การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู...

13
ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà ÍÕÊà·Íà ¹ ปที11 ฉบับที3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 226 การพัฒนาทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมในศตวรรษที21 โดยชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที2* Learning and Innovations Skills Development in 21 th Century Using STEM Learning Activity Package Entitled “Separation of Matter” for Mathayomsuksa II Students อโนดาษ รัชเวทย 1** , ฐิชินีปกรณ สมแกว 2 , ปภาวี อุปธิ 3 Anodar Ratchawet 1** , Thichineepakorn Somkeaw 2 , PaphaweeAupathi 3 1,2,3 ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม เลขที202 ถนนชางเผือก ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 50300 1,2,3 Department of Chemistry, Faculty of Science and Technology, Chiang Mai Rajabhat University 202 Chang Phueak Road, Chang Phueak Sub-district, Muang District, Chiang Mai 50300 * เรียบเรียงจากงานวิจัยฉบับสมบูรณ เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู โดยชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสารของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที2 ** ผูเขียนหลัก (ผูชวยศาสตราจารย ดร. ประจําภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม) อีเมล: [email protected] บทคัดยอ จากการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนตาม แนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร 2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง การแยกสาร 3) เพื่อศึกษาทักษะการเรียนรู และนวัตกรรมของผู เรียน โดยกลุ มตัวอยางที่ใช คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที2 ปการศึกษา 2558 โรงเรียนสันทรายหลวง อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม สํานักงานเขตพื้นทีการศึกษาเชียงใหม เขต 2 จํานวน 1 หองละ 22 คน โดยไดจากการเลือกแบบสุ มอยางงาย จากผลจากการวิจัย พบวา 1) ชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร ที่สรางขึ้นนั้น มีคาประสิทธิภาพของ ชุดการเรียนการสอนที่ผานการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ และทดสอบประสิทธิภาพกับนักเรียนกลุมตัวอยางมี คาเทากับ 77/76 สูงกวาที่ตั้งไวคือ 75/75 2) เมื่อใชชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร พบวา ในแผนการจัดการเรียนรูที1 - 7 เปนการใหความรูทางดานการแยกสาร (วิทยาศาสตร) สวนการจัด กิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรูที8 เรื่อง มาแยกสารกันเถอะ เปนการประมวลความรูของนักเรียน โดยกําหนดสถานการณวา ใหนักเรียนทําการทดลองแยกสาร โดยมีการออกแบบการทดลอง (วิศวกรรมศาสตร )

Upload: others

Post on 20-Jun-2020

14 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560226

การพัฒนาทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมในศตวรรษท่ี 21 โดยชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา

เรื่อง การแยกสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2*Learning and Innovations Skills Development in 21th Century

Using STEM Learning Activity Package Entitled “Separation of Matter” for Mathayomsuksa II Students

อโนดาษ รัชเวทย1** , ฐิชินีปกรณ สมแกว2 , ปภาวี อุปธิ3 Anodar Ratchawet1** , Thichineepakorn Somkeaw2 , PaphaweeAupathi3

1,2,3ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม

เลขที่ 202 ถนนชางเผือก ตําบลชางเผือก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม 503001,2,3Department of Chemistry, Faculty of Science and Technology, Chiang Mai Rajabhat University

202 Chang Phueak Road, Chang Phueak Sub-district, Muang District, Chiang Mai 50300

* เรียบเรียงจากงานวิจัยฉบับสมบูรณ เรื่อง ผลการจัดการเรียนรู โดยชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสารของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาชั้นปที่ 2** ผูเขียนหลัก (ผูชวยศาสตราจารย ดร. ประจําภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม) อีเมล: [email protected]

บทคัดยอ จากการวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนตาม

แนวสะเตม็ศกึษา เรือ่ง การแยกสาร 2) เพือ่ศึกษาผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนในรายวชิาวทิยาศาสตร เรือ่ง การแยกสาร

3) เพือ่ศกึษาทกัษะการเรียนรูและนวัตกรรมของผูเรียน โดยกลุมตัวอยางทีใ่ช คือ นกัเรียนระดับช้ันมธัยมศกึษา

ปที่ 2 ปการศึกษา 2558 โรงเรียนสันทรายหลวง อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม สํานักงานเขตพื้นที่

การศกึษาเชยีงใหม เขต 2 จาํนวน 1 หองละ 22 คน โดยไดจากการเลอืกแบบสุมอยางงาย จากผลจากการวจิยั

