การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร...

57
การสรางบทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง คํานาม ธวัลรัตน ประจง รหัสประจําตัวนักศึกษา 491003000158 ภาคกลาง จังหวัดชลบุรี หลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู สถาบันการศึกษาทางไกล พุทธศักราช 2550

Upload: others

Post on 09-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

การสรางบทเรยีนสําเร็จรูป เรื่อง คาํนาม

ธวัลรัตน ประจง รหัสประจําตัวนักศึกษา 491003000158

ภาคกลาง จังหวัดชลบุรี

หลักสูตรการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู สถาบันการศึกษาทางไกล พุทธศักราช 2550

Page 2: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

7

สารบัญ หนา บทคัดยอ.................................................................................................................... ก สารบัญ...................................................................................................................... ข สารบัญตาราง............................................................................................................. ค บทที่ 1 บทนํา............................................................................................................ 1 ภูมิหลัง............................................................................................. 1 จุดมุงหมายของการวิจัย..................................................................... 3 สมมุติฐานของการวิจัย............................................................. ........... 3 ความสําคัญของการวิจัย...................................................................... 3 ขอบเขตการวิจัย................................................................................. 4 นิยามศัพทเฉพาะ............................................................................... 4 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ....................................................................... 6 แนวคิดเกี่ยวกับทฤษฎีที่เกี่ยวของ........................................................ 6 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544................................ 7 บทเรียนสําเร็จรูป หรือบทเรียนโปรแกรม.......................................... 13 หลักจิตวิทยาการเรียนรูที่เกี่ยวของกับบทเรียนสําเร็จรูป...................... 15 งานวิจัยที่เกี่ยวของ............................................................................ 16 งานวิจัยภายในประเทศ..................................................................... 16 3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา............................................................................ 18 ประชากรและกลุมตัวอยาง............................................................... 18 เครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา..................................................... 18 การสรางบทเรียนสําเร็จรูป............................................................... 18 การเก็บรวบรวมขอมูล...................................................................... 20 การวิเคราะหขอมูล........................................................................... 20 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล.......................................................... 20 4 ผลการวิจัย................................................................................................... 23 ขอวิจารณ........................................................................................... 25

Page 3: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

8

บทที่ หนา 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ................................................................ 27 สรุปผลการวิจัย................................................................................... 27 ผลการวิจัย.......................................................................................... 28 อภิปรายผล......................................................................................... 28 ขอเสนอแนะ...................................................................................... 30 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป....................................................... 30 บรรณานุกรม............................................................................................................. 32 ประวัติยอของผูวิจัย................................................................................................... 35 ภาคผนวก................................................................................................................... 37

Page 4: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

9

สารบัญตาราง

ตารางที ่

หนา

1 แสดงคะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบฝกหัด............................................ 23 2 แสดงคะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์.................... 24 3 แสดงประสิทธิภาพของแบบเรียนสําเร็จรูป ตามเกณฑมาตรฐาน 80/80. 24 4 แสดงคาที่ไดจากการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กอนเรียน

และหลังเรียน.................................................................................. 25

Page 5: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

10

บทคัดยอ ชื่องานวิจยั : การสรางบทเรียนสําเร็จรูปเร่ือง คํานาม

ชื่อนักศึกษา : นางธวัลรัตน ประจง

ชื่อโรงเรียน : โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา อําเภอบานบงึ จงัหวัดชลบุรี

ชื่ออาจารยที่ปรึกษา : อาจารยศิริลักษณ เสง็มี

ปที่ทาํการวิจัย : 2550

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อสรางบทเรียนสําเร็จรูป รายวิชา ภาษาไทย ท32101 เรื่อง คํานาม สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 พรอมทั้งหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นใหไดตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 และเพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กอนและหลัง จากการเรียนบทเรียนสําเร็จรูป

กลุมตัวอยางที่ใชในการทดลองเปนนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี จํานวน 40 คน การเลือกกลุมตัวอยางใชวิธีการเลือกโดยการสุมตัวอยางแบบกลุม ( cluster sampling ) ดวยการจับฉลากเลือก จากนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา ปการศึกษา 2549 ที่เรียนในรายวิชาภาษาไทย ท 32101 แลวจึงทดสอบกอนเรียน และทดสอบสอนดวยบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้น แลวประเมินดวยแบบทดสอบหลังเรียน นําคะแนนแบบฝกหัดจากบทเรียนสําเร็จรูปกับคะแนนหลังเรียนของกลุมตัวอยางมาหาคาเฉลี่ยรอยละ เพื่อหาประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 นําคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนมาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การเรียนบทเรียนสาํเร็จรูปโดยใช t – test ผลการวิจัยพบวา บทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.62 / 86.00 คาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียน จากบทเรียนสําเร็จรูปมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญที่ระดับ .01

Page 6: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

11

คํานิยม

การวิจัยครั้งนี้ไดรับความกรุณาจากทานผูอํานวยการโรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา นายเจริญ อินทรารักษ รองผูอํานวยการนายคํานวณ ทองมาก และ อาจารยผองศรี พุทธสิทธิโชค ที่ใหคําปรึกษา พรอมทั้งเปนผูเช่ียวชาญตรวจสอบความเที่ยงตรงของแบบทดสอบ กอนเรียน หลังเรียน ผูวิจัยจึงกราบขอบพระคุณทุกทานที่ไดกลาวมาแลวไว ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณผูที่เกี่ยวของทุกทานที่ไดใหความชวยเหลือในการดําเนินการวิจัยทําใหวิจัยครั้งนี้สําเร็จลุลวงไดดวยดี ธวัลรัตน ประจง 30 มีนาคม 2550

Page 7: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

12

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ภูมิหลัง ภาษาเปนวัฒนธรรมอยางหนึง่ของมนุษยทีม่ีการยอมรับและถายทอดกนัมาในสังคม

ความสําคัญของภาษาก็คือการใชภาษาเปนเครื่องมือส่ือความหมาย ความคิด ความรูสึก ความตองการและใชในการประกอบกิจกรรมรวมกัน เมื่อตองการใชภาษากต็องศึกษาวิธีการใชภาษาจนเขาใจและสามารถใชไดอยางมีประสิทธิภาพซึ่งจะทําใหการดํารงชีวิตประจําวนัในสังคมมีความสุขและราบรื่น ดัง่ที่ สุจิต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย ( 2522 : 6-8 ) ไดกลาวไววา ผูที่มีความสามารถทางภาษาสูงยอมประสบผลสําเร็จในชีวติ การเรียนรูฝกฝนภาษาจึงมีความหมายและความจําเปนเพือ่ใชไดอยางมปีระสิทธิภาพและไดผลสมดังความมุงหมายที่ตั้งไว ในปจจุบันมีนักวิชาการในประเทศไทยหลายคนไดใหความสําคัญของภาษาไวดังนี้ เอกวิทย ณ ถลาง ( 2525 : 152 ) ไดกลาวถึงความสําคัญของภาษาวา ภาษาไทยเปนภาษาที่มีประสิทธิภาพ มีความไพเราะ และมีเอกลักษณของตัวเอง ชวยใหเกิดความเขาใจในหมูคณะ จึงเปนสิ่งที่จําเปนที่ควรจะรักษาภาษาไทยใหคงอยู และเปนหนาที่ที่ทุกคนในประเทศจะตองใชภาษาใหถูกตอง สุวรรณา เกรียงไกรเพชร และคณะ ( 2523 : 88 ) ไดกลาวถึงสมรรถภาพในการใชภาษาของคนไทยระดับตางๆ พบวา การเขยีนภาษาไทยมกีารเขียนผิดไวยากรณ ที่พบมากที่สุดคือการใชคําในหนาทีต่างๆ ของประโยค และการเขียนบกพรองซึ่งสวนใหญเปนดานการใชภาษาไมสละสลวย ปญหาดังกลาวสอดคลองกับความเหน็ของหนวยศึกษานิเทศกเขตการศกึษา 8 ( 2522 : 15 ) วา ผูสอนภาษาไทยจะพบปญหาทีเ่กิดขึ้นกับผูเรียน แตปญหาที่มีผลตอการนําภาษาไปใชในชีวิตประจําวัน คือ การสอนทักษะทั้ง 4 โดยเฉพาะการเขียน ปญหาที่พบ คือ ภาษาที่ใชไมสละสรวย ไมราบร่ืน ไมประทับใจ ไมกระทัดรัด คลุมเครือ ไมชวนใหตดิตามอาน

จากลักษณะของปญหาขางตน การสอนภาษาไทยเปนวิธีการสําคัญอยางหนึ่งที่จะทําให ผูเรียนมคีวามรูความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะและหลักเกณฑที่ผูใชภาษาควรยึดถือ และชวยทําใหใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง ดงันั้นผูเรียนจะตองไดรับการการปลูกฝงใหเรียนรูการใชภาษาที่ถูกตองตั้งแตการใชคาํ การใชสระ การใชวรรณยกุต และไดรับการฝกฝนการใชทักษะตางๆ เพื่อใหสามารถนําความรูที่เรียนในโรงเรียนไปใชในชีวิตประจําวันอยางไดผล ( หนวยศกึษานิเทศก เขตการศึกษา 7, 2522 : 19 )

ในการจดัการเรียนรู จําเปนตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลดวย มนษุยแตละบุคคลยอมมีคามแตกตางดวยกันดวยพันธุกรรมและสภาพแวดลอม ผูเรียนแตละคนมีความตองการที่แตกตางกัน มีความสามารถในการเรียนรูไมเหมือนกนั ดวยเหตุนีน้ักการศึกษาจงึคิดหาวิธีการ

Page 8: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

13

ขึ้นโดยใชวิธีการและเครื่องชวยสอนตางๆ เพื่อสนองการเรียนรูดวยตนเองมากที่สุดและเรียนรูเนื้อหาไดเร็วยิง่ขึ้น

ทองอินทร วงศโสธร ( 2524 : 154 ) ไดใหแนวคดิเกีย่วกบัลักษณะการเรียนรูดวยตนเองไววา ผูเรียนแตละคนควรมีโอกาสเลือกวิธีเรียนที่เหมาะสมกับตนเองตามความสนใจที่มีอยู และมีโอกาสไดทราบความกาวหนาของตนเองอีกดวยดั้งนั้นผูเรียนจะเรียนสําเร็จชาหรือเร็วข้ึนอยูกบัความสนใจของแตละบุคคล กมล สุดประเสริฐ ( 2526 :81 ) มีความคดิเห็นวาการเรยีนดวยตนเองชวยใหผูเรียนมีคุณลักษณะ คือ มีประสิทธิภาพในการทํางาน รูจักทํางาน รูจักหนาทีแ่ละมีความรับผิดชอบ รูจักศึกษาหาความรูดวยตวัเอง ซ่ึงลักษณะเหลานี้สอดคลองกับความมุงหมายทางหลักสูตรวิชาภาษาไทยมัธยมศึกษาตอนตน “...เปนการศึกษาที่มุงใหผูเรียนพัฒนาคณุภาพชวีิตและการศึกษาตอ ใหสามารถเลือกแนวทางที่จะทําประโยชนใหกับสังคม...” ฉะนั้นการเรยีนรูดวยตนเองจึงเปนวิธีการสําคัญวธีิหนึ่งที่ชวยใหบรรลุความมุงหมายดังกลาว

การนําเอาเทคโนโลยีมาใช คือการประยุกตเอาเทคนิค วธีิการ แนวคดิ อุปกรณ และเครื่องมือใหม ๆ มาใชเพื่อชวยแกปญหาการศึกษา ซ่ึงเรียกวา เทคโนโลยีการศึกษา วิจิตร ศรีสะอาน ( 2514 : 35 ) ไดกลาวถึงเทคโนโลยีการศึกษา สรุปไดวา บรรดาวัสดุ อุปกรณ ที่นํามาใชในการเรยีนการสอน ที่ถือไดวาเปนสวนหนึ่งในเทคนิควทิยาทางการศกึษาฉบับใหม บทเรียนสําเร็จรูปเปนของใหมที่นาสนใจและอาจนํามาใชในประเทศไทยไดมากที่สุด การใชบทเรียนสําเร็จรูปเปนการนําเอาเทคโนโลยีทางการศึกษาฉบับใหมมาใชเปนแนวทางของการสอนแบบใหมชนิดตัวตอตัวที่ใชไดกบัเนื้อหาวิชาหลายแขนงแตละแขนงก็สามารถใชไดเหมาะสม

ลักษณะโดยทัว่ไปของบทเรยีนสําเร็จรูป ม ี2 แบบ คอื บทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรง และแบบสาขา พรรณี ช. เจนจิตร ( 2528 : 182 ) อธิบายถึงความหมายของบทเรียนสําเร็จรูปแบบเสนตรงวา เปนบทเรียนที่ผูเรียนสรางคําตอบ หรือแบบเลือกตอบที่มีขั้นการตอบสนองแบบสั้น ๆ ผูเรียนสามารถตอบสนองตามความคาดหมายไดมากที่สุด สวนบทเรยีนสําเร็จรูปแบบสาขาเปนบทเรียนที่สามารถเลือกคําตอบไดหลายทางและทราบเหตุผลการตอบของตนเองวาทําไมผิด หรือทําไมถูกจากนัน้จะนํา ไปสูการแกไขที่ถูกตอง ผูเรียนสามารถเรียนดวยความสนกุสนานและเสนอเนื้อหาไดกวางกวาแบบเสนตรง

