได�อย�างรวดเร็วเนื่องจากมีระบบประสาท มีอวัยวะรับความรู�สึก

และตอบสนอง เช�น การกินอาหาร การขับถ�าย การสืบพันธุ� เป�นต�น เกณฑ8ท่ีใช�ในการจําแนกหมวดหมูDของอาณาจักรสัตว8

Page 18: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 18

ปbจจุบันสัตว�ในโลกท่ีมนุษย�รู�จักมีมากกว�า 1.8 ล�านสป�ชีส� พบท้ังในน้ําจืด น้ําเค็มและบนบก ซ่ึงสามารถจําแนกออกเป�น 2 กลุ�มใหญ� ๆ คือ สัตว�ท่ีไม�มีกระดูกสันหลัง (Invertebrate) และสัตว�ท่ีมีกระดูกสันหลัง (Vertebrate) และสามารถจําแนกเป�นไฟลัมต�างๆ ได�ราว 35 ไฟลัม แต�ส�วนใหญ�จะเรียนรู�กันเฉพาะไฟลัมใหญ� ๆ เท�านั้น ซ่ึงในการจัดจําแนกจะใช�เกณฑ�ต�าง ๆดังนี้ 1. ระดับการทํางานรDวมกันของเซลล8 (Level of cell organization) โดยดูการร�วมกันทํางานของเซลล�และการจัดเป�นเนื้อเยื่อ ซ่ึงทําให�แบ�งสัตว�ออกเป�นพวกใหญ� ๆ คือ

1.1 เนื้อเย่ือท่ีไมDแท�จริง (no true tissue) เรียกสัตว�กลุ�มนี้ว�า พาราซัว (Parazoa) เนื่องจากเซลล�ในสัตว�กลุ�มนี้ไม�มีการประสานงานกันระหว�างเซลล� โดยเซลล�ทุกเซลล�จะมีหน�าท่ีในการดํารงชีวิตของตนเอง หน�าท่ีท่ัวไปคือด�านโภชนาการ และสืบพันธุ� ได�แก� พวกฟองน้ํา

1.2 เนื้อเย่ือท่ีแท�จริง (true tissue) เรียกสัตว�กลุ�มนี้ว�า ยูเมตาซัว (Eumetazoa) ซ่ึงเนื้อเยื่อจะถูกสร�างข้ึนเป�นชั้น หรือเรียกว�า ชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer) มี 2 ประเภทคือ

1.2.1 เนื้อเยื่อ 2 ชั้น (Diploblastica) ประกอบด�วยเนื้อเยื่อชั้นนอก (Ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน (Endoderm) ได�แก� พวกไฮดรา แมงกะพรุน โอบีเลีย

1.2.2. เนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica) ประกอบด�วยเนื้อเยื่อชั้นนอก ชั้นกลาง (Mesoderm) และ ชั้นใน ได�แก�พวกหนอนตัวแบนข้ึนไป จนถึงสัตว�ท่ีมีกระดูกสันหลัง 2. สมมาตร (Symmetry) คือลักษณะการแบ�งร�างกายออกเป�นซีกๆ ตามความยาวของซีกเท�าๆ กัน มีอยู� 3 ลักษณะ ได�แก�

2.1 ไมDมีสมมาตร (Asymmetry) มีรูปร�างไม�แน�นอน ไม�สามารถแบ�งซีกซ�ายและซีกขวาได�เท�า ๆ กัน ได�แก� พวกฟองน้ํา

2.2 สมมาตรแบบรัศมี (Radial symmetry) ร�างกายของสัตว�จะมีรูปร�างคล�ายทรงกระบอกหรือล�อรถ ถ�าตัดผ�านจุดศูนย�กลางแล�วจะตัดอย�างไรก็ได� 2 ส�วนท่ีเท�ากันเสมอ หรือเรียกว�า มีสมมาตรท่ีผDาซีกได�เทDา ๆ กันหลาย ๆ ครั้งในแนวรัศมี ได�แก� สัตว�พวกไฮดรา แมงกะพรุน ดาวทะเล เม�นทะเล

2.3 สมมาตรแบบครึ่งซีก (bilateral symmetry) หรือมีสามาตรท่ีผDาซีกได�เทDา ๆ กัน เพียง 1 ครั้งสมมาตรแบบนี้สามารถผ�าหรือตัดแบ�งครึ่งร�างกายตามความยาวของลําตัวแล�วทําให� 2 ข�างเท�ากัน ได�เพียงครั้งเดียวเท�านั้น ได�แก� พวกหนอนตัวกลม แมลง สัตว�มีกระดูกสันหลัง

Page 19: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 19

ภาพท่ี 3-17 สมมาตรของสัตว�แบบต�าง ๆ 3. ลักษณะชDองวDางในลําตัวหรือชDองตัว (Body cavity or Coelom) คือช�องว�างภายในลําตัวท่ีอยู�ระหว�างผนังลําตัวกับอวัยวะภายในตัว ภายใน coelom มักจะมีของเหลวอยู�เต็ม ของเหลวเหล�านี้ทําหน�าท่ีเสมือนหนึ่งระบบไหลเวียนโลหิตง�าย ๆ ในสัตว�บางพวกช�วยลําเลียงสารอาหาร ออกซิเจน และของเสีย เป�นต�น อีกท้ังยังช�วยลดแรงกระแทกจากภายนอกท่ีอาจเป�นอันตรายต�ออวัยวะภายใน และยังเป�นบริเวณท่ีทําให�อวัยวะภายในเคลื่อนท่ีได�อิสระจากผนังลําตัว ยอมให�อวัยวะขยายใหญ�ได� ซ่ึงสามารถนํามาใช�เป�นเกณฑ�ในการจําแนกสัตว�ได� แบ�งเป�น 3 พวกคือ

3.1 ไมDมีชDองวDางในลําตัวหรือไมDมีชDองตัว (No body cavity or Acoelom) เป�นพวกท่ีมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้นอยู�ชิดกัน โดยไม�มีช�องว�างในแต�ละชั้น ได�แก�พวกหนอนตัวแบน

3.2 มีชDองตัวเทียม (Pseudocoelom) เป�นช�องตัวท่ีเจริญอยู�ระหว�าง mesoderm ของผนังลําตัว และendoderm ซ่ึงเป�นทางเดินอาหาร ช�องตัวนี้ไม�มีเยื่อบุช�องท�องกันเป�นขอบเขต ได�แก� พวกหนอนตัวกลม โรติเฟอร� (rotifer)

3.3 มีชDองตัวท่ีแท�จริง (Eucoelom) เป�นช�องตัวท่ีเจริญแทรกอยู�ระหว�าง mesoderm 2 ชั้น คือmesoderm ชั้นนอกเป�นส�วนหนึ่งของผนังลําตัว (Body wall) กับ mesoderm ชั้นในซ่ึงเป�นส�วนหนึ่งของผนังลําไส� (Intestinal wall) และ mesoderm ท้ังสองส�วนจะบุด�วยเยื่อบุช�องท�อง (Peritoneum) ได�แก� ไส�เดือนดิน หอย แมลง ปลา สัตว�มีกระดูกสันหลัง เป�นต�น

Page 20: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 20

ภาพท่ี 3-18 แสดงช�องตัวแบบต�างๆ ของสัตว�

4. การเกิดชDองปาก ซ่ึงสามารถแบ�งสัตว�ตามการเกิดช�องปากได� 2 กลุ�ม 4.1 โปรโตสโตเมีย (Protostomia) เป�นสัตว�พวกท่ีปากเกิดก�อนทวารในขณะท่ีเป�นตัวอ�อน ซ่ึงช�องปากเกิด

จากบลาสโตพอร� หรือบริเวณใกล� ๆ บลาสโตพอร� (Blastopore) ได�แก� พวกหนอนตัวแบน หนอนตัวกลม หนอนมีปล�อง หอย สัตว�ขาปล�อง