พบวา 1) ชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศกึษา เรื่อง การแยกสาร ที่สรางขึ้นนั้น มีคาประสิทธิภาพของ

ชุดการเรียนการสอนท่ีผานการประเมินโดยผูเชี่ยวชาญ และทดสอบประสิทธิภาพกับนักเรียนกลุมตัวอยางมี

คาเทากบั 77/76 สงูกวาทีต่ัง้ไวคอื 75/75 2) เม่ือใชชดุการเรียนการสอนตามแนวสะเตม็ศกึษา เร่ือง การแยกสาร

พบวา ในแผนการจัดการเรียนรูที่ 1 - 7 เปนการใหความรูทางดานการแยกสาร (วิทยาศาสตร) สวนการจัด

กิจกรรมของแผนการจัดการเรียนรูที่ 8 เรื่อง มาแยกสารกันเถอะ เปนการประมวลความรูของนักเรียน

โดยกําหนดสถานการณวา ใหนกัเรียนทําการทดลองแยกสาร โดยมีการออกแบบการทดลอง (วศิวกรรมศาสตร)

Page 2: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 227

ใหนักเรียนตัดสินใจท่ีจะใชอุปกรณที่จําเปนตองใชในการแยกสาร ในราคาท่ีกําหนดโดยผูวิจัย (คณิตศาสตร)

และการปรบัปรุงนวัตกรรมท่ีนกัเรียนสรางข้ึน (เทคโนโลย)ี พบวา นกัเรียนมีการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยีน

หลังเรียนสูงกวากอนเรียนดวยคะแนนรอยละ 2 ที่ระดับนัยสําคัญ 0.05 3) นักเรียนมีทักษะการเรียนรูและ

นวัตกรรม โดยประเมินพฤติกรรมออกเปน 3 ดานดังนี้ 1) การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 2) การสื่อสาร

และการมีสวนรวม และ 3) ความคิดสรางสรรคและนวัตกรรม โดยเฉลี่ยมีคาเทากับ 3.62 ซึ่งอยูในระดับมาก

คําสําคัญ ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม ชุดการเรียนการสอน สะเต็มศึกษา การแยกสาร

Abstract The objectives of this research were 1) to study effectiveness of learning activity packages

with entitled “Separation of matters”, and 2) to study the academic achievement of students, in

science subject with entitled “Separation of matters”. 3) to study Learning and Innovations skills of

students. 22 students, in 1 classroom, who were in Matthayomsuksa II in Sun-Sai Luang School, in

the County Office of Education District 2 area, Chiang mai province was a sample group, in the

2015 academic year, with a group random sampling technique. The research findings found that

1) the learning activity packages which constructed had the effectiveness, evaluated by the experts

and using with the target group, had value of 77.00/76.00 that higher than the preset (75/75). 2)

After using the learning activity packages (8 lesson plans, 10 hours) found that, in the lesson plans

no. 1 - 7 were the knowledge about separation of matter (Science). In lesson plan no. 8 with entitled

“Let’s separation the matter” that the activity about comprehensive in all learnings. The researcher

had determined the situation for students to design in separation the matter with experiment

(Engineering process). In the same time, the students could make a decision making in choosing

the apparatus with the price that specify already by the researcher (Mathematics). Finally, the

improving processes for the students’ innovations (Technology). The academic achievement, of

the students, had the development in the post-instruction score more than in the pre-instruction

score 2% with .05 level of different statistical significant. 3) The learning and the innovation skills of

students, by evaluating in 3 aspects, Critical thinking and problem solving skills, Communication

and participation skills and creativity and innovation skills, was in the average value of 3.62 which

in the high level.

Page 3: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560228

Keywords The Learning and the Innovation Skills, Learning Activity Packages,

STEM Education, Separation of Matter

บทนํา การศึกษาของประเทศไทย ไดมีการพัฒนาหลักสูตรใหมีความกาวหนาอยูเสมอโดยการพัฒนา

หลักสูตรนั้น ตองยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปพุทธศักราช 2551 ของกระทรวงศึกษาธิการ

เปนหลกั สาํหรบักลุมสาระการเรียนรูวทิยาศาสตร ซึง่มเีปาหมายใหผูเรยีนทกุคน นาํความรูและกระบวนการ

ทางวิทยาศาสตรไปใชในการศึกษาหาความรู และแกไขปญหาอยางเปนระบบการคิดอยางมีเหตุผล

คิดวิเคราะห คิดสรางสรรค และมีจิตวิทยาศาสตร โดยมุงเนนความเปนไทยควบคูกับความเปนสากล