จากการที่ผูวจิยัสอนวิชาภาษาไทยมาหลายป พบวานกัเรยีนชั้นมัธยมศกึษาปที่ 2 โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา จังหวัดชลบุรี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองการใชคําไทย 7 ชนิด โดยเฉพาะเร่ืองคํานามอยูในเกณฑต่ํา ในฐานะที่ผูวิจยัเปนครูภาษาไทยและมีความมุงหวังที่จะพฒันาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยใหมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยูในเกณฑดี ผูวจิัยจึงสนใจที่จะสรางบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม สําหรับนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 เพื่อสงเสริมการเรียนการสอนใหเปนไปอยางมปีระสิทธิภาพ ชวยลดเวลาสอนของครูและเพื่อสรางความสนใจใหผูเรียนเกดิความ

Page 9: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

14

สนุก ไมเบื่อหนายในบทเรยีน เพราะบทเรียนสําเร็จรูปทําใหผูเรียนทีม่ีความสามารถตางกันไดเรียนไดดวยตนเองไมจํากัดเวลาและบรรลุตามวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.2 จุดมุงหมายของการวิจัย

1.2.1 เพื่อสรางบทเรียนสําเร็จรูปรายวิชา ภาษาไทย ท32101 เร่ือง คํานาม สําหรับ

นักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที ่ 2

1.2.2 เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นใหไดตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80

1.2.3 เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา กอนเรยีนและหลังเรยีน จากบทเรียนสําเร็จรูป 1.3 สมมติฐานการวิจัย 1.3.1 มีบทเรียนสําเร็จรูป วิชาภาษาไทย ท 32101 เรื่อง คํานาม สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2

1.3.2 บทเรียนสําเร็จรูปมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 80 / 80

1.3.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน

1.4 ความสําคัญของการวิจัย การวิจยัคร้ังนีจ้ะทําใหเกดิประโยชนดังนี้ คือ

1.4.1 ประโยชนสาํหรับนักเรียน 1.4.1.1 นักเรยีนมีความรูและเขาใจในบทเรียนวิชาภาษาไทยเรื่อง คํานาม ดีขึ้น 1.4.1.2 มีบทเรียนสําเร็จรูปที่มีประสิทธิภาพเปนแนวทางในการสรางสื่อการสอน

ในรายวิชาอื่น ๆ 1.4.2 ประโยชนตอผูสอน / ครู

1.4.2.1 สรางบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม สําหรับใชในการเรียน การสอนวิชาภาษาไทย ระดบัมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพ

1.4.2.2 เปนสื่อการสอนชวยประหยดัเวลาในการสอนวชิาภาษาไทย เร่ือง คํานาม 1.4.2.3 มีแนวทางในการใชวิธีการสอนแบบเอกัตภาพในวิชาภาษาไทย

Page 10: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

15

1.4.2.4 เพื่อเปนแนวทางในการสรางบทเรียนสําเร็จรูป เนื้อหากลุมสาระ ภาษาไทย และวิชาอื่น ๆ ตอไป

1.4.3 ประโยชนสําหรับผูบริหาร

1.4.3.1 ไดพฒันาการบริหารจัดการ การจดัการเรียนการสอนโดยใชส่ือการสอนที่ มีคุณภาพ 1.5 ขอบเขตของการวจิัย 1.5.1 การวิจยัคร้ังนี้ผูวิจัยไดสรางบทเรียนบทเรียนสําเร็จรูปวิชาภาษาไทย เร่ือง คํานาม ตามหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ของกระทรวงศกึษาธิการพุทธศักราช 2544 1.5.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ คอื นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ปการศึกษา 2549 ของโรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต 1 ชลบุรี จํานวน 40 คน 1.5.3 ตัวแปรที่ศึกษา ไดแก 1.5.3.1 ตัวแปรอิสระ คือ วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยบทเรียนสําเร็จรูป เร่ืองคํานาม ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 1.5.3.2 ตัวแปรตาม คือ ผลการเรียนรู 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาภาษาไทย ท 32101 เร่ือง คํานาม ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 1.6 นิยามศัพทเฉพาะ

1.6.1 บทเรียนสําเร็จรูป หมายถึง ส่ือการสอนที่มุงใหผูเรียนเรียนรูดวยตัวเอง โดยแบง เนื้อหาออกเปนกรอบหลายๆ กรอบซึ่งแตละกรอบจะมเีนื้อหาที่เรียบเรียงไว มุงใหเกิดการเรยีนรูตามลําดับ โดยมีสวนที่ผูเรียนจะตองตอบสนองดวยการเขียนตอบซึ่งอาจอยูในรูปเตมิคําใน ชองวาง เลือกคําตอบ ฯลฯ และมีสวนทีเ่ปนเฉลยคําตอบที่ถูกตอง ซ่ึงอาจอยูขางหนาของกรอบนั้นหรือกรอบถัดไป หรืออยูที่สวนอื่นของบทเรียนกไ็ด บทเรียนสําเรจ็รูปที่สมบูรณจะมีแบบทดสอบวดัความกาวหนาของการเรียนโดยทําการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แลวพิจารณาวาหลังเรียน ผูเรียนแตละคนมีคะแนนมากกวากอนเรียนมากนอยเพียงใด

Page 11: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

16

1.6.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความรูความสามารถของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ในเนื้อหาวิชาภาษาไทย ท 32101 เร่ือง คํานาม วัดไดจากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ผูศึกษาสรางขึ้น 1.6.3 เกณฑ 80 / 80 หมายถงึ ประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป ที่คาดหวังโดยพจิารณาจากคาเฉลี่ยรอยละของคะแนนจากการประเมินระหวางเรยีนและหลังเรยีน จะมีเทากบัหรือเทา 80 ทั้งระหวางเรียนและหลังเรียน 1.6.4 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยจาการทําแบบฝกหัดทายบทไดถูกตอไมนอยกวารอยละ 80 1.6.5 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยในการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ หลังจากเรียนจบบทเรยีน ของนักเรียนทุกคนไมนอยกวา รอยละ 80

Page 12: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

17

บทที่ 2 เอกสารและผลงานวิจัยทีเ่กี่ยวของ

ในการดําเนินการวิจยั ผูวิจยัไดทําการศึกษา คนควาและทบทวนเอกสาร และผลการวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อประกอบการประเด็นปญหา จุดมุงหมาย สมมติฐานและวิธีดําเนินการวิจัย ดังจะเสนอตามหัวขอตอไปนี ้ 2.1 แนวคิดทฤษฎทีี่เกีย่วของ

พระราชบัญญติัการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ซึ่งมีผลบังคับใชต้ังแตวนัที ่20 สิงหาคม

2542 ไดบัญญัติสาระสําคัญเกี่ยวกับการจัดการศึกษาไวในหมวด 4 แนวการจัดการศึกษา สาระของหมวดนี้ครอบคลุมหลักการ สาระ และกระบวนการจัดการศึกษาที่เปดกวางใหมีวิสัยทัศนใหมทางการเรียนการสอนทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน สาระเกีย่วกับการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญตั้งแตมาตรา 22 ถึงมาตรา 30 ดังนี้ มาตรา 22 หลักการจัดการศกึษา ตองยดึหลักวาผูเรียนทกุคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศึกยภาพ มาตรา 23 สาระการเรียนรู เนนความสําคญัทั้งความรูและคุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตามความเหมาะสมแตละระดับการศึกษา ในเรื่องเกีย่วกบัตนเองและความสัมพันธของตนเองกับสังคมตลอดจนประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทย การเมืองและการปกครองความรูและทักษะดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี รวมทั้งเรื่องการจัดการดานคณิตศาสตร ดานภาษา การประกอบอาชีพและการดาํรงชีวิตอยางมีความสุข การใชและการบาํรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมความรูเกีย่วกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทยและการประยุกตใช มาตรา 24 กระบวนการเรียนรู ตองจัดเนือ้หาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความ สนใจ ความถนัด และความแตกตางของผูเรียน ฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และประยกุตใชเพื่อปองกันในการแกไขปญหา ใหผูเรียนเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกดิการใฝรูอยางตอเนื่อง ผสมผสานสาระความรูดานตางๆอยางสมดุล รวมทั้งปลูกฝงคุณธรรม คานิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงคทุกวิชา ผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม ส่ือการเรียนการสอน อํานวยความสะดวกให ผูเรียนเกดิการเรียนรูและใชการวิจยัเปนสวนหนี่งของกระบวนการเรยีนรู ทั้งนี้ผูสอนและผูเรียนอาจเรียนรูไปพรอมๆกัน จากสื่อและแหลงเรียนรูที่หลากหลาย พอแม ผูปกครองและชุมชนมีสวนรวมในการจัดการเรียนรูใหเกิดขี้นไดทุกเวลาทุกสถานที่

Page 13: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

18

มาตรา 25 บทบาทรัฐในการสงเสริมแหลงเรียนรู สงเสริมการดําเนนิงานและการจัดตัง้แหลงการเรียนรูตลอดชีวิต ทุกรูปแบบอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ มาตรา 26 การประเมินผลการเรียนรู พิจารณาจากพฒันาการของผูเรียน ความประพฤติ สังเกตพฤติกรรมของผูเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคูกันไปตามความเหมาะสมของแตละระดับและรูปแบบการศึกษา ใหนําผลการประเมินดังกลาวมาใชประกอบการพิจารณาใน การจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอโดยใชวธีิการที่หลากหลาย มาตรา 27 28 การพัฒนาหลกัสูตรแตละระดับ ใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดหลักสตูรแกนกลาง และใหสถานศึกษาขั้นพิน้ฐานจัดทําสาระของหลักสูตรที่เกี่ยวของกับปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน และคูณลักษณะอันพึงประสงคของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ หลักสูตรตองมีลักษณะหลากหลายตามความเหมาะสมของแตละระดับมุงเนนดานวิชาการและวิชาชีพ พัฒนาคนใหมีความสมดุลทั้งความรู ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรับผิดชอบตอสังคม มาตรา 29 บทบาทของผูมีสวนเกี่ยวของ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคลครอบครัว องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นจัดกระบวนการเรยีนรูในชุมชน เพือ่สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนรวมทั้งหาวิธีการแลกเปลี่ยนการพัฒนาระหวางชุมชน มาตรา 30 การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรยีนการสอนที่มีประสิทธิภาพและสงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพฒันาการเรียนรูในแตละระดบัการศึกษา

2.2 หลักสูตรการศึกษาขัน้พื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ความเจรญิกาวหนาทางวิทยาการดานตาง ๆ ของโลกยุคโลกาภวิฒัน มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจของทุกประเทศรวมทั้งประเทศไทยดวย จึงมีความจําเปนที่จะตองปรับปรุงหลักสูตรการศึกษาของชาติ ซ่ึงถือเปนกลไกลสําคัญในการพัฒนาคณุภาพการศึกษาของประเทศ เพื่อสรางคนไทยใหเปนคนดี มีปญญา มีความสุข มีศักยภาพพรอมที่จะแขงขันและรวมมืออยางสรางสรรคในเวทีโลก หลักสูตรการศึกษาของประเทศเคยใชอยูคือ หลักสตูรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2521) หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ) และหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ซ่ึงกระทรวงศกึษาธิการ โดยกรมวิชาการไดตดิตามผลและดาํเนินการวิจยัเพื่อพัฒนาหลกัสูตรตลอดมา ผลการศึกษาพบวา หลักสูตรที่ใชอยูในปจจบุันนานกวา 10 ป มีขอจํากัดอยูหลายประการ ไมสามารถสงเสริมใหสังคมไทยกาวไปสูสังคมความรูไดทนัการณ ในเรือ่งที่สําคัญดังตอไปนี ้

Page 14: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

19

1. การกําหนดหลักสูตรจากสวนกลาง ไมสามารถสะทอนสภาพความตองการที่แทจริง ของสถานศึกษาและทองถ่ิน

2. การจัดหลักสูตรและการเรียนรูคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ยังไม สามารถผลักดันใหประเทศไทยเปนผูนําดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยีในภูมภิาค จึงจําเปนตองปรับปรุงกระบวนการเรยีนการสอนใหคนไทยมีทกัษะกระบวนการและเจตคติที่ดีทางคณิตศาสตร วทิทยาศาสตร และเทคโนโลยี มีความคิดสรางสรรค

3. การนําหลักสูตรไปใชยงัไมสามารถสรางพื้นฐานในการคิด สรางวิธีการเรียนรู ใหคน ไทยมีทักษะในการจัดการและทักษะในการดําเนินชวีิต สามารถเผชิญปญหาสังคมและเศรษฐกจิที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วไดอยางมีประสิทธิภาพ

4. การเรียนรูภาษาตางประเทศยังไมสามารถที่จะทําใหผูเรียนใชภาษาตางประเทศ โดย เฉพาะภาษาอังกฤษในการติดตอส่ือสารและการคนควาหาความรู จากแหลงการเรียนรูที่มีอยูหลากหลายในยุคสารสนเทศ