4.2 ดิวเทอโรสโตเมีย (Deuterostomia) เป�นสัตว�พวกท่ีช�องปากเกิดภายหลังทวาร เกิดจากช�องใหม�ท่ีจะเจริญพัฒนาไปเป�นทางเดินอาหารซ่ึงอยู�ตรงข�ามกับ บลาสโตพอร� ได�แก� พวกดาวทะเล และสัตว�มีกระดูกสันหลัง

Page 21: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 21

ภาพท่ี 3-19 ลักษณะการเกิดช�องปากของสัตว� 5. ทางเดินอาหาร (digestive tract) โดยท่ัวไปแบ�งได�เป�น 2 ลักษณะ คือ

5.1 ทางเดินอาหารแบบไมDสมบูรณ8 (Incomplete digestive tract) เป�นทางเดินอาหารของสัตว�ท่ีมี ปากแต�ไม�มีทวารหนัก หรือมีช�องทางเดินอาหารเข�าออกทางเดียวกัน หรือทางเดินอาหารแบบปากถุง (one-holesac) ได�แก� พวกไฮดรา แมงกะพรุน หนอนตัวแบน

5.2 ทางเดินอาหารแบบสมบูรณ8 (Complete digestive tract) เป�นทางเดินอาหารของสัตว�ท่ีมีท้ังปาก และทวารหนัก หรือมีช�องทางเข�าออกของอาหารคนละทางกัน หรือทางเดินอาหารแบบท�อกลวง (two-hole-tube) ได�แก� พวกหนอนตัวกลม จนถึงสัตว�มีกระดูกสันหลัง 6. การแบDงเปYนปล�อง (Segmentation) การแบ�งเป�นปล�องเป�นการเกิดรอยคอดข้ึนกับลําตัวแบ�งออกเป�น

6.1 การแบDงเปYนปล�องเฉพาะภายนอก (Superficial segmentation) เป�นการเกิดปล�องข้ึนเฉพาะท่ีส�วนผิวลําตัวเท�านั้นไม�ได�เกิดตลอดตัว เช�น พยาธิตัวตืด

6.2 การแบDงเปYนปล�องท่ีแท�จริง (Metameric segmentation) เป�นการเกิดปล�องข้ึนตลอดลําตัวท้ังภายนอกและภายใน โดยข�อปล�องเกิดข้ึนในเนื้อเยื่อชั้นกลาง ทําให�เนื้อเยื่อชั้นอ่ืนๆ เกิดเป�นปล�องไปด�วย ได�แก� ไส�เดือน กุ�ง ปู แมลง ตลอดไปจนสัตว�มีกระดูกสันหลังทุกชนิด ไฟลัมพอริเฟอรา (Phylum Porifera)

สัตว�ในไฟลัมพอริเฟอราได�แก� ฟองน้ํา เป�นสัตว�หลายเซลล�ท่ีมีวิวัฒนาการตํ่าสุดมีรูปร�างไม�แน�นอน ส�วนใหญ�

Page 22: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 22

เป�นรูปร�างทรงกระบอกติดอยู�กับก�อนหินหรือวัตถุใต�น้ํา มีรูพรุนเล็กๆท่ัวตัว เซลล�เรียงกันเป�นสองชั้นแต�ยังไม�มีเนื้อเยื่อ ท่ีแท�จริง ไม�มีอวัยวะและไม�มีทางเดินอาหาร ส�วนใหญ�อาศัยอยู�ในทะเล มีบางชนิดอาศัยอยู�ในน้ําจืด ตัวอ�อนมีขน สามารถว�ายน้ําได� เรียกตัวอ�อนในระยะนี้ว�า Amphiblastula ตัวอย�างเช�น ฟองน้ําแจกัน (Scypha) กระเช�าดอกไม�ของวีนัส (Venus’s flower basket, Euplectella) ฟองน้ําถูตัว (Spongia) ฟองน้ําดอกเห็ด (Pterion) และฟองน้ําจืด (Spongilla)

ภาพท่ี 3-20 โครงสร�างและเซลล8ชนิดตDางๆ ของฟองน้ํา

ไฟลัมไนดาเรีย (Phylum Cnidaria)

แต�เดิมชื่อไฟลัมนี้เคยใช� Coelenterata ซ่ึงหมายถึงมีช�องว�างกลางตัวเป�นท�อทางเดินอาหาร สัตว�ในไฟลัมนี้ส�วนใหญ�อยู�ในน้ําทะเล มีบางชนิดท่ีอยู�ในน้ําจืด เช�น ไฮดรา แมงกะพรุนน้ําจืด มีเทนตาเคิล (Tentacle) หลายเส�น อยู�โดยรอบช�องเปsดท่ีทําหน�าท่ีคล�ายปาก ท่ีเทนตาเคิลมี cnidocytes เป�นเซลล�ของ epidermis cnidocytes มี stinging capsule ลักษณะคล�ายถุงท่ีเรียกว�านีมาโตซีสต� (Nematocyst) ลักษณะคล�ายเข็มเล็กๆใช�ปpองกันตัวและจับเหยื่อ กลางลําตัวเป�นท�อกลวงเรียกว�า ช�องแกสโทรวาสคิวลาร� (Gastrovascular cavity) เป�นทางเดินอาหาร มีช�องเปsดทางเดียวท่ีเป�นท้ังปากและทวารหนัก เป�นสัตว�พวก carnivore ตัวอย�างเช�น แมงกะพรุนเรือรบโปรตุเกส (Portuguese-man of war, Physalia pelagica) แว�นตาพระอินทร� (Porpita) และ ทูบูลาเรีย (Tubularia) ไฮดรา โอบีเลีย (Obelia) แมงกะพรุนไฟ แมงกะพรุนจาน (Pelagia) แมงกะพรุนถ�วย (Aurelia) กัลปbงหา (Sea fan) ปากกาทะเล (Sea pen) ปะการังดอกเห็ด (Fungia) ปะการังเขากวาง (Acropora) และดอกไม�ทะเล (Sea anemone)

Page 23: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 23

ภาพท่ี 3-21 รูปร�างของสัตว� 2 แบบในไฟลัมไนดาเรีย (a) แบบโพลิป (b) แบบเมดูซา

ไฟลัมแพลตีเฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes) สัตว�ท่ีอยู�ในไฟลัมนี้เป�น Bilateral symmetry ไม�มีช�องว�างภายในลําตัว ลําตัวแบนทางแนวบนลงล�าง เป�น

สัตว�ท่ีมีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica) เป�นพวกแรก ไม�มีข�อหรือปล�องท่ีแท�จริง มีการเปลี่ยนรูปร�างยืดยาวออกเป�น ด�านหน�าหรือเป�นหัวซ่ึงมีอวัยวะรับความรู�สึกต�างๆ ส�วนลําตัวด�านท่ีติดพ้ืนเป�นด�านล�างหรือด�านท�อง (Ventral) ด�านตรงข�ามเป�นด�านบนหรือด�านหลัง (Dorsal) ผนังลําตัวอ�อนนิ่ม มีขนอ�อนๆ (Cilia) ยกเว�นพวกท่ีเป�นปรสิตจะมีคิวทิเคิล(Cuticle) หนาและมีอวัยวะช�วยในการยึดติดกับผู�ให�อาศัย (Host) ทางเดินอาหารไม�สมบูรณ� มีปาก ไม�มีทวารหนักลําไส�มีแขนงท่ัวลําตัว กล�ามเนื้อเจริญดี ระบบขับถ�ายเป�นแบบเฟลมเซลล� (Flame cell) แทรกตามร�างกายท่ัวๆไประบบประสาทเป�นแบบวงแหวน มีเส�นประสาทตามยาว 1-3 คู�อยู�ข�างลําตัว ไม�มีอวัยวะในการหายใจ มีอวัยวะสืบพันธุ�เจริญดีมาก มี 2 เพศในตัวเดียวกันแต�เวลาผสมพันธุ�อาจเป�นการผสมข�ามหรือผสมในตัวเองก็ได� ตัวอย�างได�แก� พลานาเรีย พยาธิใบไม�ในตับคน (Opisthorchis viverrini) พยาธิใบไม�ในตับแกะ (Fasciola hepatica) พยาธิใบไม�ในลําไส�คน (Fasciolopsis buski) พยาธิใบไม�ในเลือดคน (Schistosoma japonicum) และพยาธิใบไม�ในปอด (Paragonimus westermani) พยาธิตืดหมู (Taenia solium) พยาธิตืดวัว (Taenia saginata) และพยาธิตัวตืดปลา (Diphyllobothrium latum)