โดยวิชาวิทยาศาสตร สามารถบูรณาการรวมกับวิชาอื่นๆ ได เชนเดียวกับ รูปแบบการจัดการศึกษา ที่เรียกวา

รปูแบบ STEM ซึง่ยอมาจาก Science, Technology, Engineering and Mathematics เปนแนวทางการเรียน

การสอนทีม่ลีกัษณะของการบรูณาการการเรยีนการสอนท้ังสีส่าขาวิชาเขาดวยกนั คอื วทิยาศาสตร (Science)

เทคโนโลยี (Technology) วิศวกรรมศาสตร (Engineering) และคณิตศาสตร (Mathematics) เพื่อใหผูเรียน

นาํความรูทกุแขนงมาใชในการแกปญหา และสรางสรรคนวัตกรรมใหมในชีวติประจาํวัน โดยอาศยัการจดัการ

เรียนรูดวยครูหลายสาขามารวมมือกัน วิชา Science เปนวิชาท่ีวาดวยการศึกษาปรากฏการณตางๆ

ในธรรมชาติ โดยอาศัยกระบวนการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร (Scientific Inquiry) สวน Technology เปนวิชา

ที่วาดวยกระบวนการทํางานท่ีมีการประยุกตศาสตรสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวของ มาใชในการแกปญหา ปรับปรุง

แกไขหรือพัฒนาส่ิงตางๆ เพื่อตอบสนองความตองการ หรือความจําเปนของมนุษย วิชาดาน Engineering

เปนวิชาท่ีเก่ียวกับการสรางสรรคนวัตกรรมหรือสรางส่ิงตางๆ เพ่ืออํานวยความสะดวกของมนุษย โดยอาศัย

ความรูดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และกระบวนการทางเทคโนโลยี มาประยุกตใชสรางสรรคชิ้นงานนั้นๆ

และวิชา Mathematics เปนวิชาที่วาดวยการศึกษาเกี่ยวกับการคํานวณ หรือ วิชาที่เก่ียวกับการคํานวณ

เปนพืน้ฐานสาํคญัในการศึกษาและตอยอดทางวิศวกรรมศาสตร สาํหรบัประเทศไทยน้ัน กระทรวงศกึษาธกิาร

ไดเรงผลักดันแนวทางการจัดการศึกษาระบบ “สะเต็มศึกษา” เพ่ือสรางความเขมแข็งใหแกการศึกษาไทย

และการศกึษาในประชาคมอาเซยีน โดยเริม่จากความรวมมอืในการประชมุเชงิปฏิบตักิารของผูบริหารสถานศึกษา

ในภูมิภาคอาเซียน เพื่อสรางวิสัยทัศนการเปนผูนําทางวิชาการ ใหมีความรูความเขาใจ และกลวิธีในการจัด

กิจกรรมการเรียนรู เพื่อปรับเปลี่ยนการสอนของครูในโรงเรียนตอไป การประชุมนี้ไดมาขยายผลในประเทศ

โดยความรวมมือของสถาบนัสงเสริมการสอนวทิยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลย ี(สสวท.) ทีร่บัผิดชอบ

เกี่ยวกับหลักสูตร การเรียนการสอนวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี โดยทาง สสวท. ไดจัดทําราง

ยทุธศาสตร ป พ.ศ. 2560-2569 โดยต้ังเปาท่ีจะพัฒนาเดก็ไทยใหมคีวามสามารถในระดับนานาชาติ ภายใน

ป พ.ศ. 2570 หรือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ของนักเรียนทุกชวงขั้นจะตอง

เพิ่มขึ้น รอยละ 4 ตอป ซึ่งจะวัดผลจากการสอบโอเนต (O-NET) โดยเปาหมายนี้จะใชระบบ “สะเต็มศกึษา”

Page 4: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 229

เปนกลยุทธหลักในการพัฒนา (ปญญานัตย วิเศษสมวงศ, 2558)

จากการสํารวจผลการเรียนของเด็กนักเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร จากผลคาเฉลี่ยการสอบทาง

การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ, 2556) พบวาในปการศึกษา 2555

สถิติคาเฉลี่ยผลคะแนนสอบ ในรายวิชาวิทยาศาสตร ของการสอบโอเนต (O-NET) มีคาเฉลี่ยตํ่ากวาเกณฑ