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช 2540 กําหนดใหบุคคล มีสิทธิเสมอกัน ในการรับการศึกษาขั้นพืน้ฐานไมนอยกวาสิบสองป ที่รัฐจะตองจดัใหอยางทั่วถึง และมีคุณภาพ โดยไมเก็บคาใชจาย การจัดการศึกษาอบรมของรัฐ ตองคํานึงถึงการมีสวนรวมขององคการปกครองทองถ่ินและชุมชน ประกอบกับพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหการศึกษาเปนกระบวนการเรยีนรู เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม โดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวฒันธรรม การสรางสรรคความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอมสังคมแหงการเรียนรู และปจจยัเกื้อหนนุใหบคุคลเกิดการเรยีนรูอยางตอเนื่องตลอดชีวติ การจัดการศกึษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทย ใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จติใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข เปดโอกาสใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา พัฒนาสาระ และกระบวนการเรียนรูใหเปนไปอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติดังกลาว ไดกําหนดใหมีการจัดทําหลักสตูรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อความเปนไทย ความเปนพลเมอืงที่ดีของชาติ การดํารงชีวิตและการประกอบอาชพี ตลอดจนเพือ่การศึกษาตอ และใหสถานศึกษาขั้นพืน้ฐานจัดทําสาระของหลักสูตรในสวนทีเ่กีย่วกับสภาพปญหาในชุมชน และสังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอนัพึงประสงค เพื่อเปนสมาชกิที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ และพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติดังกลาว กําหนดใหมีการศึกษาภาคบังคับ จํานวน 9 ป ดวยวิสัยทัศนของรัฐที่เชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาในการสรางคน สรางงาน เพื่อชวยกอบกูวิกฤตเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ เปนการสรางชาติใหมั่นคงไดอยางยั่งยืน เชือ่มั่นใน

Page 15: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

20

นโยบายการศกึษาในการสรางชาติ ปรับโครงสรางและระบบการศึกษา ยึดหลักการบริหารจัดการที่เนนคุณภาพ ประสิทธิภาคและความเสมอภาค ใชเทคโนโลยีเพื่อการศกึษา และเชื่อมัน่ในนโยบายการศึกษาเพื่อสรางคน บูรณาการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในการปฏิรูปการเรียนรู และเชื่อมั่นในนโยบายการศึกษาเพื่อสรางงาน สรางเยาวชนใหมีความรูคูกบัการทํางาน กระทรวงศกึษาธิการ โดยอาศัยอํานาจตามความในบทเฉพาะกาลมาตรา 74 แหงพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 จึงเห็นสมควรกําหนดใหมีหลักสูตรการศึกษาขึ้นพืน้ฐาน พุทธศักราช พ.ศ. 2544โดยยึดหลักความมีเอกภาพดานนโยบายและมคีวามหลากหลายในการปฏบิัติ กลาวคือ เปนหลักสูตรแกนกลางที่มีโครงสรางหลักยืดหยุน กําหนดจุดหมาย ซ่ึงถือเปนมาตรฐานการเรียนรูในภาพรวม 12 ป สาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรูแตละกลุม มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เปนชวงชั้นละ 3 ป จัดเฉพาะสวนที่จําเปนสําหรับการพัฒนาคุณภาพชวีิตความเปนไทย ความเปนพลเมืองดีของชาต ิการดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพื่อการศึกษาตอ ใหสถานสถานศึกษาจดัทําสาระในรายละเอียดเปนรายป หรือรายภาคใหสอดคลองกับสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณสมบัติอันพงึประสงค เปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ รวมถึงจัดใหสอดคลองกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียนแตละกลุมเปาหมายดวย การจัดการศกึษามุงเนนความสําคัญทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรมกระบวนการเรียนรู และความรับผิดชอบตอสังคม เพื่อพัฒนาคนใหมีความสมดุล โดยยึดหลักผูเรียนสําคัญที่สุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองได สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ศักยภาพ ใหความสําคัญตอความรูเกี่ยวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมทั้งความรูเกี่ยวกบัประวัติศาสตรความเปนมาของสังคมไทย และระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ความรูความเขาใจและประสบการณเร่ืองการจัดการ การบํารุงรักษา และการใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสมดุลยั่งยืน ความรูเกี่ยวกับศาสนา ศิลปะ วฒันธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการประยุกตใชภูมปิญญา ความรูและทักษะในการประกอบอาชีพ การดํารงชีวิตในสังคมอยางมีความสุข สถานศึกษาจดักระบวนการเรียนรูที่มุงเนนการฝกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูมาใชปองกันและแกไขปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอานและเกดิการใฝรูอยางตอเนื่อง ผสมผสานความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวนสมดุลกัน ปลูกฝงคุณธรรม คานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคไวในทุกกลุมสาระการเรียนรู อํานวยความสะดวก เพือ่ใหผูเรียนเกิด

Page 16: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

21

การเรียนรู และมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการวิจยัเปนสวนหนึ่งของกระบวนการการเรียนรู โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลของผูเรียน จัดการเรียนรูใหเกดิขึ้นไดทกุเวลา ทุกสถานที่ และสามารถเทียบโอนผลการเรียนและประสบการณไดทุกระบบการศึกษา อนึ่ง เพื่อใหการใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานบรรลุจุดหมายที่กําหนดไว สถานศึกษาตองมีการประสานสัมพันธ และรวมมือกบับิดามารดา ผูปกครอง และบุคคลในชุมชนใหการพัฒนาคุณภาพการศกึษาในสถานศกึษาเปนไปอยางตอเนื่อง นอกจากนัน้ กระทรวงศึกษาธกิารยังจําเปนตองสนบัสนุน สงเสริมดานการพัฒนาแหลงเรยีนรูทั้งในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษาใหครอบคลุมหลักสูตรและกวางขวางยิ่งขึน้ เพื่อการพัฒนาไปสูความเปนสากล ทั้งนี ้กระทรวงศกึษาธิการจะไดจดัทําเอกสารประกอบหลักสตูร เชน คูมือการใชหลักสูตร แนวทางการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา คูมือครู เอกสารประกอบหลกัสูตรกลุมสาระตาง ๆ แนวทางการวัดและประเมินผล การจัดระบบแนะแนวในสถานศึกษา การวจิัยในสถานศึกษาและการใชกระบวนการวจิัยในการพัฒนาการเรียนรู ตลอดจนเอกสารประชาสัมพันธหลักสูตรใหประชาชนทั่วไป ผูปกครอง และผูเรียนมีความเขาใจและรับทราบบทบาทของตนในการพัฒนาตนเองและสังคม หลักการ เพื่อใหการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเปนไปตามแนวนโยบายการจัดการศึกษาของประเทศ จึงกําหนดหลกัการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไวดังนี ้ 1. เปนการศึกษาเพื่อความเปนเอกภาพของชาติ มุงเนนความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล 2. เปนการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทกุคนจะไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและเทาเทียมกนั โดยสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษา 3. สงเสริมใหผูเรียนไดพฒันาและเรยีนรูดวยตนเองอยางตอเนื่องตลอดชีวิต โดยถือวา ผูเรียนมีความสําคัญที่สุด สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ 4. เปนหลักสตูรที่มีโครงสรางยืดหยุนทั้งดานสาระ เวลา และการจดัการเรียนรู 5. เปนหลักสตูรที่จัดการศึกษาไดทกุรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู และประสบการณ จุดหมาย หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐาน มุงพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยที่สมบูรณ เปนคนดี มปีญญา มีความสุข และมีความเปนไทย มีศักยภาพในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดจุดหมายซ่ึงถือเปนมาตรฐานการเรียนรูใหผูเรียนเกิดคุณลักษณะอนัพึงประสงค ดังตอไปนี ้

Page 17: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

22

1. เห็นคุณคาของตนเอง มีวนิัยในตนเอง ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ มีคุณธรรม จริยธรรมและคานิยมอันพึงประสงค 2. มีความคิดสรางสรรค ใฝรู ใฝเรียน รักการอาน รักการเขียน และรักการคนควา 3. มีความรูอันเปนสากล รูเทาทันการเปลี่ยนแปลงและความเจริญกาวหนาทางวิทยาการ มีทักษะ และศกัยภาพในการจัดการ การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี ปรับวิธีการคิด วิธีการทํางาน ไดเหมาะสมกบัสถานการณ 4. มีทักษะและกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร วิทยาศาสตร ทักษะการคิด การสรางปญญา และทักษะในการดําเนินชวีิต 5. รักการออกกําลังกาย ดแูลตนเองใหมีสุขภาพและบุคลิกภาพทีด่ ี 6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและการบริโภค มีคานิยมเปนผูผลิตมากกวาผูบริโภค 7. เขาใจในประวัติศาสตรของชาติไทย ภมูิใจในความเปนไทย เปนพลเมืองดี ยึดมัน่ในวถีิชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข 8. มีจิตสํานึกในการอนุรักษภาษาไทย ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี กฬีา ภูมิปญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่งแวดลอม 9. รักประเทศชาติและทองถ่ิน มุงทําประโยชนและสรางสิ่งที่ดีงามใหสังคม มาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดมาตรฐานการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู 8กลุม ที่เปนขอกําหนดคณุภาพผูเรียนดานความรู ทักษะ กระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยมของแตละกลุม เพื่อใชเปนจุดมุงหมายในการพัฒนาผูเรียนใหมคีุณลักษณะทีพ่ึงประสงค ซ่ึงกําหนดเปน 2 ลักษณะ คือ 4.1 มาตรฐานการเรียนรูการศึกษาขั้นพืน้ฐาน เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4.2 มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น เปนมาตรฐานการเรียนรูในแตละกลุมสาระการเรียนรู เมื่อผูเรียนเรียนจบในแตละชวงชั้น คือ ช้ันประถมศึกษาปที่ 3 และ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และ 6 มาตรฐานการเรียนรูในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน กําหนดไวเฉพาะมาตรฐานการเรียนรูที่จําเปนสําหรับการพัฒนาคุณภาพผูเรียนทุกคนเทานั้น สําหรับมาตรฐานการเรียนรูที่สอดคลองกับสภาพปญหาในชุมชนและสงัคม ภูมิปญญาทองถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกทีด่ีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนมาตรฐานการเรียนรูที่

Page 18: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

23

เขมขนขึ้นตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน ใหสถานศึกษาพัฒนาเพิ่มเติมได สาระและมาตรฐานการเรยีนรู หลักสูตรการศึกษาขั้นพืน้ฐานกําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู เปนเกณฑในการกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพืน้ฐาน ซ่ึงกําหนดไวเฉพาะสวนที่จําเปน สําหรับเปนพืน้ฐานในการดาํรงชีวิตใหมีคณุภาพ สําหรับสาระและมาตรฐานการเรียนรูตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเรียน สถานศึกษาสามารถพัฒนาเพิ่มเติมได สาระและมาตรฐานการเรยีนรูการศึกษาขั้นพืน้ฐานมีรายละเอยีดดังตอไปนี ้ ภาษาไทย สาระที่ 1 : การอาน มาตรฐาน ท 1.1 : ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสนิใจ แกปญหา

และสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชวีิต และมีนิสัยรักการอาน สาระที่ 2 : การอาน มาตรฐาน ท 2.1 : ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน

เร่ืองราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

สาระที่ 3 : การฟง การดูและการพูด มาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคดิ

ความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวจิารณญาณและสรางสรรค สาระที่ 4 : หลักการใชภาษา มาตรฐาน ท 4.1 : เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา

และพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

มาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน

สาระที่ 5 : วรรณคดี และวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 : เขาใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยาง

เห็นคณุคา และนํามาประยุกตใชในชวีิตจรงิ

Page 19: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

24

2.3 บทเรียนสําเร็จรูป หรือบทเรียนโปรแกรม ( Progrommed Instruction ) คือ ส่ือการสอนที่มุงใหผูเรียนเรียนดวยตนเอง จะเรว็หรือชาตามความสามารถของแตละ

บุคคล โดยแบงเนื้อหาออกเปนหลายๆกรอบ ( Frames ) แตละกรอบจะมีเนื้อหาที่เรียบเรียงไว มุงใหเกิดการเรยีนรูตามลําดับ โดยมีสวนที่ผูเรียนจะตองตอบสนองดวยการเขียนตอบซึ่งอาจอยูในรูปเติมคําในชองวาง เลือกคําตอบ ฯลฯ และมีสวนที่เปนเฉลยคําตอบที่ถูกตอง ซ่ึงอาจอยูขางหนาของกรอบนั้นหรือกรอบถัดไป หรืออยูทีส่วนอื่นของบทเรียนกไ็ด บทเรียนสําเร็จรูปที่สมบูรณจะมีแบบทดสอบวัดความกาวหนาของการเรียนโดยทําการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน แลวพิจารณาวาหลังเรียนผูเรียนแตละคนมีคะแนนมากกวากอนเรียนมากนอยเพียงใด

2.3.1 หลักของการสรางบทเรียนสําเร็จรูป การสรางบทเรียนสําเร็จรูปจะยึดหลักที่สําคัญของการสอน 4 ประการดังนี ้