ภาพท่ี 3-22 วงจรชีวิตของพยาธิตัวตืด

ไฟลัมนีมาโตดา (Phylum Nematoda)

สัตว�ในไฟลัมนี้มีชื่อเรียกท่ัวไปว�าหนอนตัวกลม (Round worm) เป�นหนอนท่ีมีลําตัวกลมยาว แหลม หัวแหลมท�าย สมมาตรแบบ Bilateral symmetry ไม�แบ�งเป�นปล�องๆ ไม�มีรยางค� ปลายสุดทางด�านหัวมีปาก ด�านท�าย ของลําตัวมีทวารหนัก ผิวหนังมีคิวทิเคิลหนาทนทานต�อสิ่งแวดล�อมได�ดี เป�นสัตว�ท่ีมีช�องตัวเทียม ทางเดินอาหารสมบูรณ� มีปากและทวารหนัก ไม�มีระบบหายใจ แลกเปลี่ยนก�าซทางผิวหนัง ระบบขับถ�ายเป�นเซลล�พิเศษทําหน�าท่ีเป�นต�อมมีท�อออกสู�ภายนอก ระบบประสาทเป�นวงแหวนอยู�รอบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ�เป�นแบบแยกเพศร�างกายตัว

Page 24: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 24

ผู�มีขนาดเล็กกว�าตัวเมีย ตัวเมียออกไข�ครั้งละหลายพันใบ การดํารงชีวิตมีท้ังการดํารงชีวิตแบบอิสระ พบอาศัยอยู�ในท่ัวไปในน้ําจืด น้ําทะเล ในดิน ในทะเลทราย และตามซากพืช ซากสัตว� บางชนิดดํารงชีวิตแบบปรสิต ของพืชและสัตว� รวมท้ังในคน สามารถแบ�งตามประเภทการดํารงชีวิตได� 3 ประเภทคือ

1. หนอนตัวกลมท่ีอยู�ในโพรงหรือในลําไส� เรียกว�าพยาธิลําไส� ได�แก� พยาธิเส�นด�าย พยาธิแส�ม�า พยาธิปากขอ 2.หนอนตัวกลมท่ีอยู�ในกล�ามเนื้อ ได�แก� พยาธิตัวจี๊ด พยาธิโรคเท�าช�าง 3.หนอนตัวกลมท่ีเป�นอิสระ ได�แก� หนอนในน้ําส�มสายชู หนอนในน้ําเน�า

ภาพท่ี 3-23 โครงสร�างต�าง ๆของหนอนตัวกลม

ไฟลัมแอนิลิดา (Phylum Annelida)

ลักษณะสําคัญของสิ่งมีชีวิตในไฟลัมนี้คือ เป�น Bilateral symmetry ลําตัวกลมยาวคล�ายวงแหวนต�อกันเป�น ข�อหรือปล�อง บางชนิดมีรยางค�ยื่นออกมาในแต�ละปล�องเรียกว�า เดือย (Setae) ช�วยในการขุดรูและการเคลื่อนท่ีผิวหนังปกคลุมด�วย Cuticle มีต�อมเมือก ทําให�ลําตัวชุ�มชื้นอยู�เสมอ ลําตัวประกอบด�วยกล�ามเนื้อเป�นวงและกล�ามเนื้อตามยาว มีช�องกลางลําตัวแบ�งออกเป�นห�องๆตามปล�องโดยมีแผ�นเยื่อก้ัน (Septum) มาก้ันระหว�างปล�องทางเดินอาหารสมบูรณ� มีปากและทวารหนักเป�นท�อยาวตลอดลําตัว ระบบหมุนเวียนเลือดเป�นแบบปsด (เลือดไหลวนเวียนอยู�ในเส�นเลือดเท�านั้น) โดยมีเส�นเลือดยาวทางด�านบนและด�านล�างเชื่อมต�อกันด�วยเส�นเลือดแขนงทางด�านข�างของทุกปล�องตัว หายใจทางผิวหนังหรือทางเหงือก ระบบขับถ�ายประกอบด�วยอวัยวะขับถ�ายเฉพาะ เรียกว�า เนฟริเดีย (Nephridia) อยู�ปล�องละ 1 คู� ซ่ึงนําของเสียมาตามท�อและเปsดออกสู�ภายนอก ระบบประสาทอยู�ทางด�านข�างของลําตัว ระบบสืบพันธุ�ส�วนใหญ�จะมี 2 เพศในตัวเดียวกัน แต�ไม�สามารถผสมพันธุ�ในตัวเองได�เนื่องจาก เซลล�สืบพันธุ�สุกไม�พร�อมกัน ออกลูกเป�นไข� ตัวอย�างเช�น แม�เพรียง หรือ ตัวสงกรานต� (Nereis) ไส�เดือนดิน (Lumbricus terrestris) ปลิงน้ําจืด (Hirudo medicinalis) และทากดูดเลือด (Haemadipsa)

Page 25: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 25

ภาพท่ี 3-24 แม�เพรียง และไส�เดือนดิน

ไฟลัมมอลลัสกา (Phylum Mollusca)

สัตว�ในไฟลัมมอลลัสกาเรียกกันโดยท่ัวไป คือ มอลลัส (Mollusk) สัตว�ในไฟลัมนี้มีสมาชิกจํานวนมากรองมาจากไฟลัมอาร�โทโพดา มีประมาณ 110,000 ชนิด (ปbจจุบันเหลืออยู�ประมาณ 80,000 ชนิด) ลักษณะสําคัญคือ เป�น Bilateral symmetry มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica) ร�างกายไม�แบ�งเป�นปล�อง มีลําตัวอ�อนนุ�ม มีเยื่อบางๆปกคลุมลําตัวเรียกว�า แมนเทิล (Mantle) ซ่ึงสามารถหลั่งสารออกมาเป�นเปลือกแข็ง (Shell) ห�อหุ�มลําตัวได� ส�วนของร�างกายประกอบด�วย ส�วนหัวอยู�ทางด�านหน�าเจริญดี ส�วนลําตัวทางด�านบน (Visceral mass) และมีกล�ามเนื้อทางด�านล�างส�วนใหญ�ใช�ในการคลาน ทางเดินอาหารสมบูรณ� มีปากและมีทวารหนัก ระบบหมุนเวียนเลือดเป�นแบบเปsด (เลือดจะไหลไปรวมกันท่ีช�องว�างในลําตัวด�วย) หัวใจมี 3 ห�อง บน 2 ห�อง ล�าง 1 ห�อง เลือดจะมีสีฟpาอ�อนหรือไม�มีสี เพราะในน้ําเลือดมีสาร Haemocyanin อยู� หรืออาจมีสีแดงก็ได�เนื่องจากมีสาร Haemoglobin ระบบหายใจถ�าอยู�บนบกใช�ปอดหรือ แมนเทิลท่ีผิวหนัง ถ�าอยู�ในน้ําใช�เหงือก อวัยวะขับถ�าย คือ ไต ระบบประสาท จะมีปมประสาท 3 คู�มีเส�นประสาทยึดระหว�างปมท้ังทางยาวและทางขวาง มีอวัยวะรับสัมผัสในการดมกลิ่น รับรส มีอวัยวะรับความรู�สึกในการทรงตัวเรียก Statocyst ระบบสืบพันธุ�เป�นแบบแยกเพศ แต�มีบางพวกเป�นกะเทย มีการปฏิสนธิท้ังภายในและภายนอก ส�วนใหญ�ดํารงชีวิตแบบอิสระ อาศัยอยู�ในน้ําจืด และน้ําทะเล มีบางชนิดอาศัยอยู�บนบก สัตว�ในพวกนี้ได�แก� หอยฝาชีโบราณ (Neopilina) หอยงาช�าง (Dentalium) หอยทาก หอยโข�ง หอยขม หอยสังข� หอยเต�าปูน หอยนมสาว หอยข้ีนก หอยทับทิม หอยเป�าฮ้ือ หอยเบ้ีย หอยแครง หอยแมลงภู� หอยกะพง หอยนางรม หอยมุก หอยลาย หอยมือเสือ หอยกาบน้ําจืด เพรียงเจาะไม� หอยหลอด (หอยทุกชนิด) หมึก ลิ่นทะเล (chiton)

