ความรู เจตคติ และพฤติกรรม...

113
ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 32ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) โดย นางสาวฐาปนี สิริรุงเรือง การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก พ.ศ. 2559

Upload: others

Post on 15-Feb-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

โดย

นางสาวฐาปนี สิริรุงเรือง

การคนควาอิสระนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ

มหาวิทยาลัยเกริกพ.ศ. 2559

Page 2: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

Knowledge Attitude and Health Behavior according to

(Three อ’s and Two ส’s Principle) of the Employees

at Betagro Public Company Limited

By

Miss Tapanee Sirirungruang

An Independent Study Report Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Master Degree of Business Administration

Faculty of Business AdministrationKRIRK UNIVERSITY 2016

Page 3: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(1)

หัวขอการคนควาอิสระ ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

ชื่อผูวิจัย ฐาปนี สิริรุงเรืองคณะ/มหาวิทยาลัย บริหารธุรกิจ/มหาวิทยาลัยเกริกอาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระ ดร.ประวีร ประพันธวงศปการศึกษา 2559

บทคัดยอการคนควาอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตาม

หลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) รวมทั้งศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา ไดแก พนักงานเบทาโกร จํานวน 300 คน เก็บรวบรวมขอมูลโดยการใชแบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คา chi-square และคา Correlation Coefficient ผลการวิจัยพบวา พนักงานมีความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับสูง โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยไดดังนี้ อันดับแรก คือ ดานการออกกําลังกาย กับดานการดื่มสุรา รองลงมา คือ ดานอาหาร และอันดับสุดทาย คือ ดานการสูบบุหรี่ ตามลําดับ พนักงานมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยไดดังนี้ อันดับแรก คือ ดานออกกําลังกาย รองลงมา คือ ดานการสูบบุหรี่ และอันดับสุดทาย คือ ดานการดื่มสุรา ตามลําดับ ในดานพฤติกรรม พบวา พนักงานมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง อันดับแรก คือ ดานการสูบบุหรี่อยูในระดับดี รองลงมา คือ ดานการดื่มสุราอยูในระดับปานกลาง และอันดับสุดทาย คือ ดานการออกกําลังกายอยูในระดับไมดีตามลําดับ ผลทดสอบสมมติฐาน พบวา เพศ สถานภาพ ศาสนาและดัชนีมวลกาย (BMI) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนอายุ แผนกงาน รายไดตอเดือน และระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สวนความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส มีความสัมพันธกัน พบวา พนักงานที่มีความรูและมีเจตคติตางกันมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ไปในทิศทางเดียวกัน คําสําคัญ : ความรู เจตคติ พฤติกรรมสุขภาพหลัก 3อ2ส

Page 4: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(2)

Title of Independent Study: Knowledge Attitude and Health Behavior according to (Three อ’s and Two ส’s Principle) of the Employees at Betagro Public Company LimitedAuthor’s Name: Tapanee SirirungruangFaculty/University: Business Administration/ Krirk UniversityIndependent Study Advisor: Dr. Prawee PrapunwongAcademic Year: 2016

ABSTRACT

The objectives of this study were to analyze the knowledge, attitude and health Behavior (Three อ’s and Two ส’s Principle) of the employees at Betagro Public Company Limited; and to analyze the factors relating to the health behavior according to Three อ’s and Two ส’s Principle of the employees at Betagro Public Company Limited. The samples of this study were three hundred employees of Betagro Public Company Limited. The research tool was a questionnaire. The data received were analyzed by percentage, arithmetic mean, standard deviation, Chi-Square, and Correlation Coefficient

The results were that 1) the majority of the respondents had overall knowledge about the health behavior according to Three อ’s and Two ส’s Principle at high level. When considering at each factor, ranging in order from the highest average to the lowest, it was found that doing exercise and abstaining from alcohol received the highest average. Next on down were healthy eating nutritious diet, and abstaining from smoking, respectively. The overall attitude of the majority of the respondents on health behavior was at moderate level. When considering at each factor, ranging in order from the highest average to the lowest, it was found that doing exercise received the highest average. Next on down were abstaining from smoking and abstaining from alcohol, respectively. In terms of the respondents’ behavior, it was found that the respondents who correctly followed health behavior according to Three อ’s and Two ส’s Principle at moderate level. When considering at each factor, ranging in order from the highest average to the lowest, it was found that abstaining from smoking, next it was abstaining from alcohol at moderate level and the lowest average was doing exercise which was found at not so good level, respectively. In terms of the result of hypothetical testing, it was found that gender, marital status, religion, and Body Mass Index (BMI) were related to the health behavior according to Three อ’s and Two ส’s Principle at statistical significance of 0.05. In addition, the respondents who were from different age, job field, average monthly income, and educational background had no relationship with health behavior at statistical significance of 0.05. On the other hand, it was found that knowledge, attitude and health behavior according to Three อ’s and Two ส’s principle were related to one and others. In addition, it was found that the employees who had different knowledge and attitude, they had health behavior that went in the same direction.

Key words: Knowledge, Attitude, Health Behavior Three อ’s and Two ส’s Principle

Page 5: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(3)

กิตติกรรมประกาศ

การคนควาอิสระฉบับนี้สามารถสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ดวยความกรุณาเอาใจใสจาก

ดร.ประวีร ประพันธวงศ อาจารยที่ปรึกษาการคนควาอิสระไดใหคําปรึกษาและขอเสนอแนะที่เปน

ประโยชนตลอดจนตรวจแกความถูกตอง ทําใหการคนควาอิสระฉบับนี้สมบูรณยิ่งขึ้น สงผลใหการ

ศึกษาวิจัยสําเร็จลุลวงดวยดี ผูวิจัยรูสึกขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

ขอขอบพระคุณอาจารยทุกทานที่ไดประสิทธิ์ประสาทความรูอันมีคาซึ่งสามารถนําเนื้อหา

ความรูตางๆ มาปรับประยุกตใชในการปฏิบัติงานไดอยางดี ขอขอบพระคุณผูบริหารและพนักงาน

บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) ทุกทานที่ใหความอนุเคราะหใหการจัดเก็บรวบรวมขอมูลและ

กรอกแบบสอบถามเปนอยางดี ทําใหไดขอมูลที่สมบูรณครบถวน

สุดทายนี้ผูวิจัยขอขอบพระคุณ ผูที่มีสวนเกี่ยวของที่ใหความชวยเหลือในการทําการคนควา

อิสระ ที่มิไดกลาวนามไวในที่นี้ทุกทาน สิ่งใดที่เปนคุณประโยชนอันเกิดจากการคนควาอิสระฉบับ

นี้ ผูวิจัยขอมอบแดครู อาจารย ผูอุปการะที่ใหกําลังใจ ใหความเมตตาสนับสนุนใหทุนการศึกษา ที่มี

สวนทําใหการคนควาอิสระฉบับนี้เสร็จสมบรูณไดดวยดี

ฐาปนี สิริรุงเรือง

มหาวิทยาลัยเกริก

พ.ศ.2559

Page 6: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(4)

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย (1)

บทคัดยอภาษาอังกฤษ (2)

กิตติกรรมประกาศ (3)

สารบัญตาราง (6)

สารบัญภาพ (9)

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมา และความสําคัญของประเด็นปญหา 1

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย 3

1.3 ขอบเขตของการวิจัย 3

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 4

1.5 นิยามศัพททั่วไป 4

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม

2.1 พฤติกรรมสุขภาพ 6

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ 11

2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู 22

2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเจตคติ 29

2.5 ขอมูลบริษัทเบทาโกร 35

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ 38

2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย 42

2.8 ตัวแปรที่ใชในการวิจัย 43

2.9 สมมติฐานในการวิจัย 43

2.10 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ 43

Page 7: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(5)

สารบัญ(ตอ)

บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 45

3.2 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล 46

3.3 การรวบรวมขอมูล 48

3.4 การวิเคราะหขอมูล 49

3.5 สถิติที่ใชในการวิจัย 50

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

4.1 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร 51

4.2 ผลการวิเคราะหความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตาม หลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) 57

4.3 ผลการทดสอบสมมติฐาน 74

บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย 84

5.2 อภิปรายผล 855.3 ขอเสนอแนะ 88

ภาคผนวก 90

แบบสอบถาม 91

บรรณานุกรม 97

ประวัติผูวิจัย 102

Page 8: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(6)

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

4.1.1 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามเพศ 52

4.1.2 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามอายุ 524.1.3 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามสถานภาพ 534.1.4 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามแผนกงาน 534.1.5 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามรายไดตอเดือน 544.1.6 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามระดับการศึกษา 544.1.7 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามสวนสูง 554.1.8 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามน้ําหนัก 554.1.9 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามดัชนีมวลกาย (BMI) 564.1.10 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามศาสนา 564.2.1.1 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความรูทางสุขภาพที่ถูกตอง ตามหลัก 3อ2ส ทั้ง 5 ดาน 574.2.1.2 ระดับคะแนนทางดานความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตน ตามหลัก3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร 574.2.1.3 รอยละและคาเฉลี่ยทางดานความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร 584.2.2.1 คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ทั้ง 5 ดาน 614.2.2.2 ระดับคะแนนทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตน ตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร 624.2.2.3 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอาหาร 634.2.2.4 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอารมณ 644.2.2.5 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการออกกําลังกาย 65

Page 9: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(7)

สารบัญตาราง(ตอ)

ตารางที่ หนา

4.2.2.6 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการสูบบุหรี่ 664.2.2.7 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับ หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการดื่มสุรา 674.2.3.1 คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตอง เกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส ทั้ง 5 ดาน 684.2.3.2 ระดับคะแนนพฤติกรรมทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร 684.2.3.3 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอาหาร 694.2.3.4 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการออกกําลังกาย 704.2.3.5 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอารมณ 714.2.3.6 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการสูบบุหรี่ 724.2.3.7 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการดื่มสุรา 734.3.1 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามเพศ 744.3.2 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามอายุ 754.3.3 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามสถานภาพ 764.3.4 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามแผนกงาน 774.3.5 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามรายไดตอเดือน 78

Page 10: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(8)

สารบัญตาราง(ตอ)

ตารางที่ หนา

4.3.6 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามระดับการศึกษา 794.3.7 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามศาสนา 804.3.8 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI) 814.3.9 สรุปแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส 824.3.9 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) 83

Page 11: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

(9)

สารบัญแผนภาพ

แผนภาพที่ หนา

1. กรอบแนวคิดในการวิจัย 42

Page 12: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

1

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมา และความสําคัญของประเด็นปญหาสภาพการแขงขันทางธุรกิจมีการแขงขันกันรุนแรง ทําใหสงผลกระทบโดยตรงตอองคกร

ที่จะตองมีการปรับเปลี่ยนและแสวงหากลยุทธใหมๆ เพื่อความอยูรอดขององคกรจึงตองอาศัยปจจัย

สภาพแวดลอมทั้งภายนอกองคกร เชน เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม และปจจัยสภาพแวดลอม

ภายในองคกรที่สําคัญ 4 อยาง ไดแก บุคคล (Man) เงิน (Money) วัสดุอุปกรณ (Materials) และ

การจัดการ (Management) จะพบวาองคกรจะใหความสําคัญเรื่องบุคคล (Man) สําคัญที่สุดเพราะ

ถึงแมวาองคกรจะมีเงิน และวัสดุอุปกรณมากมาย ตลอดจนมีการจัดการที่ดีเลิศเพียงใดก็ตามสิ่ง

ตางๆเหลานี้จะไมสามารถทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ หากปราศจากบุคคล ซึ่งเปนผูนํา

ทรัพยากรตางๆไปใชใหเกิดประโยชนสูงที่สุด (จารุรินษ หูสันเทียะ : 2551)

บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)เปนกลุมอุตสาหกรรมเกษตรการเกษตรแบงได 5 ประเภท

ธุรกิจ ดังนี้ ธุรกิจการเกษตร (Agribusiness) ไดแก ปศุสัตวและอาหารสัตว ธุรกิจสุขภาพสัตว

(Animal Health) เชน อุปกรณฟารม และเวชภัณฑสําหรับสัตว กลุมธุรกิจอาหาร กลุมธุรกิจเกี่ยวกับ

สัตวเลี้ยงและธุรกิจอื่นๆ เชน รานคาสงผลิตภัณฑอาหาร บริการทดสอบทางหองปฏิบัติการ

ปาสักฮิลลไซดฟอรเรส เปนตน โดยบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) มีวิสัยทัศน คือ มุงผลิตและ

พัฒนาอาหารที่มีคุณภาพสูงและปลอดภัย จากฐานอุตสาหกรรมการเกษตรที่ทันสมัยเพื่อสรางเสริม

คุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลกทําใหเห็นวา บริษัท เบทาโกรจํากัด (มหาชน) มีความใสใจ

ทางดานสุขภาพ ( http://www.betagro.com/corporate/th/about#vision สืบคนเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ.

2559)

ปจจุบันมีโรคตางๆมากมาย ทั้งโรคติดตอ และโรคไมติดตอเรื้อรังโดยเฉพาะอยางยิ่ง

โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวานและภาวะความดันโลหิตสูงที่กําลังเปนปญหาสาธารณสุข

ของประเทศไทยที่กําลังเผชิญอยู ทั้งนี้ปญหากลุมโรคไมติดตอเรื้อรังดังกลาวมีสาเหตุจากปจจัยเสี่ยง

ที่เกี่ยวของกับการมีวิถีชีวิตที่ไมเหมาะสม สืบเนื่องมาจากอิทธิพลกระแสโลกาภิวัฒน ระบบทุน

นิยม ความเจริญทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสังคม เชน การขาดการออกกําลังกาย การบริโภคที่

ไมไดสัดสวน ทานหวาน มัน เค็ม การบริโภคผักและผลไมไมเพียงพอ ความเครียดเรื้อรัง การดื่ม

Page 13: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

2

เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล การสูบบุหรี่ เปนตน (กรอบยุทธศาสตรงานสรางเสริมสุขภาพและปองกัน

โรคระดับชาติ ป 2554 – 2557)และองคกรอนามัยโลกไดคาดการณวาป 2558 ทั่วโลก จะมีคนที่มี

น้ําหนักเกินมาตรฐาน 2,300 ลานคน คนอวน 700 ลานคน ซึ่งภาวะน้ําหนักเกินหรืออวนเปนปจจัย

เสี่ยงของโรคไมติดตอเรื้อรัง ไดแก โรคหัวใจและหลอด-เลือด ความดันโลหิตสูง เบาหวาน สงผล

ใหแตละปมีผูเสียชีวิตกวา 2.8 ลานคน ทําใหทางภาครัฐเล็งเห็นปญหาทางดานสุขภาพ จึงมีนโยบาย

สงเสริมดานสุขภาพ โดยใหกรมอนามัยสงเสริมสุขภาพประชาชนผานโครงการคนไทยไรพุงซึ่ง

สรางองคกรตนแบบไรพุงทั้งในหนวยงานภาครัฐภาคเอกชน และองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดย

รณรงคใหประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง ตามหลัก 3อ2ส คืออาหาร อารมณ ออกกําลังกาย ไมดื่ม-

สุรา ไมสูบบุหรี่ (http://www.thairath.co.th/content/421258 สืบคนเมื่อ 11 มิถุนายน พ.ศ.2559)

บุคคลในองคกรเบทาโกรสวนใหญอยูในสังคมเมือง ทําใหการบริโภคเปนแบบกระแส

นิยม บริโภคเลียนแบบตางชาติพวกอาหารฟาสตฟูด อาหารประเภททอด ปงหรือยาง อาหารที่มี

ไขมันสูง และการบริโภคอาหารไมไดสัดสวน ไดแก อาหารหวาน มัน เค็ม การบริโภคผัก และ

ผลไมไมเพียงพอ ทําใหขาดการเอาใจใสดูแลสุขภาพ มีพฤติกรรมการบริโภคที่ไมเหมาะสม

ไมคํานึงถึงผลกระทบตอสุขภาพที่นําไปสูภาวะโรคตางๆ และเนื่องจากวิถีชีวิตที่ถูกขัดขวางดวย

โครงสรางผังเมืองที่ไรทิศทาง ระบบขนสงจราจรที่ผูกขาดโดยรถยนตสวนบุคคล เกิดการสูญเสีย

เวลาในการเดินทาง สงผลใหไมมีเวลาออกกําลังกาย เกิดภาวะน้ําหนักเกินหรือโรคอวน และการ

ดํารงชีวิตที่มีการใชชีวิตอยางเรงรีบ แขงขัน เอารัดเอาเปรียบ สงผลทางดานอารมณทําใหเกิด

ความเครียดสะสม สงผลใหเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดสูงและภาวะไขมันในเลือดสูง ทําใหบุคคล

บางรายไมสามารถหาทางออกไดตองหันไปพึ่งการ สูบบุหรี่และดื่มสุรา สงผลใหเกิดความดัน-

โลหิตสูง เปนตน (ดวงตะวัน อินขาว : 2553)

การที่บุคคลในองคกรเบทาโกรจะทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพไดนั้นจะตองปราศจากโรคและการเจ็บปวย ซึ่งปจจุบันบุคคลที่ทํางานเอกชน มักพบโรคไมติดตอเรื้อรังที่สําคัญ ไดแก โรคอวน โรคเครียด โรคเบาหวาน ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ เปนกลุมโรคที่เปนปญหาสําคัญทางองคกร เชน การเพิ่มคาใชจายดานการเบิกคารักษาพยาบาล และตองเสียวันลาหยุดงาน สงผลกระทบตอกระบวนการทํางาน และมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องมีสาเหตุจากปจจัยเสี่ยงหลายปจจัยจากพฤติกรรมของแตละบุคคล ถึงแมวาโรคเรื้อรังจะกอใหเกิดความสูญเสียและความรุนแรงตอสุขภาพ มีผลตอภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ผูปวยไมมีโอกาสที่จะหายขาดเปน

Page 14: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

3

ปกติได แตผูปวยก็สามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสุขไดเหมือนกับคนปกติทั่วไป ถามีการดูแลสุขภาพตนเองอยาสม่ําเสมอ และประชาชนทั่วไปก็สามารถปองกันการเกิดโรคดังกลาวไดโดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค การออกกําลังกายที่เหมาะสม การลดปจจัยเสี่ยงที่กอใหเกิดโรค เปนตน

จากขอมูลดังกลาวขางตน ผูวิจัยไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว จึงมีความสนใจศึกษาถึง

ความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

โดยมีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส และปจจัยที่มีความสัมพันธกับ

พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) เพื่อสงเสริมให

พนักงานมีการพัฒนาพฤติกรรมที่ถูกตองตาม 3อ2ส สงผลใหมีสุขภาพที่ดี ทําใหมีประสิทธิภาพใน

การทํางานมากขึ้น และเปนขอมูลในการวางแผนงานในการดําเนินงานไดอยางตอเนื่องมี

ประสิทธิภาพตอไป

1.2 วัตถุประสงคของการวิจัย

1. เพื่ อศึกษาความรู เ จตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

2. เพื่อศึกษาปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

1.3 ขอบเขตของการวิจัย

1. ขอบเขตดานเนื้อหา : ในการวิจัยครั้งนี้ทําการศึกษาความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส (3อ2ส คือ อาหาร ออกกําลังกาย อารมณ ไมสูบบุหรี่ ไมดื่มสุรา)

2. ขอบเขตดานประชากร : พนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) 3. ขอบเขตดานระยะเวลา : เริ่มศึกษาตั้งแต เดือนเมษายน 2559 ถึง เดือนสิงหาคม 25594. ขอบเขตดานพื้นที่ : บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

Page 15: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

4

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ผูบริหารบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) สามารถนําผลงานวิจัยเปนแนวทางการจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ ตามหลัก 3อ2ส

2. บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) นําผลการวิจัยสงเสริมใหพนักงานมีการพัฒนาพฤติกรรมที่ถูกตองตามหลัก 3อ2ส สงผลใหมีสุขภาพที่ดี ทําใหมีประสิทธิภาพในการทํางานมากขึ้น

3. เปนขอมูลสําหรับหนวยงานที่เก่ียวของในการพัฒนาพฤติกรรมของบุคลากร4. เปนแนวทางใหผูที่สนใจนําไปศึกษาตอไป

1.5 นิยามศัพททั่วไปพฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางดานที่เกี่ยวกับสุขภาพซึ่งเกิดขึ้นทั้งภายใน

และภายนอก พฤติกรรมสุขภาพจะรวมถึงการปฏิบัติที่สังเกตไดและการเปลี่ยนแปลงในที่สังเกตไมไดแตสามารถวัดไดวาเกิดขึ้น เปนการปฏิบัติหรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทําหรือ งดเวนการกระทําในสิ่งที่มีผลตอสุขภาพ โดยอาศัยความรู ความเขาใจ เจตคติ และการปฏิบัติตนทางสุขภาพที่เกี่ยวของสัมพันธกันอยางเหมาะสม

พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส หมายถึง การดูแลสุขภาพ ปองกันโรคของตนเองโดยใชหลัก 3อ2ส ดังตอไปนี้

1. อ.อาหาร คือ การเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบทั้ง 5หมู เนนผักผลไมที่มีกากใยควรรับประทานอาหารปรุงสุกใหม หลีกเลี่ยงอาหารสุกๆดิบๆ อาหารคางคืน อาหารที่มีรสจัด อาหารหมักดอง และดื่มน้ําที่สะอาด

2. อ.ออกกําลังกาย คือ ควรออกกําลังกายใหรางกายแข็งแรงอยางนอยสัปดาหละ 3วัน วันละ 30 นาที

3. อ.อารมณ คือ ทําจิตใจใหแจมใสอยูเสมอ หาวิธีคลายเครียด หรือทํากิจกรรมรวมกับครอบครัว รวมทั้งควรพักผอนวันละ 6-8 ชั่วโมง

4. ไมสูบบุหรี่5. ไมดื่มสุรา

ความรู หมายถึง การเรียนรูเรื่องราว ขอเท็จจริง และกฎเกณฑ ซึ่งอาจไดจากการเรียนรูในบทเรียน และจากประสบการณตางๆ โดยอาศัยเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูลสะสมแหลงที่มาของความรูและแสดงออกมาเปนพฤติกรรม ซึ่งสังเกตหรือวัดได

Page 16: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

5

เจตคติ หมายถึง ความรูสึกนึกคิดที่บุคคลมีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรมอันมีแนวโนมที่จะใหบุคคลแสดงปฏิกิริยาและการกระทําตอสิ่งนั้นๆ ในลักษณะสนับสนุนหรือปฏิเสธเจตคติเปนสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู ไมใชสิ่งที่ติดตัวมาแตเกิด

บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) เปนกลุมอุตสาหกรรมเกษตรการเกษตรแบงได 5 ประเภทธุรกิจ ดังนี้ ธุรกิจการเกษตร (Agribusiness) ไดแก ปศุสัตวและอาหารสัตว ธุรกิจสุขภาพสัตว (Animal Health) เชน อุปกรณฟารม และเวชภัณฑสําหรับสัตว กลุมธุรกิจอาหาร กลุมธุรกิจเกี่ยวกับสัตวเลี้ยงและธุรกิจอื่นๆ เชน รานคาสงผลิตภัณฑอาหาร บริการทดสอบทางหองปฏิบัติการปาสักฮิลลไซดฟอรเรส เปนตน

Page 17: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

6

บทที่ 2

การทบทวนวรรณกรรม

ในการวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษา ความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) ซึ่งผูวิจัยไดศึกษา ความหมาย แนวคิด ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังนี้

2.1 พฤติกรรมสุขภาพ 2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรู2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเจตคติ2.5 ขอมูลบริษัทเบทาโกร2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัย2.8 ตัวแปรที่ใชในการวิจัย2.9 สมมติฐานในการวิจัย2.10 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

2.1 พฤติกรรมสุขภาพ2.1.1 ความหมายพฤติกรรมพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ2ส เปนแนวคิดที่สําคัญตอสุขภาพที่ดี เพราะการปฏิบัติตน

ตามหลัก 3อ2ส จะชวยสงเสริมใหผูที่ปฏิบัติมีสุขภาพที่ดี ปลอดจากโรค เชนโรคอวน โรคหัวใจ ฯลฯ จากการศึกษาคนควาไดมีนักวิชาการหลายทานที่ไดใหนิยามและแนวคิดเกี่ยวกับความหมายพฤติกรรมสุขภาพ ดังนี้

ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2546 (อางถึงในวรรณวิมล เมฆวิมล.2553) ไดใหความหมาย คําวา พฤติกรรม (Behavior) ไวดังนี้ พฤติกรรม หมายถึง การกระทําหรืออาการที่แสดงออกทางกลามเนื้อ

Page 18: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

7

ความคิดของบุคคลที่ตอบสนองตอสิ่งเราภายในจิตใจและภายนอก อาจทําไปโดยรูตัว ไมรูตัว อาจเปนพฤติกรรมที่พึงประสงคและไมพึงประสงค

ครูบานนอก (http://www.kroobannok.com สืบคนเมื่อ 25 เมษายน พ.ศ.2559) ไดอธิบายถึง พฤติกรรม (Behavior)คือกริยาอาการที่แสดงออกหรือปฏิกิริยาโตตอบเมื่อเผชิญกับสิ่งเร า (Stimulus) หรือสถานการณตาง ๆ อาการแสดงออกตาง ๆ เหลานั้น อาจเปนการเคลื่อนไหวที่สังเกตไดหรือวัดได เชน การเดิน การพูด การเขียน การคิด การเตนของหัวใจ เปนตน สวนสิ่งเราที่มากระทบแลวกอใหเกิดพฤติกรรมก็อาจจะเปนสิ่งเราภายใน (Internal Stimulus) และสิ่งเราภายนอก (External Stimulus) สิ่งเราภายใน ไดแก สิ่งเราที่เกิดจากความตองการทางกายภาพ เชน ความหิว ความกระหาย สิ่งเราภายในนี้จะมีอิทธิพลสูงสุดในการกระตุนเด็กใหแสดงพฤติกรรม และเมื่อเด็กเหลานี้โตขึ้นในสังคม สิ่งเราใจภายในจะลดความสําคัญลง สิ่งเราภายนอกทางสังคมที่เด็กไดรับรูในสังคมจะมีอิทธิพลมากกวาในการกําหนดวาบุคคลควรจะแสดงพฤติกรรมอยางใดตอผูอื่นสิ่งเราภายนอก ไดแก สิ่งกระตุน สิ่งแวดลอมทางสังคมที่สามารถสัมผัสไดดวยประสาททั้ง 5 คือ หู ตา คอ จมูก การสัมผัส สิ่งเราที่มีอิทธิพลที่จะจูงใจใหบุคคลแสดงพฤติกรรม ไดแก สิ่งเราที่ทําใหบุคคล เกิดความพึงพอใจที่เรียกวา การเสริมแรง (Reinforcement)ซึ่งแบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement) คือสิ่งเราที่พอใจทําใหบุคคลมีการแสดงพฤติกรรมเพิ่มขึ้น เชน คําชมเชย การยอมรับของเพื่อน สวนการเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) คือ สิ่งเราที่ไมพอใจหรือไมพึงปรารถนานํามาใชเพื่อลดพฤติกรรมที่ไมพึงปรารถนาใหนอยลง เชน การลงโทษเด็กเม่ือลักขโมย การปรับเงินเมื่อผูขับขี่ยานพาหนะไมปฏิบัติตามกฎจราจร เปนตน

บลูม (Bloom 1975 อางถึงในชาญชลักษณ เยี่ยมมิตร.2556) ไดใหความหมายพฤติกรรมวา เปนกิจกรรมทุกประเภทที่มนุษยกระทํา อาจจะเปนสิ่งที่สังเกตไดหรือไมได และแบงพฤติกรรมออกเปน 3 สวน คือดานความรู ดานเจตคติ และดานการปฏิบัติดังนี้

1. ดานความรู (Cognitive domain) คือ พฤติกรรมที่แสดงออกใหรูวาบุคคลนั้นรูหรือคิดพัฒนาความสามารถ ทักษะทางสติปญญา การใชวิจารณญาณในการตัดสินใจความรู จําแนกไวตามลําดับขั้นจากงายไปหายาก ดังนี้ 1.ความรู (Knowledge) 2.ความเขาใจ (Comprehension) 3.การนําไปใช (Application) 4.การวิเคราะห (Analysis)

2. ดานเจตคติ (Affective domain) คือพฤติกรรมที่แสดงออกถึงเจตคติของบุคคล เชน ความสนใจ ความรูสึกหรือความคิดเห็นวาชอบหรือไมชอบตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือปรับปรุงคานิยมที่ยึดถืออยูเปนพฤติกรรม ที่ยากแกการอธิบายเพราะเปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายในจิตใจของคน เชนการออกกําลังกายจะชวยใหรางกายแข็งแรงขึ้นก็สามารถปองกันโรคตาง ๆ ไดหรือในดานลบบางคนอาจคิดวาการออกกําลังกายทําใหเหนื่อยและเสียเวลา

Page 19: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

8

3. พฤติกรรมดานการปฏิบัติ (Psychomotor domain) คือ พฤติกรรมที่แสดงออกทางรางกายหรือการกระทําที่สังเกตไดในสถานการณหนึ่ง หรือกลาวอีกนัยหนึ่งคือการปฏิบัติที่อาจแสดงออกในสถานการณหนึ่งๆ หรืออาจเปนพฤติกรรมคาดคะเนวาอาจจะปฏิบัติในโอกาสตอไป พฤติกรรมดานนี้เปนพฤติกรรมขั้นสุดทายซึ่งตองอาศัยพฤติกรรม ดานพุทธิปญญา หรือเปนพฤติกรรมที่สามารถประเมินผลไดงาย แตกระบวนการที่กอใหเกิดพฤติกรรมนี้ตองอาศัยเวลาและการตัดสินใจหลายขั้นตอนในทางดานสุขภาพถือวาพฤติกรรมดานการปฏิบัติของบุคคลคือเปาหมายขั้นตอนสุดทายที่ชวยใหบุคคลมีสุขภาพดี

เฉลิมพล ตันสกุล (2541 อางถึงในพระสุทธิพจน สุทธิวจโน(สัพโส).2556)ไดใหความ-หมายพฤติกรรมวา ปฏิกิริยาและกิจกรรมทุกชนิดที่มนุษยแสดงออกทางรูปธรรม นามธรรม ตลอดเวลา สังเกตไดดวยประสาทสัมผัส วาจา และการกระทํา สามารถแบงพฤติกรรมออกไดเปน 2 ประเภท คือ พฤติกรรมภายนอก (Overt Behavior) ซึ่งเปนการกระทําที่สังเกตไดดวยประสาทสัมผัสหรืออาจใชเครื่องมือชวยและพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ซึ่งเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในจิตใจบุคคลอื่นไมสามารถสังเกตได