มาตรฐาน คือมีคาเฉลี่ย 33.10 คะแนน จากคะแนนสูงสุด 93.22 คะแนน และคะแนนคํ่าสุด 0.00 คะแนน

จากผูเขาสอบ 391,524 คน นอกจากนี้ ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน ประกาศผลโอเนต มัธยมศึกษา

ปที่ 6 คะแนนเฉลี่ยไดตํ่ากวาเกณฑและมีการจัดลําดับเขตพ้ืนที่การศึกษาท่ีมีคะแนนโอเนตตํ่ากวาเกณฑ

พบวาพ้ืนท่ีสวนใหญเปนเขตพืน้ท่ีการศึกษาใน 3 จงัหวดัชายแดนภาคใต และเขตพืน้ท่ีการศึกษาในภาคเหนือ

และในจังหวัดเชียงใหม เขต 6 เขต 2 และเขต 5 มีคาเฉลี่ย 39.97, 39.93 และ 39.04 คะแนน ตามลําดับ

แสดงวาจังหวัดเชียงใหมมีคะแนนตํ่ากวาเกณฑมาตรฐาน (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ, 2556)

จากแนวคิดขางตน ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาการนํารูปแบบการสอนแบบ STEM ซึ่งสถาบัน

สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สังกัดกระทรวงวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีได มีแนวคิดมา

จากหลายประเทศ ไดแก สหรัฐอเมรกิา องักฤษ ออสเตรเลีย และเยอรมนี ทีพ่ยายามพัฒนาแนวทางการเรียน

การสอนวิชาดังกลาวโดยทําใหเกิดการบูรณาการของการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร

โดยระบบสะเต็มศึกษาจะมุงสงเสริมการเรียนรูผานกิจกรรม หรือโครงงานที่มุงแกไขปญหาที่พบเห็นในชีวิต

จริง เพ่ือสรางเสริมประสบการณ ทักษะชีวิต ความคิดสรางสรรค นําไปสูการสรางนวัตกรรม ผูเรียนที่มี

ประสบการณในการทํากิจกรรมหรือโครงงานสะเต็มจะมีความพรอมท่ีจะไปปฏิบัติงานที่ตองใชองคความรู

และทักษะดาน วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เปนตน เพื่อนําไปสูการคิดแกไขปญหาทางวิทยาศาสตร (S)

กระบวนการการแกไขปญหา ปรับปรุงและพัฒนาสิ่งตางๆ (T) การสรางสรรค พัฒนานวัตกรรม ตางๆ

โดยใชวิทยาศาสตร (E) การนับจํานวน การจําแนก (M) เพื่อใหนักเรียนเขาใจในเนื้อหาของที่เรียนและนําไป

สูการแกไขปญหาของนักเรียนท่ีทําขอสอบไมผานหรือการไมเกิดความรูที่ ยั่งยืนและไมสามารถนําความรู

ที่มีอยูมาใชกับชีวิตประจําวันได โดยมีแนวคิดที่จะนํารูปแบบ การสอนแบบสะเต็มศึกษา มาประยุกตใช

ในเรื่อง การแยกสาร ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ซึ่งผูวิจัยจะนําชุดการสอน กิจกรรม แบบทดสอบ ไปใช

และศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร ประสิทธิภาพทางการเรียนและความพึงพอใจตอการเรียน

โดยชุดการสอนดังกลาว เพื่อที่จะทําใหนักเรียนเกิดการพัฒนาความรู และนําไปพัฒนาประยุกตใชกับชีวิต

ประจําวันไดตอไป

วัตถุประสงค 1. เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร

2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การแยกสาร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใช

ชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา

Page 5: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560230

3. เพื่อศึกษาทักษะการเรียนรู และนวัตกรรมของผู เรียน เรื่อง การแยกสาร ของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชชุดการเรียนการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา

วิธีการวิจัย การดาํเนนิการวิจยันัน้ ผูวจิยัใชแบบแผนการวิจยั ใชรปูแบบการทดลองแบบหน่ึงกลุมมกีารทดสอบ

กอนและหลังเรียน (One-Group Pretest- Posttest Design) โดยมีการทดสอบกอนเรียนกับนักเรียน

กลุมตัวอยางดวยแบบวดัผลสมัฤทธิท์างการเรียน ดาํเนนิการจัดการเรยีนการสอนชุดการสอนตามแนวสะเตม็

ศึกษา เร่ือง การแยกสาร โดยใชการจัดการเรียนรูตามแนวสะเต็มศึกษาทําการประเมินผลระหวางเรียน