Page 26: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 26

ภาพท่ี 3-25 ลักษณะต�าง ๆของสัตว�ในไฟลัมมอลลัสกา

ไฟลัมอาร8โทรโพดา (Phylum Arthropoda)

เป�นไฟลัมท่ีมีชนิดและจํานวนสัตว�มากท่ีสุดในอาณาจักรสัตว� สัตว�ในกลุ�มนี้เรียกรวมๆว�า อาร�โทรพอด (Arthropods) ลําตัวเป�นปล�องและรยางค�เป�นข�อๆ มีเปลือกแข็งหุ�มลําตัว (Exoskeleton) ทําด�วยสารไคทิน (Chitin) ดํารงชีวิตอยู�บนบกได�อย�างสมบูรณ� แต�บางชนิดยังคงอาศัยอยู�ในน้ํา เป�นสัตว�ท่ีมีความสําคัญแก�มนุษย� ท้ังด�านอาหาร พาหะนําโรค ศัตรูพืช และเป�นกลุ�มของสัตว�ท่ีประสบความสําเร็จในการดํารงชีวิต มีจํานวนสป�ชีส�และจํานวนตัวมาก ท่ีสุดในโลก คือรู�จักแล�วประมาณ 1 ล�านสป�ชีส� สามารถพบสัตว�ในไฟลัมนี้ได�ทุกระบบนิเวศในโลก บางชนิดดํารงชีวิตอิสระ บางชนิดดํารงชีวิตเป�นปรสิต และบางชนิดอยู�รวมกันในลักษณะพ่ึงพาอาศัยกันเป�นสังคม (colony) แบ�งในระดับคลาสได�ดังนี้

• Class Merostomata เป�นสัตว�ท่ีอาศัยอยู�ในน้ําทะเลบริเวณน้ําต้ืน สัตว�ในคลาสนี้ได�แก�แมงดาทะเล ซ่ึงในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือแมงดาทะเลหางเหลี่ยมหรือแมงดาจานและแมงดาทะเลหางกลม แมงดาทะเลจะดํารงชีวิตเป�นอิสระ มักจะฝbงตัวอยู�ในทราย ดินเลน ส�วนใหญ�จะอาศัยอยู�ในบริเวณท่ีมีน้ําต้ืนท้ังในน้ํา กร�อยและน้ําเค็ม แมงดาจาน (Trechypleus gigas) รูปร�างมีขนาดใหญ�และหางยาวเป�นรูปสามเหลี่ยม ไม�มีพิษบริโภคได� ส�วนอีกชนิดหนึ่งคือ แมงดาถ�วยหรือเหรา (Carcinoscorpius rotundicauda) มีขนาดเล็กว�าแมงดาจาน มีหางกลม มีพิษ ไม�ควรบริโภค

• Class Arachnida มีร�างกายแบ�งเป�น 2 ส�วน คือ ส�วนหัวซ่ึงเชื่อมรวมกับส�วนอกเรียกว�า Cephalothorax กับส�วนท�อง (Abdomen) มีตาแบบตาเด่ียว (Simple eyes) ขาเดินมี 4 คู� ไม�มีหนวด ส�วนท�องมักจะไม�มีรยางค� พวกท่ี อาศัยอยู�บนบกหายใจด�วยปอดแผง (Book lung) หรือท�อลม (Trachea) ขับถ�ายโดยใช�อวัยวะซ่ึงเรียกว�า Malpighian tubles มีเพศแยกกัน ตัวอย�างสัตว�ในคลาสนี้ได�แก� แมงมุม แมงปtอง หมัด ไร บ้ึง

• Class Chilopoda ได�แก� ตะขาบ หรือ เซนติป�ด (Centipede) พบกระจายท่ัวโลกประมาณ 3000 ชนิด

Page 27: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 27

เป�นสัตว�กินเนื้ออาศัยอยู�บนบก เคลื่อนท่ีได�เร็ว อาศัยอยู�ตามพ้ืนดินบริเวณท่ีชื้นๆ มักพบอยู�ใต�ก�อนหิน ใต�กองใบไม�ผุเป�นสัตว�ท่ีมีลําตัวแบนยาวทางด�านบนและด�านล�าง ร�างกายของตะขาบแบ�งออกเป�น 2 ส�วนคือ ส�วนหัวและส�วนลําตัว ท่ีหัวมีหนวด 1 คู� มีรยางค�เป�นลักษณะเหมือนเข้ียว มีต�อมพิษ อาจมีตาเดียวหรือตาประกอบ 1 คู� ปล�องลําตัวปล�อง แรกมีรยางค�ท่ีดัดแปลงไปเป�นเข้ียวพิษ มีต�อมพิษ ปล�องถัดมาจะมีขาเดินปล�องละ 1 คู� ยกเว�นปล�องสุดท�ายไม�มี รยางค� ปล�องลําตัวมีรูหายใจอยู�สองข�างแต�ละปล�อง หายใจทางท�อลม ขับถ�ายทางท�อมัลพิเกียน มีเพศแยกกันและมี การปฏิสนธิภายใน ช�องเปsดของอวัยวะเพศอยู�ตรงท�ายสุดของลําตัว ตัวอย�างสัตว�ในชั้นนี้ได�แก� ตะขาบ (Centipede)

• Class Diplopoda ได�แก� ก้ิงกือ หรือมิลลิป�ด (Millipede) พบมากกว�า 7500 ชนิด เป�นสัตว�กินพืช พบอาศัย อยู�บริเวณใต�ใบไม� เปลือกไม� ก�อนหิน หรือในดิน ร�างกายมีลักษณะเป�นทรงกระบอกแบ�งเป�นปล�องชัดเจนประกอบไปด�วยส�วนหัว อก และท�อง ส�วนอกและท�องเชื่อมติดต�อกันเรียกว�า ลําตัว (Trunk) ส�วนหวัของก้ิงกือมีหนวด 1 คู� ขากรรไกร 1 คู� กราม 1 คู� ไม�มีเข้ียวพิษ และตาเด่ียว 1 คู� ส�วนอกประกอบด�วยปล�องประมาณ 4 ปล�อง แต�ละปล�องจะมีรยางค� 1 คู� ต�อจากส�วนอกจะเป�นส�วนท�องมีปล�องจํานวนมาก ประกอบด�วยปล�องประมาณ 25-100 ปล�องแต�ละปล�องจะมีรยางค� 2 คู� เป�นขาเดิน จึงเรียกสัตว�พวกนี้ว�า มิลลิพีด (Millipede) ซ่ึงหมายถึงสัตว�ท่ีมีขาจํานวนมากหายใจโดยท�อลม ขับถ�ายทางท�อมัลพิเกียน มีเพศแยกกัน ช�องเปsดอวัยวะเพศอยู�บนปล�องท่ี 3 ถัดจากหัว ปฏิสนธิภายในร�างกาย สามารถม�วนตัวขดเป�นวงได� ตัวอย�างของสัตว�ในคลาสนี้ได�แก� ก้ิงกือ (Millipede) กระสุนพระอินทร� (Glomeris)