กลาวโดยสรุป พฤติกรรม หมายถึง การกระทํา หรือปฏิกิริยา ที่บุคคลนั้นตอบสนองตอสิ่งเราภายในและภายนอก ทั้งที่สามารถสังเกตไดและที่สังเกตไมได โดยการตอบสนองนั้นอาจทําไปโดยรูตัว ไมรูตัว อาจเปนพฤติกรรมที่พึงประสงคและไมพึงประสงคลวนจัดเปนพฤติกรรมทั้งสิ้น

2.1.2 ความหมายสุขภาพองคการอนามัยโลก (2541 อางถึงในเนตรนภา กิจรุงพิพัฒนและอนุสรา พันธุนิธิทร.2555)

ใหความหมายของคําวา สุขภาพ หมายถึง สภาวะความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย และจิตใจรวมถึงความสามารถในการดํารงชีวิตอยูในสังคมดวยดี ทั้งนี้ไมใชหมายเพียงแตการปราศจากโรคหรือปราศจากทุพพลภาพเทานั้น ตอมาไดมีมติใหเพิ่มคําวา สุขภาวะทางจิตวิญญาณเขาไปทําใหปจจุบันความหมาย สุขภาพ มีองคประกอบ 4 สวน ดังนี้

1. สุขภาพกาย (Physical Health) หมายถึง สภาพที่ดีของรางกาย กลาวคือ อวัยวะตางๆอยูในสภาพที่ดี มีความแข็งแรงสมบูรณ ปราศจากโรคภัยไขเจ็บ รางกายสามารถทํางานไดตามปกติและมีความสัมพันธกับทุกสวนเปนอยางดี และกอใหเกิดประสิทธิภาพที่ดีในการทํางาน

2. สุขภาพจิต (Mental Health) หมายถึง สภาพของจิตใจที่สามารถควบคุมอารมณได มีจิตใจเบิกบานแจมใส มิใหเกิดความคับของใจหรือขัดแยงในจิตใจ สามารถปรับตัวเขากับสังคมและสิ่งแวดลอมไดอยางมีความสุขสามารถควบคุมอารมณไดเหมาะสมกับสถานการณตาง ๆ ซึ่งผูมีสุขภาพจิตดี ยอมมีผลมาจากสุขภาพกายดีดวย ดังที่ John Lock ไดกลาวไววา “A Sound mind is in a sound body” คือ “ จิตใจที่แจมใส ยอมอยูในรางกายที่สมบูรณ ”

Page 20: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

9

3. สุขภาพสังคม (Social Health) หมายถึง สภาวะที่ดีของปญญาที่มีความรูทั่ว รูเทาทันและความเขาใจอยางแยกไดในเหตุผลแหงความดีความชั่ว ความมีประโยชนและความมีโทษ ซึ่งนําไปสูความมีจิตอันดีงามและเอื้อเฟอเผื่อแผ

4.สุขภาพจิตวิญญาณ (Spiritual Health) หมายถึง บุคคลที่มีสภาวะทางกายและจิตใจที่สุขสมบูรณ มีสภาพของความเปนอยูหรือการดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข ไมทําใหผูอื่น หรือสังคมเดือดรอน สามารถปฏิสัมพันธและปรับตัวใหอยูในสังคมไดเปนอยางดีและมีความสุข

ในองคประกอบสุขภาพทั้ง 4 ดานนั้น แตละดานยังมี 4 มิติ ดังนี้

1. การสงเสริมสุขภาพ เปนกลไกการสรางความเขมแข็งใหแกสุขภาพกาย สุขภาพจิต

สุขภาพสังคม และสุขภาพจิตวิญญาณ

2. การปองกันโรค ไดแก มาตรการลดความเสี่ยงในการเกิดโรค รวมทั้งการสรางภูมิคุมกัน

เฉพาะโรค ดวยวิธีการตางๆ นานา เพื่อมิใหเกิดโรคกาย โรคจิต โรคสังคม และโรคจิตวิญญาณ

3. การรักษาโรค เมื่อเกิดโรคขึ้นแลว เราตองเรงวินิจฉัยโรควาเปนโรคอะไร แลวรีบใหการ

รักษาดวยวิธีที่ไดผลดีที่สุดและปลอดภัยที่สุดเทาที่มนุษยจะรูและสามารถใหการบริการรักษาได

เพื่อลดความเสียหายแกสุขภาพ หรือแมแตเพื่อปองกันมิใหเสียชีวิต

4. การฟนฟูสภาพ หลายโรคเมื่อเปนแลวก็อาจเกิดความเสียหายตอการทํางานของระบบ

อวัยวะหรือทําใหพิการ จึงตองเริ่มมาตรการฟนฟูใหกลับมามีสภาพใกลเคียงปกติที่สุดเทาที่จะทําได

ตามรางพระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ 2545 ใหความหมายของคําวา สุขภาพ คือ ภาวะที่

มีความพรอมสมบูรณทั้งทางรางกาย คือ รางกายที่สมบูรณแข็งแรง คลองแคลว มีกําลัง ไมเปนโรค

ไมพิการ ไมมีอุบัติเหตุอันตราย มีสิ่งแวดลอมที่สงเสริมสุขภาพ

กลาวโดยสรุป สุขภาพ หมายถึง สภาวะที่รางกายมีความสมบูรณ แข็งแรง ปราศจากโรค มี

สภาวะทางจิตใจที่สุข เบิกบายแจมใส สามารถรูทันอารมณและสามารถปรับตัวใหเขากับ

สถานการณตางๆไดตลอดจนสามรถดําเนินชีวิตอยูในสังคมไดอยางปกติสุข

2.1.3 ความหมายพฤติกรรมสุขภาพคนทุกคนอยากมีสุขภาพที่ดีแตการจะมีสุขภาพที่ดีนั้นจะขึ้นอยูกับพฤติกรรมสุขภาพของ

บุคคลนั้นๆเองดวยวามีพฤติกรรมทางดานสุขภาพดีหรือไมดี โดยจะอยูกับปจจัยทางดานตางๆ จากการศึกษาคนควาไดมีนักวิชาการหลายทานที่ไดใหนิยามและแนวคิดเกี่ยวกับความหมายพฤติกรรมสุขภาพ ดังนี้

Page 21: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

10

ธนวรรณ อิ่มสมบูรณ (2539 อางถึงในจรุง วรบุตร.2550) ไดใหความหมาย พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การกระทํา การปฏิบัติการแสดงออกและทีทาที่จะกระทํา ซึ่งจะกอใหเกิดผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพตนเองครอบครัวหรือชุมชน พฤติกรรมสุขภาพ จําแนกออกเปน 2 ลักษณะดวยกัน คือ ลักษณะแรก เปนการกระทํา ไดแก การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคล ที่มีผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ และลักษณะที่สองเปนการไมกระทํา ไดแก การงดเวนไมกระทําหรือการไมปฏิบัติของบุคคล ที่จะมีผลดีหรือผลเสียตอสุขภาพ

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข พ .ศ .2552ไดใหความหมาย พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง พฤติกรรมที่เกี่ยวของกันหรือมีผลตอสุขภาพของบุคคล ครอบครัวหรือชุมชน ไมวาจะในลักษณะที่ทําใหเกิดผลเสียหรือผลดีตอสุขภาพตนเอง บุคคลในครอบครัวหรือชุมชน เจ็บปวย บาดเจ็บหรือเสียชีวิต พฤติกรรมสุขภาพมีผลกระทบโดยตรงตอปญหาสาธารณสุขหรือปญหาสุขภาพของแตละบุคคล ครอบครัว และชุมชน

พรสุข หุนนิรันดร (2545 อางถึงในพระสุทธิพจน สุทฺธิวจโน (สัพโส).2556) ไดกลาวไววา พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การกระทําหรือการปฏิบัติของบุคคลที่มีผลตอสุขภาพ ซึ่งเปนผลมาจากการเรียนรูของบุคคลเปนสําคัญ โดยแสดงออกใหเห็นไดในลักษณะของการกระทํา และไมกระทําในสิ่งที่ เปนผลดีตอสุขภาพหรือผลเสียตอสุขภาพ แลวแตกรณี นอกจากนี้ พฤติกรรมยังรวมถึงพฤติกรรมดานความรูและทัศนคติที่มีตอสุขภาพอีกดวย

ก็อชแมน (Gochman)(2545 อางถึงใน วรรณวิมล เมฆวิมล.2553) อธิบายความหมายของคําวา พฤติกรรมสุขภาพวา หมายถึง คุณสมบัติสวนบุคคลตางๆ เชน ความเชื่อ ความคาดหวัง แรงจูงใจ คานิยม การรับรู และองคประกอบดานความรู ลักษณะบุคลิกภาพของบุคคล ซึ่งครอบคลุมภาวะความรูสึก อารมณ และลักษณะเฉพาะตน รวมทั้งแบบแผนการแสดงออกที่ชัดเจนเปนที่สังเกตได การกระทํา และลักษณะนิสัยที่เกี่ยวของกับการรักษาสุขภาพ (Health Maintenance) การกระทําใหสุขภาพกลับภาวะเดิม (Health Restoration) และการสงเสริมสุขภาพ (Health Improvement) ดังนั้น คําวาพฤติกรรมสุขภาพจึงหมายถึงการแสดงออกที่บุคคลลงมือกระทําทั้งที่สังเกตไดอยางชัดเจน (Overt Behavior) เพื่อใหตนเองมีสุขภาพดี รวมถึงสิ่งที่สังเกตไมได ตองอาศัยวิธีการสงเสริมสุขภาพ (Health Promotion)

กลาวโดยสรุป พฤติกรรมสุขภาพ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางดานที่เกี่ยวกับสุขภาพซึ่งเกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอก พฤติกรรมสุขภาพจะรวมถึงการปฏิบัติที่สังเกตไดและการเปลี่ยนแปลงในที่สังเกตไมไดแตสามารถวัดไดวาเกิดขึ้น เปนการปฏิบัติหรือการแสดงออกของบุคคลในการกระทําหรืองดเวนการกระทําในสิ่งที่มีผลตอสุขภาพ โดยอาศัยความรู ความเขาใจ เจตคติ และการปฏิบัติตนทางสุขภาพที่เกี่ยวของสัมพันธกันอยางเหมาะสม

Page 22: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

11

ประเภทของพฤติกรรมสุขภาพประภาเพ็ญ สุวรรณ (2532 อางถึงในเบญจมาศ นาควิจิตร.2551) แบงประเภทของ

พฤติกรรมสุขภาพเปน 3 ชนิด ดังนี้1. พฤติกรรมสุขภาพในภาวะปกติ

1.1 พฤติกรรมปองกัน (Preventive health behavior) หมายถึง การแสดงออกของพฤติกรรมของบุคคลเพื่อดํารงไวซึ่งผูที่มีสุขภาพดีโดยมีวัตถุประสงคเพื่อปองกันไมใหเกิดการเจ็บปวยกระทําในขณะที่ยังไมมีอาการของการเจ็บปวย เชน การไมสูบบุหรี่ การไมดื่มสุรา การตรวจสุขภาพประจําปเปนตน

1.2 พฤติกรรมสงเสริมสุขภาพ (Promotive health behavior)หมายถึง พฤติกรรมที่แสดงออกในภาวะที่รางกายปกติแตตองการใหสมบูรณมากขึ้นดวยการออกกําลังกาย การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ ครบถวนตามหลักโภชนาการ การผอนคลายความเครียด2. พฤติกรรมเมื่อรูสึกไมสบาย (Illness behavior)

พฤติกรรมเมื่อรูสึกไมสบาย หมายถึง เปนกิจกรรมหรือการปฏิบัติของบุคคลที่รับรูวารางกายเจ็บปวยหรือสงสัยวาจะมีอาการผิดปกติบางอยาง หรือรูสึกไมสบายกอนที่แพทยจะวินิจฉัยวาเปนผูปวยจึงแสวงหาการตรวจวินิจฉัยเพื่อใหตนเองทราบวาปวยเปนอะไรและคนหาแนวทางแกไขตามสภาวการณ เชน การพักผอนเมื่อรูสึกวารางกายออนเพลีย การไปหาซื้อยากินเอง การใชสมุนไพร หรือไมทําอะไรเลยคอยใหอาการผิดปกติหายไปเอง3. พฤติกรรมสุขภาพเมื่อเจ็บปวย (Sick role behavior)

การแสดงออกของพฤติกรรมหลังจากไดรับวินิจฉัยเกี่ยวกับความเจ็บปวยแลว เพื่อที่จะทําใหอาการปวยดีขึ้น เชน การรับประทานยาตามแพทยสั่ง การสั่งงดบุหรี่ สุรา หลีกเลี่ยงอาหารรสจัด การออกกําลังกาย การควบคุมอาหารและน้ําหนัก การมาหาแพทยตามนัด เปนตน

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ2.2.1 ความหมายการดูแลสุขภาพตนเองOrem (1980 อางถึงใน ศิริพร เทพสูตร และปฏิภาส สาแช 2557) การดูแลตนเอง หมายถึง

กิจกรรมที่บุคคลแตละคนเริ่มตนปฏิบัติ และยึดเปนแบบแผนในการปฏิบัติเพื่อสุขภาพ และมีความเปนอยูที่ดีขึ้น

Page 23: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

12

Pender (1982 อางถึงใน เบญจมาศ นาควิจิตร.2551) พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมที่บุคคลไดริเริ่ม และกระทําในแนวทางของตนเองเพื่อดํารงรักษาชีวิตสงเสริมสุขภาพ และความเปนอยูอันดีของตนเองไว การดูแลตนเองจะตองมีแบบแผน เปาหมาย ขั้นตอน ตลอดจนความตอเนื่องกัน และเมื่อใดที่กระทําอยางถูกตองครบถวน จะทําใหเพิ่มประสิทธิภาพของการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น

องคการอนามัยโลก กระทรวงสาธารณสุข (2534 อางถึงใน เบญจมาศ นาควิจิตร 2551) การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การดําเนินกิจกรรมทางสุขภาพดวยตนเองของปจเจกบุคคล ครอบครัว กลุมเพื่อนบาน กลุมเพื่อนรวมงานและชุมชน โดยรวมถึงความคิด การตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวของกับสุขภาพ ซึ่งครอบคลุมทั้งการรักษาสุขภาพ การปองกันโรค การวินิจฉัยโรค การรักษาโรค (รวมทั้งการใชยา) และการปฏิบัติตนหลังรับบริการ

กลาวโดยสรุป การดูแลสุขภาพตนเอง หมายถึง การปฏิบัติกิจกรรมทางสุขภาพตางๆ ที่บุคคลเริ่มกระทําที่ตนเอง ครอบครัว กลุมเพื่อนบานและเพื่อนรวมงาน ฯลฯ เพื่อใหเกิดประโยชนตอการดําเนินชีวิต สุขภาพและความเปนอยูที่ดี โดยการปฏิบัติกิจกรรมนั้นๆตองกระทําอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอหรือปฏิบัติจนเปนนิสัย

2.2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการดูแลตนเองทฤษฎีที่เกี่ยวกับการดูแลตนเอง คือ ทฤษฎีการดูแลตนเองของโอเรม (Orem 1980 อางถึงใน

ศิริพร เทพสูตรและปฏิภาส สาแช 2557)ทฤษฎีทางการพยาบาลของโอเรม ประกอบดวย 3 ทฤษฎีที่สําคัญ ไดแก1. ทฤษฎีดูแลตนเอง (Self–care Theory)2. ทฤษฎีความพรองในการดูแลตนเอง (The Theory of Self-care Deficit)3. ทฤษฎีระบบพยาบาล (The Theory of Nursing System)

1.ทฤษฎีดูแลตัวเอง (Self-care Theory)เปนแนวคิดที่อธิบายการดูแลตนเองของบุคคล กลาวคือ บุคคลที่มีวุฒิภาวะเปนผูใหญ และ

กําลังเขาสูวัยผูใหญมีการเรียนรูในการกระทํา และผลของการกระทําเพื่อสนองตอบความตองการดูแลตนเองที่จําเปนโดยการควบคุมปจจัยที่มีผลตอหนาที่ หรือพัฒนาการของบุคคลเพื่อคงไวซึ่งชีวิตสุขภาพ และความผาสุกการกระทําดังกลาวรวมไปถึงการกระทําเพื่อบุคคลที่ตองพึ่งพาซึ่งสมาชิกในครอบครัวหรือบุคคลอื่น

Page 24: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

13

แนวคิดของโอเรม การดูแลตนเองเปนรูปแบบหน่ึงของการกระทําอยางจงใจ และมีเปาหมายซึ่งเกิดขึ้นอยางเปนกระบวนการประกอบดวย 2 ระยะสัมพันธกัน คือ

ระยะที่ 1 เปนระยะของการประเมิน และตัดสินใจในระยะน้ีบุคคลจะตองหาความรูและขอมูลเกี่ยวกับสถานการณที่เกิดขึ้น และสะทอนความคิด ความเขาใจในสถานการณ และพิจารณาวาสถานการณนั้นจะสามารถเปลี่ยนแปลงไดหรือไม อยางไรมีทางเลือกอะไรบาง ผลที่ไดรับแตละทางเลือกเปนอยางไรแลวจึงตัดสินใจที่จะกระทํา

ระยะที่ 2 ระยะของการกระทําและประเมินผลของการกระทํา ซึ่งในระยะนี้จะมีการแสวงหาเปาหมายของการกระทําซึ่งเปาหมายมีความสําคัญเพราะจะชวยกําหนดทางเลือกกิจกรรมที่ตองกระทํา และเปนเกณฑที่จะใชในการติดตามผลของการปฏิบัติกิจกรรม

วัตถุประสงคหรือเหตุผลของการกระทําการดูแลตนเองนั้น โอเรม เรียกวา การดูแลตนเองที่จําเปน (Self-care Requisites) ซึ่งเปนความตั้งใจหรือเปนผลที่เกิดไดทันทีหลังการกระทํา การดูแลตนเองที่จําเปนมี 3 อยาง คือ การดูแลตนเองที่จําเปนโดยทั่วไป ตามระยะพัฒนาการ และเมื่อมีภาวะเบี่ยงเบนทางดานสุขภาพ ดังน้ี

1. การดูแลตนเองที่จําเปนโดยทั่วไป (Universal Self-care Requisites) เปนการดูแลตนเองท่ีเกี่ยวของกับการสงเสริมและรักษาไวซึ่งสุขภาพและสวัสดิภาพของบุคคล และการดูแลตนเองเหลานี้จําเปนสําหรับบุคคลทุกคน ทุกวัย แตจะตองปรับใหเหมาะสมกับระยะพัฒนาการจุดประสงค และกิจกรรมการดูแลตนเองที่จําเปนโดยทั่วไปมีดังนี้1.1 คงไวซึ่งอากาศ น้ํา และอาหารที่เพียงพอ

- บริโภคอาหาร น้ํา อากาศใหเพียงพอกับหนาที่ของรางกายที่ผิดปกติ และคอยปรับตัวตามความเปลี่ยนแปลงทั้งภายในและภายนอก- รักษาไวซึ่งความคงทนของโครงสราง และหนาที่ของอวัยวะที่เกี่ยวของ- หาความเพลิดเพลินจากการหายใจ การดื่ม และการรับประทานอาหารโดยไมทําใหเกิดโทษ

1.2 คงไวซึ่งการขับถาย และการระบายใหเปนไปตามปกติ- จัดการใหมีการขับถายตามปกติทั้งจัดการกับตนเอง และสิ่งแวดลอม- จัดการเกี่ยวกับกระบวนการในการขับถายซึ่งรวมถึงการรักษาโครงสรางหนาที่ใหเปนไปตามปกติ และการระยายสิ่งปฏิกูลจาการขับถาย- ดูแลสุขวิทยาสวนบุคคล- ดูแลสิ่งแวดลอมใหสะอาดถูกสุขลักษณะ

Page 25: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

14

1.3 คงไวซึ่งความสมดุลระหวางการมีกิจกรรม และการพักผอน- เลือกกิจกรรมใหรางกายไดเคลื่อนไหวออกกําลังกายการตอบสนองทางอารมณทางสติปญญา และมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอ่ืนอยางเหมาะสม- รับรูและสนใจถึงความตองการการพักผอน และการออกกําลังกายของตนเอง- ใชความสามารถ ความสนใจ คานิยม และกฎเกณฑจากขนบธรรมเนียมประเพณีเปนพื้นฐานในการสรางแบบแผนการพักผอน และการมีกิจกรรมของตนเอง

1.4 คงไวซึ่งความสมดุลระหวางการอยูคนเดียวกับการมีปฏิสัมพันธกับผูอ่ืน- คงไวซึ่งคุณภาพ และความสมดุลที่จําเปนในการพัฒนาเพื่อเปนที่พึ่งของตนเองและสรางสัมพันธภาพกับบุคคลอื่นเพื่อที่จะชวยใหตนเองทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพรูจักติดตอของความชวยเหลือจากบุคคลอ่ืนในเครือขายสังคมเมื่อจําเปน- ปฏิบัติตนเพื่อสรางมิตรใหความรักความผูกพันกับบุคคลรอบขางเพื่อจะไดพึ่งพาซึ่งกัน และกัน- สงเสริมความเปนตัวของตัวเอง และการเปนสมาชิกในกลุม

1.5 ปองกันอันตรายตาง ๆตอชีวิต หนาที่ และสวัสดิภาพ- สนใจและรับรูตอชนิดของอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้น- จัดการปองกันไมใหเกิดเหตุการณที่อาจจะเปนอันตราย- หลีกเลี่ยงหรือปกปองตนเองจากอันตรายตาง ๆ- ควบคุมหรือขจัดเหตุการณที่เปนอันตรายตอชีวิตสวัสดิภาพ

1.6 สงเสริมการทําหนาที่ และพัฒนาการใหถึงขีดสูงสุดภายใตระบบสังคม และความสามารถของตนเอง (Promotion of Normalcy)

- พัฒนาและรักษาไวซึ่งอัตมโนทัศนที่เปนจริงของตนเอง- ปฏิบัติในกิจกรรมที่สงเสริมพัฒนาการของตนเอง- ปฏิบัติกิจกรรมที่สงเสริมและรักษาไวซึ่งโครงสราง และหนาที่ของบุคคล (Health -Promotion & Preventions)- คนหา และสนใจในความผิดปกติของโครงสราง และหนาที่แตกตางไปจากปกติของตนเอง (Early Detection)

Page 26: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

15

2. การดูแลตนเองที่จําเปนตามระยะพัฒนาการ (Developmental Self-care Requisites) เปนการดูแลตนเองที่เกิดขึ้นจากกระบวนการพัฒนาการของชีวิตมนุษยในระยะตาง ๆ เชน การตั้งครรภ การคลอดบุตร การเจริญเติบโต เขาสูวัยตาง ๆ ของชีวิต และเหตุการณที่มีผลเสียหรือเปนอุปสรรคตอพัฒนาการ เชน การสูญเสียคูชีวิตหรือบิดามารดา หรืออาจเปนการดูแลตนเองที่จําเปนโดยทั่วไปที่ปรับใหสอดคลองเพื่อการสงเสริมพัฒนาการการดูแลตนเองที่จําเปนสําหรับกระบวนการพัฒนาการแบงออกเปน 2 อยางคือ2.1 พัฒนาและคงไวซึ่งภาวะความเปนอยูที่ชวยสนับสนุนกระบวนการของชีวิตและพัฒนาการของชีวิต และพัฒนาการที่ชวยใหบุคคลเจริญเขาสูวุฒิภาวะในระหวางที่

- อยูในครรภมารดา และการคลอด- ในวัยทารก วัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ วัยชราและในระยะตั้งครรภ

2.2 ดูแลเพื่อปองกันการเกิดผลเสียตอพัฒนาการโดยจัดการเพื่อบรรเทาเบาบางอารมณเครียดหรือเอาชนะตอผลที่เกิดจาก

- การขาดการศึกษา- ปญหาการปรับตัวทางสังคม- การสูญเสียญาติมิตร- ความเจ็บปวย การบาดเจ็บ และการพิการ- การเปลี่ยนแปลงเนื่องจากเหตุการณตางๆในชีวิต- ความเจ็บปวยในขั้นสุดทายและการที่จะตองตาย

2.3 การดูแลตนเองที่จําเปนในภาวะเบี่ยงเบนทางดานสุขภาพ (Health Deviation Self-care Requisites) เปนการดูแลตนเองที่เกิดขึ้นเนื่องจากความพิการตั้งแตกําเนิดโครงสรางหรือหนาที่ของรางกายผิดปกติ เชน เกิดโรคหรือความเจ็บปวย และจากการวินิจฉัย และการรักษาของแพทย การดูแลตนเองที่จําเปนในภาวะนี้มี 6 อยางคือ

1. แสวงหา และคงไวซึ่งความชวยเหลือจากบุคคลที่เชื่อถือได เชน เจาหนาที่สุขภาพอนามัย2. รับรู สนใจ และดูแลผลของพยาธิสภาพซึ่งรวมถึงผลที่กระทบตอพัฒนาการของตนเอง3. ปฏิบัติตามแผนการรักษา การวินิจฉัย การฟนฟู และการปองกันพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นอยาง

มีประสิทธิภาพ4. รับรู และสนใจที่จะคอยปรับ และปองกันความไมสุขสบายจากผลขางเคียงของการรักษา

หรือจากโรค

Page 27: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

16

5. ดัดแปลงอัตมโนทัศน และภาพลักษณในการที่จะยอมรับภาวะสุขภาพของตนเองตลอดจนความจําเปนที่ตนเองตองการความชวยเหลือเฉพาะจากระบบบริการสุขภาพรวมทั้งการปรับบทบาทหนาที่ และการพึ่งพาบุคคลอ่ืนการพัฒนาและคงไวซึ่งความมีคุณคาของตนเอง

6. เรียนรูที่จะมีชีวิตอยูกับผลของพยาธิสภาพหรือภาวะที่เปนอยู รวมทั้งผลของการวินิจฉัย และการรักษาในรูปแบบแผนการดําเนินชีวิตที่สงเสริมพัฒนาการของตนเองใหดีที่สุดตามความสามารถที่เหลืออยูรูจักตั้งเปาหมายที่เปนจริงซึ่งจะเห็นวาการสนองตอบตอความตองการการดูแลตนเองในประเด็นนี้จะตองมีความสามารถในการผสมผสานความตองการดูตนเองในประเด็นอื่น ๆเขาดวยกันเพื่อจัดระบบการดูแลที่จะชวยปองกันอุปสรรคหรือบรรเทาเบาบางผลที่เกิดจากพยาธิสภาพการวินิจฉัย และการรักษาตอพัฒนาการของตนเอง

2.ทฤษฎีความพรองในการดูแลตนเอง (The Theory of Self-care Deficit)เปนแนวคิดหลักในทฤษฎีของโอเรมเพราะจะแสดงถึงความสัมพันธระหวางความสามารถใน

การดูแลตนเอง และความตองการการดูแลตนเองทั้งหมดในชวงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งความสัมพันธดังกลาวนั้นมีไดใน 3 แบบ ดังน้ี

1. ความตองการที่สมดุล (Demand is Equal to Abilities: TSCD = SCA)2. ความตองการนอยกวาความสามารถ (Demand is Less than Abilities: TSCD < SCA)3. ความตองการมากกวาความสามารถ (Demand is Greater than Abilities: TSCD > SCA)ในความสัมพันธของ 2 รูปแบบแรกนั้นบุคคลสามารถบรรลุเปาหมายความตองการการดูแล

ตนเองทั้งหมดได ถือวาไมมีภาวะพรอง (No Deficit) สวนในความสัมพันธที่ 3 เปนความไมสมดุลของความสามารถที่มีไมเพียงพอที่จะตอบสนองความตองการการดูแลตนเองทั้งหมดจึงมีผลทําใหเกิดความบกพรองในการดูแลตนเอง ความบกพรองในการดูแลตนเองเปนไดทั้งบกพรองบางสวนหรือทั้งหมด และความบกพรองในการดูแลตนเองเปนเสมือนเปาหมายทางการพยาบาล

3.ทฤษฎีระบบพยาบาล (The Theory of Nursing System) เปนกรอบแนวคิดเกี่ยวกับการกระทําของพยาบาลเพื่อชวยเหลือบุคคลที่มีความพรองในการ

ดูแลตนเองใหไดรับการตอบสนองความตองการการดูแลตนเองท้ังหมด และความสามารถในการดูแลตนเองของบุคคลไดรับการดูแลใหถูกนํามาใช ปกปอง และดูแลตนเอง โดยใชความสามารถทางการพยาบาลระบบการพยาบาลเปนระบบของการกระทําที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาตามความสามารถและความตองการการดูแลของผูรับบริการ ซึ่งระบบการพยาบาลไดแบงออกเปน 3 ระบบ โดยอาศัยเกณฑความสามารถของบุคคลในการควบคุมการเคลื่อนไหว

1. ระบบทดแทนทั้งหมด (Wholly Compensatory Nursing System) เปนบทบาทของพยาบาลที่ตองกระทําเพื่อทดแทนความสามารถของผูรับบริการ โดยสนองตอบตอความตองการการดูแลตนเอง

Page 28: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

17

ทั้งหมด ชดเชยภาวะไวสมรรถภาพในการปฏิบัติกิจกรรม การดูแลตนเองชวยประคับประคอง และปกปองจากอันตรายตาง ๆ และผูที่มีความตองการระบบการพยาบาลแบบน้ี คือ

1.1 ผูที่ไมสามารถจะปฏิบัติในกิจกรรมที่จะกระทําอยางจงใจ ไมวารูปแบบใดๆทั้งสิ้นเชน ผูปวยที่หมดสติ หรือผูที่ไมสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวได ไดแก ผูปวยอัมพาตผูปวยไมรูสึกตัว

1.2 ผูที่รับรู และอาจจะสามารถสังเกต ตัดสินใจเกี่ยวกับดูแลตนเองได และไมควรจะเคลื่อนไหวหรือจัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวใดๆไดแก ผูปวยดานออรโธปดิกสที่ใสเฝอกหรือกระดูกหลังหัก

1.3 ผูที่ไมสนใจหรือเอาใจใสในตนเอง ไมสามารถตัดสินใจอยางมีเหตุผลในการดูแลตนเอง เชน ผูปวยปญหาทางจิต