1) หลักของการเรียนรูเพิ่มทลีะนอย ( Gradual Approximation ) การเรียนรูจะเกดิขึ้นไดดีถามีการจัดแบงขั้นของกิจกรรมเปนขั้นตอนสั้นๆ ถากิจกรรมการเรียนมีขั้นตอนที่ยาวและซับซอน อาจทําใหผูเรียนเบื่อหนาย ทอถอยได ฉะนั้นการสรางบทเรียนสําเร็จรูปจึงมีการแบงเนื้อหาออกเปนกรอบ ผูเรียนจะเรยีนรูส้ังสมขึ้นไปเรื่อยๆจนถึงกรอบสุดทายของบทเรียนผูเรียนกจ็ะบรรลุจุดประสงคการเรียนรูครบตามตองการ 2) หลักของการมีสวนรวมอยางจริงจัง ( Active Participation )การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดถีาผูเรียนทํากจิกรรม เชนคดิแกปญหา คนหาความสัมพันธ ระลึกถึงความรูเดิม ฯลฯ จากหลักดังกลาวในการสรางบทเรียนสําเร็จรูปผูเรียนจะตองตอบสนองออกมา เชน เตมิขอความลงไปในชองวางหรือเลือกคําตอบที่เหมาะสมโดยจะตองตอบสนองแทบทุกกรอบบางกรอบอาจตอบมากกวา 1 คร้ัง ลักษณะดังกลาวจะทําใหผูเรียนติดตามบทเรียนตลอดเวลา 3) หลักของการรูผล (Feedback ) การเรียนรูจะเกดิขึ้นไดดีถาผูเรียนรูผลของการกระทาํของตนวาถูกหรือผิด ในการสรางบทเรียนสําร็จรูปจึงมีการเฉลยคําตอบที่ถูกตองใหผูเรียนทราบวาถูกตองหรือไมโดยเทียบกับคําตอบที่เฉลยไวใหแลว 4) หลักของความสําเร็จ (Success Experience )การเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดีถาผูเรียนรูสึกวาไดรับความสําเร็จ ทําไดถูกตองแตถาผูเรียนไมไดรับความสําเร็จก็จะเกดิความเบื่อหนายไมอยากทํา จากหลักดงักลาวจึงมกีารเขียนย้ําความรูและที่สําคัญคือในการตอบสนอง บทเรียนจะพยายามใหตอบโดยที่มั่นใจวาถาผูเรียนติดตามอยางมั่นใจกจ็ะสามารถตอบไดอยาง ถูกตอง การใชบทเรียนสําเร็จรูปยังใชหลักการวจิัย หลักการทางวิทยาศาสตร หลังจากที่เขยีนบทเรียนเสรจ็จะมกีารทดลองและปรับปรุงหลายครั้ง ในครั้งสุดทายทดลองกับกลุม

Page 20: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

25

ตัวอยางของประชากรที่มุงจะใหเรียนโดยใชจํานวนคอนขางมากและสามารถชวยใหผูเรียนเกดิการเรียนรูเพิ่มขึ้นอยางแนนอนและเดนชัด

2.3.2 ประเภทของบทเรียนสําเร็จรูป บทเรียนสําเร็จรูปแบงเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

1) บทเรียนแบบเสนตรง ( Liner Programs ) บทเรียนสําเร็จรูปแบบนี้ผูเรียนจะตองเรียนตามลําดับตอเนื่องกันไปเรื่อยๆจากกรอบแรกไปจนถึงกรอบสุดทาย จะขามกรอบไมได ไมวาผูเรียนจะเกงหรือออนก็ตาม แตคนเกงจะใชเวลาเรียนนอยกวาคนออน 2) บทเรียนแบบแตกสาขา ( Branching ) บทเรียนสําเร็จรูปแบบนี้จะมกีรอบทั้งประเภทกรอบยนื และสาขา บางคนอาจเรียนขามบางกรอบได แตบางคนอาจเรียนกรอบยืนไมเขาใจก็จําเปนตองไปเรียนกรอบสาขา ในบทเรียนบางแบบกรอบสาขาจะมุงอธิบายคําตอบที่ผูเรียนตอบผิด บางแบบจะเปนการซอมเสริมความรูกอนจะเรียนกรอบยืนถัดไป การแตกสาขานั้นผูเขยีนจะบอกไวชัดเจนวาใหเปดเรียนหนาใดตอไป หรือบางครั้งอาจใหไปเรียนจากตําราเลมอื่นหรือส่ืออ่ืน เชนใหดจูากภาพยนตร เทปบันทึกภาพ เทปเสียง สไลด ฟลมสตริป เปนตน เมื่อเรียนจากสาขาเสร็จแลวก็กลับมาเรียนในกรอบที่ไดระบุไวตอไป

2.3.3 ขั้นตอนในการสรางบทเรียนสําเร็จรูป

ในการสรางบทเรียนสําเร็จรูปอาจแบงเปน 4 ขั้นตอนใหญๆ ดังนี ้ 1) ขั้นเตรียม - ศึกษาหลักสตูร - กําหนดจดุประสงค - วิเคราะหภารกิจการเรียน - สรางแบบทดสอบ 2) ขั้นดําเนินการเขียน - เขียนบทเรียน - ทบทวนและแกไข 3) ขั้นทดลองและปรับปรุง - ทดลองใชเปนรายบุคคล - ทดลองใชกบักลุมเล็ก - ทดลองใชในหองเรียน 4) ขั้นพิมพบทเรียน - พิมพบทเรียนฉบับจริงสําหรับใชตอไป

Page 21: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

26

2.3.4 ขอดีและขอท่ีเปนปญหาของบทเรียนสําเร็จรูป บทเรียนสําเร็จรูปมีทั้งขอดีและขอที่เปนปญหาดังนี ้23.4.1 ขอดี

1) ผูเรียนมีโอกาสเรียนดวยตนเองตามความสามารถของตน เปน การตอบสนองความแตกตางระหวางบุคคล 2) ผูเรียนจะเรยีนที่ใดหรือเมือ่ใดก็ได 3) ผูเรียนไดรับการกระตุนใหเกิดกําลังใจในการเรียน เพราะเรียนไปตามลําดับความยากงายและทราบคําตอบที่ทําไป

2.3.4.2 ขอท่ีเปนปญหา 1) การใชบทเรียนสําเร็จรูปอยางเดยีวโดยตลอด จะทําใหผูเรียนขาด การติดตอซ่ึงกนัและกนัไมสงเสริมการเรียนรูจากกนัและกัน 2) การใชบทเรียนสําเร็จรูปในชั้นเรียน จะมีลักษณะเปนผูชวยครูมากกวาที่จะใชแทนครู ทั้งนีเ้พราะอาจมนีกัเรียนบางคนมีขอสงสัยตองการคําแนะนาํจากครู จึงจําเปนตองคอยดูแลตลอดเวลา ครูอาจตองเปนผูดําเนนิการสอบนักเรยีนกอนและหลังเรียนบทเรียนสําเร็จรูปนั้น 3) การใชบทเรียนสําเร็จรูปในชั้นเรียน ผูที่เรียนไดรวดเรว็จะเสร็จกอนและมีเวลาเหลอือีก ถาไมมีกจิกรรมใหทํากอ็าจมีพฤติกรรมที่รบกวนคนอื่น จะตองวางแผนและกําหนดงานพิเศษใหสวนผูทีเ่รียนชาบางคนอาจทําไมเสร็จ ตองใหทํานอกเวลาหรือใหไปทําที ่บานตอ 4) ความซื่อสัตยเปนสิ่งสําคญัที่จะชวยใหบรรลุผลที่ปรารถนา ถานักเรียนไมปฏิบัติตามวิธีเรียนที่ถูกตอง กลาวคือไมไดใชความคดิในการตอบแตใชวิธีดูเฉลยคําตอบแลวนํามาตอบ นอกจากจะทําใหเรียนไมไดผลแลว ยังปลูกฝงการโกงอีกดวย จึงควรชีแ้จงใหเขาใจให ถูกตองวาวิธีการดังกลาวนัน้ไมมีประโยชนใดๆ สําหรับผูเรียน 2.4 หลักจิตวิทยาการเรียนรูท่ีเก่ียวของกับบทเรียนสําเร็จรูป การเรียนเปนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียน ซ่ึงวิธีการนาํไปสูการเปลี่ยนแปลงนั้น มีหลายแนวความคิด พรรณี ชูทัย ( 2522 ) ไดสรุปแนวความคิดเกีย่วกับการเรยีนรูไวดังนี ้ 2.4.1 มนุษยนิยม เชื่อวาการเรียนรูเกิดจากความตองการของผูเรียนเอง การจัดการศึกษาจึงมุงการใหอิสระและเสรีภาพอยางเต็มที่ 2.4.2 พฤติกรรมนิยม เชื่อวาการเรียนรูจะเกิดขึ้นไดเมื่อผูเรียนไดรับสิง่เราเกิดพฤติกรรมตอบสนองตอส่ิงเราขึ้น เมื่อมีการเสริมแรงดวยการใหรางวัลก็จะทําใหผูเรียนเปลี่ยนพฤติกรรม

Page 22: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

27

2.4.3 พุทธนิยม เชื่อวาการเรียนรูจะเกิดขึน้ไดเมื่อผูเรียนไดอยูในประสบการณที่เปนปญหา คือ เหน็ความจําเปนที่จะตองเรยีนรูส่ิงนั้น ผูเรียนตองแกปญหาเพื่อความอยูรอดดวยการ ลงมือปฏิบัติและผูเรียนไดอยูในสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยคือมเีครื่องมือไวให 2.5 งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

2.5.1 งานวิจัยภายในประเทศ นักการศึกษาของไทยไดทําการคนควาวจิัยเกี่ยวกับบทเรยีนสําเร็จรูป มีดังนี้ ชูชาติ นาแสง ( 2521 ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง วิทยาลัยครูมหาสารคาม เร่ือง ราชาศัพทและคําสุภาพโดยใชหนวยการเรียนการสอนกับการสอนปกติ พบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุมทดลองสูงกวากลุม ควบคุมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วิวัฒนา กาญจนฐิตวิรณ ( 2523 ) ไดสรางชุดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยเรื่อง “แมศรีเรือน” ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศกัราช 2521 ผูสรางไดแยกกลุมตัวอยาง คือนักเรียนชัน้มัธยมศึกษาปที่ 1 เปน 2 กลุม พบวา ชุดการสอนที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.56 / 93 และ 90.69/90.68 ผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนชุดการเรยีนการสอนมีความแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วรเชษฐ พนัโกฎิ ( 2538 ) ไดสรางบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เร่ือง คํานาม วิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 )ฉบับปรุบปรุง 2533 ) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑมาตรฐาน 75 / 75 ผลการศึกษาพบวา บทเรียนสําเร็จรูป แบบสาขา เร่ือง คํานาม วิชาภาษาไทย ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐานคือ 86.00 / 88.40 และคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขาหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วรรณภา สวัสดิรักษา ( 2542 ) ไดสรางบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เร่ือง เสียงในภาษาไทย วิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง 2533 ) เพื่อหาประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 ผลการวิจัยพบวาบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 84.20 / 81.11 กลาวคือ นกัเรียนสามารถทําแบบฝกหดัทายบทไดถูกตองโดยเฉลี่ยรอยละ 84.20 ซ่ึงสูงกวาเกณฑประสิทธิภาพตัวแรกและนักเรียนสามารถทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดโดยเฉลี่ยรอยละ 81.11 ซ่ึงสูงกวาประสิทธิภาพตัวหลัง นอกจากนี้คะแนนทดสอบหลังเรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา สูงกวาคะแนนการทอสอบกอนเรียนอยางมีนยัสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

Page 23: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

28

เจือจันทร กัลยา ( 2533 ) ไดทําการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปประกอบการตูนและการสอนตามคูมือครูของ สสวท. ผลการศึกษาปรากฏวา นักเรียนที่เรียนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปประกอบภาพการตูนกับเรียนตามคูมือครูของ สสวท. มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในวิชาคณิตศาสตรแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนักเรียนที่เรียนโดยบทเรยีนสําเร็จรูปประกอบการตูนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในวิชาคณิตศาสตรสูงกวานกัเรียนที่เรียนตามคูมอืครูของ สสวท. งานวิจยัตางๆ เกี่ยวกับบทเรยีนสําเร็จรูป ดังที่กลาวขางตน ผูวิจยันํามาใชประโยชน เปนแนวทางในการศึกษาการสรางบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง “คํานาม” สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาตอนตน

Page 24: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

29

บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษาคนควา

จากการศึกษาหลักการ และทฤษฎีในการพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูป และงานวิจัยตาง ๆ ผูวิจัย

จึงนํามาเปนแนวทางในการพัฒนาบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม โดยมีแนวทาง และขั้นตอนในการพัฒนา ดังนี้

1. ประชากร และกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การสรางบทเรียนสําเร็จรูป 4. การเก็บรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล 6. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใชในการวิจยัคร้ังนีค้ือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา อําเภอบานบึง จังหวดัชลบุรี ที่เรียนรายวิชาภาษาไทย ท 32101 จํานวน 40 คน

กลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางทีใ่ชในการวิจยัคร้ังนี้ คือ นักเรียนระดับชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา อําเภอบานบึง จังหวดัชลบุรี ที่เรียนรายวิชาภาษาไทย ท 32101 จํานวน 40 คน ไดมาโดยการสุมตัวอยางแบบกลุม ( cluster sampling ) ดวยการจับฉลากเลือก จากนกัเรียนทัง้หมด 5 หอง ที่เรียนในรายวิชาภาษาไทย ท 32101

3.2 เครื่องมอืท่ีใชในการศึกษาคนควา ดังนี้ 3.2.1 บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม 3.2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียน

3.3 การสรางบทเรียนสําเร็จรูป 3.3.1 ในการสรางบทเรียนสําเร็จรูป ผูวิจยัดําเนนิการตามลําดับขั้นตอน ดังนี ้

Page 25: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

30

1) ศึกษาความคิดรวบยอด จุดประสงคการเรียนรูและเนื้อหาจากหลกัสูตรชั้นมัธยมศึกษา ชวงชั้นที่ 3 โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา คูมือครู และหนังสือแบบเรียนวชิาภาษาไทย เร่ือง คํานาม 2) ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวของกับหลักการสรางแบบเรียนสําเร็จรูป ลักษณะและรูปแบบที่เหมาะสมกับวยั ความสนใจ ความตองการในการอานตามหลักจิตวิทยาและพัฒนาการของเด็กชัน้มัธยมศึกษาชวงชั้นที่ 3 เพื่อเปนแนวทางในการสรางหนงัสือใหเหมาะสมกับผูเรียน 3) กําหนดความคิดรวบยอด และจดุประสงคการเรียนรู เร่ือง คํานาม ใหสอดคลองกับหลักสูตรภาษาไทย ระดับชัน้มัธยมศึกษาปที่ 2 ( ภาคผนวก ) 4) วางโครงเรื่อง ( plot ) ตามลําดับกอน – หลัง โดยแบงเนื้อหาออกเปนกรอบความรูจากงายไปยาก กําหนดเนื้อหาตั้งแตเร่ิมจนถึงสุดทายใหตรงตามจุดประสงคเชิงพฤติกรรมที่กําหนดไว

5) สรางบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ( ภาคผนวก ) 6) นําบทเรยีนสําเร็จรูปทีส่รางขึ้น ไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจ และนํามาปรับปรุงแกไขตาม

ที่ผูเชี่ยวชาญเสนะแนะ 3.3.2 ขั้นตอนการสรางแบบทดสอบ ผูวิจยัดําเนนิการตามลําดับขั้นตอน ดังนี ้ 1) ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบที่ดี ความเที่ยงตรงของขอสอบจากหนังสือการวจิยัเบื้องตน ของ บุญชม ศรีสะอาด ( 2536 : 50 – 63 ) เทคนิคการวิจยัทางการศึกษา ของ ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ ( 2536 : 146 – 152 ) 2) สรางแบบทดสอบแบบอิงเกณฑชนดิเลือกตอบ 4 ตัวเลือก โดยยึดตามจดุประสงคเชิงพฤติกรรมใหครอบคลุมเนื้อหา จํานวน 10 ขอ 3) นําแบบทดสอบที่ผูวิจยัสราง จํานวน 10 ขอ เสนอผูเชี่ยวชาญตรวจสอบดานเนื้อหาและดานการวดัผล เพื่อพิจารณาความสอดคลองระหวางจุดประสงคกบัขอสอบแตละขอ โดยวิธีของโรเนลลี และ แฮมเบิลตนั จากหนังสอืการวิจยัเบื้องตน ของ บุญชม ศรีสะอาด. ( 2535 : 60 ) 4) วิเคราะหคะแนนความสอดคลอง โดยพิจารณาคาดชันี ไมต่ํากวา 050 ขึ้นไป ซ่ึงแสดงวา แบบทดสอบที่สรางขึ้นมีความเทีย่งตรงในการวัดตามจดุประสงค เชิงพฤติกรรมที่ตองการวัด 5) จัดพิมพแบบทดสอบที่ผานเกณฑพจิารณา คือ มีคาดัชนีความสอดคลองไมตอกวา 0.5 ขึ้นไป 6) นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นไปใชทดลองกับนักเรียนเพื่อทําการทดสอบการวิจยั

Page 26: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

31

3.4 การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูลการวจิัย ผูวจิัยไดดาํเนินการวิจยัโดยมีขั้นตอน ดังนี ้ 3.4.1 ระยะเวลา ผูวิจยัไดใชระยะเวลาในการทดลองจาํนวน 6 คาบ คาบละ 50 นาที

ทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2549 วันที่ 10 – 12 มกราคม พ.ศ. 2550 เวลา 10.20 – 11.10 น.

3.4.2 ทดลองใชกับกลุมตัวอยาง นําบทเรียนสําเร็จรูปไปใชทดลองกับนักเรยีนใน โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา จาํนวน 40 คน ในชวงแรกครูจะเปนผูแนะนําการใชบทเรียนสําเร็จรูปเมื่อจบบทเรียนใหนักเรยีนทําแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรยีนจบ

3.5 การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดดําเนนิการนําขอมูลที่ไดจากการทดสอบมาวิเคราะห ดังนี ้ 1. หาคาสถิติพื้นฐาน คือ คารอยละ และคาเฉลี่ยของคะแนนจากแบบฝกหัดทายบท และคะแนนจากการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. หาคาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา 3. หาความเชือ่มั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4. วิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 ดําเนินการทดลองการใชบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม โดยมีแบบแผนการวิจยัเปนแบบ One Group – Pretest – Posttest Design ( วัญญา วิศาลาภรณ. 2540 : 177 ) ดังนี้

Ο1 Χ Ο2

Ο1 แทน ทดสอบกอนเรียน

Χ แทน การสอนโดยใชแบบเรียนสําเร็จรูป

Ο2 แทน ทดสอบหลังเรียน

3.6 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

3.6.1 สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล 1) สถิติพื้นฐานในการวเิคราะหขอมูล คาเฉลี่ยของคะแนน

2) หาคาเฉลี่ย (X ) โดยใชสูตร ( ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ. 2536 : 59 )

Page 27: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

32

จากสูตร Χ = ∑ X

Ν

เมื่อ Χ แทน คะแนนเฉลี่ย

∑ X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้หมด

Ν แทนจํานวนขอมูล

3) หาคาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา โดยวิธี ของโรวิเนลลี และแฮมเบิลตัน 4) เปรียบเทยีบความแตกตางผลสัมฤทธ์ิกอนเรียนและหลังเรียนโดยใช t-test (บุญชม ศรีสะอาด, 2532 : 60 – 61 )

จากสูตร t = ∑ D

√ N ∑ D2 - (∑ D2 ) ( n - 1 ) df = n - 1

∑ D หมายถึง การนําเอาผลตางของคะแนนครั้งหลังกับครั้งแรกของนักเรยีนแตละคน มาบวกกนั

∑ D2 หมายถึง การนําเอาผลตางของคะแนนครั้งหลังกับครั้งแรกของนักเรียนแตละคน ยกกําลังสองแลวนํามาบวกกัน

(∑ D2) หมายถึง การนําเอาผลตางของคะแนนครั้งหลังกับครั้งแรกของนักเรียนแตละคน มาบวกกนัแลวจึงยกกําลังสอง n หมายถึง จํานวนนักเรียนในกลุมทดลองใชนวัตกรรม 5) การคํานวณหาประสิทธภิาพของแบบเรียนสําเร็จรูป ตามเกณฑมาตรฐาน E 1/E 2 =80/80 ( ชังยงค พรหมวงศ. 2526 : 491 )

∑X

E1 = Ν× 100

Α

Page 28: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

33

เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของการทําแบบฝกหดัทายบท

∑X แทน คะแนนรวมที่ไดจากการทําแบบฝกหัดทายบท N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมทดลองทั้งหมด A แทน คะแนนเต็มของแบบฝกหัดทายบท

∑F

E2 = Ν× 100

Β

เมื่อ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ

∑F แทน คะแนนรวมของผลลัพธหลังเรียน N แทน จํานวนนักเรียนในกลุมทดลองทั้งหมด A แทน คะแนนเต็มของการทดสอบหลังเรียน ความหมายของมาตรฐาน 80 / 80 80 ตัวแรก หมายถึง คะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบฝกหดัทายบทเรยีนไดถูกตองไมนอยกวารอยละ 80

80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนเฉลี่ยในการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังจากเรียนดวยบทเรียนสาํเร็จรูปทุกคนไมนอยกวารอยละ 80

Page 29: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

34

บทที่ 4 ผลการวิจัย

การวิจยัเร่ือง การสรางบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ผูวิจัยไดดําเนนิการเปนลําดบัขั้นตอน ดังนี ้ 1. การสรางบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม 2. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ตามเกณฑตามเกณฑ 80 / 80

4.1 ผลการศกึษาวิจัย เปนดังนี้

4.1.1 ไดบทเรยีนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 1) บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม และแบบฝกหัด จํานวน 40 ขอ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง คํานาม จํานวน 10 ขอ

4.1.2 การหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 ปรากฏผลการทดลองตามตาราง ดังนี ้ 1) รอยละของคะแนนเฉลี่ยทีไ่ดจากการทําแบบฝกหัดทายบท บทเรียนสําเร็จรูปของกลุมตัวอยาง ตารางที่ 1 แสดงคะแนนเฉลีย่จาการทําแบบฝกหัด

จํานวนนักเรียน

คะแนนรวม

( 1600 )

คะแนนเฉลี่ย จากคะแนนเตม็

( 40 )

คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ

40

1418

35.45

88.62

จากตารางที่ 1 แสดงวา นักเรียน 40 คน ทาํแบบฝกหัดทายบทของบทเรียนสําเร็จรูปรวมกันไดคะแนนเฉลี่ยนคดิเปนรอยละ 88.62 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่กําหนดไว

Page 30: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

35

2) รอยละของคะแนนเฉลี่ยทีไ่ดจากการทําแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง คาํนาม ของกลุมทดลอง ตารางที่ 2 แสดงคะแนนเฉลีย่จากการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ

จํานวนนักเรียน

คะแนนรวม

( 400 )

คะแนนเฉลี่ย จากคะแนนเตม็

( 10 )

คาเฉลี่ยคิดเปนรอยละ

40

344

8.60

86.00

จากตารางที่ 2 แสดงวานักเรยีน 40 คน ทําแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง คํานาม ไดคะแนนเฉลี่ยคดิเปนรอยละ 86.00 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว 3) ประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป เปรียบเทียบจากรอยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทีท่ําไดจากแบบฝกหัดทายบทเรียน / รอยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนที่ทําไดจากแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ไมนอยหวา 80 / 80 ปรากฏผล ดังตาราง ตารางที่ 3 แสดงประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป ตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80

คะแนน

คะแนนเต็ม

คะแนนเฉลี่ย จากคะแนนเตม็

คาเฉลี่ย

คิดเปนรอยละ

คะแนนแบบฝกหัด

40

35.45

88.62

คะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

10

8.60

86.00

Page 31: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

36

จากตารางที่ 3 พิจารณาโดยสรุปจะเหน็ไดวา คะแนนเฉลี่ยจากการทําแบบฝกหัด / คะแนนเฉลี่ยจาการทําแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ือง คํานาม มีคาเฉลี่ย 88.62 / 86.00 ซ่ึงสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 ที่ตั้งไว ดังนั้น บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ที่ผูวิจยัสรางขึ้นมีประสิทธิภาพสามารถนําไปใชประกอบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย เร่ือง คํานาม ได 4) คาที่ไดจากการเปรียบเทยีบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนเรียนและหลังเรียน บทเรียนสําเร็จรูป ตารางที่ 4 แสดงคาที่ไดจากการเปรียบเทยีบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน กอนเรียน และหลังเรียน

คะแนน

N

X

D

t

กอนเรียน

40

3.43

5.17

23.48

หลังเรียน

40

8.60

t .01 ( df 39 = 2.75 ) จากตารางที่ 4 พบวานกัเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน บทเรียนสําเร็จรูป สูงกวากอนเรียน บทเรียนสําเร็จรูปอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.1 ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐาน 4.2 ขอวิจารณ เนื่องจากการสรางบทเรียนสําเร็จรูปไดยดึตามแนวของชยัยงค พรหมวงศ และคณะ ( 2523 ) เปนหลักและทดลองสอนตามแนวการสอนที่ดี จึงทําใหนักเรยีนที่เรียนจากบทเรียนสําเร็จรูปมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนสูงขึ้น ซ่ึงอาจเกิดจากสาเหตุตอไปนี ้

Page 32: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

37

1. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป ปรากฏวานักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดไดถูกตองรอยละ 88.62 และสามารถทําแบบทดสอบหลังเรียนบทเรียนสําเร็จรูปไดถูกตองรอยละ 86.00 คะแนนดังกลาวเมื่อเทียบกับเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว 80 / 80 นัน้ใกลเคียงมาก นับไดวาบทเรียนสําเร็จรูปนี้มีประสิทธิภาพใชไดตามเกณฑมาตรฐานตามหลักการของชัยยงค พรหมวงศ และคณะ ( 2523 ) 2. ความแตกตางระหวางคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนสําเร็จรูป มีความแตกตางกัน แสดงวา หลังการเรียนบทเรียนสําเร็จรูปแลวนกัเรียนมคีวามรูเพิ่มขึ้น นับวานกัเรียนไดประสบผลสําเร็จในการเรียนตามเกณฑที่ตั้งไว

Page 33: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

38

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

5.1 สรุป 5.1.1 จุดมุงหมายของการวิจัย

การวิจยัคร้ังนีม้ีจุดมุงหมาย คือ 1) เพื่อสรางบทเรียนสาํเร็จรูป รายวิชา ภาษาไทย ท32101 เร่ือง คํานาม

สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ่ 2

2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นใหไดตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80

3) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชา กอนและหลังเรียน จากบทเรียนสําเร็จรูป 5.1.2 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย กลุมตัวอยางทีใ่ชในการทดลองสอนไดแก นักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปที่ 2 ปการศึกษา 2549 ในโรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวทิยา อําเภอบานบึง จังหวัดชลบุรี จํานวน 40 คน 5.1.3 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

1) บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนเรียนและหลังเรียน

5.1.4 วิธีดาํเนินการวิจัย 1) สรางแบบทดสอบวิชาภาษาไทย เร่ือง คํานาม สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เปนขอสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จาํนวน 20 ขอ นําไปลองทดสอบใชกับนักเรียนที่กําลังเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 จํานวน 40 คน แลวปรับปรุงและคัดเลือกใหเหลือขอสอบ 10 ขอ นําขอสอบทั้ง 10 ขอเสนอตอผูเชี่ยวชาญตรวจความเที่ยงตรงของขอสอบ แลวนาํมาปรับปรุงแก ใชขอสอบนี้วัดความสามารถทางการเรียนภาษาไทย เร่ือง คาํนาม กอนเรยีนและหลังเรยีนบทเรียนสําเร็จรูป 2) สรางบทเรียนเรียนสําเร็จรูปวิชาภาษาไทย เร่ือง คํานาม ประกอบดวยแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน คําชี้แจงในการใชบทเรียนสําเร็จรูป และตัวบทเรียนสําเร็จรูปตามวิธีการของชัยยงค พรหมวงศและคณะ ( 2523 ) 3) นําบทเรียนสําเร็จรูปและขอสอบไปทดลองกับกลุมตัวอยางจํานวน 40 คน ใชเวลา 6 คาบ

Page 34: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

39

4) นําผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน บทเรียนสําเร็จรูปมาเปรียบเทียบ เพื่อหาความแตกตางระหวางคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนสําเร็จรูป ทั้งวิเคราะหผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดวยวิธีการทางสถิติ คือใช t – test

5.2 ผลการวจิัย บทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.62 / 86.00 คาเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนบทเรียนสําเร็จรูปมีความแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญที่ระดับ .01 5.3 อภิปรายผล ผลการศึกษาวจิัยเพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ปรากฏวา บทเรียนสําเร็จรูปมีประสิทธิภาพ เทากับ 88.62 / 86.00 หมายความวา บทเรียนสําเร็จรูป มีกระบวนการทาํใหนกัเรียนพฒันาความสามารถในการเรยีน เร่ือง คํานาม สูงขึ้น เกิดทักษะจากกิจกรรมการเรยีนการสอน และทําแบบฝกหัดระหวางเรยีน เร่ือง คํานาม ไดโดยเฉลี่ยรอยละ 88.62 และนักเรียนสามารถทาํแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดเฉลี่ยรอยละ 86.00 แสดงวาบทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 ที่ตั้งไว ผลการวิจัยสอดคลองกับผลการศึกษาคนควาทางดานการสรางบทเรียนสําเร็จรูปเกี่ยวกับวิชาภาษาไทย ของ ชูชาติ นาแสง ( 2521 ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนการสอนวชิาภาษาไทยระดับประกาศนียบัตรชั้นสูง วิทยาลัยครูมหาสารคาม เร่ือง ราชาศัพทและคําสุภาพโดยใชหนวยการเรียนการสอนกับการสอนปกติ พบวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของกลุมทดลองสูงกวากลุม ควบคุมมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษาคนควา ของววิัฒนา กาญจนฐติิวรณ ( 2523 ) ไดสรางชุดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยเรื่อง “แมศรีเรือน” ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 ผูสรางไดแยกกลุมตัวอยาง คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เปน 2 กลุม พบวา ชุดการสอนทีส่รางขึ้นมีประสิทธิภาพ 91.56 / 93 และ 90.69/90.68 ผลการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนชุดการเรียนการสอนมีความแตกตางกันอยางมนีัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ผลการศึกษาคนควาของ วรเชษฐ พันโกฎิ ( 2538 ) ไดสรางบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เร่ือง คํานาม วิชาภาษาไทยชัน้ประถมศึกษาปที่ 5 ตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ) ฉบับปรุบปรุง 2533 ) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑมาตรฐาน 75 / 75 ผลการศึกษาพบวา บทเรียนสําเร็จรูป แบบสาขา เร่ือง คํานาม วชิาภาษาไทย ที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพสูงกวาเกณฑมาตรฐานคือ 86.00 / 88.40 และคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขาหลังการทดลองสูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่

Page 35: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

40

ระดับ .01 ผลการศึกษาคนควา ของ วรรณภา สวัสดิรักษา ( 2542 ) ไดสรางบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เร่ือง เสียงในภาษาไทย วิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง 2533 ) เพื่อหาประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 ผลการวิจัยพบวาบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพ 84.20 / 81.11 กลาวคือ นักเรียนสามารถทําแบบฝกหัดทายบทไดถูกตองโดยเฉลี่ยรอยละ 84.20 ซ่ึงสูงกวาเกณฑประสิทธิภาพตัวแรกและนักเรยีนสามารถทําแบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไดโดยเฉลี่ยรอยละ 81.11 ซ่ึงสูงกวาประสิทธิภาพตัวหลัง นอกจากนี้คะแนนทดสอบหลังเรียนดวยบทเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา สูงกวาคะแนนการทอสอบกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 นอกจากนี้ยังสอดคลองกับผลการวิจัยของ เจือจันทร กัลยา ( 2533 ) ไดทําการศกึษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ทีไ่ดรับการสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปประกอบการตนูและการสอนตามคูมือครูของ สสวท. ผลการศึกษาปรากฏวา นักเรยีนที่เรียนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปประกอบภาพการตนูกับเรียนตามคูมือครูของ สสวท. มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสนใจในวิชาคณิตศาสตรแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยนักเรียนที่เรียนโดยบทเรยีนสําเร็จรูปประกอบการตูนมผีลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสนใจในวิชาคณิตศาสตรสูงกวานักเรียนที่เรียนตามคูมือครูของ สสวท. จากผลการวิจยัแสดงใหเห็นวา การสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูป ที่ผูวิจัยสรางขึ้นชวยใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นอกจากนี้ผูวิจยัยังใหความคิดเห็นวา บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม อยูในระดับเหมาะสมมาก ที่ผลการวิจัยเปนเชนนี้ อาจเนื่องมาจาก 1. บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ที่ผูวิจยัสรางขึ้นไดผานกระบวนการ ขั้นตอนการสรางอยางมีระบบ และวิธีการที่เหมาะสม คือ ศึกษารายละเอยีดเกี่ยวกับการสรางบทเรียนสําเร็จรูป หลักสูตร คูมือครู เนื้อหา เทคนิควิธีการที่เปนแนวทางตอการสรางบทเรียนสําเร็จรูปที่มีประสิทธิภาพ 2. บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ที่สรางขึ้นกอนที่จะนาํไปทดลองใชกับกลุมตัวอยางไดผานการทดลองหาประสิทธิภาพแบบหนึ่งตอหนึ่งแบบกลุมเล็ก ผานการประเมินตรวจสอบคุณภาพและความเหมาะสมจากผูมีประสบการณทางดานเนื้อหาและบทเรียนสําเร็จรูป นอกจากนี้ผูวิจัยยังไดปรับปรุงแกไขขอบกพรองตามคําแนะนําจากอาจารยที่ปรึกษา และผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหบทเรียนสําเร็จรูปที่สรางขึ้นมีความเหมาะสมมากยิ่งขึ้น สามารถนําไปใชในการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. บทเรียนสําเร็จรูป เร่ือง คํานาม ที่สรางขึ้นไดแบงเนือ้หาออกเปนกรอบยอย ๆ เพือ่ใหผูเรียนมีโอกาสเรียนรูไปตามลําดับ จากสิง่ที่งายไปหาสิง่ที่ยากเพิ่มขึน้ที่ละนอยที่ละนอยอยางตอเนื่อง เปดโอกาสใหผูเรียนไดศึกษาดวยตนเอง มีอิสระในการเรียน สามารถเรียนไปไดเร็ว หรือ

Page 36: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

41

ชา ตามกําลังความสามารถของแตละบุคคล ผูเรียนสามารถทราบผลสําเร็จการเรียนของตนไดอยางทันที ซ่ึงเปนการเสริมแรง นักเรียนจะรูสึกสนุกสนานเพลิดเพลินในการเรียนจากบทเรียนสําเร็จรูป และที่สําคัญนักเรยีนยิ่งนักเรยีนสามารถนําบทเรียนสําเร็จรูป กลับไปศึกษาตอที่บาน หรือ ที่ตาง ๆ ไดอยางสะดวกไดอีกดวย จากเหตุผลดังกลาว ทําใหนกัเรียนทีเ่รียนโดยใชบทเรียนสําเรจ็รูป เร่ือง คํานาม มีความรูเร่ือง คํานาม สูงขึ้น เหมาะสมที่จะนําไปใชประกอบการเรียนการสอนวชิาภาษาไทย เร่ือง คํานาม ในระดบัชั้นมธัยมศึกษาปที่ 2 ได 5.4 ขอเสนอแนะ การวิจยัคร้ังนีจ้ะทําใหเกดิประโยชนดังนี้ คือ

5.4.1 ประโยชนตอผูสอน / ครู 1) ผลการวิจัยคร้ังนี้แสดงวา บทเรียนสําเรจ็รูปนั้น ไดสรางเกณฑมาตร

ฐาน 80 / 80 ดังนั้นครูผูสอนภาษาไทย เร่ือง คํานาม สามารถนําไปใชสอนกับนักเรยีนได 2) ผลการวิเคราะหคะแนนกอนและหลังเรียนแตกตางกนัอยางมีนยั

สําคัญที่ระดับ .01 แนวโนมคะแนนหลังเรยีนจะเพิ่มขึ้น แสดงวาบทเรียนสําเร็จรูปชวยใหนักเรยีนมีความรูเพิ่มขึน้ ดังนั้นควรสงเสริมการเรียนการสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูปใหมาก

3) การสรางบทเรียนสําเร็จรูปนั้นจะตองทาํใหผูเรียนเกิดความสนใจ และมีความตั้งใจพยายามทีจ่ะทําความเขาใจดวยตนเอง ดังนั้นผูสรางควรเลือกเรื่องทีม่ีเนื้อหาเหมาะสมกับวยั ความสนใจ สติปญญาของผูเรียน พิจารณาเวลาเรยีนและจัดกจิกรรมในการเรยีนการสอนไดอยางนาสนใจ

4) การสรางบทเรียนสําเร็จรูปเพื่อใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑมาตรฐาน 80 / 80 มีขั้นตอนการสรางและทดลองใช ดังนั้นจะตองใชเวลาในการสรางบทเรียนสําเร็จรูปนานพอสมควร และมีการปรับปรุงเสมอ 5.5 ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป 5.5.1 ควรจัดทําบทเรียนสําเร็จรูปในหวัขอเร่ืองที่หลากหลาย เพื่อจะไดทราบวาผลการดําเนินการเรียนการสอนมีความแตกตางกนัอยางไร 5.5.2 ควรศึกษาอิทธิพลอ่ืนๆ ที่อาจมีผลตอการเรียนบทเรียนสําเร็จรูปของนักเรียน เชน อายุ เพศ สภาพครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ ส่ิงแวดลอมทางสังคม เพื่อจะไดรูปแบบของบทเรียนสําเร็จรูปไดเหมาะสม

Page 37: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

42

5.5.3 ควรมีการนําบทเรียนสําเร็จรูปนี้ไปทดลองสอนเปรียบเทียบระหวางการสอนแบบอ่ืน ๆ กับการสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูป

Page 38: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

43

บรรณนานุกรม กาญจนา เกียรติประวัติ. วิธีสอนทักษะการสอน. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิชย, 2522. กมล สุดประเสริฐ. แนวทางในการพฒันาคุณภาพมัธยมศึกษา. สารพัฒนาหลักสูตร, 2526.

20 ( 5 ) : 8 – 11. ชันยงศ พรหมวงศ และคณะ. เทคโนโลยแีละสื่อสารการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพเรือนแกว,

2523. ชลธิชา กลัดอยู และคณะ. การใชภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพรุงเรืองรัตน, 2521. ชูชาติ นาแสวง. การเปรียบเทียบผลการเรียนการสอนวชิาภาษาไทยระดับประกาศนียบัตร

วิชาชพีชั้นสงู เร่ือง ราชาศัพทและคําสุภาพ โดยการใชหนวยกาเรียนการสอนกับการสอน ปกติ. กรุงเทพฯ : วิทยานพินธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2521.

ชูศรี วงศรัตนะ. เทคนิคการใชสถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ : ศูนยหนงัสือจุฬาลงกรณ มหาวิทยลัย, 2537.

ทองอินทร วงศโสธร. การสอนเปนรายบคุคล. พัฒนาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2524.

นงนุช วัฒนาเขจร. ผลการทดลองใชแบบฝกสมรรถภาพการอานอยางมิวิจารณญาณกับการ สอนอานตามปกติท่ีมีตอความสามารถในการอาน และสมรรถภาพการอานเร็ว ของนัก เรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2. กรุงเทพฯ : วทิยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยศรีนค

รินทรวิโรฒประสานมิตร, 2533.