• Class Crustacea ส�วนใหญ�อาศัยอยู�ในทะเลและมีส�วนน�อยท่ีอาศัยอยู�ในน้ําจืด ร�างกายแบ�งออกเป�น 2 ส�วน คือ ส�วนหัวซ่ึงเชื่อมติดอยู�กับช�วงอกเรียกว�า Cephalothorax กับส�วนท�อง Abdomen ด�านบนของเซฟาโลโทร แรกซ�จะมีเปลือกแข็งหุ�มเรียกว�าคาราเปส (Carapace) ส�วนด�านล�างของเซฟาโลโทรแรกซ�ตอนต�นจะมีรยางค� 5 คู� ประกอบด�วยหนวด 2 คู� ขากรรไกร 1 คู� และกราม 2 คู� เซฟาโลโทรแรกซ� ตอนปลายจะมีรยางค� 8 คู� เป�นขาเดินและใช�ช�วยจับเหยื่อ ส�วนท�องมีรยางค� 6 คู�เป�นขาสําหรับว�ายน้ํา มีตาประกอบ หายใจโดยผ�านผิวท่ัวลําตัวหรือเหงือกขับถ�ายโดยใช� Green gland มีท้ังเพศแยกกันและรวมกัน การปฏิสนธิเกิดภายในร�างกาย การเจริญเติบโตของตัวอ�อนมีการลอกคราบหลายครั้ง ดํารงชีวิตเป�นอิสระอาศัยอยู�ในน้ําจืด น้ํากร�อยและน้ําทะเล ตัวอย�างเช�น ไรแดง ไรน้ํา เพรียงหิน เพรียงคอห�าน กุ�ง ก้ัง ต๊ักแตน เคย เหาน้ํา ปู ปูเสฉวน จักจั่นทะเล เป�นต�น

• Class Insecta เป�นสัตว�ท่ีอาศัยอยู�ได�ท้ังในน้ําและบนบก ได�แก�แมลงชนิดต�างๆซ่ึงเป�นอาร�โทพอดท่ีมีจํานวน มากท่ีสุดในโลก ซ่ึงมีมากกว�า 800,000 ชนิด มีการดํารงชีพแบบปรสิตและอิสระ เป�นสัตว�ท่ีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจมาก เนื่องจากแมลงบางชนิดเป�นพาหะนําโรค เป�นปรสิตของคนและสัตว�เลี้ยง เป�นศัตรูทําลายพืชผลการเกษตร ร�างกายของแมลงแบ�งออกเป�น 3 ส�วน คือ ส�วนหัว ส�วนอก และส�วนท�อง ส�วนหัวมีหนวด 1 คู� มีตาประกอบ 1 คู� มีปากซ่ึงประกอบไปด�วยริมฝ�ปากบน ขากรรไกร กราม และริมฝ�ปากล�าง แมลงแต�ละชนิดจะพัฒนาดัดแปลงลักษณะของปากแตกต�างกันไปเพ่ือให�เหมาะสมกับการกินอาหาร ส�วนอกแบ�งเป�น 3 ปล�อง แต�ละปล�องจะมีขา 1 คู� รวมเป�น 3 คู� มีป�ก 1-2 คู�อยู�ท่ีส�วนอกปล�องท่ี 2 และ 3 ป�กแมลงมีลักษณะเป�นแผ�นมีขนาดรูปร�างเส�นป�กแตกต�างกันไป แมลงส�วนมากมีป�ก ยกเว�นบางชนิดไม�มีป�ก เช�นตัวสามง�าม แมลงหลายชนิดเม่ือเป�นตัวอ�อนไม�มีป�ก เช�นต๊ักแตน แมลงหายใจทางท�อลม ขับถ�ายทางท�อมัลพิเกียน เป�นสัตว�แยกเพศ การปฏิสนธิเกิดภายในร�างกาย ตัวอ�อนเกิดจากการเจริญเติบโตโดยการลอก

Page 28: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 28

คราบหลายครั้ง ส�วนใหญ�เป�นการเจริญท่ีมีการเปลี่ยนแปลงรูปร�าง (metamorphosis) แมลงเป�นสัตว�ท่ีมีจํานวนชนิดและปริมาณมากท่ีสุดในโลก พบไปท่ัวทุกหนทุกแห�ง มีความสําคัญต�อคนและสิ่งมีชีวิตอ่ืนๆอย�างมาก ตัวอย�างสัตว�ในชั้นนี้ได�แก� แมลงทุกชนิด เช�น ผีเสื้อ แมลงปอ แมลงวัน ยุง ปลวก ผึ้ง ต�อ แตน มด ต๊ักแตน แมลงสาบ เหา และไรไก� เป�นต�น

ตารางสรุปคลาส 6 คลาสในไฟลัมอาร�โทรโพดา

ไฟลัมเอไคโนเดอมาตา (Phylum Echinodermata)

สัตว�ท่ีอยู�ในไฟลัมเอไคโนเดอมาตาเป�นสัตว�ทะเลท้ังหมด แต�ละชนิดรูปร�างแตกต�างกันไป มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น (Triploblastica animal) มีช�องว�างในลําตัวขนาดใหญ�บุด�วยซีเลีย ไม�มีปล�อง ขณะเป�นตัวอ�อนมีสมมาตรแบบ Bilateral symmetry เม่ือโตเต็มท่ีจะมีสมมาตรแบบ Radial symmetry มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ� (Complete digestive tract) มีปากอยู�ทางด�านท�อง ผิวตัวมีสารประกอบพวกหินปูนสะสมอยู�ทําให�ผิวหยาบและขรุขระ โครงร�างภายในมีแผ�นหินปูนเรียงต�อกันทําให�แข็งแรง ลําตัวแบ�งเป�นแฉก 4 ถึง 5 แฉก หรือทวีคูณของ 5 ไม�มีส�วนหัวชัดเจน ระบบหมุนเวียนเลือดแยกเป�นแฉกๆคล�ายรัศมี ไม�มีเลือด แต�มีของเหลวคล�ายน้ําเหลือง (Coelomic fluid) ทําหน�าท่ี ไหลเวียนโดยการโบกของซีเลียภายในเยื่อบุผิวในช�องลําตัว ระบบประสาทมีประสาทแบบวงแหวน (Nerve ring) รอบๆปากและมีประสาทแยกออกไปตามแฉก เซลล�ประสาทเชื่อมโยงเป�นร�างแหและจะกระจายอยู�ท่ัวตัว ระบบ ขับถ�ายไม�มีไต มีเซลล�อมีโบไซต�อยู�ในของเหลวในช�องลําตัวทําหน�าท่ีกินของเสียแล�วขับออกไปข�างนอก การเคลื่อนท่ี ใช�ระบบหมุนเวียนนําส�งไปยังท�อขา (Tube feet) ท่ียืดหดได�ตามแรงดันน้ํา การแลกเปลี่ยนก�าซ ใช�เหงือกท่ีเป�นถุง