2. ระบบทดแทนบางสวน (Partly Compensatory Nursing System)เปนระบบการพยาบาลใหการชวยเหลือที่ขึ้นอยูกับความตองการ และความสามารถของผูปวย โดยพยาบาลจะชวยผูปวยสนองตอบตอความตองการการดูแลตนเองที่จําเปนโดยรวมรับผิดชอบในหนาที่รวมกันระหวางผูปวยกับพยาบาล ผูปวยจะพยายามปฏิบัติกิจกรรมในเรื่องที่เปนการตอบสนองตอความตองการดูแลตนเองที่จําเปนเทาที่สามารถทําได สวนบทบาทของพยาบาลจะตองปฏิบัติกิจกรรมการดูแลบางอยางสําหรับผูปวยที่ยังไมสามารถกระทําไดเพื่อชดเชยขอจํากัดและเพิ่มความสามารถของผูปวยในการดูแลตนเอง และกระตุนใหมีการพัฒนาความสามารถในอนาคต การพยาบาลระบบนี้ผูปวยตองมีบทบาทในการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลบางอยางดวยตนเอง ผูที่มีความตองการการพยาบาลแบบนี้ คือ

2.1 จํากัดการเคลื่อนไหวจากโรคหรือการรักษา แตสามารถเคลื่อนไหวไดบางสวน2.2 ขาดความรู และทักษะที่จําเปนเพื่อการดูแลตนเองตามความตองการการดูแลตนเองที่

จําเปน2.3 ขาดความพรอมในการเรียนรู และกระทําในกิจกรรมการดูแลตนเอง2.4 ระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและใหความรู (Educative Supportive Nursing System)

เปนระบบการพยาบาลที่จะเนนใหผูปวยไดรับการสอน และคําแนะนําในการปฏิบัติการดูแลตนเอง รวมทั้งการใหกําลังใจ และคอยกระตุนใหผูปวยคงความพยายามที่จะดูแลตนเองและคงไวซึ่งความสามารถในการดูแลตนเอง

Page 29: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

18

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสุขภาพกนกพร หมูพยัคฆและคณะ(2536 อางถึงในเบญจมาศ นาควิจิตร.2551) แนวคิดที่มีอิทธิพล

ตอการดูแลสุขภาพ แบงออกไดเปน 3 แนวคิด คือ แนวคิดที่ 1 ปจจัยภายในตัวบุคคล (Intra individual causal summation) มีรากฐานของแนวความคิกมาจาก สมมติฐานเบื้องตนวา สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมหรือ

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรม มาจากองคประกอบภายในตัวบุคคลไดแก องคประกอบทางดานจิตวิทยาคือ ความเชื่อ ความรู ทัศนคติ คานิยม แรงจูงใจ ความตั้งใจในการแสดงพฤติกรรมองคประกอบนี้อยูในบุคคลทุกคนแตแตกตางกันไปตามความมากนอย จากแนวความคิดขางตน นักพฤติกรรมในกลุมนี้สนใจศึกษา และสรางทฤษฎีเกี่ยวกับ

1. ทฤษฎีความรู2. ทฤษฎีทัศนคติ และการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ3. ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรม4. ทฤษฎีแบบแผนความเชื่อดานสุขภาพแนวคิดที่ 2 ปจจัยภายนอกตัวบุคคล ( Extra individual causal assumption) มีรากฐานแนวความคิดมาจาก สมมติฐานที่วา สาเหตุของการเกิดพฤติกรรมมาจากภายนอก

ตัวบุคคล เชน ปจจัยทางดานสิ่งแวดลอม และระบบโครงสรางทางสังคม ระบบการเมือง เศรษฐกิจ การศึกษา ศาสนา องคประกอบทางดานประชากร และลักษณะทางภูมิศาสตร วามีอิทธิพลตอพฤติกรรมของมนุษยอยางไร เหลานี้เรียกวาองคประกอบทางดานสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งปจจัยเหลานี้ลวนแตมีอิทธิพลตอการเรียนรู การพัฒนาความคิดความเชื่อ การปฏิบัติทางดานสุขภาพของบุคคล วามีอิทธิพลตอพฤติกรรมของมนุษยอยาง ทฤษฎีที่นํามาประยุกตใชจะเกี่ยวของกับ ทฤษฎีทางสังคมศาสตร จิตวิทยาสังคม ประชากรศาสตร และเศรษฐศาสตร เปนตน

Page 30: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

19

แนวคิดที่ 3 ปจจัยหลายปจจัย (Multiple Causality Assumption) มีรากฐานมาจากแนวความคิดที่วา พฤติกรรมคนนั้นเกิดมาจากปจจัยหลายปจจัยทั้งปจจัย

ภายนอกตัวบุคคล ปจจัยภายในตัวบุคคล โดยสรุปวา ปจจัยตอไปนี้มีอิทธิพลตอพฤติกรรมสุขภาพของมนุษย

1. ความยากงายของการเขาถึงบริการสาธารณสุข2. การประเมินผลประสิทธิภาพของการบริการสาธารณสุข3. โลกทัศนเกี่ยวกับอาการของโรค ความรุนแรงของโรค และการเสี่ยงตอการเกิดโรค4. องคประกอบทางสังคม และเครือขายทางสังคม5. องคประกอบดานประชากรศาสตรสุรีย กาญจนวงศ และคนอื่นๆ (2540 อางถึงในวชิราพรรณ เทพิน 2553) กลาววา

องคประกอบและปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของบุคคลมีดังนี้1. ความรู1.1 ความรูของชุมชน ทั้งในแงความรูสมัยใหมและแบบดั้งเดิมซึ้งลวนแตมีอิทธิพลตอ

พฤติกรรมดูแลสุขภาพ องคความรูดานสุขภาพในกระแสวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมและสมัยใหมจะสงผลตอการเลือกปฏิบัติ เนื่องจากในทุกสังคม และทุกวัฒนธรรมมีการดูแลสุขภาพดวยตนเองมานานแลว

1.2 ความรูในระดับครอบครัว โดยลักษณะของครอบครัวไทยนั้นเปนแบบครอบครัวขยายซึ่งมีอิทธิพลสูงตอการถายทอดวัฒนธรรมทางสุขภาพจากบรรพบุรุษสูสมาชิกในครอบครัวยังสงผลใหเกิดแบบแผนประเพณีการปฏิบัติสืบตอกันมาเชน การดูแลระหวางการตั้งครรภ การดูแลหลังคลอดดวยการอยูไฟ เปนตน

2. ระบบการจัดบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชนหนวยบริการสาธารณสุขทั้งภาครัฐและเอกชนตลอดจนสถานที่จําหนายยา ซึ่งมีอยูทั่วไป

ในประเทศไทยเปดโอกาสใหประชาชนเลือกใชบริการไดตามฐานะทางเศรษฐกิจ และความรู แมวาการบริการของรัฐจะครอบคลุมประชาชนสวนใหญของประเทศจนถึงระดับปลายสุดที่ระดับตําบลก็ตามความสะดวกท่ีไดรับประกอบกับการโฆษณาชวนเชื่อและผลจาการเลียนแบบ (Demonstration effect) ยังผลใหประชาชนเกิดการเรียนรูอยางสับสน และเลือกใชบริการในลักษณะที่ไมเหมาะสมกับความจําเปน ซึ่งมีผลกระทบตอการดูแลตนเองได

Page 31: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

20

3. แรงกดดันทางวัฒนธรรมและอิทธิพลของกลุมเพื่อนเปนองคประกอบสําคัญในการตัดสินใจในการดูแลตนเอง เชน วัฒนธรรมการบริโภคของ

ชาวบานเกี่ยวกับการบริโภคอาหารสุกๆดิบๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การติดยาเสพติดในกลุมวัยรุน เปนตน

4. มาตรการการบังคับใชกฎหมายที่ยังไมครอบคลุมและไมมีประสิทธิภาพโดยเฉพาะในปจจุบันที่การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว มาตรการการใชกฎหมาย

และคุมครองผูบริโภคยังไมสามารถครอบคลุมประชากรทั้งหมดได สงผลใหเกิดความบกพรองตอการดูแลตนเองของประชาชน เชน การกําจัดสิ่งปฏิกูลและการควบคุมมลภาวะตางๆ กฎหมายเกี่ยวกับการสรางที่อยูอาศัย เปนตน

5. กลุมวิชาชีพและกลุมผลประโยชนมีอิทธิพลสูงตอการดูแลตนเองของบุคคล หากพิจารณาในเชิงพานิชยโอกาสที่กลุม

ผลประโยชน จะสามารถทําเงินจากการตื่นตัวดานสุขภาพ โดยที่ชาวบานยังขาดความรูและขอมูลขาวสารที่ถูกตอง เชน อาหารเสริมสุขภาพที่ไดรับอิทธิพลจากเชิงธุรกิจ สงผลใหประชาชนหลงเชื่อและซื้อหามารับประทาน โดยมีจุดประสงคเพียงเพื่อสงเสริงสุขภาพและชะลอความชรา เปนตน สวนในดานของวิชาชีพ บุคลากรทางการแพทยมีสวนสําคัญอยางยิ่งในการสงเสริม หรือยับยั้งการดูแลตนเอง บุคลากรทางการแพทยตองมีความเชื่อ และศรัทธาในความสามารถของประชาชนในการดูแลตนเอง พรอมกับสงเสริมศักยภาพของประชาชน และชุมชนที่อยูใหเกิดพฤติกรรมการดูแลตนเองใหมากขึ้น ลดการพึ่งพิงบุคลากรทางการแพทยลง ทั้งนี้ยังสงผลตอการลดตนทุนดานการดูแลสุขภาพของประชาชนลง ทําใหเกิดการบริการอยางถูกตองเหมาะสมตามความจําเปน เปนการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดอยางแทจริง

6. เวลา ทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเปนองคประกอบสําคัญ ตอการดูแลสุขภาพดวยตนเองของบุคคล เวลาเปนทรัพยากรที่

สําคัญประการหนึ่ง ในขณะที่ตนทุนของเวลา (Time cost) มีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพเศรษฐกิจ สังคมก็ยอมมีผลตอสถานภาพทางสถานะของบุคคลดวย เชน ภาวะเครียด เนื่องจากความเรงรีบการจราจรติดขัด การบีบรัดทางเศรษฐกิจ ที่สงผลตอการดูแลสุขภาพประชาชน ความจํากัดในดานทรัพยากร การเปลี่ยนแปลงสภาพสิ่งแวดลอมอาจสงผลตอการดูแลสุขภาพตนเองในเชิงบวก เชน การลดความเครียดดวยการออกกําลังกาย การนั่งสมาธิเพื่อลดความวุนวายใจ เปนตน แตผลในเชิงลบที่เกิดขั้นก็เชน การใชยาหรืออาหารบํารุงเกินความจําเปนหรือการใชสารเสพติด ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีองคประกอบที่มีอิทธิพลตอการดูแลสุขภาพอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวของกับภูมิหลังของบุคคล ไดแก อายุ เพศ ภาวะทางสังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี ขั้นตอนการพัฒนาและสิ่งแวดลอม เปนตน

Page 32: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

21

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2532 อางถึงในเบญจมาศ นาควิจิตร.2551) ไดกลาววา องคประกอบสุขภาพมี 3 องคประกอบคือ องคประกอบดานความรู ดานเจตคติ ดานการปฏิบัติ และการเกิดพฤติกรรมนั้นเปนกระบวนการที่สลับซับซอนมาก มีองคประกอบหลายอยางที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล องคประกอบดานจิตวิทยาเปนองคประกอบที่สําคัญ และมีองคประกอบดานสังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การศึกษา และการเมือง ดังนี้

1. องคประกอบทางดานจิตวิทยา เปนองคประกอบที่อยูภายในจิตใจของบุคคลที่มีผลตอการเกิด และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ดานความรู เจตคติ และการปฏิบัติประกอบดวยวุฒิภาวะ การรับรู ความตองการ ความคับของใจ องคประกอบดานนี้มีอยูในบุคคลทุกคน แตจะแตกตางกันไปตามลักษณะความมากนอย สิ่งเหลานี้มีอิทธิพลอยางมากตอพฤติกรรมของบุคคลทั้งในยามปกติและเจ็บปวย

2. องคประกอบดานสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพ ไดแก ครอบครัวกลุมบุคคลในสังคม สภาพสังคม วัฒนธรรมและศาสนา ซึ่งปจจัยเหลานี้ลวนมีอิทธิพลตอการเรียนรู การพัฒนาความคิดความเชื่อ และการปฏิบัติทางดานสุขภาพของบุคคล เชน ครอบครัว กลุมบุคคลในสังคม สภาพทางสังคม วัฒนธรรม ศาสนา เปนตน

3. องคประกอบทางดานเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของประชาชนมีผลเชนเดียวกับระดับการศึกษาซึ่งขณะเดียวกันก็มีผลตอสุขภาพดวย เศรษฐกิจของประชาชนที่ไมดีมักจะทําใหประชาชนมีความรู เจตคติ และการปฏิบัติที่ไมถูกตองกับสุขภาพ ในทางตรงกันขาม ถาเศรษฐกิจดีโอกาสที่จะไดรับการศึกษาก็จะมีมากการศึกษาชวยใหบุคคลมีความรูและการปฏิบัติตอสุขภาพที่ถูกตองซึ่งมีผลทําใหมีสุขภาพดี

4. องคประกอบดานการศึกษา การศึกษาที่ตางกันมีผลตอความรู เจตคติและการปฏิบัติทางสุขภาพของประชาชน ประชาชนที่มีการศึกษาต่ํา มักจะมีความรู เจตคติ และการปฏิบัติดานสุขภาพที่ไมถูกตองมากกวาประชาชนที่มีการศึกษาสูง

5. องคประกอบทางดานการเมือง นโยบายทางการเมืองของประเทศ มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพทั้งดานความรู เจตคติ และการปฏิบัติ เพราะนโยบายของประเทศจะชี้ใหเห็นวาจํานวนและความเพียงพอของการรักษาพยาบาล กิจกรรมทางสุขศึกษาที่จัดใหกับประชาชน กฎหมาย หรือขอบังคับจะมีผลตอพฤติกรรมบางอยาง

Page 33: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

22

2.3 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรูเอกษา หนูแบ (2551 อางถึงในศิริพร เทพสูตรและ ปฏิภาส สาแช 2557) กลาวไววา ความรู

หมายถึง การเรียนรูเรื่องราว ขอเท็จจริง และกฎเกณฑตาง ๆ ซึ่งอาจไดจากการเรียนรูในบทเรียน และจากประสบการณตาง ๆ โดยอาศัยเวลาในการเก็บรวบรวมขอมูลสะสมแหลงที่มาของความรู และแสดงออกมาเปนพฤติกรรม ซึ่งสังเกตหรือวัดได

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542 อางถึงในวารสาร ราชพฤกษ สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร ปที่ 12 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-เมษายน 2557) ไดกําหนดไววา ความรู” คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน การคนควา หรือประสบการณ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเขาใจหรือสารสนเทศที่ไดรับมาจากประสบการณ

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2556 ความรูหมายถึงสิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเลาเรียน การคนควาหรือประสบการณ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ

ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2536 อางถึงในมาลัยพร เทวะประสิทธิ์พร.2556) ไดใหคําอธิบายวา ความรู เปนพฤติกรรมขั้นตนที่ผูเรียนรูเพียงแตเกิดความจําได โดยอาจจะเปนการนึกไดหรือโดยการมองเห็น ไดยิน จําได ความรูในขั้นนี้ไดแก ความรูเกี่ยวกับคําจํากัดความ ความหมาย ขอเท็จจริง กฎเกณฑ โครงสรางและวิธีแกไขปญหา สวนความเขาใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะดาน “การแปล” ซึ่งหมายถึง ความสามารถในการเขียนบรรยายเกี่ยวกับขาวสารนั้นๆ โดยใชคําพูดของตนเองและ “การใหความหมาย” ที่แสดงออกมาในรูปของความคิดเห็นและขอสรุป รวมถึงความสามารถในการ “คาดคะเน” หรือการคาดหมายวาจะเกิดอะไรขึ้น

เกษม วัฒนชัย (2544 อางถึงในวิกรม อารีราษฎร.2547) กลาวไววา ความรู หมายถึง การรวบรวมความคิดของมนุษย จัดใหเปนหมวดหมูและประมวลสาระที่สอดคลองกัน โดยนํามาใชใหเกิดประโยชน ดังนั้นสิ่งที่เปนสาระที่สอดคลองกัน โดยนํามาใชใหเกิดประโยชน ดังนั้นสิ่งที่เปนสาระในระบบขอมูลขางสาร

ความรู (Knowledge) ในทัศนะของฮอสเปอร (1989 อางถึงในมาลัยพร เทวะประสิทธิ์พร . 2556) กลาวไววา นับเปนขั้นตอนแรกของพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับความสามารถในการจดจํา ซึ่งอาจจะโดยการนึกได มองเห็น ไดยิน หรือ ไดฟง ความรูนี้ เปนหนึ่งในขั้นตอนของการเรียนรู โดยประกอบดวยคําจํากัดความหรือความหมาย ขอเท็จจริง ทฤษฎี กฎ โครงสราง วิธีการแกไขปญหา และมาตรฐานเปนตน ซึ่งอาจกลาวไดวา ความรูเปนเรื่องของการจําอะไรไดระลึกไดโดยไมจําเปนตองใชความคิดที่ซับซอนหรือใชความสามารถของสมองมากนัก ดวยเหตุนี้ การจําไดจึงถือวาเปน กระบวนการที่สําคัญในทางจิตวิทยา และเปนขั้นตอนที่นําไปสูพฤติกรรมที่กอใหเกิดความเขาใจ การนําความรูไปใชในการวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินผล ซึ่งเปนขั้นตอนที่ไดใชความคิดและความสามารถทางสมองมากขึ้นเปน

Page 34: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

23

ลําดับ สวนความเขาใจ (Comprehension) นั้น ฮอสเปอร ชี้ใหเห็นวา เปนขั้นตอนตอมาจากความรู โดยเปนขั้นตอนท่ีจะตองใชความสามารถของสมองและทักษะในขั้นที่สูงขึ้น จนถึงระดับของการสื่อความหมาย ซึ่งอาจเปนไปไดโดยการใชปากเปลา ขอเขียน ภาษา หรือการใชสัญลักษณ โดยมักเกิดขึ้นหลังจากที่บุคคลไดรับขาวสารตางๆแลว อาจจะโดยการฟง การเห็น การไดยิน หรือเขียน แลวแสดงออกมาในรูปของการใชทักษะหรือการแปลความหมายตาง ๆเชน การบรรยายขาวสารที่ไดยินมาโดยคําพูดของตนเอง หรือการแปลความหมายจากภาษาหน่ึงไปเปนอีกภาษาหนึ่ง โดยคงความหมายเดิมเอาไว หรืออาจเปนการแสดงความเห็นหรือใหขอสรุปหรือการคาดคะเนก็ได

เบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom 1975 อางถึงในรุงศักดิ์ พงษไสว.2550) ไดใหความหมายของความรู วาหมายถึง เรื่องที่เกี่ยวกับการระลึกถึงสิ่งเฉพาะ วิธีการและกระบวนการตาง ๆรวมถึงแบบกระสวนของโครงการวัตถุประสงคในดานความรู โดยเนนในเรื่องของกระบวนการทางจิตวิทยาของความจําอันเปนกระบวนการที่เชื่อมโยงเกี่ยวกับการจัดระเบียบโดยกอนหนานั้นในป ค.ศ. 1965 บลูมและคณะไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการรับรูหรือพุทธิพิสัย (cognitive domain) ของคนวาประกอบดวยความรูตามระดับตาง ๆรวม 6 ระดับ ซึ่งอาจพิจารณาจากระดับความรูในขั้นต่ําไปสูระดับของความรูในระดับที่สูงขึ้นไป โดยบลูมและคณะ ไดแจกแจงรายละเอียดของแตละระดับไวดังนี้

1. ความรู (Knowledge) หมายถึง การเรียนรูที่เนนถึงการจําและการระลึกไดถึงความคิด วัตถุ และปรากฎการณตางๆ ซึ่งเปนความจําที่เริ่มจากสิ่งงายๆ ที่เปนอิสระแกกัน ไปจนถึงความจําในสิ่งที่ยุงยากซับซอนและมีความสัมพันธระหวางกัน

2. ความเขาใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เปนความสามารถทางสติปญญาในการขยายความรู ความจํา ใหกวางออกไปจากเดิมอยางสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชิญกับสื่อความหมาย และความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งใดสิ่งหน่ึง

3. การนําไปปรับใช (Application) เปนความสามารถในการนําความรู (knowledge) ความเขาใจหรือความคิดรวบยอด (comprehension) ในเรื่องใดๆ ที่มีอยูเดิม ไปแกไขปญหาที่แปลกใหมของเรื่องนั้น โดยการใชความรูตาง ๆโดยเฉพาะอยางยิ่งวิธีการกับความคิดรวบยอดมาผสมผสานกับความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปหรือการขยายความสิ่งนั้น

4. การวิเคราะห (Analysis) เปนความสามารถและทักษะที่สูงกวาความเขาใจ และการนําไปปรับใช โดยมีลักษณะเปนการแยกแยะสิ่งที่จะพิจารณาออกเปนสวนยอย ที่มีความสัมพันธกัน รวมทั้งการสืบคนความสัมพันธของสวนตาง ๆเพื่อดูวาสวนประกอบปลีกยอยนั้นสามารถเขากันไดหรือไม อันจะชวยใหเกิดความเขาใจตอสิ่งหน่ึงสิ่งใดอยางแทจริง

Page 35: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

24

5. การสังเคราะห (Synthesis) เปนความสามารถในการรวบรวมสวนประกอบยอย ๆหรือสวนใหญ ๆ เขาดวยกันเพื่อใหเปนเรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน การสังเคราะหจะมีลักษณะของการเปนกระบวนการรวบรวมเนื้อหาสาระของเรื่องตาง ๆเขาไวดวยกันเพื่อสรางรูปแบบหรือโครงสรางที่ยังไมชัดเจนข้ึนมากอน อันเปนกระบวนการที่ตองอาศัยความคิดสรางสรรคภายในขอบเขตของสิ่งที่กําหนดให

6. การประเมินผล (Evaluation) เปนความสามารถในการตัดสินเกี่ยวกับความคิด คานิยม ผลงาน คําตอบ วิธีการและเนื้อหาสาระเพื่อวัตถุประสงคบางอยาง โดยมีการกําหนดเกณฑ (criteria) เปนฐานในการพิจารณาตัดสิน การประเมินผล จัดไดวาเปนขั้นตอนที่สูงสุดของพุทธิลักษณะ (characteristics of cognitive domain) ที่ตองใชความรูความเขาใจ การนําไปปรับใช การวิเคราะหและการสังเคราะหเขามาพิจารณาประกอบกันเพื่อการประเมินผลสิ่งหน่ึงสิ่งใด

มาลินี จุฑะรพ (2541 อางอิงในภัทรภร เฉลยจรรยา.2558) ไดกลาววา การเรียนรูเปน

กระบวนการที่ตอเนื่องและสัมพันธกัน กระบวนการเรียนรูที่สําคัญไดแก

1. กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดของกาเยโรเบิรตเอ็ม (Robert M. Gagne 1977 อางอิงใน

ภัทรภร เฉลยจรรยา.2558) ไดกลาวถึงกระบวนการเรียนรูไว 8 ขั้นตอน คือ

1.1 การจูงใจ (Motivation Phase) กอนการเรียนรูจะตองมีการจูงใจใหผูเรียนอยากรูอยาก

เห็น และมีสวนรวมในกิจกรรมซึ่งจะชวยใหการเรียนรูดําเนินไปดวยดี

1.2 ความเขาใจ (Apprehending Phase) ในการเรียนรูผูเรียนจะตองเขาใจในบทเรียนจึงจะ

ชวยใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพ

1.3 การไดรับ (Acquistion Phase) เมื่อผูเรียนเกิดความเขาใจในบทเรียน จะกอใหเกิดการ

ไดรับความรูเพื่อเก็บไวหรือจดจําบทเรียนไวตอไป

1.4 การเก็บไว (Retention Phase) หลังจากที่ผูเรียนไดรับความรูก็จะเก็บความรูเหลานั้นไว

ตามสมถรรนะภาพการจําของบุคคล

1.5 การระลึกได (Recall Phase) เมื่อผูเรียนเก็บความรูไวก็จะถูกนํามาใชในโอกาสตาง ๆ

เทาที่จะระลึกได

1.6 ความคลายคลึง (Generalization Phase) ผูเรียนจะนําสิ่งที่ไดไปใชและเมื่อพบกับสถาน-

การณหรือสิ่งเราที่คลายคลึงกันจะนําความรูดังกลาวไปสัมพันธกับการเรียนรูในความรูใหมที่

คลายคลึงกัน

Page 36: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

25

1.7 ความสามารถในการปฏิบัติ (Performance Phase) หลังจากที่ไดเรียนรูไปแลวผูเรียน

ตองนําความรูที่เรียนรูไปแลวนั้นไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง

1.8 การปอนกลับ (Feedback Phase) เปนการประเมินผลการเรียนรู วาผูเรียนเรียนรูได

ถูกตองเพียงใด สอดคลองกับวัตถุประสงคของบทเรียนหรือไม จะไดนําขอมูลไปปรับปรุงและ

พัฒนากระบวนการเรียนรูตอไป

2. กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดของบรูเนอร เจอโรม (Jerome Bruner) ไดกลาวถึง

กระบวนการเรียนรูวาประกอบดวยขั้นตอนดังนี้

2.1 การรับความรู (Acquisition) เปนขั้นของการรับความรูใหม ๆ ที่ไดจากการเรียนรู

2.2 การแปลงรูปของความรู (Transformation) เปนขั้นของการแปลงรูปความรูที่ไดรับมา

ใหสัมพันธกับประสบการณเดิม หรือเหตุการณปจจุบัน

2.3 การประเมินผล (Evaluation) เปนขั้นตอนของการประเมินผลวาสิ่งที่ไดรับมาเปน

ความรูใหม เมื่อผานขั้นการแปลงรูปของความรูแลววาดีหรือไม หรือทําใหเกิดการเรียนรู

ที่กาวหนาขึ้นเพียงใด

3. กระบวนการเรียนรูตามแนวคิดของ ครอนบาค (Cronbach, 1954) มีขั้นตอน ดังนี้

3.1 ความมุงหมาย (Goal) หมายถึง สิ่งที่ผูเรียนควรจะไดรับจากการเรียนรู

3.2 ความพรอม (Readiness) หมายถึง วุฒิภาวะ อารมณ และความสามารถในการเรียนรู

3.3 สถานการณ (Situation) หมายถึง ตัวครู บทเรียน วิธีสอน สื่อการสอนกิจกรรม

บรรยากาศในการเรียนการสอน และสภาพแวดลอมอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

3.4 การแปลความหมาย (Interpretation) หมายถึง การพิจารณาและตีความหมายในสิ่งเรา

และสถานการณที่เกี่ยวของ

3.5 การตอบสนอง (Response) หมายถึง การลงมือแสดงพฤติกรรม โดยมีปฏิสัมพันธตอสิ่ง

เราและสถานการณที่เกี่ยวของ

3.6 ผลตอเนื่อง (Consequence) หมายถึง ผลที่เกิดจากการตอบสนองวาสอดคลองกับความ

มุงหมายหรือไม ถาสอดคลอง ถือวามีการเรียนรูเกิดขึ้นแลวถายังไมสอดคลอง แสดงวายังไมมีการ

เรียนรูเกิดขึ้น

Page 37: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

26

3.7 ปฏิกิริยาตอการขัดขวาง (Reaction to Thwarting) หมายถึง การพบกับความผิดหวัง จึง

ตองไปตั้งตนในขั้นที่หนึ่งใหม

ประเภทของความรูRosemary, H.W, Kenneth, A,J, and Tanya, D. (2002 อางถึงในพรพิมล หรรษาภิรมย

โชค.2554 ) ไดกลาวถึงประเภทของความรูสามารถแบงได 2 ประเภท ไดแก 1) ความรูที่ฝงลึก (Tacit) 2) ความรูที่ชัดแจง (Explicit) โดยในแตละประเภทประกอบดวยหลายองคประกอบ เชน ความรูโดยสัญชาตญาณ (Intuition) ประสบการณ (Experience) ความจริงที่เปนรากฐาน (Ground Truth) คานิยม (Value) การตัดสิน (Judgment) สมมติฐาน (Assumption) ความเชื่อ (Belief) และสติปญญา (Intelligence) ซึ่งสามารถแบงไดดังน้ี

1.ความรูที่ฝงลึก (Tacit Knowledge) คือ ความเปนตัวบุคคล ในบริบทของความรูที่มีลักษณะเฉพาะ และเปนสิ่งที่ยากในการบันทึกใหเปนแบบแผนที่ชัดเจน เนื่องจากความรูโดยนัยจะถูกเก็บไวในระบบสมองของคน และเปนองคประกอบภายในที่สําคัญในการพัฒนา โดยมีกระบวนการ ที่ใชทดสอบดวยวิธีตางๆ เห็นจากการปฏิบัติงานที่เรียกไดวาเปนประสบการณ ความชํานาญ กรอบความคิดภายในตัวบุคคล คานิยม การหยั่งรู เปนตน

2.ความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) เปนองคประกอบของความรูที่สามารถประมวล และถายทอดอยูในระบบดวยภาษาที่เปนแบบทางการ เชน เอกสารตาง ๆ (Document) ฐานขอมูล (Database) เว็บไซต (Web) จดหมายอิเล็กทรอนิกส (E-Mail) แผนภูมิ (Chart) ตัวหนังสือ สูตร สมการ กฎ ทฤษฎี และอื่น ๆ

นอกจากนี้ประเภทของความรูยังมีความเกี่ยวของกับกิจกรรมตาง ๆ ที่อยูรอบตัวของบุคคล กลุม บุคคล และองคกร เนื่องจากความรูมาจากหลายแหลง (Multilocational Knowledge) โดยความรูที่มีอยูทั้งภายในและนอกองคกรสามารถนําไปจัดการจนทําใหบรรลุผลขององคกรได หากผูที่รับผิดชอบซึ่ง ไดแก บุคคล กลุมคนและองคกรสามารถจัดระบบขอมูลใหมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลตอการนําไปประยุกตใชใหเหมาะกับคน และกลุมคนภายในองคกรจนกอใหเกิดผลสมฤทธิ์ในดานตาง ๆ ตามที่องคกรตองการ

Page 38: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

27

ชนิดของความรูคณะผูวิจัย กองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล 2552 ไดกลาววา ความรูอาจแบงเปน 3 ชนิด

ตามลักษณะที่ปรากฏ ดังน้ี1. ความรูที่เปดเผย (Explicit Knowledge) รูกันทั่วไป พบเห็นโดยทั่วไปในหนังสือ ตํารา