นิ่มนวล ตนวงศ. รายงานการวิจัยเร่ืองการพัฒนาบทเรยีนสําเร็จรูปวิชาภาษาไทย ชั้น มัธยมศึกษาปท่ี 1 ในโรงเรียนสังกัดสาํนักงานการประถมศึกษาจังหวัดอํานาจเจริญ. สํานักงานการประถมศึกษาจงัหวัดอํานาจเจริญ, 2542. อัดสําเนา.

มนตรี แยมกสิกร. การเปรียบเทียบผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนดานพุทธพิสัยในวชิาสขุศึกษา ชั้น ประถมศึกษาปท่ี 4 จากการใชบทเรียนสําเร็จรูปเชิงเสนตรงการตูนกับการใชแบบเรียน สําเร็จรูปเชิงเสนตรงธรรมดา. ปริญญานพินธฯ กศม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ประสานมติร, 2523. อัดสําเนา.

วรเชษฐ พนัโกฎิ. การสรางแบบเรียนสําเร็จรูปแบบสาขา เร่ือง คํานาม วิชาภาษาไทยชั้นประถม ศึกษาปท่ี 5 ตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521. ปริญญานิพนธ กศม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยัมหาสารคาม, 2538. อัดสําเนา.

Page 39: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

44

วรรณภา อารีรัตน. การสรางบทเรียนสําเรจ็รูปแบบสาขา วิชาภาษาไทย เร่ือง เสียงในภาษาตาม หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบบัปรับปรงุ พ.ศ. 2533). ปริญญา นิพนธ กศ.ม. สงขลา : มหาวิทยาลัยทกัษณิ, 2542. อัดสําเนา.

วัญญา วิศาลาภรณ. การวิจัยทางการศึกษา : หลักการและแนวทางการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : คอม แพคทพรินท จํากัด. 2540.

วิจิตร ศรีสะอาน. เทคนิควิทยาทางการศกึษา. พระนคร : โรงพิมพสวนทองถ่ิน. กรมการปก ครอง กระทรวงศึกษาธิการ, 2514.

วิจัยทางการศกึษา, กอง. การจัดการเรียนรูโดยใชกระบวนการวิจัย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2544.

วิวัฒนา กาญจนฐิตวิรณ. การสรางชุดการเรียนกรสอนวิชาภาไทยเรื่องแมศรีเรือน ตาม หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521. กรุงเทพฯ : วิทยานิพนธปริญญาโท มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2523.

วิชาการ. กรม. การวิจัยในชัน้เรียน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2543. วิเชียร เกตุสิงห. หลักการสรางและวิเคราะหเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย. กรุงเทพฯ :

ไทยวัฒนาพานิชย, 2530.

บุญชม ศรีสะอาด. การวิจัยเบื้องตน. พิมพคร้ังที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพสุวีริยาสาสน, 2543. พรรณี ช.เจนจิต. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ, 2528. ............... สารัตถทางจติวทิยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาควิชาการศึกษา มหาวิทยาลัย

เกษตรศาสตร, 2522. พรรณี ชูทัย. จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : วรวุฒิการพิมพ, 2522. พิณทิพย ทวยเจริญ. ภาษาเชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ : เอกซเพรสมีเดีย, 2537. ยุทธนา แกวจนัทรานนท. การสรางบทเรียนแบบโมดูลวิชาภาษาไทย เร่ือง คําสันธาน

สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมสึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสีคิ้ว”สวัสดิ์ผดงุวิทยา” จังหวัด นครราชสีมา. กรุงเทพฯ : วทิยานิพนธปริญญาโท มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2528.

รัตนา วิชาญาณรัตน. การสรางบทเรยีนสาํเร็จรูปเร่ืองสํานวนไทยสาํหรับชั้นมัธยมศกึษาตอนตน. วิทยานิพนธ ค.ม. กรุงเพทมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย, 2517. อัดสําเนา.

สุจริต เพียรชอบและ สายใจ อินทรัมพรรย. วิธีการสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพไทยวฒันาพานิช, 2523.

สุรียพร นันทพานิช. การพฒันาบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เร่ือง Songs for Children. วิทยานพินธปริญญาโท มหาวิทยาลัยบูรพา, 2545.

Page 40: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

45

สุวรรณา เกรยีงไกรเพ็ชร และคณะ. สมรรถภาพในการใชภาษาไทยขั้นตางๆของคนไทย. กรุงเทพฯ : จฬุาลงกรณมหาวิทยาลั, 2523.

ศึกษานิเทศก, หนวย. เขตการศึกษา 7. คูมือครูภาษาไทยมัธยมศึกษาตอนตน. กรุงเทพฯ : จงเจริญการพมิพ, 2522.

ศึกษานิเทศก, หนวย. เขตการศึกษา 8. ศูนยการเรียนภาษาไทย. กรุงเทพฯ : จงเจรญิการพิมพ, 2522.

อรุณศรี อนันตรศิริชัย. การวิจัยในชั้นเรยีน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, 2543. เอกวิทย ณ ถลาง. เอกลักษณบางประการของภาษาไทย. สารพัฒนาหลักสูตร, 2525. 13 ( 5 ) :

8 - 9

Page 41: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

46

ประวัติยอของผูวิจัย

ช่ือ นางธวัลรัตน ช่ือสกุล ประจง วันเกิด วันที่ 6 เดือน มกราคม พุทธศักราช 2513 สถานที่เกิด อําเภอหนองเรือ จังหวดัขอนแกน สถานที่อยู บานเลขที่ 586/44 หมู 9 ตําบลคลองกิ่ว อําเภอบานบึง จังหวดัชลบุรี ประวัติการศกึษา พ.ศ. 2537 ค.บ. ( วิชาเอกภาษาไทย / นาฏศิลป )

จากสถาบันราชภัฏหมูบานจอมบึง จังหวดัราชบุรี พ.ศ. 2545 ศศ.ม. ( ไทยศกึษาเพื่อการพฒันา ) จากสถาบันราชภัฏเลย จังหวัดเลย ประวัติการทาํงาน พ.ศ. 2537 อาจารย 1 โรงเรียนภกูระดึงวิทยาคม อําเภอภกูระดึง จังหวดัเลย พ.ศ. 2548 ครู คศ.2 โรงเรียนคลองกิว่ยิ่งวิทยา อําเภอบานบึง จงัหวัดชลบุรี

Page 42: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

47

คําแนะนําการใชบทเรียนสําเร็จรูป

1. บทเรียนนี้ เรียกวา บทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง คํานาม สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 2 บทเรียนสําเร็จรูปนี้เปนบทเรียนที่นักเรียนสามารถเรียนไดดวยตนเอง นักเรียนควรศึกษาจุดประสงคการเรียนรูใหเขาใจ

2. เนื้อหาของบทเรียนถูกแบงเปนตอนสั้น ๆ เรียกวา “กรอบ” ซึ่งมีการเรียงลําดับจากกรอบที่ 1 จนถึงกรอบสุดทาย

3. ในแตละกรอบจะมีเนื้อหาหรือความรูและคําอธิบายใหนักเรียนไดเรียน และมีคําถามใหนักเรียนไดตอบ การตอบคําถามหรอบใด ๆ ใหนักเรียนใชความรูจากกรอบนั้นหรือความรูที่ไดจากกรอบกอน ๆ

4. คําถามของแตละกรอบจะเฉลยไวใหตรวจสอบ ซึ่งคําเฉลยเหลานั้นอาจจะอยูใตกรอบนั้น ๆ หรือในหนาตอไป

5. ใหนักเรียนศึกษาบทเรียนนี้ ดวยความตั้งใจตามลําดับและปฏิบัติตามคําสั่งอยางเครงครัด 6. เมื่อนักเรียนศึกษาบทเรียนครบทุกกรอบแลว ใหตรวจสอบตัวเองวามีความรูความเขาใจครบตาม

จุดประสงคที่กําหนดไวหรือไม ถายังไมไดก็ควรจะศึกษาทบทวนใหเกิดความเขาใจ และทําแบบทดสอบตามที่กําหนดให เพื่อใหการเรียนไดผลดี

7. ประเมินผลการเรียนโดยทําแบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน นักเรียนตองไดคะแนนรอยละ 80 คือ ทําแบบทดสอบได 8 ขอ ใน 10 ขอ หากตํ่ากวานี้ตองทบทวนใหม และทํากิจกรรมตามขั้นตอนอีกครั้งจนผานบทเรียนนี้ได

สวัสดีครับเพื่อน ๆ เรามาเรียนรูเรื่องคําในภาษาไทยกันเถอะครับจะไดเขาใจและทําขอสอบไดอยางไรละครับ.....ตามผมมาเลยครับ...ผม

Page 43: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

48

คําชี้แจงในการใชบทเรียนสําเร็จรูป

1. อยางสงเสียงดังรบกวนสมาธิของผูอื่น 2. ทําแบบทดสอบกอนเรียนจํานวน 10 ขอ 3. หามขีดเขียนขอความใด ๆ ลงในบทเรียน 4. ตอบแบบทดสอบลงในสมุดของนักเรียน 5. อยางเปดดูเฉลยกอนทําแบบทดสอบเสร็จ 6. เมื่อตรวจจากเฉลยแลวบันทึกคะแนนไวดวย 7. อานดูกิจกรรมที่ครูกําหนดทีละขั้นตอนใหเขาใจจดบันทึกลงในสมุด 8. ทําแบบทดสอบหลังเรียนจํานวน 10 ขอ 9. นักเรียนที่ไมผานใหทบทวนบทเรียนอีกครั้ง 10. หากมีปญหาเกี่ยวกับบทเรียนนี้ ใหรีบปรึกษากับครูผูที่สอนทันที 11. ตองซื่อสัตยตอตนเองโดยไมดูคําเฉลยกอนตอบคําถามในกิจกรรมที่กําหนดใหและตองฝกคิดให

รอบครอบกอนที่จะตอบคําถาม

ผมขอสัญญาวาจะมีความซื่อสัตยในตนเอง..จะไมดูคําตอบกอน...ครับ...ผม

Page 44: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

49

ผลการเรียนรูของบทเรียนสําเร็จรูปเรื่อง คํานาม

1. บอกความหมายของคํานาม ได 2. บอกประเภทของคํานาม ได 3. บอกหนาที่ของคํานาม ได 4. แยกคํานาม ในรูปประโยคที่กําหนดใหได

สงสัยจัง...เรียนจบบทนี้แลวผมจะไดอะไรบางนะ...ออนึกออกแลว..ตองถามคุณครู...ละครับ

ไดอะไรเดี๋ยวก็รู..ไปดูกันกอนวาหนาตอไปมีอะไรนะ....พลิกเลยครับ...

Page 45: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

50

แบบทดสอบกอนเรียน (Pre – test) คําสั่งใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. ถวย....นั้นราคายอมเยานาใช ก. ใบ ข. อัน ค.ถวย ง. พวก

2. เด็ก ๆ เห็นมา......หนึ่งที่กําลังว่ิงขวักไขวอยูชายปา ก. ตัว ข. ฝูง ค. กลุม ง. โขลง

3. “โรงเรียนนี้ เราไมเคยไดยินช่ือ” คําที่ขีดเสนใตเปนคํานามที่ทําหนาที่อะไร ก. เปนภาคแสดง ข. เปนภาคประธาน ค. เปนกรรมของประโยค ง. เปนประธานของประโยค

4. วิธีทดสอบวาคําใดทําหนาที่เปนกรรมรองทําไดอยางไร ก. ตัดคํานามออก ข. แยกประโยคออกทีละประโยค ค. แทรกคําบุพบทเขาไปในประโยค ง. แทรกคํา “ใหแก” เขาไปในประโยค

5. ขอใดใชลักษณะนามผิด ก. ขลุย – เลา ข. สวิง – ปาก ค. งาชาง – งา ง. สักวา - บท

6. ขอใดเปนอาการนาม ก. การงาน ข. การเมือง ค. การกิน ง. การพาณิชย

7. “นักกีฬาของโรงเรียนวัดสุทธิฯ ชนะใจคนดู” คําที่ขีดเสนใตเปนคํานามชนิดใด ก. คํานามสามัญ ข. คําช่ือเฉพาะ ค. คํานามรวมหมู ง. คํานามธรรม

8. ขอใดใหคําจํากัดความ “คํานาม” ไดถูกตองที่สุด ก. คําที่ทําหนาที่แทนบุคคล ข. คําที่แสดงความหมายของการกระทํา ค. คําที่แสดงความหมายถึงบุคคล สัตว และสิ่งของ ง. คําที่แสดงความหมายเฉพาะสิ่งมีชีวิตเทานั้น

9. ขอใดมีคํานามที่ทําหนาที่เปนนามเรียกขาน ก. ฉันคือนาฬิกาดําแลว ข เขาชอบดื่มนมมากกวาสิ่งอื่น ค. เขาชอบดื่มนามมาก ๆ เวลากลางคืน ง. นักเรียนฟงครูอธิบายใหเขาใจกอน

10. ขอใดไมใชหนาที่ของคํานาม ก. เปนกรรม ข. เปนประธาน ค. ขยายกริยา ง. เปนคําเรียกขาน

Page 46: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

51

คํานาม

คําในภาษาไทยมีท้ังหมด 7 ชนิด...จะ ! ! ! แลวคําชนิดแรกที่จะแนะนํา ก็คือ “คํานาม” ไงละ อยากรูแลวใชไหมวาคํานาม มีลักษณะเปนอยางไร

ตามมาเร็ว...คุณหนู ๆ

Page 47: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

52

เอาละ! มารูจักคํานาม...กันเลย ดีไหม

กอนอื่นมาทราบความหมายของคํานามกนักอน..นะ.. “คํานาม” ความหมายของคาํนาม

คํานามหมายถึง คําที่ใชเรยีกชื่อคน สัตว ส่ิงของ สถานที ่ อาการและลักษณะของสิ่งที่มีชีวิตและไมมีชีวติ ทัง้เปนนามที่มีตัวตน ( รูปธรรม ) เชน ไก แมว มีด บาน ดอกไม คอมพิวเตอร รถ กระดาษ ฯลฯ และที่ไมมีตัวตน ( นามธรรม ) เชน ความดี การนอน เวลา จิตใจ ฯลฯ

Page 48: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

53

แบบฝกท่ี 1 ใหขีดเสนใตคําวา “นามธรรม” หรือ “รูปธรรม” 1. ความรัก เปน นามธรรม หรือ รูปธรรม ( เพราะ............................) 2. เกาอี้ เปน นามธรรม หรือ รูปธรรม ( เพราะ............................) 3. เรือนไทย เปน นามธรรม หรือ รูปธรรม ( เพราะ............................) 4. ความเจริญ เปน รูปธรรม หรือ นามธรรม ( เพราะ............................) 5. ความชั่วราย เปน รูปธรรม หรือ นามธรรม ( เพราะ............................)