Page 29: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 29

บางๆ ยกเว�นปลิงทะเลท่ีมีอวัยวะคล�ายต�นไม� (Respiratory Tree) อยู�ภายในตัวติดกับทวารหนัก สามารถงอกส�วนท่ี ขาดหายไปได� มีอวัยวะแยกเพศกันแต�ละตัว ปฏิสนธิภายนอกร�างกาย สืบพันธุ�แบบใช�เพศและไม�ใช�เพศ ตัวอย�างเช�น ดาวทะเล ดาวมงกุฏหนาม ดาวหมอนปbกเข็ม ดาวเปราะ (Bristle star) และดาวตะกร�า (Basket star) เหรียญทะเล (Sand dollar) ปลิงทะเล (Sea cucumber) พลับพลึงทะเล ไฟลัมคอร8ดาตา (Phylum Chordata)

สัตว�ในไฟลัมนี้แบ�งออกเป�น 2 กลุ�มใหญ�คือ โปรโตคอร�เดต (Protochordate) เป�นพวกท่ีไม�มีกระดูกสันหลัง เเต�มีโนโตคอร�ตเป�นเเกนอยู�ในร�างกาย ได�เเก� เเอมฟsออกซัสและเพรียงหัวหอม มีครีบหลังยาวต้ังเเต�ส�วนหน�ามาจนถึงครีบหาง ซ่ึงมีทางด�านหลังเเละหน�าท�อง มี(notochord)ยาว ตลอดตัวเเละไขสันหลังตลอดชีวิต ไม�มีสมอง ลําตัวเป�น ปล�องชัดเจนกินอาหารด�วยการกรองจากน้ํามีอวัยวะชื่อ เอนโดสไตล�(endostyle)จะสร�างเมือกเพ่ือให�อาหารท่ีมากับน้ําติดอยู� จากนั้นอาหารท่ีติดมากับน้ําจะถูกเเฟลกเจลลัมเเละซิเลียพัดเข�าสู�หลอดอาหารอีกพวกคือพวกท่ีมีกระดูกสันหลัง เป�นแกนกลาง สัตว�ในไฟลัมนี้มีลักษณะสําคัญคือ มีโนโตคอร�ด (Notochord) ในชั่วระยะหนึ่งของชีวิต มีไขสันหลังเป�นหลอดยาว กลวง อยู�ด�านหลังเหนือโนโตคอร�ด มีอวัยวะ ในการแลกเปลี่ยนก�าซบริเวณคอหอย มีเนื้อเยื่อ 3 ชั้น มีช�องว�างในลําตัวเป�นท่ีอยู�ของอวัยวะภายใน มีระบบไหลเวียนเลือดแบบเปsด ไฟลัมคอร�ดาตาแบ�งออกเป�น 3 ซับไฟลัม

1. Subphylum Urochordata ลักษณะสําคัญคือ มีระบบไหลเวียนเลือดแบบเปsด มีสารประกอบจําพวก เซลลูโลสปกคลุมลําตัว มีโนโตคอร�ดบริเวณหาง เช�น เพรียงหัวหอม เพรียงลอย

2. Subphylum Cephalochordata ลักษณะลําตัวยาวหัวท�ายแหลมฝbงตัวตามพ้ืนทรายในทะเล มีโนโตคอร�ดยาวตลอดลําตัว ได�แก� แอมฟsออกซัส

3 .Subphylum Vertebrata ประกอบด�วยสัตว�ท่ีมีกระดูกสันหลัง แบ�งออกเป�น 7 คลาส ดังนี้ 3.1 Class Cyclostomata สัตว�ในคลาสนี้ ได�แก� พวกปลาท่ีไม�มีขากรรไกร ทําให�ปากของปลาเหล�านี้

เปsดอยู�ตลอดเวลาและมีลักษณะกลม จึงมักเรียกว�า ปลาปากกลม ในปbจจุบันมีอยู� 2 กลุ�มคือ แลมเพรย� และ แฮกฟsช 3.2 Class Chondrichthyes สัตว�ในคลาสนี้ ได�แก� ปลากระดูกอ�อน เช�นปลาฉลาม ปลากระเบน มี

ลักษณะสําคัญดังนี้ ผิวหนังปกคลุมด�วยเกล็ดแบบพลาคอยด� (Placoid) และมีต�อมสร�างน้ําเมือกตามผิวหนัง มีเส�นประสาทแยกจากสมอง 10 คู� มีหัวใจ 2 ห�อง เม็ดเลือดแดงเป�นรูปไข�มีนิวเคลียส เป�นสัตว�เลือดเย็น การปฏิสนธิเกิดข้ึนภายในร�างกาย มีท้ังออกลูกเป�นตัวและเป�นไข�

3.3 Class Osteichthyes ได�แก� ปลากระดูกแข็งท้ังหมด ลักษณะสําคัญ คือ ผิวหนังปกคลุมด�วยเกล็ด บางชนิดไม�มีเกล็ด เช�น ปลาไหล ขากรรไกรเจริญดี ปากอยู�หน�าสุดของตัว มีการปฏิสนธิภายนอก เช�น ปลาดุก ปลาตะเพียน ปลาหมอ ปลาสวาย ม�าน้ํา

3.4 Class Amphibia ได�แก� พวกสัตว�ครึ่งบกครึ่งน้ํา เช�น กบ คางคก อ่ึงอ�าง ลักษณะของสัตว�ใน คลาสนี้ คือ วางไข�ในน้ําตัวอ�อนหายใจด�วยเหงือกและผิวหนัง ผิวหนังเป�ยกชื้นตลอดเวลา มีต�อมสร�างเมือกทําให�ผิวตัวลื่น การปฏิสนธิเกิดข้ึนภายนอกร�างกาย

3.5 Class Reptilia ได�แก�สัตว�เลื้อยคลานเช�น งู เต�า ตุ�กแก ตะกวด จระเข� เป�นต�น ลักษณะสําคัญ

Page 30: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 30

ของ สัตว�ในคลาสนี้ คือ วางไข�บนบก ไข�จะมีเปลือกแข็งหุ�ม ผิวหนังแห�ง และใต�ผิวหนังมีชั้นไขมัน สามารถปpองกันการระเหยของน้ํา มีถุงลมอัลแลนตอยส� เพ่ือเก็บของเสียและช�วยในการหายใจมีการปฏิสนธิภายใจ หัวใจมี 3 ห�อง (ยกเว�นจระเข�มี 4 ห�อง)

3.6 Class Aves สัตว�ในคลาสนี้ได�แก�พวกสัตว�ป�กซ่ึงเป�นพวกแรกท่ีมีการควบคุมอุณหภูมิภายในให�คงท่ีได� ลักษณะสําคัญของสัตว�ป�กคือ มีขา 2 คู� โดยคู�หน�าเปลี่ยนแปลงไปเป�นป�ก ปากเป�นจะงอย หายใจโดยใช�ปอด มีกล�อง เสียงอยู�ด�านในของหลอดลม ปอดประกอบด�วยถุงลม 9 ถุง นอกจากช�วย หายใจแล�ว ยังช�วยระบายความร�อนอีกด�วย เป�นสัตว�เลือดอุ�นมีการปฏิสนธิภายใน