สื่อตางๆ เขาถึง และแลกเปลี่ยนไดไมยาก2. ความรูที่แฝงอยูในองคกร (Embedded Knowledge) แฝงอยูในรูปกระบวนการทํางาน

คูมือ กฎเกณฑ กติกา ขอตกลง ตารางการทํางาน บันทึกจากการทํางาน3. ความรูที่ฝงลึกในคน (Tacit Knowledge) ฝงอยูในความคิด ความเชื่อ คานิยม ที่คนไดมา

จากประสบการณ ขอสังเกต ที่สั่งสมมานาน จากการเรียนรูที่หลากหลายและเชื่อมโยงจนเปนความรูที่มีคุณคาสูง แตแลกเปลี่ยนยาก ความรูที่ฝงลึกไมสามารถแปรเปลี่ยนมาเปนความรูที่เปดเผยไดทั้งหมด แตจะตองเกิดจากการเรียนรู ผานความเปนชุมชน เชน การสังเกต แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางการทํางานระดับของความรู

ความรูแบงเปน 4 ระดับ ดังนี้1. ความรูเชิงทฤษฏี (Know-What) เปนความรูเชิงขอเท็จจริง รูอะไร เปนอะไร จะพบในผูที่

สําเร็จการศึกษามาใหมๆ ที่มีความรูโดยเฉพาะความรูที่จํามาไดจากความรูชัดแจงซึ่งไดจากการไดเรียนมาก แตเวลาทํางาน ก็จะไมมั่นใจ มักจะปรึกษารุนพี่กอน

2. ความรูเชิงทฤษฏีและเชิงบริบท (Know-How) เปนความรูเชื่อมโยงกับโลกของความเปนจริง ภายใตสภาพความเปนจริงที่ซับซอนสามารถนําเอาความรูชัดแจงที่ไดมาประยุกตใชตามบริบทของตนเองได มักพบในคนที่ทํางานไปหลายๆป จนเกิดความรูฝงลึกที่เปนทักษะหรือประสบการณมากขึ้น

3. ความรูในระดับที่อธิบายเหตุผล (Know-Why) เปนความรูเชิงเหตุผลระหวางเรื่องราวหรือเหตุการณตางๆ ผลของประสบการณแกปญหาที่ซับซอน และนําประสบการณมาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูอื่น เปนผูทํางานมาระยะหนึ่งแลวเกิดความรูฝงลึก สามารถอดความรูฝงลึกของตนเองมาแลกเปลี่ยนกับผูอื่นหรือถายทอดใหผูอื่นไดพรอมทั้งรับเอาความรูจากผูอื่นไปปรับใชในบริบทของตนเองได

4. ความรูในระดับคุณคา ความเชื่อ (Care-Why) เปนความรูในลักษณะของความคิดริเริ่ม สรางสรรคที่ขับดันมาจากภายในตนเองจะเปนผูที่สามารถสกัดประมวล วิเคราะหความรูที่ตนเองมีอยู กับความรูที่ตนเองไดรับมาสรางเปนองคความรูใหมขึ้นมาได เชน สรางตัวแบบหรือทฤษฏีใหมหรือนวัตกรรม ขึ้นมาใชในการทํางานได

Page 39: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

28

การวัดความรูการวัดความรู วีระวัฒน ภูกันดาน(2553 อางอิงในภัทรภร เฉลยจรรยา.2558) ไดแบง

แบบทดสอบความรูเปน 3 ประเภท ไดแก1. แบบทดสอบวัดความเรียง (Essay Test) เปนแบบที่กําหนดคําถามใหและผูตอบตองเรียบ

เรียงคําตอบเอง ผูตอบจะตองเรียบเรียงความรู ความเขาใจ และความคิดเห็นแลวเขียนคําตอบเองตามที่ถนัด ในการวิจัยไมนิยมใชเนื่องจากใชเวลามาก เวนแตใชเปนแบบสัมภาษณ หรือสํารวจเบื้องตน

2. แบบทดสอบแบบตอบสั้น (Short Answer Test) เปนแบบที่กําหนดคําถามใหและกําหนดใหตอบสั้น ๆ ผูตอบตองหาคําตอบเองเหมือนกับความเรียง แบงเปน 3 ชนิด

2.1 แบบขอคําถามสมบูรณ (Completion) รูปแบบการถามจะใชประโยคที่มีเนื้อหาสมบูรณแตใหตอบสั้น ๆ เพียงคําเดียวหรือวลีเดียว

2.2 แบบขอความไมสมบรูณ (Incompletion) รูปแบบคําถามใชประโยคไมสมบูรณและเวนชองใหเติมคําหรือวลีจะทําใหประโยคสมบูรณ

2.3 แบบเติมคําที่มีความสัมพันธ รูปแบบนี้จะตั้งคําถามดวยประโยคหลักแลวตามดวยคําหรือขอความยอย ๆ เวนไวใหผูตอบที่สัมพันธเกี่ยวของกับคําหรือขอความยอยที่กําหนดไว

3. แบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice Items) เปนแบบที่กําหนดใหทั้งคําถามและคําตอบ ผูตอบจะตองเลือกตอบตามคําตอบที่กําหนด นิยมใชในการรวบรวมขอมูลสําหรับการวิจัยเนื่องจาก ใชเวลาในการตอบนอย การตรวจและการวิเคราะหทําไดงายและสะดวก มีหลายรูปแบบ ไดแก

3.1 แบบสองตัวเลือก มีลักษณะเปนแบบถูกผิดเปนหลัก ใชถามขอเท็จจริงและวัดความรูในระดับความจํา ในการสรางคําตอบจะตองถูกหรือจริง สวนขอคําถามตองชัดเจนไมมีประโยคปฏิเสธ ใหใชประโยคสั้น มีเนื้อความเดียว เวนแตคําถามในลักษณะเหตุผล แบบนี้นิยมใชในการสัมภาษณ หรือใชสงใหประชาชนที่มีระดับการศึกษานอยตอบ

3.2 แบบหลายตัวเลือก เปนแบบที่กําหนดคําตอบใหมากกวา 2 คําตอบซึ่งมีตั้งแต 3-5 คําตอบโดยทั่วไปนิยม 4 คําตอบ ผูตอบเลือกคําตอบไดเพียงคําตอบเดียว ในการสรางขอคําถามตองชัดเจน มีเนื้อความเดียว แตละขอคําถามเปนอิสระกัน เพื่อหลีกเลี่ยงการแนะคําตอบในขออื่นคําถามไมควรใชประโยคปฏิเสธ ควรใชประโยคบอกเลาที่สมบูรณสวนคําตอบที่กําหนดนั้น คําตอบทั้งหมดในขอเดียวกันตองเปนเรื่องเดียวกัน มีโอกาสถูกพอ ๆ กัน สั้นยาวพอ ๆ กัน และจะตองเปนอิสระกัน อยางใหถูกผิดทับซอนกันจะทําใหตอบลําบาก

Page 40: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

29

2.4 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับเจตคติ

เจตคติ (อางอิงใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 สืบคนเมื่อ 25 เมษายน

พ.ศ.2559) ใหความหมายวา “ทาทีหรือความรูสึกของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง.” และกํากับไววามา

จากภาษาอังกฤษวา attitude คํานี้เกิดจาก เจต (เจ-ตะ) + คติ (คะ-ติ) “เจต” เปนบาลี (สันสกฤตใช

เจตสฺ) หมายถึงใจ หรือ สิ่งที่คิด คํานี้เมื่อนํามาใชในภาษาไทย เราอาจอานออกเสียงเปน เจด บางก็มี

เชนในคํา “เจตนา” ที่จริงคือ เจ-ตะ-นา แตคนไทยนิยมอานแบบไทยเปน เจต-ตะ-นา มากกวา สวน

คํา “คติ” เปนบาลี เมื่อนํามาใชในภาษาไทยอาจแผลงเปน คดี บางก็มี เชนในชื่อ “ไทยคดีศึกษา”

ไมไดแปลวาจะตองเปนความขึ้นโรงขึ้นศาลกัน เพราะคํา คติ หรือ คดี นี้หมายถึง เรื่อง ทาง

แนวทาง ความเปนไป ดังนั้น “เจตคติ” จึงอาจแปลไดวา แนวทางที่คิด หรือ ที่ เกิดขึ้นในใจ

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2556 กลาววา ทัศนคติ หมายถึง แนวความคิดเห็น

สุรางค โควตระกูล (2556 อางถึงในภัทรภร เฉลยจรรยา.2558) ไดกลาวไววา ทัศนคติ เปน

สิ่งที่เรียนรู ประกอบดวยสวนที่เปนความรูคิดหรือสติปญญา ความรูสึก และพฤติกรรมที่แสดงออก

พวงรัตน ทวีรัตน (2540) ไดกลาไววา ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ความรูสึกของบุคคลตาง ๆ อันเปนผลเนื่องมาจากการเรียนรู ประสบการณ และเปนตัวกระตุนใหบุคคลแสดงพฤติกรรมตอสิ่งตาง ๆ ไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งซึ่งอาจเปนไปในทางสนับสนุนหรือทางตอตานก็ได

นิวคอมบ (Newcomb.1854 อางถึงในสลิลทิพย เลิศพงศภากรณ.2554) ไดกลาวไววา ทัศนคติ เปนความโนมเอียงของจิตใจที่มีตอประสบการณที่ไดรับ อาจเปนความพึงพอใจ หรือไมพึงพอใจ เห็นดวย ไมเห็นดวย หรือรูสึกเฉยๆ ไมชอบไมเกลียด

เจตคติบางครั้งก็เรียกทัศนคติ มีความหมายตามคําอธิบายของนักจิตวิทยา เชน อัลพอรท (Allport.http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html สืบคนเมื่อ 22 มิถุนายน 2559) ไดใหความหมายของเจตคติวา เปนสภาวะของความพรอมทางจิตใจซึ่งเกิดจากประสบการณ สภาวะความพรอมนี้ เปนแรงที่กําหนดทิศทางของปฏิกิริยาระหวางบุคคลที่มีตอบุคคล สิ่งของและสถานการณที่เกี่ยวของ เจตคติจึงกอรูปไดดังนี้

1. เกิดจากการเรียนรู วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมในสังคม2. การสรางความรูสึกจากประสบการณของตนเอง3. ประสบการณที่ไดรับจากเดิม มีทั้งทางบวกและลบ จะสงผลถึงเจตคติตอสิ่งใหมที่คลายคลึงกัน4. การเลียนแบบบุคคลที่ตนเองใหความสําคัญ และรับเอาเจตคตินั้นมาเปนของตน

Page 41: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

30

เบลกินและสกายเดล (Belkin and Skydell 1979 อางถึงในจุฑารัตน เอื้ออํานวย.2549) ใหความสําคัญ ของเจตคติวา เปนแนวโนมที่บุคคลจะตอบสนองในทางที่พอใจหรือไมพอใจตอสถานการณตาง ๆ

เจตคติจึงมีความหมายสรุปไดดังนี้1. ความรูสึกของบุคคลที่มีตอสิ่งตาง ๆ หลังจากที่บุคคลไดมีประสบการณในสิ่งนั้น ความรูสึกนี้จึงแบงเปน3ลักษณะคือ

1.1 ความรูสึกในทางบวก เปนการแสดงออกในลักษณะของความพึงพอใจ เห็นดวย ชอบและสนับสนุน

1.2 ความรูสึกในทางลบ เปนการแสดงออกในลักษณะไมพึงพอใจ ไมเห็นดวย ไมชอบและไมสนับสนุน

1.3 ความรูสึกที่เปนกลางคือไมมีความรูสึกใด ๆ2. บุคคลแสดงความรูสึกทางดานพฤติกรรม ซึ่งแบงพฤติกรรมเปน 2 ลักษณะ คือ

2.1 พฤติกรรมภายนอก เปนพฤติกรรมที่สังเกตได มีการกลาวถึง สนับสนุน ทาทางหนาตาบงบอก ความพึงพอใจ

2.2 พฤติกรรมภายใน เปนพฤติกรรมที่สังเกตไมได ชอบหรือไมชอบก็ไมแสดงออกเจตคติแบงเปน 5 ประเภท ไดแก (http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html สืบคน

เมื่อ 22 มิถุนายน 2559)1. เจตคติในดานความรูสึกหรืออารมณ (Affective Attitude) ประสบการณที่คนไดสราง

ความพึงพอใจและความสุขใจ จนกระทําใหมีเจตคติที่ดีตอสิ่งนั้น ตลอดจนเรื่องอื่น ๆ ที่คลายคลึงกัน

2. เจตคติทางปญญา (Intellectual Attitude) เปนเจตคติที่ประกอบดวยความคิดและความรูเปนแกน บุคคลอาจมีเจตคติตอบางสิ่งบางอยางโดยอาศัยการศึกษา ความรู จนเกิดความเขาใจและมีความสัมพันธกับจิตใจ คืออารมณและความรูสึกรวม หมายถึง มีความรูสึกจนเกิดความซาบซึ้งเห็นดีเห็นงามดวย เชน เจตคติที่มีตอศาสนาเจตคติที่ไมดีตอยาเสพติด

3. เจตคติทางการกระทํา (Action-oriented Attitude) เปนเจตคติที่พรอมจะนําไปปฏิบัติ เพื่อสนอง ความตองการของบุคคล เชน เจตคติที่ดีตอการพูดจาไพเราะออนหวานเพื่อใหคนอื่นเกิดความนิยม เจตคติที่มีตองานในสํานักงาน

Page 42: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

31

4. เจตคติทางดานความสมดุล (Balanced Attitude) ประกอบดวยความสัมพันธทางดานความรูสึกและอารมณเจตคติทางปญญาและเจตคติ ทางการกระทําเปนเจตคติที่สามารถตอบสนองตอความพึงพอใจในการทํางาน ทําใหบุคคลสามารถทํางานตามเปาหมายของตนเองและองคการได

5. เจตคติในการปองกันตัวเอง (Ego-defensive Attitude) เปนเจตคติเกี่ยวกับการปองกันตนเองใหพนจากความขัดแยงภายในใจ ประกอบดวยความสัมพันธทั้ง 3 ดาน คือ ความสัมพันธดานความรูสึก อารมณ ดานปญญาและดานการกระทํา

ศุภร เสรีรัตน 2544 (อางอิงในภัทรภร เฉลยจรรยา 2558) ไดแบงประเภทของทัศนคติไว 5 ประเภท ไดแก

1. ความเชื่อ (Beliefs) คือความโอนเอียงที่ทําใหตองยอมรับ เพราะเปนขอเท็จจริงและเปนสิ่งที่มีการสนับสนุนโดยความเปนจริง เปนสิ่งที่มีเหตุผลที่ถาวรแตอาจจะมีหรือไมมีความสําคัญก็ได

2. ความคิดเห็น (Opinions) คือ ความโนมเอียงที่ไมไดอยูบนพื้นฐานของความแนนอน ความคิดเห็นมักจะเกี่ยวของกับคําถามในปจจุบันและงายที่จะเปลี่ยนแปลง

3. ความรูสึก (Feelings) คือ ความโนมเอียงซึ่งมีพื้นฐานมาจากอารมณโดยธรรมชาติ4. ความโอนเอียง (Incilnation) คือ รูปแบบบางสวนของทัศนคติเมื่อผูบริโภคอยูในสภาวะ

ที่ตัดสินใจไมได5. ความมีอคติ (Bias) คือ ความเชื่อทางจิตใจที่ทําใหเกิดอคติหรือความเสียหายในทางตรงขามกับขอเท็จจริงองคประกอบของเจตคติ

ซิมบารโด และเอบเบอเซน (Zimbardo & Ebbersen 1970 อางถึงในสลิลทิพย เลิศพงศภากรณ. 2554) เจตคติประกอบดวยองคประกอบ 3 ประการ คือ

1. องคประกอบดานความรูความเขาใจ (Cognitive Component) เปนองคประกอบดานความรูความเขาใจของบุคคลที่มีตอสิ่งเรานั้น ๆ เพื่อเปนเหตุผลที่จะสรุปความ และรวมเปนความเชื่อ หรือชวยในการประเมินคาสิ่งเรานั้นๆ

2. องคประกอบดานความรูสึกและอารมณ (Affective Component) เปนองคประกอบดานความรูสึก หรืออารมณของบุคคล ที่มีความสัมพันธกับสิ่งเรา ตางเปนผลตอเนื่องมาจากที่บุคคลประเมินคาสิ่งเรานั้น แลวพบวาพอใจหรือไมพอใจ ตองการหรือไมตองการดีหรือเลว

องคประกอบทั้งสองอยางมีความสัมพันธกัน เจคติบางอยางจะประกอบดวยความรูความเขาใจมาก แตประกอบดวยองคประกอบดานความรูสึกและอารมณนอย เชน เจตคติที่มีตองานที่ทําสวนเจตคติที่มีตอแฟชั่นเสื้อผาจะมีองคประกอบดานความรูสึกและอารมณสูง แตมีองคประกอบดานความรูความเขาใจต่ํา

Page 43: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

32

3. องคประกอบดานพฤติกรรม (Behavioural Component) เปนองคประกอบทางดานความพรอม หรือความโนมเอียงที่บุคคลประพฤติปฏิบัติ หรือตอบสนองตอสิ่งเราในทิศทางที่จะสนับสนุนหรือคัดคาน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความเชื่อ หรือความรูสึกของบุคคลที่ไดรับจากการประเมินคาใหสอดคลองกับความรูสึก ที่มีอยู

เจตคติที่บุคคลมีตอสิ่งหนึ่งสิ่งใด หรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด ตองประกอบดวยทั้งสามองคประกอบเสมอ แตจะมีปริมาณมากนอยแตกตางกันไป โดยปรกติบุคคลมักแสดงพฤติกรรมในทิศทางที่สอดคลองกับเจตคติที่มีอยูแตก็ ไมเสมอไปทุกกรณี ในบางครั้งเรามีเจตคติอยางหนึ่ง แตก็ไมไดแสดงพฤติกรรมตามเจตคติที่มีอยูก็มีคุณลักษณะของเจตคติ

เจตคติมีคุณลักษณะที่สําคัญดังนี้ ปราณี ทองคํา (2539 อางอิงในชุติมา สาเจริญ 2557)1. เจตคติมีที่หมาย (Attitude object) ซึ่งไดแก สิ่งที่เปนรูปธรรม เชน คน สถานที่ สิ่งของ

สถานการณหรือสิ่งที่เปนนามธรรม เชน เสรีภาพ ความรักประชาธิปไตย ฯลฯ2. มีการระบุในแงดี-ไมดี (Evaluation aspect) มีความผันแปรในทางบวกและทางลบหรือ

ในดานการสนับสนุนหรือตอตาน3. มีลักษณะคงทน (Relatively enduring) เจตคติของคนที่มีตอเรื่องใดเรื่องหนึ่งแมวา

นักจิตวิทยาจะไมถือเปนของถาวร แตลักษณะของความคงทนก็เปนที่ยอมรับโดยทั่วไป เจตคติเปลี่ยนแปลงไดแตการเปลี่ยนแปลงตองใชเวลานาน

4. มีความพรอมในการตอบสนอง (Readiness for response) คือ มีความพรอมที่จะตอบสนองตอสิ่งหนึ่งสิ่งใดตามเจตคติที่เขามีอยู เชน มีความพรอมที่จะซื้อรถยนตถามีเงิน ทั้งนี้เพราะมีเจตคติที่ดีตอรถยนตอยูแลวการเกิดและการเปลี่ยนแปลงเจตคติ (http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html สืบคนเมื่อ 22 มิถุนายน 2559)

เจตคติเกิดจากการมีประสบการณทั้งทางตรงและทางออม หากประสบการณที่เราไดรับเพิ่มเติมแตกตางจากประสบการณเดิม เราก็อาจเปลี่ยนแปลงเจตคติได

การเปลี่ยนแปลงเจตคติมี 2 ทาง1. การเปลี่ยนแปลงในทางเดียวกัน (Congruent Change) หมายถึง เจตคติเดิมของบุคคลที่

เปนไปในทางบวกจะเพิ่มมากขึ้นในทางบวก แตถาเจตคติเปนไปทางลบก็เพิ่มมากขึ้นในทางลบดวย2. การเปลี่ยนแปลงไปคนละทาง (Incongruent Change) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงเจตคติ

เดิมของบุคคลที่เปนไปในทางบวกจะลดลงและไปเพิ่มทางลบ

Page 44: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

33

หลักการของการเปลี่ยนแปลงเจตคติ รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงไปในทางเดียวกัน หรือการเปลี่ยนแปลงไป คนละทางนั้น มีหลักการวา เจตคติที่เปลี่ยนแปลงไปในทางเดียวกันเปลี่ยนไดงายกวาเจตคติที่เปลี่ยน แปลงไปคนละทาง เพราะการเปลี่ยนแปลงไปในทางเดียวกันมีความมั่นคงความคงที่มากกวาการเปลี่ยนแปลงไปคนละทางการเปลี่ยนแปลงเจตคติเก่ียวของกับปจจัยตอไปนี้

1. ความสุดขีด (Extremeness) เจตคติที่อยูปลายสุดเปลี่ยนแปลงไดยากกวาเจตคติที่ไมรุนแรงนัก เชน ความรักที่สุดและความเกลียดที่สุดเปลี่ยนแปลงยากกวาความรักและความเกลียดที่ไมมากนักความซับซอน (Multicomplexity) เจตคติที่เกิดจากสาเหตุเดียวกันเปลี่ยนไดงายกวาเกิดจากหลาย ๆ สาเหตุ

2. ความคงที่ (Consistency) เจตคติที่มีลักษณะคงที่มาก หมายถึงเจตคติที่เปนความเชื่อฝงใจ เปลี่ยนแปลงยากกวาเจตคติทั่วไป

3. ความสัมพันธเกี่ยวเน่ือง (Interconnectedness) เจตคติที่มีความสัมพันธซึ่งกันและกันโดยเฉพาะที่เปนไปในทางเดียวกันเปลี่ยนแปลงไดยากกวาเจตคติที่มีความ สัมพันธไปในทางตรงกันขาม

4. ความแข็งแกรงและจํานวนความตองการ (Strong and Number of Wants Served) หมายถึง เจตคติที่มีความจําเปนและความตองการในระดับสูง เปลี่ยนแปลงไดยากกวาเจตคติที่ไมแข็งแกรงและไมอยูในความตองการ

5. ความเกี่ยวเนื่องกับคานิยม (Centrality of Related Values) เจตคติหลายเรื่องเกี่ยวเนื่องจากคานิยมความเชื่อวาคานิยมนั้นดีนา ปรารถนา และเจตคติสืบเนื่องจากคานิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรมนั้นเปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงไดยาก

ทัศนคติเปนสิ่งที่เกิดจากการเรียนรู การรับรูที่มีอยูมากมายของบุคคล โดย Allport (1976 อางถึงในสลินทิพย เลิศพงศภากรณ ) ไดกลาววา ทัศนคติตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งของคนนั้นเกิดขึ้นไดตามเงื่อนไข 4 ประการ คือ

1. ประสบการณเฉพาะอยาง (Specific Experience) กระบวนการเรียนรูที่ไดจากการเพิ่มพูนและรวมกันของการตอบสนองแนวความคิดตางๆ ซึ่งประสบการณที่ไดรับมาเดิมมีทั้งดีและไมดี รุนแรงหรือไมรุนแรง จะสงผลถึงทัศนคติตอสิ่งใหมที่คลายคลึงกัน เม่ือบุคคลมีประสบการณเฉพาะอยางตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งในทางที่ดีหรือไมดี จะทําใหเขาเกิดทัศนคติตอสิ่งนั้นไปตามทิศทางที่เคยมีประสบการณมากอน

Page 45: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

34

2. การติดตอสื่อสารกับบุคคลอื่น (Communication from others) จะทําใหเกิดทัศนคติจากการรับรูขาวสารจากผูอื่นได เชน เคยถูกสอยวาไมดีก็เห็นวาไมดี การสรางความรูสึกเกิดจากประสบการณสวนตัว ซึ่งประสบการณสวนตัวขึ้นอยูกับความแตกตางของบุคคลที่ตางมีประสบการณแตกตางกันไป นอกจากประสบการณของคนจะสะสมขึ้นเรื่อยๆ แลว ยังทําใหมีรูปแบบเปนของตัวเองดวย ดังนั้น ทัศนคติบางอยางจึงเปนเรื่องเฉพาะของบุคคลแลวแตพัฒนาการและความเจริญเติบโตของคนๆนั้น

3. สิ่งที่เปนแบบอยาง (Models) การเลียนแบบผูอื่น ทําใหเกิดทัศนคติขึ้นได กลาวคือ การมองดูคนปฏิบัติอยางไร แลวเราก็จดจําเอามาปฏิบัติตาม เชน การถายทอดทัศนคติของคนบางคนจากการเลียนแบบบุคคลอื่นที่ตนเองใหความสําคัญและรับเอาทัศนคตินั้นมาเปนของตน เชน พอ แม ครูและบุคคลอื่นๆ

4. องคประกอบสถาบัน (Institutional Factors) ไดแก วัด โรงเรียน ครอบครัว หนวยงาน เปนตน สถาบันเหลานี้เปนแหลงที่สนับสนุนใหคนเกิดทัศนคติบางอยางข้ึนการวัดทัศนคติ (อางถึงในภัทรภร เฉลยจรรยา . 2558)

ทัศนคติ เปนเรื่องของความชอบ ไมชอบ ความลําเอียง ความคิดเห็น ความรูสึก ความเชื่อฝงใจตอสิ่งหนึ่งสิ่งใด มักเกิดเมื่อมีการประเมินสถานการณ เหตุการณ บุคคลหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด และสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามกาลเวลาและสิ่งแวดลอม ในการวัดทัศนคตินั้น มีผูศึกษาหลายทานไดทําการศึกษาและไดสรุปไวดังนี้

ทัศนคติมีองคประกอบเดียว คือ อารมณความรูสึกในทางชอบไมชอบ ที่บุคคลมีตอทัศนคติ คือ ระดับความรูสึกในทางบวกหรือลบ แบงไดเปน 3 วิธี คือ

1. การรายงานตนเอง (Self-Reporty Measure) โดยวิธีการใหผูถูกวัดรายงานตนเองถึงความรูสึกวามีตอสิ่งนั้น ๆนักจิตวิทยาไดสรางมาตราวัดที่หมายของทัศนคติ เปนไปในทางบวกและทางลบ ด-ีไมดี สนับสนุน-คัดคาน เห็นดวย-ไมเห็นดวย เปนตน

2. การสังเกตพฤติกรรม (Observation of Overt Behavior) การสังเกตพฤติกรรมภายนอกของบุคคล ทําใหเราทราบถึงทัศนคติของบุคคลได บุคคลที่มีทัศนคติตอสิ่งใดสิ่งหนึ่งเรื่องใด เรื่องหนึ่ง อยางไรนั้นอาจทําไดโดยการสัมภาษณ ในระหวางที่ผูตอบแสดงความคิดเห็น ผูสัมภาษณก็ควรสังเกตกิริยาทาทางของผูตอบวามีความเต็มใจในการตอบคําถามหรือไม กระตือรือรนหรือพยายามหลีกเลี่ยง ก็สามารถบอกถึงทัศนคติที่มีตอเรื่องที่กําลังพูดคุยกันได

Page 46: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

35

3. การวัดปฏิกิริยาของรางกาย (Physiological Reactions) เนื่องจากเมื่อรางกายเกิดอารมณที่จะมีปฏิกิริยาของรางกายที่สามารถวัดได เชน เครื่องวัดตอบสนองผิวหนังหรือการวัดการเตนของหัวใจ การบีบตัวของหลอดเลือด การหดและการขยายตัวของมานตาสิ่งเหลานี้จะชวยใหรูถึงความเขมของทัศนคติ แตไมสามารถบอกทิศทางของทัศนคติวาไปในทางบวกหรือลบ

สําหรับการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ผูศึกษามีจุดมุงหมายที่จะศึกษาทัศนคติเกี่ยวกับความคิดเห็นความรูสึก ความเชื่อ ในเรื่องการสุขาภิบาลอาหารของผูสัมผัสอาหาร ซึ่งจะนําไปสูพฤติกรรมดานสุขาภิบาลอาหารของผูสัมผัสอาหารปฏิบัติตามขอกําหนดดานสุขาภิบาลอาหารสําหรับรานอาหารอันจะสงผลตอการปองกัน ควบคุมโรคระบบทางเดินอาหาร และนักศึกษา คณาจารยและบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยศิลปากร วังทาพระที่มาใชบริการไดรับประทานอาหารที่สะอาดปลอดภัย

2.5 ขอมูลบริษัทเบทาโกร (http://www.betagro.com สืบคนเมื่อ 15 มิถุนายน 2559)เครือเบทาโกรกอตั้งขึ้นเมื่อป พ.ศ. 2510 เพื่อดําเนินธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารสัตว เริ่ม

จากการสรางฐานการผลิตดานปศุสัตวแหงแรกที่อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา และไดขยายฐานการผลิตเต็มรูปแบบไปยังจังหวัดลพบุรีเพื่อรองรับขอบขายธุรกิจ ครบวงจร ตั้งแตการผลิต การเลี้ยง และการพัฒนาสายพันธุซึ่งครอบคลุมทั้งสุกร ไกเนื้อและไกไข การทําฟารมพอพันธุแมพันธุ การผลิตและจําหนายเวชภัณฑสําหรับสัตว ตลอดจนการพัฒนาความรวมมือกับเกษตรกรในโครงการประกันราคาไกเนื้อและไกไข โครงการจางเลี้ยงสุกรขุน การผลิตและจําหนายสุกรขุน เนื้อสุกร เนื้อไก ไขไก และผลิตภัณฑอาหารคุณภาพเพื่อจําหนายในประเทศและสงออก

ปจจุบันนอกจากจะเปนหนึ่งในผูนําธุรกิจอุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารครบวงจรของประเทศ ไทยแลว เครือเบทาโกรยังไดรับความเชื่อถือในมาตรฐานดานคุณภาพและความปลอดภัยโดยไดรับรางวัลดีเดนดานคุณภาพผลิตภัณฑและมาตรฐานการผลิตมากมายทั้งระดับ ประเทศและระดับสากล ครอบคลุมตั้งแตธุรกิจอาหารสัตว ปศุสัตว ผลิตภัณฑสําหรับสุขภาพสัตว ไปจนถึงผลิตภัณฑอาหารคุณภาพเพื่อการสงออกและจําหนายในประเทศ ซึ่งสามารถตอบสนองความตองการที่หลากหลายของผูบริโภค ภายใตแนวคิด "เพื่อคุณภาพชีวิต"