แบบฝกท่ี 2 ใหนักเรียนเขียนคํานามรูปธรรมตอไปนี้โดยดูจากภาพที่กําหนดให

บาน 1.................................. .2................................. .3...................................

นาฬิกา 4................................ 5.............................. 6..................................

เมื่อรูจักความหมายของ “คํานาม” แลว...ลองมาแยกคํานามธรรมและรูปธรรมกันสิจะ

ตอบถูกไหมจะ...นาจะถูกนะคนเกง

Page 49: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

54

แบบฝกท่ี3 จงเติมคํานามที่เหมาะสมลงในชองวางตอไปน้ี

1. ถนนที่ขาพเจาผานทุกวันช่ือ.......................................... 2. นักรองที่ขาพเจาชอบชื่อ............................................... 3. ถวยชาม..............นั้นราคายอมเยานาใช 4. เด็กดีชวย.........................ทํางานบานทุกวัน 5. ชีวิตมนุษยมีทั้ง..................และความทุกขระคนปนกันไป 6. อาจารย........................จะมาชวยฝกนักกีฬาของเรา 7. ................ในหมูคณะชวยใหงานสําเร็จ 8. ใกลบานเรามีกอไผ................ใหญ มีนกมาอาศัยกันมาก 9. เด็ก ๆ เห็นวัว...............หนึ่งกําลังกินหญาที่ชายทุง 10. พอไปเที่ยวเชียงใหม ซื้อขลุยมาฝากฉันหนึ่ง....................

Page 50: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

55

* * * * * * *

เฉลยแบบฝกท่ี 2 1. บาน 2. เด็กผูหญิง 3. แจกันดอกไม 4. นาฬิกา 5. หมวก 6. เณรนอย

เฉลยแบบฝกที่ 1 1. ความรัก เปน นามธรรม หรือ รูปธรรม ( เพราะ..จับตองไมได.......) 2. เกาอี้ เปน นามธรรม หรือ รูปธรรม ( เพราะ...จับตองได..........) 3. เรือนไทย เปน นามธรรม หรือ รูปธรรม ( เพราะ...จับตองได..........) 4. ความเจริญ เปน รูปธรรม หรือ นามธรรม ( เพราะ....จับตองไมได.....) 5. ความชั่วราย เปน รูปธรรม หรือ นามธรรม ( เพราะ.....จับตองไมได....)

เฉลยแบบฝกที่ 3 1. ช่ือถนน........(อยูในดลพินิจของครู) 2. ช่ือนักรอง...(อยูในดุลพินิจของครู) 3. ชุด 4. พอแม 5. ความสุข 6. ช่ือของครู... 7. ความสามัคคี 8. กอ 9. ตัว 10. เลา

ถูกเยอะสินะ....ก็สมควรแลวที่ไดคําชมวา

เปนคนเกง...

Page 51: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

56

คํานามที่นารู........แบงยอยออกไดอกี 5 ชนิดนะจะ ชนิดของคํานามแบงได 5 ชนิด

1. คํานามสามัญ หรอื สามานยนาม คือ คาํนามที่ใชเรียกช่ือทั่ว ๆ ไป

ของคน สัตว สิ่งของ เชน นักเรียน ปลา ยางลบ ดินสอ ฯลฯ

2. คําชือ่เฉพาะ หรอื วิสามานยนาม คือ คํานามที่ใชเรียกช่ือเฉพาะ

ของคน สัตว สิ่งของ สถานที่ เชน พระอภัยมณี สุนทรภู โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา ฯลฯ

ลองมาทําแบบฝกที่4 กันดูจะ คําสั่ง..ใหนักเรียนแยกคําตอไปนี้วาคําใดเปนคําสามายนาม และคําใดเปนคําวิสามายนาม นะจะ

1. หมวกสีแดงลายดอกไม เปนคํา วิสามานยนาม ( ตัวอยาง ) 2. กอนหิน เปนคํา................................................................... 3. โทรศัพท เปนคํา..................................................................... 4. น้ําดื่มตราสิงห เปนคํา.................................................................... 5. กลวยไมรองเทานารี เปนคํา....................................................................

Page 52: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

57

สบาย..สบาย ครับ ไมตองเครงเครียด

* * * *

3. คํานามรวมหมู หรือ สมหุนาม คือ คํานามที่ใชเรียกช่ือหมู กอง หรือ

คํานามที่อยูรวมกันเปนหมู เชน กองทหาร ฝูงกวาง คณะนักเรียน พรรคการเมือง ฯลฯ

4. คํานามธรรม หรอื อาการนาม คือ คํานามที่เกิดจาก “การ” หรือ

“ความ” นําหนาคําวิเศษณ เชน การกิน การเลน การเรียน ความรัก ความดี ความคิด ฯลฯ

5. คํานามบอกลักษณะ หรอื ลักษณะนาม คือ คํานามที่แสดงลักษณะ

ของนาม เชน ไขเปนฟอง น้ําเปนแกว ปลาตะเพียนเปนตัว นักเรียนเปนคณะ ฯลฯ

Page 53: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

58

ตอไปก็...มาลองทําแบบฝกกันสักหนอย..ดีกวานะ เพื่อทบทวนความจําเรื่องชนิด ของคํานามไงละ...ครับ

แบบฝกท่ี 5 จงบอกชนิดของคํานามที่เปนตัวเอนตอไปนี้ (ขีดเสนใต)

1. นักกีฬาของโรงเรียนอํานวยศิลป ชนะใจคนดู เปนคํานามชนิด.............................

2. เขาเลี้ยงชะนีไวที่บาน 2 ตัว เปนคํานามชนิด.............................

3. ทุกวงงานตองการผูที่มี ความสามรถ เปนคํานามชนิด.............................

4. รัฐบาล ยังไมประกาศขึ้นราคาน้ํามัน เปนคํานามชนิด.............................

5. ครูพานักเรียนไปชม วนอุทยาน ที่มวกเหล็ก เปนคํานามชนิด.............................

6. คุณแมชอบใชถาดไมมากกวาถาดพลาสติก เปนคํานามชนิด.............................

7. พ่ีของฉันชอบปลูก กลวยไม เปนคํานามชนิด.............................

8. ผูประพันธใชนามปากกาวา “กลวยไม” เปนคํานามชนิด.............................

9. ขนมนี้ใชไขไกเพียง 6 ฟองก็พอ เปนคํานามชนิด.............................

10. ความกตัญูเปนเครื่องหมายของคนดี เปนคํานามชนิด.............................

Page 54: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

59

หนาที่ของคํานาม

หนาที่ของคํานาม....มีท้ังหมด 8 อยาง.. 1. ทําหนาที่เปนคํานามในประโยค เชน ความดีคือเกราะปองกันภัย 2. ทําหนาที่เปนกรรมในประโยค เชน แมใชกานดาทํางานบาน 3. ทําหนาที่เปนกรรมตรงและกรรมรองในประโยค เชน พวกเราบริจาคหนังสือ ใหเด็กในชนบท 4. ทําหนาที่ขยายคํานามอื่น เชน นายทนงคนสวนกําลังรดน้ําตนไม

5. ทําหนาที่ขยายกรยิา บอกสถานที่ หรือทิศทาง เชน เธอไปเมืองสุพรรณ

6. ทําหนาที่เปนสวนเติมเต็มของคํากริยา เปน เหมือน คลาย เทา คือ เชน ความสูงของหลอนเทาพิมพ 7. ทําหนาที่เปนคําเรียกขาน เชน คุณครูคะหนูไมเขาใจคะ 8. ทําหนาที่บอกลักษณะ ชนิด สัณฐาน จํานวน มาตรา เชน แมซื้อถุงเทาครั้งละ 1 โหล

Page 55: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

60

แบบฝกท่ี 6 ใหนักเรียนเติมคํานามลงในชองวางใหสมบรูณท่ีสุดและบอกหนาที่ของคํานามที่เติม ดวยคะ..

1. แกวมังกรเปน.................ชนิดหนึ่ง ( ทําหนาที่ ..................................) แกวมังกรเปนผลไมชนิดหนึ่ง ทําหนาที่เปนกรรมของประโยค

2. คุณ.....ของฉันซื้อกระโปรงใหนองสวยมาก ( ทําหนาที่.......................)

3. นองสามชอบกิน.................. ( ทําหนาที่..........................................)

4. ...............ตกจนน้ําทวมภูกระดึง ( ทําหนาที่..................................)

5. สุรีพรคนสวยหุนเธอ............นางแบบชื่อดัง ( ทําหนาที่....................................)

เฉลย 2. แม (ทําหนาที่เปนคําเรียกขาน ) 3. ขนม ( ทําหนาที่เปนกรรม)

4. ฝน (ทําหนาที่เปนประธาน ) 5. เหมือน ( ทําหนาที่เปนสวนเติมเต็มของคํากริยา)

Page 56: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

61

แบบทดสอบกอนเรียน (Post – test)

คําสั่งใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว

1. ถวย....นั้นราคายอมเยานาใช ก. ใบ ข. อัน ค.ถวย ง. พวก

2. เด็ก ๆ เห็นมา......หนึ่งที่กําลังว่ิงขวักไขวอยูชายปา ก. ตัว ข. ฝูง ค. กลุม ง. โขลง

3. “โรงเรียนนี้ เราไมเคยไดยินช่ือ” คําที่ขีดเสนใตเปนคํานามที่ทําหนาที่อะไร ก. เปนภาคแสดง ข. เปนภาคประธาน ค. เปนกรรมของประโยค ง. เปนประธานของประโยค

4. วิธีทดสอบวาคําใดทําหนาที่เปนกรรมรองทําไดอยางไร ก. ตัดคํานามออก ข. แยกประโยคออกทีละประโยค ค. แทรกคําบุพบทเขาไปในประโยค ง. แทรกคํา “ใหแก” เขาไปในประโยค

5. ขอใดใชลักษณะนามผิด ก. ขลุย – เลา ข. สวิง – ปาก ค. งาชาง – งา ง. สักวา - บท

6. ขอใดเปนอาการนาม ก. การงาน ข. การเมือง ค. การกิน ง. การพาณิชย

7. “นักกีฬาของโรงเรียนวัดสุทธิฯ ชนะใจคนดู” คําที่ขีดเสนใตเปนคํานามชนิดใด ก. คํานามสามัญ ข. คําช่ือเฉพาะ ค. คํานามรวมหมู ง. คํานามธรรม

8. ขอใดใหคําจํากัดความ “คํานาม” ไดถูกตองที่สุด ก. คําที่ทําหนาที่แทนบุคคล ข. คําที่แสดงความหมายของการกระทํา ค. คําที่แสดงความหมายถึงบุคคล สัตว และสิ่งของ ง. คําที่แสดงความหมายเฉพาะสิ่งมีชีวิตเทานั้น

9. ขอใดมีคํานามที่ทําหนาที่เปนนามเรียกขาน ก. ฉันคือนาฬิกาดําแลว ข. เขาชอบดื่มนมมากกวาสิ่งอื่น ค. เขาชอบดื่มนามมาก ๆ เวลากลางคืน ง. นักเรียนฟงครูอธิบายใหเขาใจกอน

10. ขอใดไมใชหนาที่ของคํานาม ก. เปนกรรม ข. เปนประธาน ค. ขยายกริยา ง. เปนคําเรียกขาน

Page 57: การสร างบทเร ียนสําเร็จรูป ......การสร างบทเร ยนส าเร จร ป เร อง ค านาม ธว

62

ตรวจสอบไดหรือยังคะวาตนเองไดกี่คะแนน ใครไดเต็มยกมือขึ้น.......... ดีใจดวยนะ....... ใครไดนอยก็ไมเปนไร...คะ ลองทําดูไหมโดยศึกษาเนื้อหาไปดวยนะคะ

* * * * * *

เอาใจ..ชวยคะ

เฉลย แบบทดสอบกอนเรียน / หลังเรียน 1. ก 2.ข 3.ง 4.ง 5.ค

6.ค 7.ข 8.ค 9.ง 10.ง