3.7 Class Mammalia สัตว�ในคลาสนี้ ได�แก� สัตว�เลี้ยงลูกด�วยนม ซ่ึงมีความเจริญสูงสุดในบรรดาสัตว� ท้ังหลาย เพราะสามารถสร�างอวัยวะหลายอย�างแตกต�างจากสัตว�อ่ืนๆ เช�นมีใบหู กระบังลม มีลักษณะสําคัญคือ มีขน (Hair) ปกคลุมลําตัว หายใจด�วยปอด โดยมีกระบังลมช�วยในการหายใจ มีต�อมน้ํานมสําหรับสร�างน้ํานมเลี้ยงตัวอ�อน มีต�อมเหง่ือใต�ผิวหนัง ตัวผู�มีอัณฑะในช�องท�อง มีการปฏิสนธิภายใน ตัวอ�อนจะเจริญภายในมดลูก สัตว�ในคลาสแมมมาเลียอาจแบ�งย�อยต�อไปได�เป�น 2 subclass คือ prototheria และ their พวกโปรโตเทอเรียเป�นสัตว�เลี้ยงลูกด�วยน้ํานมท่ีออกลูกเป�นไข�เช�น ตุ�นปากเป�ด ตัวกินมด ส�วนพวกเทอเรีย สามารถแบ�งย�อยไปได�อีก 2 infraclass คือ metatheria และ eutheria โดยเมตาเทอเรียจะเป�นพวกท่ีไม�มีรก หรือรกไม�สมบูรณ� เม่ือคลอดลูกแล�วจะทําการเลี้ยงตัวอ�อนต�อไปในกระเป�าหน�าท�องเรียกสิ่งมีชีวิตท่ีมีกระเป�าหน�าท�องว�าพวกมาซูเพียล (marsupial) เช�น จิงโจ� โคอาล�า แบนดิคูท โอ พอสซ่ัม ซ่ึงพบมากในทวีปออสเตรเลีย และพบได�บ�างในแอฟริกา ส�วนพวกยูเทอเรียเป�นพวกท่ีมีรกสมบูรณ�สามารถเลี้ยงตัวอ�อนในตัวแม�จนตัวอ�อนเติบโตสมบูรณ� ส�วนใหญ�จะสามารถช�วยเหลือตัวเองได�ในเวลาไม�นานเช�น กระรอก แมว ช�าง วัว และคน อย�างไรก็ตามตัวอ�อนของสัตว�เลี้ยงลูกด�วยน้ํานมทุกชนิดจะใช�น้ํานมแม�เป�นอาหารในช�วงแรกของชีวิตหลังการคลอด

แบบทดสอบ 1. สิ่งมีชีวิตในข�อใดมีความใกล�ชิดกันมากท่ีสุด

1) ยีสต� รา เห็ด 2) พารามีเซียม อะมีบา วอลวอกซ� 3) พลาสโมเดียม ไดอะตอม ยูกลีนา 4) สาหร�ายเกลียวทอง เคลป� ซาร�แกสซัม

2. ความสัมพันธ�ระหว�างสิ่งมีชีวิตกับการเกิดโรคในข�อใดไมDถูกต�อง 1) แบคทีเรีย - วัณโรค 2) โปรโตซัว - ลําไส�อักเสบ 3) เชื้อโรค - เกลื้อน 4) ยุงก�นปล�อง - ไข�มาลาเรีย

3. ถ�าต�องการผลิตปุ�ยชีวภาพเพ่ือนําไปใช� ในไร�ท่ีปลูกพืชใบเลี้ยงเด่ียว ควรผสมจุลินทรีย�ชนิดใดลงไปในปุ�ย 1) ไรโซเบียม 2) ออสซิสลาตอเรีย 3) สเตรปโตมัยซิส 4) อะโซโตแบคเตอร�

4. ข�อใดเป�นบทบาทหน�าท่ีทางนิเวศวิทยาของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา ก. ผู�ย�อยสลาย ข. ผู�ผลิต ค. ผู�บริโภค

1) ก. และ ข. 2) ก. และ ค. 3) ข. และ ค. 4) ก., ข. และ ค. 5. สิ่งมีชีวิตในข�อใดจัดอยู�ในกลุ�มเดียวกับสาหร�ายเกลียวทอง

Page 31: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 31

1) นอสตอก อะนาบีนา 2) สาหร�ายหางกระรอก สาหร�ายไฟ 3) สไปโรไจลา สาหร�ายสีแดง 4) คลอเรลลา อะนาบีนา

6. ไข�หวัดนก (bird flu) ท่ีทําให�คนเสียชีวิตหลายคนในฮ�องกงอาจเกิดจากสาเหตุใดต�อไปนี้ 1) ไวรัสของนกวิวัฒนาการเปลี่ยนไปเป�นไวรัสของคน 2) เกิดจาก gene recombination ระหว�างไวรัสของนกกับของคน 3) เชื้อไวรัสของนกจากไซบีเรียท่ีอพยพมาฮ�องกง 4) เกิด gene mutation ในไวรัสของคนไปเหมือนกับยีนในไวรัสของนก

7. สิ่งมีชีวิตในสป�ชีส�เดียวกัน จะแยกเป�นสิ่งมีชีวิตสป�ชีส�ใหม�ได�ก็ต�อเม่ือมีสิ่งใดเกิดข้ึน

1) การแยกจากกันเนื่องจากสภาพภูมิศาสตร�มาขัดขวาง 2) การแยกจากกันโดยกลไกทางด�านการสืบพันธุ� 3) การแยกจากกันโดยปbจจัยทางด�านสรีรวิทยาและพฤติกรรม 4) การเกิดการเปลี่ยนแปลงจํานวนชุดโครโมโซมจากเดิม

8. โปรติสต�ท่ีใช�เป�นตัวบ�งชี้สภาวะของอากาศได�คือข�อใด 1) สาหร�าย 2) แบคทีเรีย 3) ไลเคน 4) ราเมือก

9. ข�อใดเป�นจริงเก่ียวกับ Rhizobium และ Anabaena ก. จัดอยู�ในอาณาจักรโปรติสตา ข. สังเคราะห�แสงได� ค. สามารถตรึงไนโตรเจนได� ง. ไม�มีออร�แกเนลล�ท่ีมีเมมเบรนหุ�ม 1) ก. และ ข. 2) ข. และ ค. 3) ค. และ ง. 4) ก. และ ง.

พิจารณาภาพตDอไปนี้แล�วตอบคําถามข�อ 10-11

10. สิ่งมีชีวิตดังกล�าวสามารถจําแนกได�ก่ีไฟลัม

1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 11. สิ่งมีชีวิตท้ัง 4 ตัว เป�นสัตว�ท่ีมีกระดูกสันหลังจํานวนเท�าใด

1) 1 2) 2 3) 3 4) 4

Page 32: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 32

12. สิ่งมีชีวิตดังกล�าว สามารถจําแนกได�ก่ีไฟลัม

1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 พิจารณาภาพตDอไปนี้แล�วตอบคําถามข�อ 13-14

13. สิ่งมีชีวิตดังกล�าวสามารถจําแนกได�ก่ีไฟลัม

1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 14. สัตว�ท่ีมีลําตัวเป�นปล�อง รยางค�เป�นปล�อง (แต�ไม�มีกระดูกสันหลัง) มีก่ีชนิด

1) 2 2) 3 3) 4 4) 5 15. สาหร�ายสีเขียว มอส และลิเวอร�เวิร�ต ต�างก็ไม�มีราก ลําต�น และใบแท�จริง แต�มอส และลิเวอร�เวิร�ตถูก จัดเป�นพืชเพราะเหตุใด

1) มีหลายเซลล� 2) มีคลอโรพลาสต� 3) มีระยะเอ็มบริโอ 4) มีการสืบพันธุ�แบบสลับ 16. พืชในข�อใดต�อไปนี้จัดอยู�ในกลุ�มเดียวกัน

1) แหนแดง ผักแว�น ผักกูดน้ํา ย�านลิเภา 2) เฟsร�น แหนแดง สน 2 ใบ สนหางม�า 3) ปรง เฟsร�น ย�านลิเภา ผักแว�น 4) แหนแดง เฟsร�น ผักแว�น ผักตบชวา

17. จากพืชดังกล�าวสามารถจําแนกได�ก่ีดิวิชัน

Page 33: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 33

1) 1 2) 2 3) 3 4) 4 18. หลักฐานใดท่ีบ�งบอกความใกล�ชิดทางวิวัฒนาการระหว�างแบคทีเรียกับสาหร�ายสีเขียวแกมน้ําเงิน

ก. ข�อมูลด�านสารชีวโมเลกุล ข. โครงสร�าง ค. ถ่ินท่ีอยู�อาศัย 1) ก. 2) ก. และ ข. 3) ก. และ ค. 4) ก., ข. และ ค.