วิสัยทัศน คือ เครือเบทาโกรมุงผลิตและพัฒนาอาหารที่มีคุณภาพสูงและปลอดภัยจากฐานอุตสาหกรรมการเกษตรที่ทันสมัยเพื่อสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก

พันธกิจ1. พัฒนาศักยภาพของพนักงานทุกระดับ2. ปรับปรุงกระบวนการทํางานทุกขั้นตอนอยางตอเนื่อง โดยการบริหารทรัพยากรอยางมี

ประสิทธิภาพเพื่อสรางความพึงพอใจใหลูกคาและผูบริโภค

Page 47: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

36

3. ดําเนินการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหไดสินคาและบริการที่เปนเลิศ ภายใตสัญลักษณของเครือเบทาโกร

4. มีเครือขายการตลาดและการผลิตในแหลงที่สําคัญของโลก5. เสริมสรางประโยชนรวมกันในระยะยาวใหแกลูกคา คูคา พนักงาน ผูรวมทุนและผูถือ

หุนคานิยมเบทาโกร1. รูจริง คือ ดําเนินงานโดยใชแนวคิด TQM เพื่อใหเกิดทักษะความชํานาญความรอบรูและ

ความเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร2. ซื่อสัตย คือ มีความซื่อสัตย จริงใจ โปรงใส และยึดมั่นจริยธรรมในการดําเนินธุรกิจ เพื่อ

สรางความเชื่อถือและการยอมรับ3. ใสใจ คือ เนนการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกกลุมเพื่อใหธุรกิจดําเนินไปไดอยางยั่งยืน4. คิดใหม คือ กลาคิดกลาทําในสิ่งใหม ๆ สรางสรรคนวัตกรรม และปรับปรุงกระบวนการ

เพื่อเพิ่มคุณคาใหกับสินคาและบริการ5. ใฝคุณภาพ คือ ใสใจในทุกรายละเอียดของกระบวนการบริหารจัดการเพื่อสรางความ

เชื่อมั่นในคุณภาพสินคาและบริการกลุมอุตสาหกรรมเกษตร แบงออกเปน

1. ธุรกิจการเกษตร (Agribusiness) ไดแก ปศุสัตวและอาหารสัตว ในเครือเบทาโกรไดพัฒนาธุรกิจปศุสัตวมาอยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนฟารมไกพอแมพันธุ โรงฟกไข ฟารมไกเนื้อ ฟารมไกไข ฟารมสุกรพอแมพันธุ น้ําเชื้อพอพันธุสุกร ฟารมสุกรขุน ตลอดจนรวมกับเกษตรกรคูคาในโครงการประกันราคาและจางเลี้ยง โดยเนนการปฏิบัติใหสอดคลองกับมาตรฐานดานคุณภาพระดับสากล นับตั้งแตการคัดเลือกสายพันธุ ระบบการเลี้ยง ไปจนถึงการจัดการฟารมที่ทันสมัย ภายใต การควบคุมดูแลของสัตวแพทยและสัตวบาลอยางเขมงวด ในสวนของการผลิตอาหารสัตว เครือเบทาโกรสามารถตอบสนองความตองการของเกษตรกรไดอยางทั่วถึงและเปนแหลงผลิตปอนใหแกฟารมของบริษัทในเครือดวยกําลังการผลิตจากโรงงานอาหารสัตวที่กระจายอยูทั่วประเทศ

2. ธุรกิจสุขภาพสัตว (Animal Health) ไดแก อุปกรณฟารม และเวชภัณฑสําหรับสัตวเครือเบทาโกรนําความเชี่ยวชาญและประสบการณในวงการปศุสัตวมาใชในการดําเนิน ธุรกิจผลิตและจําหนายอุปกรณฟารมและบริการใหคําปรึกษาดานการติดตั้ง อุปกรณฟารมและเครื่องมือในการเลี้ยงสัตวครบวงจร ดวยฐานการผลิตเวชภัณฑและอาหารเสริมสําหรับสัตวที่ทันสมัย พรอมทีมผูเชี่ยวชาญดานการวิจัยและพัฒนา ทําใหเครือเบทาโกรสามารถกาวเปนหนึ่งในผูนําดานผลิตภัณฑและบริการเพื่อสุขภาพสัตวครบวงจรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเลี้ยงสัตวเศรษฐกิจทุกประเภท

Page 48: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

37

รวมทั้งการผลิตสินคาตามความตองการของลูกคาและพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อรอง รับการเติบโตของตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศไดอยางเพียงพอ

3. กลุมธุรกิจอาหาร ดวยความมุงมั่นทุมเทเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผูบริโภคดวยผลิตภัณฑอาหารที่สะดวกและปลอดภัย พรอมบริการที่เปนเลิศ เพื่อใหสอดคลองกับความตองการและวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปธุรกิจอาหารของเครือเบทาโกรจึงครอบคลุมผลิตภัณฑอาหารหลากหลายรูปแบบตั้งแตไขไกสด เนื้อไก เนื้อหมู อาหารพรอมปรุง อาหารพรอมรับประทาน และเครื่องปรุงรส โดยปจจุบันผลิตภัณฑอาหารภายใต 2 แบรนดหลัก ไดแก เอสเพียว (S-Pure) ผลิตภัณฑอาหารคุณภาพสูงสุดจากครือเบทาโกร ประกอบดวย เนื้อหมู เนื้อไก และไขสด ไดรับความนิยมในกลุมผูบริโภคที่เนนดานความปลอดภัยของอาหารและมีคุณภาพสูงเปนพิเศษ รวมถึงไดรับการยอมรับในตลาดตางประเทศ เบทาโกร (BETAGRO) ผลิตภัณฑคุณภาพมาตรฐานของเครือเบทาโกร ประกอบดวย เนื้อหมูอนามัย เนื้อไกอนามัย ไขไกอนามัย และผลิตภัณฑแปรรูปที่ผลิตจากเนื้อสัตวอนามัยหลากหลายรูปแบบ ทั้งอาหารพรอมปรุง อาหารพรอมรับประทาน และเครื่องปรุงรส นอกจากนี้ เครือเบทาโกรยังมีธุรกิจภัตตาคาร ไดแก รานมิยะทะเคะ ซะนุคิ อุดงรานโรมันคัง โยโกฮามา รานฮอง อะจิ ราเมน รานปอมมุ โนะคิ รานลิตเติ้ล เมอรเมด รานบีเชงเฮียง และรานเฮงขาวมันไก ขาวหมูแดง

4. กลุมธุรกิจเกี่ยวกับสัตวเลี้ยง มีการเติบโตอยางตอเนื่อง ตามแนวโนมความนิยมเลี้ยงสัตวเลี้ยงที่เพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะสุนัข แมว และปลาสวยงาม เครือเบทาโกรจึงตอบสนองความตองการของตลาดดวยการผลิตและจําหนายอาหารสัตว เลี้ยงตามประเภทและสายพันธุ ตลอดจนอาหารเสริมและผลิตภัณฑสําหรับสัตวเลี้ยง อาทิ วิตามิน แชมพู น้ํายาทําความสะอาด และอื่น ๆ ที่ชวยใหสัตวเลี้ยงมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรงและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

5. ธุรกิจอื่นๆ นอกจากธุรกิจหลักดานอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารแลว เครือเบทาโกรยังไดขยายขอบขายการดําเนินงานไปสูธุรกิจอื่น ที่สามารถรองรับธุรกิจหลักและเปนชองทางจัดจําหนายผลิตภัณฑอาหารสด อาหารพรอมปรุง และอาหารพรอมรับประทานที่หลากหลาย ไดแกรานคาสงผลิตภัณฑอาหารสําหรับผูประกอบการภัตตาคาร รานอาหาร ตลอดจนลูกคาทั่วไป และรานคาปลีกผลิตภัณฑอาหารเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคที่หลากหลาย บริการทดสอบทางหองปฏิบัติการ ภายใตชื่อ “ศูนยวิทยาศาสตรเบทาโกร” สามารถใหบริการวิเคราะหและทดสอบทางหองปฏิบัติการเพื่อควบคุมคุณภาพของการผลิตตลอดหวงโซอาหาร การพัฒนาที่ดินและ รีสอรท โดยมีโครงการ“ปาสักฮิลลไซดฟอรเรส” ซึ่งเปนที่ตั้งของสวนปาสักและรีสอรท ชื่อ “ปาสัก ฮิลลไซด รีสอรท” ที่อําเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรีเพื่อรองรับนักทองเที่ยวและการจัดประชุมสัมมนา

2.6 งานวิจัยที่เกี่ยวของ

Page 49: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

38

สินีนารถ ศรีสรสิทธิ์และรัตนา ปานเรียนแสน (2558) ไดทําการวิจัย เรื่องความสัมพันธระหวางความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมดูแลสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร ผลจากการวิจัยพบวา นักศึกษาสวนใหญมีระดับความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอยูในระดับดี มีทัศนคติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอยูในระดับดี และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยูในระดับปานกลาง และความรูมีความสัมพันธกับทัศนคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ อยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01(r = 0.479 และ 0.244 ตามลําดับ) ทัศนคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ อยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (r = 0.325)

ตวงพร กตัญุตานนท (2556) ไดทําการวิจัย เรื่องภาวะโภชนาการและพฤติกรรม 3อ.ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน ผลการวิจัย พบวา อสม.มีภาวะโภชนาการตามคาดัชนีมวลกายอยูในภาวะน้ําหนักเกิน รอยละ 22.26 ภาวะอวน รอยละ 45.80 อยูในภาวะอวนลงพุงรองละ 70.65 มีคาเฉล่ียคะแนนความรูเกี่ยวกับพฤติกรรม 3อ.อยูในระดับสูงและมีคาเฉลี่ยพฤติกรรม 3อ. อยูในระดับปานกลาง รอยละ 55.16 ไดรับปริมาณพลังงานจาการบริโภคอาหารตอวันเกินเกณฑมาตรฐาน ความรูเกี่ยวกับพฤติกรรม 3อ.และพฤติกรรม 3อ.ไมมีความสัมพันธกับภาวะโภชนาการตามคาดัชนีมวลกายและตามเกณฑอวนลงพุง แตปริมาณพลังงานที่ไดรับจากการบริโภคตอวันมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับภาวะโภชนาการตามคาดัชนีมวลกายและตามเกณฑอวนลงพุง และยังพบวาพฤติกรรมการเติมเครื่องปรุงรสในอาหาร การออกกําลังกายตอเนื่องอยางนอยวันละ 30นาที และการนั่งๆนอนๆ ดูโทรทัศน มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติกับภาวะโภชนาการตามคาดัชนีมวลกาย การกินผลไมวันละ 2-3 สวน การหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ กับภาวะโภชนาการตามเกณฑอวนลงพุงของ อสม.

สุวรรณา เชียงขุนทดและคณะ (2556) ไดทําการวิจัย เรื่อง ความรู และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษีเจริญ ผลจากการวิจัย พบวาพฤติกรรมผูบริโภคสวนใหญมีคะแนนความรูเกี่ยวกับการบริโภคอาหารอยูในระดับปานกลางเปนผูที่ไดคะแนนระหวาง 6-7.9 คะแนน คิดเปนรอยละ 64.5 รองลงมาอยูในระดับดีเปนผูที่ไดคะแนนมากกวา 8 รอยละ23.4 และระดับต่ําเปนผูที่ไดคะแนนนอยกวา 60 รอยละ12.1 ตามลําดับ ในสวนของพฤติกรรมบริโภคอาหารอยูในระดับปานกลางเปนผูที่ไดคะแนนระหวาง 0.67 – 1.33 คะแนน คิดเปนรอยละ 53.2 รองลงมาอยูในระดับดีเปนผูที่ไดคะแนนระหวาง 0.67 – 1.33 คะแนน รอยละ46.8 แตไมมีผูที่ไดคะแนนระดับต่ําในสวนของคะแนนเจตคติมีคาเฉลี่ยอยูที่ 2.3743 (S.D. 0.49698) สวนใหญอยูในระดับปานกลางเปนผูที่ไดคะแนนระหวาง 2.34 – 3.66 คะแนน คิดเปนรอยละ 63.3 รองลงมาอยูในระดับต่ําเปนผูที่ไดคะแนน1.00 – 2.33 รอยละ 35.7และระดับดีเปนผูที่ไดคะแนน 3.67 – 5.00 รอยละ1 ตามลําดับ ในขณะที่

Page 50: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

39

อิทธิพลจากสื่อสารมวลชนในการบริโภคอาหารอยูในระดับมากมีคะแนน1.34 – 2.00 คิดเปนรอยละ13.5 รองมาคือไดรับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนอยูในระดับปานกลาง (คะแนน0.67 – 1.33) คิดเปนรอยละ29.8และไดรับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนอยูในระดับนอย (คะแนน < 0.66 ) คิดเปนรอยละ56.7 ปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยางมีนัยสําคัญทางสถิติไดแก ความรูเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและเจตคติตอการบริโภคอาหาร สวนอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหารไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

อังศินันท อินทรกําแหง (2556) ไดทําการวิจัยเรื่อง การสังเคราะหและการพัฒนาดัชนีวัดความรอบรูดานสุขภาพของคนไทย ผลวิจัยพบวา 1.คาดัชนีวัดความรอบรูดานสุขภาพอยูในระดับดีในชวง 0.326-0.861 2.กลุมตัวอยางสวนใหญมีระดับความรอบรูดานสุขภาพโดยรวมอยูในระดับพอใชได โดยโนมเอียงไปในระดับไมดีพอคิดเปนรอยละ 72.0 และมีผลลัพธทางสุขภาพดานการคงดูแลรักษาสุขภาพที่ดีและมีสวนรวมกิจกรรมสุขภาพทางสังคมอยูในระดับที่ไมดีพอเปนสวนใหญคิดเปนรอยละ 53.5 รองลงมาเปน ระดับพอใช และระดับดีมาก คิดเปนรอยละ 44.7 และ 1.8 ตามลําดับ 3.ผลทดสอบรูปแบบเสนทางอิทธิพลตามสมมติฐานมีความสอดคลองกับขอมูลเชิงประจักษดวยคาสถิติยืนยัน ChiSquare=27.48, df=7, p-value=0.0027, RMSEA=.032 พบวา การมีสวนรวมกิจกรรมสุขภาพทางสังคมไดรับอิทธิพลทางตรงจากการคงดูแลรักษาสุขภาพตนเอง และไดรับอิทธิพลรวมจาก 3 เสนทางหลัก เสนทางที่1 เริ่มตนมาจาก การที่บุคคลมีความรูความเขาใจทางสุขภาพสงผานมายัง การจัดการเงื่อนไขทางสุขภาพการรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ และการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกตอง ดวยน้ําหนักอิทธิพลเทากับ 0.49 0.46 0.24 และ0.13 ตามลําดับ สวนเสนทางที่ 2 เริ่มจากการเขาถึงขอมูลและบริการสงตอมายังการสื่อสารเพิ่มความเชี่ยวชาญ การจัดการเงื่อนไขทางสุขภาพ รูเทาทันสื่อและสารสนเทศ และการตัดสินใจเลือกปฏิบัติที่ถูกตองดวยน้ําหนักอิทธิพลเทากับ 0.71 0.87 0.46 0.24 และ0.03 ตามลําดับ และเสนทางที่3 เริ่มจากการเขาถึงขอมูลและบริการสงตรงมายังรูเทาทันสื่อและสารสนเทศ ดวยน้ําหนักอิทธิพลเทากับ 0.23 0.70 ตามลําดับ

อัญฐิริมา พิสัยพันธและจรรยา ภัทรอาชาชัยและกัณฑวีร วิวัฒนพาณิชย (2556) ไดทําการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธของปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพในกลุมผูใหญ ผลการวิจัย พบวา ปจจัยที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการบริโภค ไดแก เพศหญิง การประกอบอาชีพเปนกลุมอาชีพที่ไมตองใชแรงงาน ครอบครัวที่มีโรคที่สามารถถายทอดไดทางพันธุกรรม มีโรคประจําตัว การมีทัศนคติที่ดีและรานคาครบวงจรที่สะดวกตอการซื้ออาหารโดยมีคา ORเปน 0.51 2.46 1.86 1.66

Page 51: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

40

2.38 ตามลําดับ ปจจัยที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการออกกําลังกายพบวา สถานภาพโสด ครอบครัวมีประวัติโรคที่สามารถถายทอดไดทางพันธุกรรม การมีโรคประจําตัว ผูที่เคยมีสวนรวมกิจกรรมการออกกําลังกายในอดีต และ พบวา คนใกลตัวหรือสมาชิกในครอบครัวเปนปจจัยเสริมที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมการออกกําลังกายและลักษณะการออกกําลังกายโดยการมีเพื่อรวมกิจกรรม ไมไดออกกําลังกายคนเดียว เปนอีกหนึ่งปจจัยที่แสดงความสัมพันธ โดยมีคา OR เปน 2.35 1.15 1.22 1.72 2.14 6.77 ตามลําดับ เพศหญิงเปนปจจัยที่มีความสัมพันธตอพฤติกรรมการจัดการความเครียด สวนปจจัยที่สัมพันธกับการจัดการความเครียดอื่นที่พบ ไดแก คนที่อยูในครอบครัวที่ไมมีโรคถายทอดไดทางพันธุกรรม การมีสถานที่เพื่อเปนที่ผอนคลายความเครียดในชุมชน และการไดระบายความทุกขใหบุคคลใกลตัวฟง โดยคา OR เปน 2.88 2.27 1.79 27.9 ตามลําดับ

มงคล การุณงามพรรณและสุดารัตน สุวารีและนันทนา น้ําฝน (2555) ไดทําการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของคนทํางานในสถานประกอบการเขตเมืองใหญ พื้นที่ เขตสาทร กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัย พบวา เปนเพศหญิง อยูในวัยผูใหญตอนตน อายุ 21-40ป จบการศึกษาระดับปริญญาตรี พักอาศัยอยูนอกเขตสาทร ลักษณะงานที่ทํามากที่สุดคือ งานที่มีการเคลื่อนไหวเดินไปมาบางเล็กนอย พฤติกรรมสุขภาพของกลุมตัวอยาง พบวา สวนใหญไมสูบบุหรี่และไมดื่มสุรา พฤติกรรมการดูแลสุขภาพ พบวา พฤติกรรมดานสัมพันธภาพระหวางบุคคล ดานการพัฒนาจิตวิญญาณ ดานการจัดการกับความเครียด ดานโภชนาการและดานความรับผิดชอบตอสุขภาพ มีคะแนนเฉลี่ยอยูในระดับดี สวนพฤติกรรมสุขภาพดานการออกกําลังกายมีคะแนนเฉลี่ยนอยที่สุด จัดอยูในระดับพอใช จากการตรวจรางกาย พบวา มีดัชนีมวลกายอยูในระดับปกติ เพศหญิงมีสัดสวนการมีปญหาสุขภาพจิตสูงกวาเพศชายเล็กนอย

สุรินทร สีระสูงเนินและดํารงค สีระสูงเนินและชีวี เชื้อมาก (2554) ไดทําการวิจัยเรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ แบบพอเพียงดวยภูมิปญญาทองถิ่น ตําบลหนองชัยศรี อําเภอหนองหงส จังหวัดบุรีรัมย ผลการวิจัยพบวากลุมเสี่ยง จํานวน 84 รายติดตามตอเนื่องในปที่ 2 กลุมเสี่ยงที่ติดตามไดจํานวน 75 ราย มีคาเฉลี่ย BMI ลดลง รอยละ 88 เขาสูเกณฑปกติ รอยละ 65.15 รอบเอวลดลง รอยละ 85.33 เขาสูระดับปกติ รอยละ 71.88 ระดับน้ําตาลในกระแสเลือดลดลงรอยละ 89.67 เขาสูระดับปกติ รอยละ 97.30 ระดับความดันโลหิตชวงบนลดลง รอยละ 86.67 ลดลงเขาสูระดับปกติ รอยละ 83.03 ระดับความดันโลหิตชวงลางลดลง รอยละ 90.67 เขาสูภาวะปกติรอยละ 86.57 เมื่อทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยตัวแปรทุกตัว พบวา คาเฉลี่ย BMI และ รอบเอว มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05 ทําใหเห็นวาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตาม

Page 52: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

41

หลัก 3อ.แบบพอเพียงดวยภูมิปญญาทองถิ่นเปน กลยุทธที่ดีสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงโดยการมีสวนรวมของครอบครัว และชุมชนเปนฐานภายใตบริบทและภูมิปญญาของทองถ่ินมาปรับใช

อภิญญา บานกลางและเบญจา มุกตพันธุ (2554) ไดทําการวิจัย เรื่อง ทัศนคติดานการปองกันโรคเบาหวาน ของพนักงานราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภาวะกอนเบาหวานในพื้นที่อําเภอเมือง จังหวัดขอนแกน ผลจากการวิจัยพบวา กลุมตัวอยางมีคะแนนทัศนคติรวมทุกดานอยูในระดับสูงรอยละ 65 เมื่อพิจารณารายดานพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ (รอยละ 76) มีทัศนคติดานการออกกําลังกายระดับสูง กลุมตัวอยางมีทัศนคติดานการรับประทานอาหาร และการควบคุมน้ําหนักในระดับสูงรอยละ 58 และ 51 โดยทัศนคติรายขอที่ไมสงเสริมการปองกันโรคเบาหวาน พบวากวารอยละ 40 ของกลุมตัวอยางรูสึกไมมีความสุขที่ตองควบคุมอาหาร รูสึกไมพอใจถาหามไมใหรับประทานอาหารที่ชอบ และเห็นวาการรับประทานอาหารหวาน มัน ทอดนานๆ ครั้งคงไมทําใหอวน และหนึ่งในสามของกลุมตัวอยางเห็นวาหากตองควบคุมน้ําหนักจะไมไดรับประทานอาหารที่ชอบ กลาวโดยสรุป กลุมตัวอยางที่มีภาวะกอนเบาหวานมีทัศนคติที่ดีดานการออกกําลังกายเพื่อปองกันโรคเบาหวาน แตยังมีทัศนคติที่ไมสงเสริมการปองกันโรคเบาหวานดานการรับประทานอาหาร และการควบคุมน้ําหนัก ดังนั้น ควรมีกิจกรรมใหกลุมตัวอยางเกิดความตระหนักเพื่อนําไปสูการปรับทัศนคติที่ดีดานการรับประทานอาหารและการควบคุมน้ําหนักเพื่อปองกันโรคเบาหวาน

สุวภา พรหมมี (2552) ไดทําการวิจัย เรื่อง ความรู ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและการสงเสริมสุขภาพของขาราชการตํารวจ ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค 8 ผลจากการวิจัยพบวาขาราชการตํารวจที่มีชวงอายุ ระดับการศึกษา ลักษณะของงานที่ปฏิบัติ รายไดเฉลี่ยตอเดือนลักษณะครอบครัว และแหลงใหขาวสารความรูเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและสงเสริมสุขภาพแตกตางกัน มีความรู มีเจตคติ และมีพฤติกรรมการบริโภคไมแตกตางกัน ซึ่งไมเปนไปตามสมมติฐาน ยกเวนขาราชการตํารวจที่มีอายุราชการ แตกตางกัน มีความรู มีเจตคติ ไมแตกตางกัน แตมีพฤติกรรมการบริโภค แตกตางกัน ซึ่งเปนไปตามสมมติฐาน

Page 53: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

42

2.7 กรอบแนวคิดในการวิจัยจากการศึกษาทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของ และขอมูลพื้นฐาน ผูวิจัยสามารถกําหนด

กรอบแนวคิดของการวิจัย ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) โดยประยุกตแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของโอเรม (Orem 1980 อางถึงใน ศิริพร เทพสูตรและปฏิภาส สาแช 2557) และการปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ซึ่งประกอบดวย อาหาร อารมณ ออกกําลังกาย ไมสูบบุหรี่และไมดื่มสุรา ผูวิจัยไดนํามาเปนแนวทางในการกําหนดตัวแปรที่ใชประกอบในการวิจัยดังนี้

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัยเรื่อง ความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

ปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร

1. เพศ

2. อายุ

3. สถานภาพ

4. แผนกงาน

5. รายไดตอเดือน

6. ระดับการศึกษา

7. ศาสนา

8.ดัชนีมวลกายปจจุบัน

พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

ตัวแปรตาม (Dependent Variables)ตัวแปรตน (Independent Variables)

ความรูสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

เจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

Page 54: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

43

2.8 ตัวแปรที่ใชในการวิจัยการกําหนดตัวแปรที่ใชในการศึกษา ซึ่งแบงออกเปน 2 ประเภท คือตัวแปรอิสระ( Independent Variables) คือ ปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตรของ

นักศึกษา ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส แผนกงาน รายไดตอเดือน ระดับการศึกษา ศาสนา และดัชนีมวลกายปจจุบัน (Body Mass Index, BMI)

ตัวแปรตาม (Dependent Variables) คือ ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด

2.9 สมมติฐานในการวิจัย การศึกษาความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทา-โกร จํากัด (มหาชน) แตกตางกันตามปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร ผูวิจัยไดนําแนวความคิดและงานวิจัยที่เกี่ยวของกําหนดสมมติฐานการวิจัยดังนี้

สมมติฐานที่ 1 พนักงานเบทาโกรที่มีปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร ตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน

สมมติฐานที่ 2 ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส มีความสัมพันธกัน

2.10 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ2.10.1 บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) คือ บริษัทกลุมอุตสาหกรรมเกษตรการเกษตร แบง

ได 5 ประเภทธุรกิจ ดังนี้ ธุรกิจการเกษตร (Agribusiness) ไดแก ปศุสัตวและอาหารสัตว ธุรกิจสุขภาพสัตว (Animal Health) เชน อุปกรณฟารม และเวชภัณฑสําหรับสัตว กลุมธุรกิจอาหาร กลุมธุรกิจเกี่ยวกับสัตวเลี้ยง และธุรกิจอื่นๆ

2.10.2 ปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตรหมายถึง สถานภาพสวนบุคคลของพนักงาน เบทาโกร ไดแก เพศ อายุ สถานภาพ แผนกงาน รายไดตอเดือน ระดับการศึกษา ศาสนา ดัชนีมวลกายปจจุบัน (Body Mass Index, BMI)

2.10.3 ความรูสุขภาพตามหลัก 3อ2ส คือ ความรูในการปฏิบัติตนทางดานสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ดานคืออาหาร ออกกําลังกาย อารมณ ไมสูบบุหรี่และไมดื่มสุรา

2.10.4 เจตคติตอสุขภาพตามหลัก 3อ2ส คือ เจตคติในการปฏิบัติตนทางดานสุขภาพที่ดี ทั้ง 5 ดานคืออาหาร ออกกําลังกาย อารมณ ไมสูบบุหรี่และไมดื่มสุรา

Page 55: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

44

2.10.5 พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส คือ การดูแลสุขภาพ ปองกันโรคของตนเองโดยใชหลัก 3อ2ส ดังตอไปนี้ อ.อาหาร ดวยการเลือกรับประทานอาหารที่มีสารอาหารครบทั้ง 5 หมู เนนผักผลไมที่มีกากใยสูงๆควรรับประทานอาหารปรุงสุกใหม หลีกเลี่ยงอาหารสุกๆดิบๆ อาหารคางคืน อาหารที่มีรสจัด อาหารหมักดอง และดื่มน้ําที่สะอาด อ.ออกกําลังกาย ควรออกกําลังกายใหรางกายแข็งแรงอยางนอยสัปดาหละ 3 วันๆ ละ 30 นาที อ.อารมณ ทําจิตใจใหแจมใสอยูเสมอ หาวิธีคลายเครียด หรือทํากิจกรรมรวมกับครอบครัว รวมทั้งควรพักผอนใหพอเพียงวันละ 6-8 ชั่วโมง ไมสูบบุหรี่ ไมดื่มสุรา

Page 56: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

45

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัยการศึกษา ความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทา-

โกร จํากัด (มหาชน) เปนการวิจัยเชิงปริมาณโดยใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวม

ขอมูล แลวนําขอมูลดังกลาวมาวิเคราะหและสังเคราะห ซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังนี้

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

3.2 เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล

3.4 การวิเคราะหขอมูล

3.5 สถิติที่ใชในการวิจัย

3.1 ประชากร และกลุมตัวอยาง

3.1.1 ประชากร

ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดแก พนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) จํานวน

1,083 คน

3.1.2 กลุมตัวอยาง

ผูวิจัยไดดําเนินการคํานวณกลุมตัวอยาง (Sample) และคัดเลือกกลุมตัวอยางดังตอไปนี้

3.1.2.1 ในการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยาง จากจํานวน 1,083 คน พนักงาน บริษัท เบทา-

โกร จํากัด (มหาชน) โดยกําหนดจํานวนตัวอยางที่ใชในการศึกษาโดยใชสูตรของ Taro Yamane ที่

ระดับความเชื่อมั่นเทากับรอยละ 95 คาความคลาดเคลื่อนหรือผิดพลาดที่ยอมรับไดไมเกินรอยละ 5

หรือที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 ไดขนาดของกลุมตัวอยางจากสูตร Taro Yamane (1967) ดังนี้

สูตร =

เมื่อ n = ขนาดของกลุมประชากรตัวอยาง

Page 57: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

46

N = ขนาดของประชากร

e = คาความคลาดเคลื่อนของการสุม

สําหรับการวิจัยครั้งนี้ไดกําหนดสัดสวนของประชากรเทากับ 1,083 คน และยอมให

คลาดเคลื่อนจากการเปนตัวแทนของประชากรไดไมเกินรอยละ 5

แทนคาในสูตร n = 1,083/(1+1,083 (0.05)2)

n = 292.111

จากการคํานวณไดขนาดของกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้อยางนอย 292 คนใชวิธี

แบบสะดวก (Convenience Sampling) เพื่อใหไดตัวอยางที่ระดับความเชื่อมั่นรอยละ 95 และเพื่อ

ปองกันความผิดพลาดที่จะเกิดขึ้นไดจากความไมครบถวนสมบูรณของแบบสอบถาม ดังนั้น ผูวิจัย

จึงกําหนดกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาครั้งนี้มีจํานวน 300 คน

3.2 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูล

3.2.1 การสรางแบบสอบถาม

เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ เปนแบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งผูวิจัยไดปรับปรุง

ขึ้นเพื่อเปนเครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูลซึ่งมีรายละเอียดของขั้นตอนในการสรางเครื่องมือ

ประกอบ ดวย 4 สวน ดังนี้

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคล จํานวน 8 ขอไดแก เพศ อายุ สถานภาพ แผนกงาน รายไดตอ

เดือน ระดับการศึกษา ศาสนา น้ําหนัก สวนสูง ดัชนีมวลกายปจจุบัน(Body Mass Index ,BMI) ซึ่ง

แบบสอบถามมีลักษณะเปนคําถามปลายปดแบบเลือกตอบเพียงขอเดียวและขอมูลที่ไดมานั้นจะ

ประมวลผลในลักษณะการแจกแจงความถ่ี คาเฉลี่ย และคารอยละ

สวนที่ 2 ความรูทางสุขภาพที่ถูกตอง เกี่ยวกับหลักปฏิบัติตน ซึ่งแบบสอบถามลักษณะเปน

คําถามวัดความรู แบบเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว จํานวน 15 ขอ

โดยใชเกณฑการใหคะแนนดังนี้

ตอบถูก ให 1 คะแนน

ตอบผิด ให 0 คะแนน

Page 58: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

47

เกณฑการแบงระดับความรูใชเกณฑรอยละของคะแนนเต็ม (คะแนนรวม) จัดคะแนนใน

ภาพรวมไดเปน 3 กลุม ดังนี้ (อางอิงในกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวง

สาธารณสุข, 2556)

คะแนนรวม 10-15 คะแนน ระดับคะแนนสูง หมายถึง ความรูทางสุขภาพระดับสูง

คะแนนรวม 5 – 10 คะแนน ระดับคะแนนปานกลาง หมายถึง ความรูทางสุขภาพระดับปานกลาง

คะแนนรวม 1- 5คะแนน ระดับคะแนนต่ํา หมายถึง ความรูทางสุขภาพระดับต่ํา

สวนที่ 3 เจตคติตอหลัก 3อ2ส จํานวน 15 ขอ มีลักษณะเปนแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือก คือ

เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง โดยใชเกณฑในการให

คะแนนดังนี้

ความคิดเห็น การใหคะแนน

เห็นดวยอยางยิ่ง 4

เห็นดวย 3

ไมแนใจ 2

ไมเห็นดวย 1

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง 0

สําหรับเกณฑบงชี้ระดับเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในภาพรวมไดเปน 3 กลุม ดังนี้ (อางอิงใน

กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2556)

คะแนนเฉลี่ย ≥ 80 % (≥ 3 คะแนน) เจตคติระดับดี

คะแนนเฉลี่ย 50 – 79 % (2.00 – 2.99 คะแนน) เจตคติระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย < 50 % (< 2.00 คะแนน) เจตคติระดับไมดี

Page 59: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

48

สวนที่ 4 พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จํานวน 15 ขอ มีลักษณะเปน แบบเลือกตอบ 5

ตัวเลือก โดยใชเกณฑในการใหคะแนนดังนี้

คําตอบ การใหคะแนน

6-7 วัน/สัปดาห 4

4-5วัน/สัปดาห 3

3วัน/สัปดาห 2

1-2 วัน/สัปดาห 1

ไมปฏิบัติ 0

สําหรับเกณฑบงชี้ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในภาพรวมไดเปน 3 กลุม ดังนี้ (อางอิง

ในกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2556)

คะแนนเฉลี่ย ≥ 80 % (≥ 3 คะแนน) พฤติกรรมระดับดี

คะแนนเฉลี่ย 50 – 79 % (2.00 – 2.99 คะแนน) พฤติกรรมระดับปานกลาง

คะแนนเฉลี่ย < 50 % (< 2.00 คะแนน) พฤติกรรมระดับไมดี

3.3 การรวบรวมขอมูล

3.3.1 ทําหนังสือจากมหาวิทยาลัยเกริก ขอความรวมมือเก็บรวบรวมขอมูลพนักงาน

บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

3.3.2 ติดตอประสานงานกับแผนกบุคคล และหัวหนางาน เพื่อดําเนินการชี้แจงการเก็บ

รวบรวมขอมูล

3.3.3 ผูวิจัยไดทําการรวบรวมขอมูลในการศึกษาวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey

Research) แบงไดเปน 2 ประเภท ตามหลักจําแนกตามวิธีการดังนี้

Page 60: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

49

1. ขอมูลปฐมภูมิ (Primary data) รวบรวมขอมูลจากการเก็บแบบสอบถามจากพนักงาน

บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) ในลักษณะปลายปดของกลุมตัวอยาง จํานวนทั้งหมด 300 ชุด โดย

ผูวิจัยจะดําเนินการสงแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางพรอมทั้งชี้แจงวัตถุประสงคของการทําวิจัย

ตลอดจนลักษณะของแบบสอบถามใหกลุมตัวอยางทราบเพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน

2. ขอมูลทุติยภูมิ (Secondary data) เปนขอมูลที่ใชในการทําวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดทําการ

รวบรวมศึกษาคนควาจากเอกสารทางวิชาการวารสาร บทความ และงานวิจัยที่เกี่ยวของและสืบคน

ขอมูลที่เผยแพรในเว็บไซดตางๆ จากอินเตอรเน็ต เพื่อใชเปนแนวทางในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้

โดยผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลการศึกษาวิจัยครั้งนี้อยางเปนขั้นตอน โดยมีรายละเอียด

ดังนี้

ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามไปเก็บขอมูลจากกลุมตัวอยางดวยตนเองจํานวน 300 ชุดโดยทํา

การเก็บขอมูลที่ บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) สํานักงานใหญ นอรทปารคและในการตอบ

แบบสอบถาม ผูวิจัยไดดําเนินดูแลและควบคุม รวมถึงการอธิบายรายละเอียดที่ผูตอบแบบสอบถาม

สงสัยดวยตนเอง และเมื่อไดรับแบบสอบถามแลว และผูวิจัยดําเนินการตรวจสอบความสมบูรณ

ของการตอบ เพื่อนําขอมูลไปวิเคราะหทางสถิติตอไป

3.4 การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่รวบรวมมาจนครบ 300 ชุด แลววามีครบ

สมบูรณถูกตองเรียบรอย โดยมีการประมวลผลขอมูลดังนี้

3.4.1 การตรวจสอบขอมูล (Editing) เปนการตรวจสอบความสมบูรณขอมูลในการตอบ

แบบสอบถามที่ไดจากกลุมตัวอยาง

3.4.2 การลงรหัส (Coding) เปนการนําแบบสอบถามที่ตรวจสอบความถูกตองเรียบรอย

แลวมาลงรหัสตามที่ไดกําหนดรหัสไว

3.4.3 การประมวลผลขอมูล (Processing) เปนการนําขอมูลที่ไดจากการลงรหัสมาบันทึก

ลงในเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ

Page 61: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

50

3.5 สถิติที่ใชในการวิจัย

ผูวิจัยทําการวิจัยเรื่องพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร

จํากัด (มหาชน) โดยเลือกใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

3.5.1 สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ไดแก ความถี่ (frequency) คารอยละ

(Percentage) คาสูงสุด (Maximum) คาต่ําสุด (Minimum) คาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบน

มาตรฐาน (Standard Deviation)

3.5.2 สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics)

3.5.2.1 วิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงกลุม 2 ลักษณะ คือ ลักษณะทาง

ประชากรศาสตรของพนักงานเบทาโกรไดแก เพศ อายุ สถานภาพ แผนกงาน รายไดตอเดือน ระดับ

การศึกษา ศาสนา ดัชนีมวลกายปจจุบัน กับ ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส โดย

ใชสถิติทดสอบ chi-square

3.5.2.2 วิเคราะหความสัมพันธ (Correlation) ระหวางตัวแปรเชิงปริมาณ คือ

ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก3อ2ส โดยใชสถิติทดสอบ Pearson Correlation

Page 62: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

51

บทที่ 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเรื่อง ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส และปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) จําแนกตามปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร จากการตอบแบบสอบถามของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) จํานวน 300 คน และนําผลที่ไดมาวิเคราะหและประเมินผลโดยโปรแกรมสําเร็จรูป การนําเสนอขอมูลผูวิจัยไดแบงการนําเสนอผลการวิจัยออกเปน 3 สวน ดังน้ี

สวนที่ 1 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตรสวนที่ 2 ผลการวิเคราะหความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตาม หลัก 3อ2ส ของ

พนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)สวนที่ 3 ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อความเขาใจในการแปลความหมายผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณที่ใชในการวิเคราะห

ขอมูลดังนี้x̄ แทนคาเฉลี่ยS.D. แทนคาเบี่ยงเบนมาตรฐานN แทนขนาดของกลุมตัวอยางc แทนคาสถิติทดสอบ chi-squarer แทนคาสถิติทดสอบ Correlation CoefficientSig. หมายถึงคาความนาจะเปนที่คํานวณไดจากคาสถิติที่ใชในการทดสอบ สมมติฐาน

4.1 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร

ผูวิจัยไดนําแบบสอบถามที่สามารถทําการวิเคราะหขอมูลไดจํานวน 300 ชุด ตามขอมูล

ปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตรของผูตอบแบบสอบถามไดแก เพศ อายุ สถานภาพ แผนกงาน

รายไดตอเดือน ระดับการศึกษา สวนสูง น้ําหนัก ดัชนีมวลกาย ศาสนา โดยหาคารอยละ เพื่อความ

สะดวกในการพิจารณาจึงไดนําเสนอในรูปตารางและบรรยายประกอบ ดังนี้

Page 63: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

52

ตารางที่ 4.1.1 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามเพศ

เพศ จํานวน (คน) รอยละชาย 83 27.70หญิง 217 72.30รวม 300 100.00

จากตารางที่ 4.1.1 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามเพศ พนักงานสวนใหญเปน เพศหญิง จํานวน 217 คน คิดเปนรอยละ 72.30 และเปนเพศชาย จํานวน 83 คน คิดเปนรอยละ 27.70

ตารางที่ 4.1.2 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน(คน) รอยละนอยกวา 25 ป 34 11.3325 - 29 ป 111 37.0030 - 34 ป 82 27.3335 – 40 ปขึ้นไป 73 24.34รวม 300 100.00x̄ = 31.16 ป max = 58 ป min = 22 ป

จากตารางที่ 4.1.2 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามอายุ พนักงานสวนใหญมีอายุประมาณ 25 - 29 ป จํานวน 111 คน คิดเปนรอยละ 37.00 รองลงมามีอายุประมาณ 30 - 34 ป จํานวน 82 คน คิดเปนรอยละ 27.33 มีอายุประมาณ 35 - 40 ปขึ้นไป จํานวน 73 คน คิดเปนรอยละ 24.34 มีอายุประมาณ นอยกวา 25 ป จํานวน 34 คน คิดเปนรอยละ 11.33 ตามลําดับ และมีอายุสูงสุด 58 ปและมีอายุนอยที่สุด 22 ป และมีอายุเฉลี่ย 31.16 ป

Page 64: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

53

ตารางที่ 4.1.3 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามสถานภาพ

สถานภาพ จํานวน(คน) รอยละโสด 226 75.30สมรส 67 22.30หมาย/หยา/แยก 7 2.40รวม 300 100.00

จากตารางที่ 4.1.3 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามสถานภาพ พนักงานสวนใหญสถานภาพโสด จํานวน 226 คน คิดเปนรอยละ 75.30 รองลงมาสถานภาพสมรส จํานวน 67 คน คิดเปนรอยละ 22.30 ลําดับสุดทายสถานภาพหมาย/หยา/แยก จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 2.40

ตารางที่ 4.1.4 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามแผนกงาน

แผนก จํานวน (คน) รอยละจัดซื้อ 73 24.30ทรัพยากรบุคคล 50 16.70บัญชี 48 16.00การเงิน 40 13.30อาคาร 15 5.00การตลาด 29 9.70อื่นๆ 45 15.00รวม 300 100.00

จากตารางที่ 4.1.4 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามแผนกงาน พนักงานสวนใหญแผนกจัดซื้อ จํานวน 73 คน คิดเปนรอยละ 24.30 รองลงมาอยูแผนกทรัพยากรบุคคล จํานวน 50 คน คิดเปนรอยละ 16.70 และแผนกบัญชี จํานวน 48 คน คิดเปนรอยละ 16.00 ตามลําดับ

Page 65: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

54

ตารางที่ 4.1.5 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน จํานวน (คน) รอยละต่ํากวา 20,000 77 25.6720,001-29,999 บาท 89 29.6630,000 บาทขึ้นไป 134 44.67รวม 300 100.00

จากตารางที่ 4.1.5 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกรจําแนกตามรายไดตอเดือน พนักงานสวนใหญมีรายไดตอเดือน 30,000 บาทขึ้นไป จํานวน 134 คน คิดเปนรอยละ 44.67 รองลงมาคือรายไดตอเดือนอยูระหวาง 20,001-29,999 บาท จํานวน 89 คน คิดเปนรอยละ 29.66 และอันดับสุดทายคือรายไดตอเดือนต่ํากวา 15,000-20,000 บาท จํานวน 77 คน คิดเปนรอยละ 25.67

ตารางที่ 4.1.6 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับการศึกษา จํานวน (คน) รอยละต่ํากวาปริญญาตรี 10 3.33ปริญญาตรี 226 75.33ปริญญาตรีขึ้นไป 64 21.34รวม 300 100.00

จากตารางที่ 4.1.6 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกรจําแนกตามระดับการศึกษาพนักงานสวนใหญมีระดับการศึกษาปริญญาตรี จํานวน 226 คน คิดเปนรอยละ 75.33 รองลงมามีระดับการศึกษาปริญญาโทขึ้นไป จํานวน 64 คน คิดเปนรอยละ 21.34 อันดับสุดทายคือระดับการศึกษาต่ํากวาปริญญาตรี จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 3.33

Page 66: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

55

ตารางที่ 4.1.7 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามสวนสูง

สวนสูง (เซนติเมตร) จํานวน (คน) รอยละนอยกวา 155 26 8.67155 - 164 138 46.00165 - 174 104 34.67175 ขึ้นไป 32 10.66รวม 300 100.00x̄ = 163.87 Max = 185 Min = 145

จากตารางที่ 4.1.7 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกรจําแนกตามสวนสูง พนักงานสวนใหญมีระดับสวนสูงประมาณ 155 - 164 เซนติเมตร จํานวน 138 คน คิดเปนรอยละ 46.00 รองลงมามีระดับสวนสูงประมาณ 165 - 174 เซนติเมตร จํานวน 104 คน คิดเปนรอยละ 34.67 และมีระดับสวนสูง 175 เซนติเมตร ขึ้นไป จํานวน 32 คน คิดเปนรอยละ 10.66 ตามลําดับและมีสวนสูงมากที่สุด 185 เซนติเมตร และมีสวนสูงนอยที่สุด 145 เซนติเมตรและมีสวนสูงเฉลี่ย 161.87 เซนติเมตร

ตารางที่ 4.1.8 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามน้ําหนัก

น้ําหนัก (กิโลกรัม) จํานวน (คน) รอยละนอยกวา 50 72 24.0050 - 54 54 18.0055 - 59 51 17.0060 - 64 36 12.0065 - 69 36 12.0070 ขึ้นไป 51 17.00รวม 300 100.00x̄ = 58.69 Max =100 Min = 40

จากตารางที่ 4.1.8 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกรจําแนกตามน้ําหนักพนักงานสวนใหญมีน้ําหนักนอยกวา 50 กิโลกรัม จํานวน 72 คน คิดเปนรอยละ 24.00 รองลงมามีน้ําหนักระหวาง 50 - 54 กิโลกรัม จํานวน 54 คน คิดเปนรอยละ 18.00 และมีน้ําหนักระหวาง

Page 67: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

56

55 - 59 กิโลกรัม จํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 17.00 มีน้ําหนัก 70 กิโลกรัม ขึ้นไปจํานวน 51 คน คิดเปนรอยละ 17.00 ตามลําดับ และมีน้ําหนักสูงที่สุด 100 กิโลกรัม และมีน้ําหนักนอยที่สุด 40 กิโลกรัม และมีน้ําหนักเฉลี่ย 58.69 กิโลกรัม

ตารางที่ 4.1.9 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามดัชนีมวลกาย (BMI)

ดัชนีมวลกาย (BMI) (kg/m2) จํานวน (คน) รอยละน้ําหนักนอย 45 15.00น้ําหนักปกติ 157 52.33เริ่มอวน 55 18.33อวน 43 14.34รวม 300 100.00x̄ = 21.74 Max = 38.10 Min = 15.24

จากตารางที่ 4.1.9 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกรจําแนกตามดัชนีมวลกาย (BMI) พนักงานสวนใหญมีน้ําหนักปกติ จํานวน 157 คน คิดเปนรอยละ 52.33 รองลงมา เริ่มอวนจํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 18.33 น้ําหนักนอย จํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 15.00 อวน จํานวน 43 คน คิดเปนรอยละ 14.34 ตามลําดับ และมีดัชนีมวลกาย (BMI) สูงที่สุดเทากับ 38.10 kg/m2และมีดัชน-ีมวลกาย (BMI) นอยที่สุดเทากับ 15.24 kg/m2 และมีดัชนีมวลกาย (BMI) เฉลี่ยเทากับ 21.74

ตารางที่ 4.1.10 จํานวนและรอยละของพนักงานเบทาโกร จําแนกตามศาสนา

จากตารางที่ 4.1.10 ผลการวิเคราะหขอมูลของพนักงานเบทาโกรจําแนกตามศาสนาพนักงานสวนใหญพุทธ จํานวน 280 คน คิดเปนรอยละ 93.30 รองลงมาคริสต จํานวน 16 คน คิดเปนรอยละ 5.30 สุดทายอิสลาม จํานวน 4 คน คิดเปนรอยละ 1.30

ศาสนา จํานวน (คน) รอยละพุทธ 280 93.30คริสต 16 5.30อิสลาม 4 1.40รวม 300 100.00

Page 68: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

57

4.2 ผลการวิเคราะหความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตาม หลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

4.2.1 ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ประกอบดวย ดานอาหาร ดานการออกกําลังกาย ดานอารมณ ดานการสูบบุหรี่และดานการดื่มสุรานํามาคํานวณเพื่อหาคาเฉลี่ยจากการใหความสําคัญและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีผลดังนี้

ตารางที่ 4.2.1.1 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับความรูทางสุขภาพที่ถูกตองตามหลัก 3อ2ส ทั้ง 5 ดาน

(N=300)หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส x ̄ SD. ระดับความรู อันดับ

ดานอาหาร 11.70 0.673 สูง 3ดานการออกกําลังกาย 12.45 0.636 สูง 1ดานอารมณ 11.40 0.716 สูง 4ดานการสูบบุหรี่ 11.15 0.767 สูง 5ดานการดื่มสุรา 12.45 0.656 สูง 1รวม 11.89 2.07 สูง

จากตารางที่ 4.2.1.1 พบวา พนักงานเบทาโกรมีความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับสูง (คาเฉลี่ย 11.89) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปน รายดาน พบวา พนักงานเบทาโกรมีความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส อันดับแรก คือ ดานการออกกําลังกาย (คาเฉลี่ย 12.45) กับดานการดื่มสุรา (คาเฉลี่ย 12.45) รองลงมา คือ ดานอาหาร (คาเฉลี่ย 11.70) และอันดับสุดทาย คือ ดานการสูบบุหรี่ (คาเฉลี่ย 11.15) ตามลําดับ

ตารางที่ 4.2.1.2 ระดับคะแนนทางดานความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร

ระดับคะแนน จํานวนคน รอยละคะแนนสูง 237 79.00คะแนนปานกลาง 58 19.30คะแนนต่ํา 5 1.70รวม 300 100.00

Page 69: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

58

จากตารางที่ 4.2.1.2 ผลการศึกษาระดับความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร พบวา พนักงานเบทาโกรสวนใหญมีความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส ในระดับสูง คิดเปนรอยละ 79.00 รองลงมาพนักงานเบทาโกรมีความรูในระดับปานกลางและต่ํา คิดเปนรอยละ 19.30 และรอยละ 1.70 ตามลําดับซึ่งจะเห็นไดวาพนักงานเบทาโกรมีระดับความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส ในระดับสูง

ตารางที่ 4.2.1.3 รอยละและคาเฉลี่ยทางดานความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร

(N=300)ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส

จํานวน (รอยละ) คะแนน

ถูก ผิดดานอาหาร1. อาหารชนิดใดที่เสี่ยงตอการทําใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด

152

(50.7)

148

(49.3) 0.51

2. การกินอาหารสุกๆ ดิบๆ เชน แหนม ปูดอง ลาบลู ซกเล็ก ปลารา สมฟก ทําใหเสี่ยงตอการปวยเปนโรคอะไร

275

(91.7)

25

(8.3) 0.92

3. นิดหนอยชอบกินขนมหวาน เชน ทองหยอด ฝอยทอง นิดหนอยจะเสี่ยงเปนโรคใดมากที่สุด

276

(92.0)

24

(8.0) 0.92

Page 70: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

59

ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส

จํานวน (รอยละ) คะแนน

ถูก ผิดดานการออกกําลังกาย4. การออกกําลังกายอยางไรถึงจะลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงได

172

(57.3)

128

(42.7) 0.57

5. การออกกําลังกายทุกครั้ง เราควรกระทําตามบุคคลใด

285

(95.0)

15

(5.0) 0.95

6. การออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเปนประจํามีประโยชนตอรางกายอยางไร

290

(96.7)

10

(3.3) 0.97

ดานอารมณ7. บุคคลในขอใด ที่มีการจัดการกับอารมณตนเองไดดี 223

(74.3)

77

(25.7) 0.74

8. หากตองการคลายเครียด กระทําตามขอใดไดผลดีที่สุด

175

(58.3)

125

(41.7) 0.58

9. สารที่ทําใหเกิดความสุขคืออะไร 288

(96.0)

12

(4.0) 0.96

Page 71: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

60

ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส

จํานวน (รอยละ) คะแนน

ถูก ผิดดานการสูบบุหรี่10. โรคในขอใด ที่ไมไดมีสาเหตุมาจากการรับสารนิโคติน ทาร คารบอนมอนนอกไซด และไซยาไนดจากควันบุหรี่

222

(74.0)

78

(26.0) 0.74

11. บุคคลในขอใดที่มีความเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากการสูบบุหรี่ที่สูงสุด

206

(68.7)

94

(31.3) 0.69

12. สารพิษในควันบุหรี่ที่ทําใหผูสูบมีอาการติดบุหรี่คือขอใด

243

(81.0)

57

(19.0) 0.81

การดื่มสุรา

13. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล สงผลกระทบตอปญหาใดมากที่สุด

295

(98.3)

5

(1.7) 0.98

14. สารเคมีที่ใชทําแอลกอฮอล (สุรา) คืออะไร 246

(82.0)

54

(18.0) 0.82

15. อัตราการตรวจวัดแอลกอฮอลขณะขับขี่ตองไมเกินกี่มิลลิกรัม

206

(68.7)

94

(31.3) 0.69

รวมคะแนน11.84

Page 72: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

61

จากตารางที่ 4.2.1.3 พบวา พนักงานเบทาโกรพนักงานมีความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับคะแนนสูง หมายถึง ความรูทางสุขภาพระดับสูง (คาเฉลี่ย 11.84) และพนักงานเบทาโกรสวนใหญจะตอบถูกมากที่สุด ในขอการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล สงผลกระทบตอปญหาใดมากที่สุด คิดเปนรอยละ 98.30 รองลงมาในขอการออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเปนประจํามีประโยชนตอรางกายอยางไร คิดเปนรอยละ 96.70 ในทางกลับกันพนักงานตอบผิดมากที่สุดในขออาหารชนิดใดที่เสี่ยงตอการทําใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด คิดเปนรอยละ 49.30 รองลงมาในขอการออกกําลังกายอยางไรถึงจะลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงได คิดเปนรอยละ 42.70

4.2.2 เจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ประกอบดวย ดานอาหาร ดานการออกกําลังกาย ดานอารมณ ดานการสูบบุหรี่และดานการดื่มสุรา

ตารางที่ 4.2.2.1 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ทั้ง 5 ดาน

(N=300)หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส x ̄ SD. ระดับเจตคติ อันดับ

ดานอาหาร 2.82 0.580 ปานกลาง 3ดานอารมณ 2.66 0.650 ปานกลาง 4ดานการออกกําลังกาย 3.11 0.509 ดี 1ดานการสูบบุหรี่ 3.06 0.722 ดี 2ดานการดื่มสุรา 2.65 0.582 ปานกลาง 5รวม 2.89 0.324 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.2.2.1 พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 2.89) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส อันดับที่แรก คือ ดานออกกําลังกาย (คาเฉลี่ย 3.11) รองลงมา คือ ดานการสูบบุหรี่ (คาเฉลี่ย 3.06) และอันดับสุดทาย คือ ดานการดื่มสุรา (คาเฉลี่ย 2.65) ตามลําดับ

Page 73: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

62

ตารางที่ 4.2.2.2 ระดับคะแนนทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร

ระดับคะแนน/ระดับเจตคติ จํานวน(คน) รอยละคะแนนสูง/ดี 128 42.70คะแนนปานกลาง/ปานกลาง 172 57.30คะแนนต่ํา/ต่ํา - -รวม 300 100.0

จากตารางที่ 4.2.2.2 ผลการศึกษาเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร พบวา พนักงานเบทาโกรสวนใหญมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ในระดับ ปานกลาง คิดเปนรอยละ 57.30 รองลงมาพนักงานเบทาโกรมีเจตคติในระดับดีคิดเปนรอยละ 42.70 ตามลําดับซึ่งจะเห็นไดวาพนักงานเบทาโกรมีเจคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ในระดับปานกลาง

Page 74: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

63

4.2.2.3 เจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส มีผลดังนี้

ตารางที่ 4.2.2.3 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอาหาร

(N=300)

จากตารางที่ 4.2.2.3 พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานอาหารโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เทากับ 2.82 สวนใหญเห็นดวย คือ การจํากัดขาว แปง ใหนอยลง แลวกินผักเพิ่มขึ้น ชวยใหอิ่มทองและลดน้ําหนักได จํานวน 166 คน คิดเปนรอยละ 55.30 รองลงมา คือ การควบคุมอาหารจํากัดชนิดและปริมาณอาหารเปนสิ่งที่ทําไดยาก จํานวน 164 คน คิดเปนรอยละ 54.70 และสุดทาย คือ การงดขาว แปง น้ําตาล น้ํามัน แลวกินเฉพาะเนื้อสัตว ชวยใหลดน้ําหนักไดเร็วขึ้น จํานวน 147 คน คิดเปนรอยละ 49.00

ระดับเจตคติเจตคติทางสุขภาพ

ดานอาหารไมเห็นดวย

อยางยิ่งไมเห็นดวย ไมแนใจ เห็นดวย เห็นดวย

อยางยิ่ง คาเฉลี่ย

ระดับ

1. การลด และควบคุมน้ําหนักตองกินใหนอยลงและออกกําลังกายใหมากขึ้น

2

(0.7)

29

(9.7)

32

(10.7)

149

(49.7)

88

(29.3)2.97 ปานกลาง

2. การงดขาว แปง น้ําตาล น้ํามัน แลวกินเฉพาะเนื้อสัตว ชวยใหลดน้ําหนักไดเร็วขึ้น

1

(0.3)

37

(12.3)

68

(22.7)

147

(49.0)

47

(15.7)2.67 ปานกลาง

3. การจํากัดขาว แปง ใหนอยลง แลวกินผักเพิ่มขึ้น ชวยใหอ่ิมทองและลดน้ําหนักได

0

(0.0)

12

(4.0)

56

(18.7)

166

(55.3)

66

(22.0)2.95 ปานกลาง

4. การควบคุมอาหารจํากัดชนิดและปริมาณอาหารเปนสิ่งที่ทําไดยาก

0

(0.0)

44

(14.7)

51

(17.0)

164

(54.7)

41

(13.7)2.67

ปานกลาง

รวม 2.82 ปานกลาง

Page 75: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

64

ตารางที่ 4.2.2.4 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอารมณ

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.2.4 พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานอารมณโดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง เทากับ 2.66 สวนใหญเห็นดวย คือ การควบคุมอารมณใหเปนปกติเปนผลดีตอการควบคุมน้ําหนัก จํานวน 160 คน คิดเปนรอยละ 53.30 รองลงมา คือ การควบคุมอารมณใหเปนปกติทุกวันนั้น เปนสิ่งที่ทําไดยาก จํานวน 132 คน คิดเปนรอยละ 44.00

ระดับเจตคติเจตคติทางสุขภาพ

ดานอารมณไมเห็นดวย

อยางยิ่งไมเห็นดวย ไมแนใจ เห็นดวย เห็นดวย

อยางยิ่ง คาเฉลี่ย ระดับ

5. การควบคุมอารมณใหเปนปกติเปนผลดีตอการควบคุมน้ําหนัก

1

(0.3)

10

(3.3)

81

(27.0)

160

(53.3)

48

(16.0)2.81 ปานกลาง

6. การควบคุมอารมณใหเปนปกติทุกวันนั้น เปนสิ่งที่ทําไดยาก

9

(3.0)

34

(11.3)

90

(30.0)

132

(44.0)

35

(11.7)2.50 ปานกลาง

รวม 2.66 ปานกลาง

Page 76: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

65

ตารางที่ 4.2.2.5 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการออกกําลังกาย

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.2.5 พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานการออกกําลังกายโดยภาพรวมอยูในระดับดี เทากับ 3.11 สวนใหญเห็นดวยอยางยิ่ง คือ ความขี้เกียจ คือ สาเหตุสําคัญที่ทําใหทานไมไดออกกําลังกายสม่ําเสมอ จํานวน 165 คน คิดเปนรอยละ 55.00 รองลงมา คือ ความตั้งใจจริง คือปจจัยสําคัญที่ทําใหทานออกกําลังกายสม่ําเสมอ จํานวน 163 คน คิดเปนรอยละ 54.30 และสุดทาย เห็นดวย คือ การออกกําลังกายเปนประจํานั้นดีตอการควบคุมน้ําหนัก จํานวน 107 คน คิดเปนรอยละ 35.70

ระดับเจตคติเจตคติทางสุขภาพ

ดานการออกกําลังกายไมเห็นดวย

อยางยิ่งไมเห็นดวย ไมแนใจ เห็นดวย เห็นดวย

อยางยิ่ง คาเฉลี่ย ระดับ

7. การออกกําลังกายเปนประจํานั้นดีตอการควบคุมน้ําหนัก

5

(1.7)

49

(16.3)

101

(33.7)

107

(35.7)

38

(12.7)2.41 ปานกลาง

8. ความขี้เกียจ คือ สาเหตุสําคัญที่ทําใหทานไมไดออกกําลังกายสม่ําเสมอ

2

(0.7)

3

(1.0)