19. ข�อใดไมDใชDผลิตภัณฑ�ท่ีเกิดจากเชื้อรา ก. น้ําปลา น้ําส�มสายชู ข. เต�าเจี้ยว เนยแข็ง ค. สาโท ข�าวหมาก

1) ก. 2) ก. และ ข. 3) ข. และ ค. 4) ก. และ ค. 20. ถ�าจะจําแนกพยาธิไส�เดือน พยาธิปากขอ พยาธิใบไม�ในปอด ลิ่นทะเล ทาก ปลวก อีแปะทะเล ออกเป�นไฟลัม จะจําแนกได�ก่ีไฟลัม

1) 3 ไฟลัม 2) 4 ไฟลัม 3) 5 ไฟลัม 4) 6 ไฟลัม 21. ข�อใดเรียงลําดับวิวัฒนาการของพืชจากตํ่าสุดสู�สูงสุดได�ถูกต�อง

1) มอส เฟsร�น ตีนตุ�กแก หญ�าถอดปล�อง มะม�วง ข�าว 2) มอส ตีนตุ�กแก หญ�าถอดปล�อง เฟsร�น มะม�วง ข�าว 3) มอส ตีนตุ�กแก เฟsร�น หญ�าถอดปล�อง ข�าว มะม�วง 4) มอส ตีนตุ�กแก หญ�าถอดปล�อง เฟsร�น ข�าว มะม�วง

22. พืชในข�อใดท่ีมีความแตกตDางจากพืชในข�ออ่ืนมากท่ีสุด 1) แหน 2) แหนแดง 3) ผักแว�น 4) จอกหูหนู

23. สาหร�ายกับมอส มีลักษณะร�วมคล�ายกันคือข�อใด 1) มีการสืบพันธุ�แบบสลับ 2) ไม�มีราก ลําต�น และใบแท�จริง และไม�มีท�อลําเลียง 3) ไม�มีราก ลําต�น และใบแท�จริง แต�มีระยะเอ็มบริโอ 4) ถูกทุกข�อ

24. สิ่งมีชีวิตพวกใดพบในน้ําเค็มเท�านั้น 1) มอลลัสก� 2) โพรโทคอร�เดต 3) ฟองน้ํา 4) เอไดโนเดิร�ม

25. สิ่งมีชีวิตในโลกนี้ท่ีมีจํานวนสป�ชีส�มากท่ีสุดคือข�อใด 1) แบคทีเรีย 2) พืชดอก 3) แมลง 4) ไวรัส

26. ข�อใดเป�นสัตว�ตDางไฟลัมกัน 1) แมงกะพรุน ปะการัง ไฮดรา 2) ทาก หมึก หอยทาก 3) พยาธิตัวกลม ไส�เดือนฝอย พยาธิปากขอ 4) นก จระเข� ม�าน้ํา

27. โครงสร�างใดท่ีพบในข�าวและข�าวโพดแต�ไม�พบในสน 1) Ovary 2) Ovule 3) Seed 4) Endosperm

28. ผลิตภัณฑ�อาหารในข�อใดเป�นผลิตภัณฑ�ท่ีได�จากรา 1) ซีอ๊ิว เต�าเจี้ยว เนยแข็ง 2) ซีอ๊ิว เต�าเจี้ยว น้ําส�มสายชู 3) เต�าเจี้ยว เนยแข็ง นมเปรี้ยว 4) ข�าวหมาก น้ําส�มสายชู นมเปรี้ยว

29. การเลี้ยงแหนแดงในนาข�าวเพ่ือจุดประสงค�ใด

Page 34: บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... · 2011-09-15 · บทที่ 3 ความหลากหลายของ ... หลักฐานความเกี่ยวทางวิวัฒนาการ

ชีววิทยา เรียบเรียงโดย Kru’M___________หน�า 34

1) แหนแดงเพ่ิมปุ�ยไนโตรเจนแก�ข�าว 2) แหนแดงมีธาตุฟอสฟอรัสมาก ทําให�ข�าวได�รับฟอสฟอรัสมากจึงออกรวงเร็วข้ึน 3) ซากแหนแดงดูดน้ําได�ดีกว�าซากของพืชอ่ืนๆ 4) ถูกทุกข�อ

30. สิ่งมีชีวิตในข�อใดสามารถสร�างอาหารได�เองและกินอาหารจากสิ่งมีชีวิตอ่ืน ก. เห็ด รา ยีสต� ข. มอเนอรา ค. โพรทิสตา ง. พืช

1) ก. และ ข. 2) ค. และ ง. 3) ก. และ ง. 4) ข. และ ค. 31. ความสําคัญของปtาชายเลนและแนวปะการังคือข�อใด

ก. เป�นแหล�งอนุบาลของตัวอ�อนของสิ่งมีชีวิตในทะเล ข. เป�นแหล�งสมุนไพร ค. นําไปทําเชื้อเพลิง ง. ปpองกันคลื่นและลม 1) ก. และ ข. 2) ค. และ ง. 3) ก. และ ง. 4) ข. และ ค.

32. สารเปลาโนทอล (Plaonotol) จากต�นเปล�าน�อยมีคุณสมบัติอย�างไร 1) ฆ�าเชื้อรา 2) รักษาแผลสด 3) ใช�ในเครื่องสําอาง 4) รักษาโรคกระเพาะ

33. ข�อใดเขียนชื่อวิทยาศาสตร�ได�ถูกต�อง

1) Fasciola hepatica 2) Fasciola hepatica

3) Fasciola hepatica 4) Fasciola hepatica 34. ราท่ีผลิตสาร Aflatoxin ท่ีเป�นสาเหตุของโรคมะเร็งคือราชนิดใดและราชนิดใดคือราท่ีข้ึนบนขนมปbง ตามลําดับ 1) Penicilin sp. และ Aspergillus sp. 2) Rhizopus sp. และ Saccharomyces

3) Aspergillus sp. และ Rhizopus sp. 4) Rhizopus sp.. และ Aspergillus sp 35. ข�อใดเป�นลักษณะของพืชใน Division Bryophyta 1) มีราก ลําต�น และใบท่ีแท�จริง ไม�มีระบบท�อลําเลียง มีช�วงแกมีโทไฟต�เด�น 2) ไม�มีราก ลําต�น และใบท่ีแท�จริง ไม�มีระบบท�อลําเลียง แกมีโทไฟต�อาศัยอยู�บนต�นสปอร�โรไฟต� 3) ไม�มีราก ลําต�น และใบท่ีแท�จริง มีวงจรชีวิตแบบสลับ สปอร�โรไฟต�อาศัยอยู�บนต�นแกมีโทไฟต� 4) ไม�มีระบบท�อลําเลียง มีวงจรชีวิตแบบสลับ สปอร�โรไฟต�และแกมีโทไฟต�ต�างเป�นอิสระต�อกัน เฉลยบทท่ี 3 1. 1) 2. 3) 3. 4) 4. 3) 5. 1) 6. 3) 7. 4) 8. 3) 9. 3) 10. 3) 11. 2) 12. 4) 13. 3) 14. 3) 15. 3) 16. 1) 17. 4) 18. 2) 19. 1) 20. 3) 21. 2) 22. 1) 23. 2) 24. 4) 25. 3) 26. 2) 27. 1) 28. 1) 29. 1) 30. 4) 31. 3) 32. 4) 33. 3) 34. 3) 35. 3)