25

(8.3)

105

(35.0)

165

(55.0)3.43 ดี

9. ความตั้งใจจริง คือปจจัยสําคัญที่ทําใหทานออกกําลังกายสม่ําเสมอ

1

(0.3)

0

(0.0)

9

(3.0)

127

(42.3)

163

(54.3)3.50 ดี

รวม 3.11 ดี

Page 77: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

66

ตารางที่ 4.2.2.6 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการสูบบุหรี่

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.2.6 พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานการสูบบุหรี่โดยภาพรวมอยูในระดับดี เทากับ 3.06 สวนใหญไมเห็นดวยอยางยิ่ง คือ การสูบบุหรี่ 1 ซองตอวัน ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ จํานวน 194 คน คิดเปนรอยละ 64.70รองลงมา เห็นดวยอยางยิ่ง คือ การสูบบุหรี่มีทั้งอันตรายและผลเสียมากกวาผลดี จํานวน 146 คน คิดเปนรอยละ 48.70 และสุดทาย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง คือ การสูบบุหรี่เปนเรื่องปกติของคนธรรมดาทั่วไป จํานวน 98 คน คิดเปนรอยละ 32.70

ระดับเจตคติเจตคติทางสุขภาพดานการสูบบุหรี่

ไมเห็นดวยอยางยิ่ง

ไมเห็นดวย ไมแนใจ เห็นดวย เห็นดวยอยางยิ่ง คาเฉลี่ย ระดับ

10. การสูบบุหรี่ 1 ซองตอวัน ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ

194

(64.7)

54

(18.0)

29

(9.7)

13

(4.3)

10

(3.3)3.36 ดี

11. การสูบบุหรี่มีท้ังอันตรายและผลเสียมากกวาผลดี

21

(7.0)

7

(2.3)

19

(6.3)

107

(35.7)

146

(48.7)3.17 ดี

12. การสูบบุหรี่เปนเรื่องปกติของคนธรรมดาทั่วไป

98

(32.7)

75

(25.0)

63

(21.0)

53

(17.7)

11

(3.7)2.65 ปานกลาง

รวม 3.06 ดี

Page 78: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

67

ตารางที่ 4.2.2.7 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทางดานเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการดื่มสุรา

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.2.7 พบวา พนักงานเบทาโกรมีเจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานการดื่มสุราโดยภาพรวมอยูในระดับดี เทากับ 2.65 สวนใหญเห็นดวย คือ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนประจําทําสงผลเสียตอสุขภาพ จํานวน 151 คน คิดเปนรอยละ 50.30รองลงมา คือ การดื่มแอลกอฮอลทําใหเกิดโรคตางๆ เชน ความดันโลหิตสูง จํานวน 132 คน คิดเปนรอยละ 44.00 และสุดทาย ไมแนใจ คือ เครื่องดื่มแอลกอฮอลชวยบรรเทาความเครียดได จํานวน 115 คน คิดเปนรอยละ 38.30

ระดับเจตคติเจตคติทางสุขภาพ

ดานการดื่มสุราไมเห็นดวย

อยางยิ่งไมเห็นดวย ไมแนใจ เห็นดวย เห็นดวย

อยางยิ่ง คาเฉลี่ย ระดับ

13. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนประจําทําสงผลเสียตอสุขภาพ

6

(2.0)

4

(1.3)

22

(7.3)

151

(50.3)

117

(39.0)3.23 ดี

14. เครื่องดื่มแอลกอฮอลชวยบรรเทาความเครียดได

57

(19.0)

38

(12.7)

115

(38.3)

77

(25.7)

13

(4.3)2.16 ปานกลาง

15. การดื่มแอลกอฮอลทําใหเกิดโรคตางๆ เชน ความดันโลหิตสูง

4

(1.3)

7

(2.3)

82

(27.3)

132

(44.0)

75

(25.0)2.89 ปานกลาง

รวม 2.65 ปานกลาง

Page 79: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

68

4.2.3 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ประกอบดวย ดานอาหาร ดานการออกกําลังกาย ดานอารมณ ดานการสูบบุหรี่และดานการดื่มสุรานํามาคํานวณเพื่อหาคาเฉลี่ยจากการปฏิบัติและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน มีผลดังนี้

ตารางที่ 4.2.3.1 คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและระดับพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส ทั้ง 5 ดาน

(N=300)หลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส x̄ SD. ระดับพฤติกรรม อันดับ

ดานอาหาร 1.92 0.743 ไมดี 4ดานการออกกําลังกาย 1.55 0.978 ไมดี 5ดานอารมณ 2.01 0.659 ปานกลาง 3ดานการสูบบุหรี่ 3.17 1.004 ดี 1ดานการดื่มสุรา 2.96 1.017 ปานกลาง 2

รวม 2.32 0.480 ปานกลาง

จากตารางที่ 4.2.3.1 พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส โดยภาพรวมอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 2.32) ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส อันดับที่ 1 คือ ดานการสูบบุหรี่อยูในระดับดี (คาเฉลี่ย 3.17) อันดับที่ 2 คือ ดานการดื่มสุราอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย 2.96) และอันดับสุดทาย คือ ดานการออกกําลังกายอยูในระดับไมดี (คาเฉล่ีย 1.55) ตามลําดับ

ตารางที่ 4.2.3.2 ระดับคะแนนพฤติกรรมทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร

ระดับคะแนน/ระดับพฤติกรรม จํานวน(คน) รอยละคะแนนสูง/ดี 19 6.40คะแนนปานกลาง/ปานกลาง 217 72.30คะแนนต่ํา/ไมดี 64 21.30รวม 300 100.00

Page 80: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

69

จากตารางที่ 4.2.3.2 ผลการศึกษาพฤติกรรมทางสุขภาพที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร พบวา พนักงานเบทาโกรสวนใหญมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส ในระดับปานกลาง คิดเปนรอยละ 72.30 รองลงมาพนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ในระดับไมดี และดี คิดเปนรอยละ 21.30 และรอยละ 6.40 ตามลําดับ ซึ่งจะเห็นไดวาพนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่เกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ในระดับปานกลาง

4.2.3.3 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส มีผลดังน้ีตารางที่ 4.2.3.3 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของ

พนักงานเบทาโกร ดานอาหาร

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.3.3 พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานอาหาร สวนใหญกินอาหารที่มีไขมันสูง อาหารทอดหรือกะทิ ปฏิบัติ 3 วัน/สัปดาห จํานวน 97 คน คิดเปนรอยละ 32.30 กินอาหารรสเค็มหรือหวานจัด หรือเติมน้ําปลา/น้ําตาลเพิ่ม ปฏิบัติ 3 วัน/สัปดาห จํานวน 90 คน คิดเปนรอยละ 30.00 และสุดทาย กินผักและผลไมสด สะอาด เสมอวันละอยางนอยครึ่งกิโลกรัม ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 101 คน คิดเปนรอยละ 33.70

ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ไมปฏิบัติ

1-2 วัน/สัปดาห

3 วัน/สัปดาห

4-5 วัน/สัปดาห

6-7 วัน/สัปดาห

ดานอาหาร1. กินอาหารที่มีไขมันสูง อาหารทอดหรือกะทิ

9

(3.0)

79

(26.3)

97

(32.3)

86

(28.7)

29

(9.7)

2. กินอาหารรสเค็มหรือหวานจัด หรือเติมน้ําปลา/น้ําตาลเพิ่ม

44

(14.7)

58

(19.3)

90

(30.0)

87

(29.0)

21

(7.0)

3. กินผักและผลไมสด สะอาด เสมอวันละอยางนอยครึ่งกิโลกรัม

20

(6.7)

101

(33.7)

97

(32.3)

62

(20.7)

20

(6.7)

Page 81: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

70

ตารางที่ 4.2.3.4 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการออกกําลังกาย

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.3.4 พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานการออกกําลังกาย สวนใหญมีการยืดเหยียด เชน การกมเอามือแตะพื้น ประสานมือไวเหนือศรีษะหลังดันขึ้น การกมลงเอามือแตะพื้น การเหยียด และฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อ ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 94 คน คิดเปนรอยละ 31.30 ทํางานใชแรงงานหรือเคลื่อนไหวตอเนื่องจนรูสึกเหนื่อยมีเหงื่อออก ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 108 คน คิดเปนรอยละ 36.00 และสุดทาย ออกกําลังกายตอเนื่องจนรูสึกเหนื่อยอยางนอย 5 วันๆ 30 นาที ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 95 คน คิดเปนรอยละ 31.70

ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ไมปฏิบัติ

1-2 วัน/สัปดาห

3 วัน/สัปดาห

4-5 วัน/สัปดาห

6-7 วัน/สัปดาห

ดานการออกกําลังกาย4. มีการยืดเหยียด เชน การกมเอามือแตะพื้น ประสานมือไวเหนือศรีษะหลังดันขึ้น การกมลงเอามือแตะพื้น การเหยียด และฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อ

59

(19.7)

94

(31.3)

76

(25.3)

42

(14.0)

29

(9.7)

5. ทํางานใชแรงงานหรือเคลื่อนไหวตอเนื่องจนรูสึกเหนื่อยมีเหงื่อออก

41

(13.7)

108

(36.0)

90

(30.0)

47

(15.7)

14

(4.7)

6. ออกกําลังกายตอเนื่องจนรูสึกเหนื่อยอยางนอย 5 วันๆ 30 นาที

74

(24.7)

95

(31.7)

69

(23.0)

54

(18.0)

8

(2.7)

Page 82: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

71

ตารางที่ 4.2.3.5 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานอารมณ

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.3.5 พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานอารมณ สวนใหญเมื่อเครียด/วิตกกังกล/หงุดหงิดแลวทานมีการออกกําลังกายผอนคลาย ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 95 คน คิดเปนรอยละ 31.70 นอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 90 คน คิดเปนรอยละ 30.00 และสุดทายรูสึกหงุดหงิด รําคาญใจ ปฏิบัติ 1-2 วัน/สัปดาห จํานวน 101 คน คิดเปนรอยละ 33.70

ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ไมปฏิบัติ

1-2 วัน/สัปดาห

3 วัน/สัปดาห

4-5 วัน/สัปดาห

6-7 วัน/สัปดาห

ดานอารมณ7. เมื่อเครียด/วิตกกังกล/หงุดหงิดแลวทานมีการออกกําลังกายผอนคลาย

91

(30.3)

95

(31.7)

71

(23.7)

35

(11.7)

8

(2.7)

8. นอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ

72

(24.0)

90

(30.0)

69

(23.0)

52

(17.3)

17

(5.7)

9. รูสึกหงุดหงิด รําคาญใจ 38

(12.7)

101

(33.7)

93

(31.0)

47

(15.7)

21

(7.0)

Page 83: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

72

ตารางที่ 4.2.3.6 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการสูบบุหรี่

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.3.6 พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานการสูบบุหรี่ สวนใหญพฤติกรรมการสูบบุหรี่ของตัวทาน ไมปฏิบัติ จํานวน 246 คน คิดเปนรอยละ 82.00 การสูบบุหรี่ของคนในครอบครัว ไมปฏิบัติ จํานวน 186 คน คิดเปนรอยละ 62.00 และสุดทาย การสัมผัสหรือใกลชิดคนสูบบุหรี่ ไมปฏิบัติ จํานวน 118 คน คิดเปนรอยละ 39.30

ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ไมปฏิบัติ

1-2 วัน/สัปดาห

3 วัน/สัปดาห

4-5 วัน/สัปดาห

6-7 วัน/สัปดาห

ดานการสูบบุหรี่10. พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของตัวทาน 246

(82.0)

6

(2.0)

17

(5.7)

19

(6.3)

12

(4.0)

11. การสูบบุหรี่ของคนในครอบครัว 186

(62.0)

41

(13.7)

36

(12.0)

16

(5.3)

21

(7.0)

12. การสัมผัสหรือใกลชิดคนสูบบุหรี่ 118

(39.3)

80

(26.7)

52

(17.3)

27

(9.0)

23

(7.7)

Page 84: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

73

ตารางที่ 4.2.3.7 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร ดานการดื่มสุรา

( N = 300)

จากตารางที่ 4.2.3.7 พบวา พนักงานเบทาโกรมีพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ดานการดื่มสุรา สวนใหญการดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของตัวทาน ไมปฏิบัติ จํานวน 161 คน คิดเปนรอยละ 53.70 การดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของคนใกลชิด เชน เพื่อนรวมงาน แฟน เปนตน ไมปฏิบัติ จํานวน 107 คน คิดเปน รอยละ 35.70 และสุดทาย การซื่อเครื่องดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของคนในครอบครัว ไมปฏิบัติ จํานวน 138 คน คิดเปนรอยละ 46.00

ระดับการปฏิบัติพฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ไมปฏิบัติ

1-2 วัน/สัปดาห

3 วัน/สัปดาห

4-5 วัน/สัปดาห

6-7 วัน/สัปดาห

ดานการดื่มสุรา13. การดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของตัวทาน

161

(53.7)

65

(21.7)

43

(14.3)

19

(6.3)

12

(4.0)

14. การดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของคนใกลชิด เชน เพื่อนรวมงาน แฟน เปนตน

107

(35.7)

81

(27.0)

65

(21.7)

37

(12.3)

10

(3.3)

15. การซื่อเครื่องดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของคนในครอบครัว

138

(46.0)

64

(21.3)

54

(18.0)

33

(11.0)

11

(3.7)

Page 85: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

74

4.3 ผลการทดสอบสมมติฐานสมมติฐานที่ 1 ผูวิจัยไดทําการทดสอบสมมติฐานเพื่อศึกษาพนักงานเบทาโกรที่มี

ปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร แตกตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่แตกตางกันสามารถสรุปรายละเอียดไดดังนี้

ตารางที่ 4.3.1 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามเพศ

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สเพศ ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

ชาย 2(10.5)

54(24.9)

27(42.2)

83(27.7)

หญิง 17(89.5)

163(75.1)

37(57.8)

217(72.3)

รวม 19(100.0)

217(100.0)

64(100.0)

300(100.0)

Chi-square = 10.372Significance = 0.006

จากตารางที่ 4.3.1 พบวา เพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคาChi-square เทากับ 10.372 และคา Significance = 0.006 สรุปไดวา เพศมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีเพศตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน โดยเพศหญิงมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ระดับดี รอยละ 89.50 เพศชายมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับดีเพียง รอยละ 10.50 ดังนั้น จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 86: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

75

ตารางที่ 4.3.2 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามอายุ

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

อายุระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

นอยกวา 25 ป3

(15.80)22

(10.1)9

(14.1)34

(11.3)

25 - 29 ป9

(47.4)80

(36.9)22

(34.4)111

(37.0)

30 - 34 ป4

(21.1)63

(29.0)15

(23.4)82

(27.3)

35 ปขึ้นไป3

(15.8)52

(24.0)18

(28.1)73

(24.3)

รวม19

(100.0)217

(100.0)64

(100.0)300

(100.0)

Chi-square = 3.518Significance = 0.742หมายเหตุ : ไดมีการรวมกลุมระหวาง 35-39 ปกับ 40 ปขึ้นไป

จากตารางที่ 4.3.2 พบวา อายุไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคาChi-square เทากับ 3.518 และคา Significance = 0.742 สรุปไดวา อายุไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีอายุตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ดังนั้น จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ต้ังไว

Page 87: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

76

ตารางที่ 4.3.3 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามสถานภาพ

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลกั 3อ2ส

สถานภาพ ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

14 177 35 226โสด

(73.7) (81.6) (54.7) (75.3)อื่นๆ(สมรส/หมาย/หยา/แยก) 5 40 29 74

(26.3) (18.4) (45.3) (24.7)รวม 19 217 64 300

(100.0) (100.0) (100.0) (100.0)

Chi-square = 19.246Significance = 0.000หมายเหตุ : ไดมีการรวมกลุมระหวาง สมรสกับหมาย/หยา/แยก

จากตารางที่ 4.3.3 พบวา สถานภาพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Chi-square เทากับ 19.246 และคา Significance = 0.000 สรุปไดวา สถานภาพมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีสถานภาพตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่แตกตางกัน โดยพนักงานที่มีสถานภาพโสด ปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับปานกลาง รอยละ 81.60ในขณะที่สถานภาพอื่นๆ(สมรส/หมาย/หยา/แยก)ปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับไมดี รอยละ 45.30 ดังนั้น จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 88: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

77

ตารางที่ 4.3.4 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามแผนกงาน

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สแผนกงาน

ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

จัดซื้อ 2(10.5)

54(24.9)

17(26.6)

73(24.3)

ทรัพยากรบุคคล 4(21.1)

33(15.2)

13(20.3)

50(16.7)

บัญชีและการเงิน 6(31.6)

66(30.4)

16(25.0)

88(29.3)

การตลาด 5(26.3)

19(8.8)

5(7.8)

29(9.7)

อาคารและอื่นๆ 2(10.5)

45(20.7)

13(20.3)

60(20.0)

รวม 19(100.0)

217(100.0)

64(100.0)

300(100.0)

Chi-square = 9.959Significance = 0.268

จากตารางที่ 4.3.4 พบวา แผนกงานไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Chi-square เทากับ 9.959 และคา Significance = 0.268 สรุปไดวา แผนกงานไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีแผนกตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ดังนั้น จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 89: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

78

ตารางที่ 4.3.5 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามรายไดตอเดือน

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สรายไดตอเดือน

ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

ต่ํากวา 20,000 บาท 7(36.8)

54(24.9)

16(25.0)

77(25.7)

20,001-29,999 บาท 6(31.6)

61(28.1)

22(34.4)

89(29.7)

30,000 บาทขึ้นไป 6(31.6)

102(47.0)

26(40.6)

134(44.7)

รวม 19(100.0)

217(100.0)

64(100.0)

300(100.0)

Chi-square = 2.894Significance = 0.576หมายเหตุ : ไดมีการรวมกลุมระหวาง รายไดต่ํากวา 15,000 บาทกับรายได 15,000-20,000 บาท

จากตารางที่ 4.3.5 พบวา รายไดตอเดือนไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Chi-square เทากับ 2.894 และคา Significance = 0.576 สรุปไดวา รายไดตอเดือนไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีรายไดตอเดือนตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ดังนั้น จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 90: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

79

ตารางที่ 4.3.6 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามระดับการศึกษา

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สระดับการศึกษา

ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

ต่ํากวาปริญญาตรีและปริญญาตรี

16(84.2)

166(76.5)

54(84.4)

236(78.7)

สูงกวาปริญญาตรีขึ้นไป 3(15.8)

51(23.5)

10(15.6)

64(21.3)

รวม 19(100.0)

217(100.0)

64(100.0)

300(100.0)

Chi-square = 2.199Significance = 0.333หมายเหตุ : ไดมีการรวมกลุมระหวาง ต่ํากวาปริญญาตรีกับปริญญาตรี

จากตารางที่ 4.3.6 พบวา ระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Chi-square เทากับ 2.199 และคา Significance = 0.333 สรุปไดวา ระดับการศึกษาไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ดังนั้น จึงไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 91: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

80

ตารางที่ 4.3.7 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ 2ส จําแนกตามศาสนา

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2สศาสนา

ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

พุทธ 19(100.0)

211(97.2)

50(78.1)

280(93.3)

อื่นๆ(คริสต+อิสลาม) 0(0)

6(2.8)

14(21.9)

20(6.7)

รวม 19(100.0)

217(100.0)

64(100.0)

300(100.0)

Chi-square = 30.456Significance = 0.000หมายเหตุ : ไดมีการรวมกลุมระหวาง ศาสนาคริสตกับศาสนาอิสลาม

จากตารางที่ 4.3.7 พบวา ศาสนามีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคาChi-square เทากับ 30.456 และคา Significance = 0.000 สรุปไดวา ศาสนามีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีศาสนาตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน โดยพนักงานที่นับถือศาสนาพุทธ สวนใหญปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับปานกลางถึงรอยละ97.20 ในขณะที่ศาสนาอื่นๆ(คริสต และอิสลาม) ปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับต่ํา รอยละ 21.90 ดังนั้น จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 92: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

81

ตารางที่ 4.3.8 ผลการทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบพฤติกรรมสุขภาพ ตามหลัก 3อ2ส จําแนกตามดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI)

ระดับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

ดัชนีมวลกาย (BMI) ระดับดี ระดับปานกลาง ระดับไมดี Total

น้ําหนักนอย 3(15.8)

32(14.7)

10(15.6)

45(15.0)

น้ําหนักปกติ 13(68.4)

120(55.3)

24(37.5)

157(52.3)

อวน 3(15.8)

65(30.0)

30(46.9)

98(32.7)

รวม 19(100.0)

217(100.0)

64(100.0)

300(100.0)

Chi-square = 10.130Significance = 0.038

จากตารางที่ 4.3.8 พบวา ดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI)มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Chi-square เทากับ 10.130 และคา Significance = 0.038 สรุปไดวา ดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา พนักงานที่มีดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI) ตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน โดยพนักงานที่มีดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI) ระดับน้ําหนักปกติ ปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับสูงถึง รอยละ 68.40 ในขณะที่ดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI) ระดับน้ําหนักอวนและน้ําหนักนอยปฏิบัติตามพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ในระดับต่ํา รอยละ 46.90 และ รอยละ 15.60 ตามลําดับ ดังนั้น จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Page 93: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

82

ตารางที่ 4.3.9 สรุปแสดงความสัมพันธระหวางตัวแปรกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

จากตาราง 4.3.9 สรุปผลการวิเคราะหความสัมพันธเปรียบเทียบสมมติฐานที่ตั้งไว พบวา เพศ สถานภาพ ศาสนาและดัชนีมวลกาย (BMI) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว สวน อายุ แผนกงาน รายไดตอเดือน และระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จึงปฏิเสธสมมติฐานที่ตั้งไว

ลําดับ ตัวแปร คา Significance สัมพันธ ไมสัมพันธ1 เพศ 0.006 √2 อายุ 0.742 √3 สถานภาพ 0.000 √4 แผนกงาน 0.268 √5 รายไดตอเดือน 0.576 √6 ระดับการศึกษา 0.333 √7 ศาสนา 0.000 √8 ดัชนีมวลกาย (BMI) 0.038 √

Page 94: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

83

สมมติฐานที่ 2 ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส มีความสัมพันธกันตารางที่ 4.3.9 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient)

จากตารางที่ 4.3.9 พบวา พนักงานที่มีความรูและมีเจตคติที่ดี จะสงผลใหมีพฤติกรรม

สุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยพนักงานสวนใหญ มี

ความรูทางสุขภาพระดับดี เทากับ 11.84 และมีเจตคติ ระดับปานกลาง เทากับ 2.89 และมีพฤติกรรม

ระดับปานกลาง เทากับ 2.32

ผลจากการวิเคราะหความสัมพันธระหวางความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตาม

หลัก 3อ 2ส พบวา ความรูมีความสัมพันธกับเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Significance =

0.016 สรุปไดวา ความรูมีความสัมพันธกับเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

ที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา เมื่อความรูตางกัน จะมีเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ไปใน

ทิศทางเดียวกัน และความรูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Significance

= 0.007 สรุปไดวา ความรูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา เมื่อความรูตางกัน จะมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

ที่ไปในทิศทางเดียวกัน และเจตคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา

Significance = 0.011 สรุปไดวา เจตคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 หรือ กลาวอีกนัยหนึ่งวา เมื่อเจตคติตางกัน จะมีพฤติกรรมสุขภาพ

ตามหลัก 3อ2ส ที่ไปในทิศทางเดียวกัน จึงสรุปไดวาสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไว

Mean S.D. ความรู เจตคติ พฤติกรรมความรู Pearson Correlation

Sig. (2-tailed) 11.84 2.07 1

เจตคติ Pearson CorrelationSig. (2-tailed) 2.89 0.32

0.139*

0.016 1

พฤติกรรม Pearson CorrelationSig. (2-tailed) 2.32 0.48

0.156**

0.0070.146*

0.011 1

Page 95: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

84

บทที่ 5สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การศึกษาเรื่อง ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู ทัศนคติ สงผลตอพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส และปจจัยที่มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) จําแนกตามปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร จากการตอบแบบสอบถามของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) จํานวน 300 คน และนําผลที่ไดมาวิเคราะหและประเมินผลโดยโปรแกรมสําเร็จรูป ผูวิจัยไดนํามาสรุปผลการวิจัยและขอเสนอแนะตามลําดับดังนี้

5.1 สรุปผลการวิจัย

5.2 อภิปรายผล

5.3 ขอเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการวิจัย

ผลการศึกษาความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) จํานวนทั้งสิ้น 300 คน สรุปผลการวิจัยไดดังนี้

5.1.1 ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน เบทาโกร

ผลจากการวิจัย พบวา ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2สของพนักงานเบทาโกรอยูในระดับคะแนนสูง หมายถึง ความรูทางสุขภาพระดับดี โดยอันดับแรก คือ ดานการดื่มสุราและดานการออกกําลังกาย รองลงมา คือ ดานอาหาร และอันดับสุดทายคือ ดานการสูบบุหรี่

5.1.2 เจตคติทางสุขภาพเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกรผลจากการวิจัย พบวา เจตคติทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก3อ2ส

ของพนักงานเบทาโกรอยูในระดับปานกลาง โดยอันดับแรก คือ ดานการออกกําลังกาย รองลงมา คือ ดานการสูบบุหรี่ และอันดับสุดทาย คือ ดานการดื่มสุรา

Page 96: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

85

5.1.3 พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกร

ผลจากการวิจัย พบวา พฤติกรรมทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกรอยูในระดับปานกลาง โดยอันดับแรก คือ ดานการสูบบุหรี่ รองลงมา คือ ดานการดื่มสุรา และอันดับสุดทาย คือ ดานการออกกําลังกาย

5.1.4 ความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตรกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

ความสัมพันธระหวางขอมูลทั่วไปของพนักงานเบทาโกรที่เปนกลุมตัวอยางกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส เมื่อทดสอบดวยคา Chi-Square พบวา อายุ แผนกงาน รายไดตอเดือน และระดับการศึกษา ไมมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบดวยคา Chi-Square ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05 สวนความสัมพันธที่เกี่ยวกับเพศ สถานภาพ ศาสนา และดัชนีมวลกาย (BMI) มีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงานเบทาโกรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

5.1.5 ความสัมพันธระหวางความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สความสัมพันธระหวาง ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของ

พนักงานเบทาโกรที่เปนกลุมตัวอยาง เมื่อทดสอบดวยคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) พบวา ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 โดยความรูมีความสัมพันธกับเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา α = 0.016 ความรูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา α = 0.007 และเจตคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา α = 0.011

5.2 การอภิปรายผลจากผลการวิจัย เรื่อง ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน

บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) มีผลการทดสอบสมมติฐาน ซึ่งสามารถอภิปรายผลไดดังนี้สมมติฐานที่ 1 พนักงานเบทาโกรที่มีปจจัยพื้นฐานดานประชากรศาสตร ประกอบ ดวย

เพศ อายุ สถานภาพ แผนก รายไดตอเดือน ระดับการศึกษา ดัชนีมวลกาย (BMI) และศาสนาตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีเพศตางกัน พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของ อัญฐิริมา พิสัยพันธ จรรยา ภัทรอาชาชัย กัณฑวีร วิวัฒนพาณิชย (2556) พบวา เพศหญิงมีพฤติกรรมสุขภาพดานการบริโภคที่ระดับดีกวาเพศชายและรวมไปถึงดานการจัดการความเครียดเพศหญิงสามารถจัดการ

Page 97: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

86

ความเครียดไดมากวาเพศชาย และจากการที่มีเพศตางกัน อาจเนื่องมาธรรมชาติของเพศหญิงจะมีความสนใจในดานสุขภาพมากกวาเพศชาย

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีอายุตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและไมสอดคลองกับงานวิจัยของ สุวภา พรหมมี (2552) พบวา ขาราชการตํารวจที่มีอายุราชการ แตกตางกัน มีความรู มีเจตคติ ไมแตกตางกัน แตมีพฤติกรรมการบริโภค แตกตางกัน เนื่องจากขาราชการที่มีอายุราชการนอยกวายังขาดประสบการณในการทํางานอาจจะเกิดความเครียดจากปญหาการทํางานทําใหสงผลกระทบตอพฤติกรรมการบริโภค แตพนักงานเบทาโกรสวนใหญที่รับเขามาทํางานจะเนนที่มีประสบการณทํางานมาแลวอยางนอย 3 ปทําใหมีประสบการณในการทํางานมาแลว ทําใหสามารถจัดการกับความเครียดไดจึงไมสงผลตอพฤติกรรมสุขภาพ

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีสถานภาพตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของ อัญฐิริมา พิสัยพันธ จรรยา ภัทรอาชาชัย กัณฑวีร วิวัฒนพาณิชย (2556) พบวา คนโสดมีความสัมพันธตอพฤติกรรมการออกกําลังกาย โดยคนโสดสวนใหญไมมีภาระทางครอบครัวจึงมีเวลาในการออกกําลังกายมากกวาผูที่สมรสแลว

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีแผนกงานตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของ สุวภา พรหมมี (2552) พบวา ลักษณะของงานที่ปฏิบัติแตกตางกัน มีความรู เจตคติ และพฤติกรรมการบริโภคไมแตกตางกัน เนื่องจากบริษัทเบทาโกรจัดสถานที่การทํางานใหกับพนักงานแตละแผนก บรรยากาศการทํางาน การผอนคลายและสิ่งอํานวยความสะดวกที่คลายคลึงกัน และมีกิจกรรมการสงเสริมสุขภาพของพนักงานเบทาโกรที่คลายคลึงกันทําใหมีพฤติกรรมไมคอยแตกตางกัน

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีรายไดตอเดือนตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของสุวภา พรหมมี (2552) พบวา ขาราชการตํารวจที่มีรายไดเฉลี่ยตอเดือนแตกตางกัน มีความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคที่ไมแตกตางกัน ซึ่งอาจจะเกิดการที่พนักงานเบทาโกรมีรายไดตอเดือนที่ใกลเคียงกันทําใหมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2สที่ใกลเคียงกัน

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีระดับการศึกษาตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไมแตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของสุวภา พรหมมี (2552) พบวา ขาราชการตํารวจที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคที่ไมแตกตางกัน เพราะมีโอกาสไดรับการอบรม การมีความเชื่อและการ

Page 98: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

87

ปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคอาหารที่ไมแตกตางกัน ซึ่งพนักงานเบทาโกรก็เชนเดียวกันที่มีความรูและพฤติกรรมที่ใกลเคียงกัน

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีศาสนาตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของ ประภาเพ็ญ สุวรรณ (2532 อางถึงในเบญจมาศ นาควิจิตร.2551) ไดกลาววา องคประกอบดานสังคมและวัฒนธรรมที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพไดแก ครอบครัว กลุมบุคคลในสังคม สภาพสังคมวัฒนธรรมและศาสนา ซึ่งปจจัยเหลานี้ลวนมีอิทธิพลตอการเรียนรู การพัฒนาความคิดความเชื่อ และการปฏิบัติทางดานสุขภาพของบุคคล ทําใหเห็นวาพนักงานเบทาโกรที่มีศาสนาตางกันจึงมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่แตกตางกัน

ผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีดัชนีมวลกายปจจุบัน (BMI) ตางกันพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส แตกตางกัน ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของสุรินทร สีระสูงเนินและดํารงค สีระสูงเนินและชีวี เชื้อมาก (2554) พบวาการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ สงผลใหมีคาเฉลี่ยดัชนีมวลกาย (BMI) ลดลง รอยละ 88 เขาสูเกณฑปกติ รอยละ 65.15 ซึ่งพนักงานเบทาโกรสวนใหญที่มีคาดัชนีมวลกาย (BMI) ในระดับน้ําหนักปกติจนถึงอวน ซึ่งมีผลมาการที่มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่แตกตางกัน โดยคนที่มีคาดัชนีมวลกาย (BMI) ในระดับน้ําหนักปกติ จะมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ดีถึง 68.4% แตคนที่มีคาดัชนีมวลกาย (BMI) ในระดับอวน จะมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ไมดีถึง 46.9%

สมมติฐานที่ 2 ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส มีความสัมพันธกันผลจากการทดสอบสมมติฐาน พบวา พนักงานที่มีความรูและเจตคติที่ดี สงผลใหมี

ความสัมพันธพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานที่ตั้งไวและสอดคลองกับงานวิจัยของสินีนารถ ศรีสรสิทธิ์และรัตนา ปานเรียนแสน (2558) พบวา ความรูเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอยูในระดับดี มีเจตคติเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพอยูในระดับดี และมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพอยูในระดับปานกลาง และความรูมีความสัมพันธกับเจตคติ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ อยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01(r = .479และ .244 ตามลําดับ) ทัศนคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ อยางมีระดับนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .325) ซึ่งพบวาสอดคลองกับผลการวิจัยความสัมพันธระหวางความรู เจตคติและพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส ของพนักงานเบทาโกร โดยพนักงานที่มีความรูมีความสัมพันธกับเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคา Significance = 0.016 สรุปไดวา เมื่อความรูตางกัน มีเจตคติสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ไปในทิศทางเดียวกัน และความรูมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก

Page 99: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

88

3อ2ส ไดคา Significance = 0.007 สรุปไดวา เมื่อความรูตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ไปในทิศทางเดียวกัน และเจตคติมีความสัมพันธกับพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ไดคาSignificance = 0.011 สรุปไดวา เมื่อเจตคติตางกัน มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ที่ไปในทิศทางเดียวกัน

5.3 ขอเสนอแนะ

5.3.1 ขอเสนอแนะจากผลการวิจัย

จากผลการวิจัย ผูวิจัยมีขอเสนอแนะในการดําเนินการแกไขปญหา รวมถึงการปรับปรุง

และพัฒนาใหกับพนักงานเบทาโกร โดยทําการสํารวจความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตาม

หลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) นํามาปรับเปลี่ยนความรู เจตคติ และ

พฤติกรรมของพนักงานเบทาโกร เพื่อสุขภาพที่ดีขึ้น ปราศจากโรคตางๆและผูบริหารบริษัท

เบทาโกร จํากัด (มหาชน) สามารถนําผลงานวิจัยเปนแนวทางการจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพ

ตามหลัก 3อ2ส ซึ่งถือไดวาเปนการสรางบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ สามารถทํางานไดเต็ม

ประสิทธิภาพและสรางการไดเปรียบทางดานคูแขงขัน ดังนี้

1. ดานความรู ควรมีการใหความรูเกี่ยวกับหลัก 3อ2ส แกพนักงาน เชน หนาเวบเบทาโกรควรมีความรู เกี่ยวกับหลัก 3อ2ส หรือควรมีหองสมุดหรือมุมหนังสือหรือบอรดความรู ดังนี้ ดานอาหาร ควรบริโภคอาหารใหครบ 5 หมู งดทานอาหารรสเค็ม ควรรับประทานผักผลไม เปนตน ดานอารมณ ควรแนะนําวิธีการจัดการทางดานอารมณ เชน การนั่งสมาธิ สวดมนต เปนตน ดานการออกกําลังกาย ควรออกกําลังกายจนเหงื่อออกอยางนอยสัปดาหละ 3 วัน วันละ 30 นาที มีวิธีออกกําลังกายหรือทาบริหารรางกายที่ถูกตอง เปนตน ดานสูบบุหรี่ ควรบอกถึงโทษของบุหรี่และโรคที่จะเกิดจากการสูบบุหรี่ เปนตน ดานการดื่มสุรา ควรบอกถึงโทษของการดื่มสุราและโรคที่จะเกิดจากการดื่มสุรา เปนตน

2. ดานเจตคติ ควรมีการจัดอบรมเกี่ยวกับหลัก 3อ2ส แกพนักงาน เพราะเปนการปองกันกอนที่จะเกิดโรคหรือถาเปนโรคแลวจะมีวิธีในการดูแลรักษาตัวเองอยางไร และมีการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับโรคที่จะเกิดขึ้นถาไมปฏิบัติตามหลัก 3อ2ส เชน โรคอวน เบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด ความดันโลหิตสูง เปนตนเพื่อทําใหคนที่มีเจตคติดานลบตอดานอาหาร ดานอารมณ ดานการออกกําลังกาย ดานสูบบุหรี่ และดานการดื่มสุรา มีเจตคติทางดานบวกมากขึ้น เพราะถามีเจตคติดานบวกก็สงผลตอทางดานพฤติกรรมที่ดีขึ้นดวย

Page 100: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

89

3. ดานพฤติกรรม ควรมีการจัดอบรมเกี่ยวกับหลัก 3อ2ส แกพนักงาน เพราะเปนการปองกันกอนที่จะเกิดโรคหรือถาเปนโรคแลวจะมีวิธีในการดูแลรักษาตัวเองอยางไร และมีการจัดกิจกรรม เชน การจัดโครงการลดพุงลดอวน โดยมีการใหรางวัลผูที่ลดน้ําหนักไดมากที่สุด มีการจัดประกวดทําอาหารเพื่อสุขภาพ มีการจัดชมรมตางๆ เชน ชมรมแบตมินตัน โดยมีการออกกําลังการทุกวันอังคาร ชมรมธรรมะ โดยการจัดนั่งสมาธิสวดมนตทุกวันหลังเลิกงาน ชมรมดนตรี โดยการจัดตั้งวงดนตรีประกวด เปนตน และเบทาโกรควรจําหนายอาหารเพื่อสุขภาพ ควรมีหองฟตเนส เปนตน

5.3.2 ขอเสนอแนะเพื่อการศึกษาวิจัยครั้งตอไป1. ควรมีการสอบถามประวัติโรคประจําตัวของผูตอบแบบสอบถามและครอบครัวเพิ่มเติม

เชน โรคเบาหวาน โรคหัวใจ เปนตน เพื่อที่สามารถนํามาประเมินกลุมเสี่ยงที่ตองมีการนําหลัก 3อ2ส มาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกอน

2. ควรสอบถามชองทางการรับขาวสารของหลัก 3อ2ส เพื่อเปนขอมูลในการสงขาวสารที่งาย สะดวก และเพื่อปองกันการสงขาวสารหรือกิจกรรมไมถึงผูที่ตองการ หรือสงถึงแตผิดประเด็นในสิ่งที่ตองการหรือขาดอยู

3. ควรศึกษาหลักการที่นอกเนื่องจากหลัก 3อ2ส เพื่อนํามาเปรียบเทียบกับหลักการอื่นๆของกระทรวงสาธารณสุข หรือนํามาเปนเกณฑในการสรางมาตรฐานของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เขากับหนวงงานของตนเอง

Page 101: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

90

ภาคผนวก

Page 102: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

91

แบบสอบถามเรื่อง ความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส

ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) แบบสอบถามนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตคณะ

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกริก โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู เจตคติ และพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของพนักงาน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) โดยนําขอมูลที่ไดไปใชประโยชนในเชิงวิชาการเทานั้น

ดังนั้น ผูวิจัยจึงขอความรวมมือจากทานในการตอบแบบสอบถามตามความเปนจริง และขอมูลที่ทานตอบจะเก็บไวเปนความลับ ผูวิจัยขอขอบพระคุณทานที่ไดกรุณาสละเวลาในการตอบแบบสอบถามมา ณ ที่นี้

คําชี้แจง : แบบสอบถามมี 4 สวนคือสวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลสวนที่ 2 ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2สสวนที่ 3 เจตคติตอพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2สสวนที่ 4 พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนตามหลัก 3อ2ส

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลคําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงใน (....) ที่ตรงกับความเปนจริงของทาน

1. เพศ (....) ชาย (....) หญิง2. อายุ………….ป3. สถานภาพสมรส

(....) โสด (....) สมรส (....) หมาย หยา แยก4. แผนกงาน

(....) จัดซื้อ (....) ทรัพยากรบุคคล (....) บัญชี (....) การเงิน(....)อาคาร (....) การตลาด (…) อื่นๆ ระบุ………………….

5. รายไดเฉลี่ยตอเดือนเทาใด(....) ต่ํากวา 15,000 บาท (....) 15,000-20,000 บาท(....) 20,001 - 29,999 บาท (....) 30,000 บาทขึ้นไป

Page 103: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

92

6. ระดับการศึกษา(....) ต่ํากวาปริญญาตรี (....) ปริญญาตรี(....) ปริญญาโท (....) สูงกวาปริญญาโท

7. ศาสนา(....) พุทธ (....) คริสต (....) อิสลาม (....) อื่น ๆระบุ……...

8. ดัชนีมวลกายปจจุบันสวนสูง................. เซนติเมตร น้ําหนัก............. กิโลกรัม

สวนที่ 2 ความรูทางสุขภาพที่ถูกตองเกี่ยวกับหลักปฏิบัติตนคําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย X หรือ O ลอมรอบตัวเลือก ก ข ค ง ที่ทานเห็นวาถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว1. อาหารชนิดใดที่เสี่ยงตอการทําใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุด

ก. อาหารที่มีรสเค็ม ข. อาหารที่ใชน้ํามันทอดซ้ําบอยค. อาหารที่มีรสหวาน ง. อาหารหมักดอง

2. การกินอาหารสุกๆ ดิบๆ เชน แหนม ปูดอง ลาบลู ซกเล็ก ปลารา สมฟก ทําใหเสี่ยงตอการปวยเปนโรค อะไร

ก. ความดันโลหิตสูง ข. มะเร็งค. พยาธิ ง. ไขมันในเลือดสูง

3. นิดหนอยชอบกินขนมหวาน เชน ทองหยอด ฝอยทอง นิดหนอยจะเสี่ยงเปนโรคใดมากที่สุดก. ไขมันในเลือดสูง ข. ไตวายเฉียบพลันค. ความดันโลหิตสูง ง. เบาหวาน

4. การออกกําลังกายอยางไรถึงจะลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูงได

ก. ออกกําลังกายจนเหนื่อยอยางนอยสัปดาหละ 3 วัน วันละ 30 นาทีข. ออกกําลังกายอยางหนักทุกวันตอเนื่องอยางนอย 60 นาทีค. ออกกําลังดวยการทํางานบานทุกวัน อยางนอยวันละ 30 นาทีง. ออกกําลังกายอยางหนักแลวพักดื่มน้ําใหมากอยางนอยสัปดาหละ 3 วัน

Page 104: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

93

5. การออกกําลังกายทุกครั้ง เราควรกระทําตามบุคคลใดก. ธงชัยดื่มน้ําใหมากๆ ทั้งกอนและหลังออกกําลังกายข. ธานีอบอุนรางกายกอนและยืดเหยียดกลามเนื้อหลังออกกําลังกายค. ทวีปทานอาหารใหอิ่มทั้งกอนและหลังออกกําลังกายง. เทวัญออกกําลังกายอยางหนักตลอดชวงเวลาของการออกกําลังกาย

6. การออกกําลังกายหรือเลนกีฬาเปนประจํามีประโยชนตอรางกายอยางไรก. ทําใหระบบการทํางานของ ปอด หัวใจ กลามเนื้อและกระดูกแข็งแรงข. ชวยใหผิวพรรณ และรูปรางดีค. ผอนคลายความเครียด และความเมื่อยลาง. ถูกทุกขอ

7. บุคคลในขอใด ที่มีการจัดการกับอารมณตนเองไดดีก. วีระคิดหาทางแกไขปญหากับทุกเรื่องใหไดข. ชัยยศคอยระวังคนนินทาวารายตัวเองค. นงคราญตั้งใจทํางานอยางเปนสุขง. นอยหนาเขาวัดฟงธรรมแมจะไมอยากเขาวัดก็ตาม

8. หากตองการคลายเครียด กระทําตามขอใดไดผลดีที่สุดก. กินอาหารใหเพลิน อานหนังสือที่ชอบข. ออกกําลังกายจนเหงื่อออก สวดมนตนั่งสมาธิค. ดูละครหลังขาว นอนพักใหมากง. ทํางานใหมากหยุดพักไปทองเที่ยว

9. สารที่ทําใหเกิดความสุขคืออะไร ก. เอ็นโดฟนข. เอสโตรเจนค. โกรทฮอรโมนง. อินสุลิน

10. โรคในขอใด ที่ไมไดมีสาเหตุมาจากการรับสารนิโคติน ทาร คารบอนมอนนอกไซด และไซยาไนด จากควันบุหรี่

ก. โรคถุงลมโปงพองข. โรคหัวใจและหลอดเลือดค. โรคมะเร็งปอดง. โรคมะเร็งตับ

Page 105: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

94

11. บุคคลในขอใดที่มีความเสี่ยงตอการเกิดอันตรายจากการสูบบุหรี่ที่สูงสุดก. เด็กชายนิด กินขาวพรอมกับพอที่สูบบุหรี่อยูตลอดเวลาข. นายนอย สูบบุหรี่ไปคุยไปค. นางสาวแดง ลองหัดสูบบุหรี่ ตามคําชวนของเพื่อนง. นายชด สูบบุหรี่เมื่อมีความเครียด

12. สารพิษในควันบุหรี่ที่ทําใหผูสูบมีอาการติดบุหรี่คือขอใดก. สารนิโคตินข. สารทารค. คารบอนมอนนอกไซดง. ไซยาไนด

13. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล สงผลกระทบตอปญหาใดมากที่สุดก. โรคตับแข็ง ความดันโลหิตสูง อุบัติเหตุข. โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคเบาหวานค. โรคอวน โรคกระเพราะ โรคปอดง. โรคมะเร็ง โรคเครียด โรคไตวายเฉียบพลัน

14. สารเคมีที่ใชทําแอลกอฮอล (สุรา) คืออะไรก. เอทานอลข. เมทานอลค. โฟลิดอลง. ไนโตรซามีน

15. อัตราการตรวจวัดแอลกอฮอลขณะขับขี่ตองไมเกินกี่มิลลิกรัมก. ไมเกิน 30 มิลลิกรัมข. ไมเกิน 50 มิลลิกรัมค. ไมเกิน 70 มิลลิกรัมง. ไมเกิน 90 มิลลิกรัม

Page 106: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

95

สวนที่ 3 เจตคติตอหลัก 3อ 2ส คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองความที่ตรงกับความเปนจริงของทาน

ขอความเห็นดวยอยางยิ่ง

เห็นดวย ไมแนใจไมเห็น

ดวย

ไมเห็นดวย

อยางยิ่ง1. การลด และควบคุมน้ําหนักตองกินใหนอยลงและออกกําลังกายใหมากขึ้น2. การงดขาว แปง น้ําตาล น้ํามัน แลวกินเฉพาะเนื้อสัตว ชวยใหลดน้ําหนักไดเร็วขึ้น3. การจํากัดขาว แปง ใหนอยลง แลวกินผักเพิ่มขึ้น ชวยใหอิ่มทองและลดน้ําหนักได4. การควบคุมอาหารจํากัดชนิดและปริมาณอาหารเปนสิ่งที่ทําไดยาก5. การควบคุมอารมณใหเปนปกติเปนผลดีตอการควบคุมน้ําหนัก6. การควบคุมอารมณใหเปนปกติทุกวันนั้น เปนสิ่งที่ทําไดยาก7. การออกกําลังกายเปนประจํานั้นดีตอการควบคุมน้ําหนักแตทําไดงาย8. ความขี้เกียจ คือ สาเหตุสําคัญที่ทําใหทานไมไดออกกําลังกายสม่ําเสมอ9. ความตั้งใจจริง คือปจจัยสําคัญที่ทําใหทานออกกําลังกายสม่ําเสมอ10. การสูบบุหรี่ 1 ซองตอวัน ไมเปนอันตรายตอสุขภาพ11. การสูบบุหรี่มีทั้งอันตรายและผลเสียมากกวาผลดี12. การสูบบุหรี่เปนเรื่องปกติของคนธรรมดาทั่วไป13. การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลเปนประจําทําสงผลเสียตอสุขภาพ14. เครื่องดื่มแอลกอฮอลชวยบรรเทาความเครียดได15. การดื่มแอลกอฮอลทําใหเกิดโรคตางๆ เชน ความดันโลหิตสูง

Page 107: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

96

สวนที่ 4 พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ 2ส คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย √ ลงในชองความถี่ในการการปฏิบัติที่ตรงกับความเปนจริง

ความถี่ในการปฏิบัติขอความ 6-7 วัน/

สัปดาห4-5วัน/สัปดาห

3วัน/สัปดาห

1-2 วัน/สัปดาห

ไมปฏิบัติ

1. กินอาหารที่มีไขมันสูง อาหารทอดหรือกะทิ2. กินอาหารรสเค็มหรือหวานจัด หรือเติมน้ําปลา/น้ําตาลเพิ่ม3. กินผักและผลไมสด สะอาด เสมอวันละอยางนอยครึ่งกิโลกรัม4. มีการยืดเหยียด เชน การกมเอามือแตะพื้น ประสานมือไวเหนือศรีษะหลังดันขึ้น การกมลงเอามือแตะพื้น การเหยียด และฝกความแข็งแรงของกลามเนื้อ5. ทํางานใชแรงงานหรือเคลื่อนไหวตอเนื่องจนรูสึกเหนื่อยมีเหงื่อออก6. ออกกําลังกายตอเนื่องจนรูสึกเหนื่อยอยางนอย 5 วันๆ 30 นาที7. เมื่อเครียด/วิตกกังกล/หงุดหงิดแลวทานมีการออกกําลังกายผอนคลาย8. นอนไมหลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจ9. รูสึกหงุดหงิด รําคาญใจ10. พฤติกรรมการสูบบุหรี่ของทาน11. การสูบบุหรี่ของคนในครอบครัว12. การสัมผัสหรือใกลชิดคนสูบบุหรี่13. การดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลทาน14. การดื่มสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของคนใกลชิด เชน เพื่อนรวมงาน แฟน เปนตน15. การซื่อเครื่องดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลของคนในครอบครัว

Page 108: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

97

บรรณานุกรมหนังสือกองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. 2552. ถอดบทเรียนโครงการ

เฉลิมพระเกียรติ 57 พรรษา มหาวชิราลงกรณ หมูบานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: นิวธรรมดาการพิมพ (ประเทศไทย) จํากัด.

จุฑารัตน เอื้ออํานวย. (2549). จิตวิทยาสังคม.กรุงเทพฯ: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย.สํานักนโยบายและยุทธศาสตร กระทรวงสาธารณสุข. 2554. กรอบยุทธศาสตรงานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคระดับชาติ ป 2554 – 2557.พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สามเจริญพาณิชย (กรุงเทพ) จํากัด

วารสารตวงพร กตัญุตานนท. “ภาวะโภชนาการและพฤติกรรม 3อ.ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจํา

หมูบาน” มอก.วิชาการ 17,33 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2556) : 83มงคล การุณงามพรรณและสุดารัตน สุวารีและนันทนา น้ําฝน. “ พฤติกรรมสุขภาพและภาวะ

สุขภาพของคนทํางานในสถานประกอบการเขตเมืองใหญ พื้นที่ เขตสาทรกรุงเทพมหานคร” ว.พยาบาลสงขลานครินทร 32,3 (กันยายน – ธันวาคม 2555) : 51

ศิริพร เทพสูตรและปฏิภาส สาแช. “ พฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส ของประชาชนอายุ 15 ปขึ้นไปในพื้นที่การดําเนินงานหมูบานปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจังหวัดเพชรบุรี” สุขศึกษาและสื่อสารสุขภาพ 1,1 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557) : 30-42

สัญญา เคณาภูมิ. “ การสรางกรอบแนวคิดการวิจัยทางรัฐประศาสนศาสตรโดยวิธีการจัดการความรู” ราชพฤกษ 12,1 (มกราคม-เมษายน 2557) : 6

อภิญญา บานกลางและเบญจา มุกตพันธุ. “ ทัศนคติดานการปองกันโรคเบาหวานของพนักงานราชการและรัฐวิสาหกิจที่มีภาวะกอนเบาหวานในพื้นที่อําเภอเมืองจังหวัดขอนแกน” สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 6 ขอนแกน 18,2 (กุมภาพันธ – พฤษภาคม 2554) : 38

อัญฐิริมา พิสัยพันธและจรรยา ภัทรอาชาชัยและกัณฑวีร วิวัฒนพาณิชย. “ ความสัมพันธของปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมสุขภาพในกลุมผูใหญ” ธรรมศาสตรเวชสาร 13,3 (กรกฎาคม – กันยายน 2556) : 352

Page 109: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

98

บรรณานุกรม(ตอ)

วิทยานิพนธ/สารนิพนธกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล. 2552. การจัดการความรูของหนวยงานใน

มหาวิทยาลัยมหิดล. งานวิจัยของกองพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยมหิดล.จารุรินษ หูสันเทียะ. 2551. คุณภาพชีวิตในการทํางานของพนักงานในหนวยงานบัญชี สวนกลาง

ศึกษาเฉพาะกรณี : บริษัท เซ็นทรัล กรุป จํากัด.สารนิพนธปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกริก.

จรุง วรบุตร. 2550. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนวัยกลางคนอําเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชาญชลักษณ เยี่ยมมิตร. 2556. การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฎรําไพพรรณีปการศึกษา 2554. ปริญญานิพนธ กศ.ม. พลศึกษา. กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ชุติมา สาเจริญ. 2557. เจตคติตอการเรียนวิชาวิทยาศาสตร ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลยีสหะพาณิชยบริหารธุรกิจ.งานวิจัยนี้เปนสวนหนึ่งในการพัฒนาผูเรียนวิทยาลัยเทคโนโลยีสหะพาณิชยบริหารธุรกิจ ปการศึกษา 2557.

ดวงตะวัน อินขาว. 2553. การบริโภคอาหารของนักศึกษามหาวิทยาลังเกริก. สารนิพนธปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ

มหาวิทยาลัยเกริก.เนตรนภา กิจรุงพิพัฒนและอนุสรา พันธุนิธิทร. 2555. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยศิลปากรวิทยาเขตสารสนเทศเพชรบุรี. ผลการวิจัยระดับปริญญาตรี บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทั่วไป คณะวิทยาการจัดการ

มหาวิทยาลัยศิลปกร.เบญจมาศ นาควิจิตร. 2551. ปจจัยทางจิตสังคมที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง

และความสุขของผูสูงอายุในชมรมผูสูงอายุของโรงพยาบาลสังกัดสํานักการแพทย

Page 110: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

99

กรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตรประยุกต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บรรณานุกรม(ตอ)วิทยานิพนธ/สารนิพนธพระสุทธิพจน สุทธิวนโน (สัพโส). 2556. พฤติกรรมสุขภาพของพระสงฆในอําเภอพังโคน

จังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาพุทธศาสนามหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาสังคม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พรพิมล หรรษาภิรมยโชค. 2554. การศึกษาสภาพการจัดการความรูของโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาในเขตภูมิภาคตะวันตก. งานวิจัยไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะศึกษาศาสตรและพัฒนศาสตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน

จังหวัดนครปฐม.ภัทรภร เฉลยจรรยา. 2558. การศึกษาความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมดานสุขาภิบาลอาหารของผู

สัมผัสอาหารที่ไดรับการอบรมสุขาภิบาลอาหารของมหาวิทยาลัยศิลปากรวังทาพระ.งานวิจัยเพื่อพัฒนางานและนําเสนอขอรับการกําหนดระดับตําแหนงชํานาญการพิเศษ

กองกิจการนักศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.มาลัยพร เทวะประสิทธิ์พร. 2556. ศึกษาความรูดานการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร

สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ. งานวิจัยไดรับทุนสนับสนุนจากเงินรายไดแผนอนุรักษ สงเสริมและพัฒนาศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ผลผลิต : ผลงานทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม.

รุงศักดิ์ พงษไสว. 2550. การจัดการความรูเกี่ยวกับจุดหมายปลายทางของนักทองเที่ยว : กรณีศึกษาจังหวัดราชบุรี. การคนควาอิสระหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาควิชาคณิตศาสตร บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.

วรรณวิมล เมฆวิมล. 2553. พฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ฝกปฏิบัติงานของนักศึกษาสาขาวิชาการแพทยแผนไทยประยุกต คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

Page 111: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

100

มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. รายงานการวิจัย ไดรับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

วชิราพรรณ เทพิน. 2553. ปจจัยทางชีวจิตสังคมที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพผูสูงอายุของผูดูแลผูสูงอายุ. สารนิพนธหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยา-พัฒนาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

บรรณานุกรม(ตอ)วิทยานิพนธ/สารนิพนธวิกรม อารีราษฎร. 2547. ความพรอมของพนักงานบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในการยาย

ที่ทําการจากทาอากาศยานสากลกรุงเทพ (ดอนเมือง) ไปสูทาอากาศยานสากลสุวรรณภูมิ.วิทยานิพนธหลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(รัฐศาสตร) สาขารัฐศาสตรบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สลินทิพย เลิศพงศภากรณ. 2554. ความรู ทัศนคติและพฤติกรรมการปฏิบัติงานของพนักงานสถานีโทรทัศน Thai PBS ในเรื่องความรับผิดชอบตอสังคม (CSR) ของสื่อสาธารณะ.วิทยานิพนธหลักสูตรวารสารศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารสื่อสารมวลชน คณะวารสารศาสตรและสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

สุวภา พรหมมี. 2552. ความรู ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและการสงเสริมสุขภาพของขาราชการตํารวจ ศูนยอบรมตํารวจภูธรภาค 8. สารนิพนธวิทยาลัยการจัดการเพื่อการพัฒนา มหาวิทยาลัยทักษิณ.

สุวรรณา เชียงขุนทดและคณะ. 2556. ความรู และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษีเจริญ.งานวิจัยคณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยสยาม

สินีนารถ ศรีสรสิทธิ์และรัตนา ปานเรียนแสน. 2558. ความสัมพันธระหวางความรู ทัศนคติ และพฤติกรรมดูแลสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา กรุงเทพมหานคร.สารนิพนธหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการจัดการบริการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

สุรินทร สีระสูงเนินและดํารงค สีระสูงเนินและชีวี เชื้อมาก. 2554. การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ แบบพอเพียงดวยภูมิปญญาทองถิ่น ตําบลหนองชัยศรีอําเภอหนองหงส จังหวัดบุรีรัมย. งานวิจัยของโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหนองชัยศรี อําเภอหนองหงส จังหวัดบุรีรัมย.

Page 112: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

101

อังศินันท อินทรกําแหง. 2556. การสังเคราะหและการพัฒนาดัชนีวัดความรอบรูดานสุขภาพของคนไทย. งานวิจัยไดรับการสนับสนุนทุนจาก กองสุขศึกษาบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ปงบประมาณ 2556 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สื่ออิเล็กทรอนิกสขอมูลกรมอนามัยนํารองนโยบายไรพุง เอาจริงลดหวาน มัน เค็ม เขาถึงขอมูลไดจาก

https://th.wikipedia.org/wiki/ สืบคนเมื่อ 15 มีนาคม 2559ขอมูลบริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน) เขาถึงขอมูลไดจาก

http://www.betagro.com/corporate/th/about#vision สืบคนเมื่อ 11 มิถุนายน 2559ครูบานนอก เขาถึงขอมูลไดจาก http://www.kroobannok.com สืบคนเมื่อ 25 เมษายน 2559พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน. 2542. ความหมาย (ออนไลน). เขาถึงขอมูลไดจาก

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html,. สืบคนเมื่อ 25 เมษายน 2559ความหมายเจตคตินักจิตวิทยาอัลพอรท(Allport) เขาถึงขอมูลไดจาก

http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html สืบคนเมื่อ 22 มิถุนายน 2559ประเภทเจตคติ เขาถึงขอมูลไดจาก http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html สืบคนเมื่อ

22 มิถุนายน 2559การเกิดและการเปลี่ยนแปลงเจตคต ิเขาถึงขอมูลไดจาก

http://www.br.ac.th/E-learning/lesson4_2.html สืบคนเมื่อ 22 มิถุนายน 2559องคกรอนามัยโลก เขาถึงขอมูลไดจาก http://www.thairath.co.th/content/421258 สืบคนเมื่อ

11 มิถุนายน พ.ศ.2559

Page 113: ความรู เจตคติ และพฤติกรรม ...mis.krirk.ac.th/librarytext/MBA/2559/F_Tapanee...ความร เจตคต และพฤต กรรมส

102

ประวัติผูวิจัยชื่อ นางสาว ฐาปนี สิริรุงเรืองวัน เดือน ปเกิด 12 ตุลาคม 2531สถานที่เกิด เพชรบุรี

ประวัติการศึกษาปการศึกษา 2554 วิทยาศาสตรบัณฑิต คณะวิทยาศาสตร สาขาวัสดุศาสตร

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยปการศึกษา 2559 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2554 – 2557 บริษัท ไทยวาโก จํากัด (มหาชน)

ตําแหนง เจาหนาที่จัดซื้อพ.ศ. 2557 – ปจจุบัน บริษัท เบทาโกร จํากัด (มหาชน)

ตําแหนง เจาหนาที่จัดซื้อ แผนกจัดซื้อทั่วไป (POM)