(Formative Assessment) โดยทําการประเมินทักษะท่ีเกิดข้ึนระหวางการจัดการเรียนรูและนวัตกรรมของ

นกัเรียนระหวางดําเนินกจิกรรม และเกบ็คะแนนจากการท่ีนกัเรียนทําการทดลอง สงัเกตจากการตอบคําถาม

การใหความสนใจ การตอบคําถามในใบงานและจากผลงานของนักเรียน หลังจากน้ันจึงทดสอบหลังเรียน

แลวใหนักเรียนทําแบบประเมินความพึงพอใจตอชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา ดังน้ันจึงเปนการศึกษา

ผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีน ผลการจดัการเรยีนรู ทกัษะการเรยีนรูและนวัตกรรม ของนักเรยีนระดับชัน้มธัยมศึกษา

ปที่ 2 เรื่อง การแยกสาร โดยใชแนวการสอนแบบสะเต็ม ซึ่งมีวิธีการวิจัยดังนี้

1. ประชากรที่ใชในการวิจัย ในครั้งนี้ไดแก นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ปการศึกษา

2558 โรงเรียนสันทรายหลวง อําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชียงใหม เขต 2

จํานวน 3 หอง จํานวนนักเรียน 109 คน โดยกลุมตัวอยางไดมาจากการสุมอยางงาย จํานวน 1 หอง จํานวน

นักเรียน 22 คน

2. เครื่องมือที่ใชในการทําวิจัย ประกอบดวย

2.1 ชดุการสอนตามแนวสะเตม็ศึกษา เร่ือง การแยกสาร ประกอบไปดวย แผนการสอนทัง้หมด

8 แผน ใชเวลาทั้งหมด 10 ชั่วโมง

2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองการแยกสาร โดยเปนการถามความรู โดยตรง

และการประยุกตใชที่เกี่ยวของกับการแยกสาร เปนแบบปรนัย 4 ตัวเลือก มีทั้งหมด 35 ขอ ซึ่งผานการตรวจ

คุณภาพดานความตรงตอเน้ือหา (Validity) มีคาเทากับ 0.97 เม่ือนําไปทดลองใชกับนักเรียนระดับ

ชัน้มธัยมศกึษาปที ่3 โรงเรยีนสนัทรายหลวง ซึง่ไมใชกลุมตวัอยางจํานวน 32 คน ไดคาระดบัความยากงาย (p)

ซึง่เปนคาความยากงายของขอสอบรายขอแบบอิงกลุมเม่ือเทียบเกณฑมคีาอยูระหวาง 0.20-0.59 มคีาอาํนาจ

จําแนก (r) ซึ่งเปนคาอํานาจจําแนกของขอสอบรายขอ แบบอิงเกณฑจากการคํานวณโดยใช B-index มีคา

อยูระหวาง 0.23 – 0.50 นอกจากนี้ยังมีใบงาน 2 ชุด และแบบฝกปฏิบัติการ

2.3 แบบประเมินทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม แบบมาตราสวนประมาณคา (Rating Scale)

5 ระดับ ตามวีธีของลิเคิรท (Likert Scale) โดยมีจํานวนท้ังหมด 8 ขอ ผานการตรวจสอบคุณภาพดาน

ความตรงตอเนื้อหามีคาเทากับ 1

Page 6: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 231

2.4 การวเิคราะหขอมลู การหาประสิทธภิาพของกระบวนการและประสทิธภิาพ ของผลผลติ (E1/E2)

โดยใชคารอยละของคะแนนระหวางเรียน และรอยละคะแนนหลังเรียน การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง

การเรียน กอนเรียนและหลังเรียน โดยใชคาทดสอบที แบบกลุมที่ ไมเปนอิสระจากกัน (t-test Dependent)

รวมทั้งศึกษาระดับความพึงพอใจตอชุดกิจกรรม การแยกสารของนักเรียนกลุมตัวอยางดวยคาเฉลี่ยและ

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย 1. จากการศึกษาหาประสิทธิภาพของชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร

ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ไดผลดังแสดงในตารางที่ 1

ตารางที่ 1 แสดงผลการศึกษาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพผลลัพธ (E2) ของชุดการสอน

ตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร

( 30 )

(10 )

( 5 ) ( 5 )

( 10 )

163 89 94 163 730 7.40 4.045 4.28 7.41 22.8

S.D. 0.51 0.78 0.46 0.74 4.81 77 76

(E1/E2) = 77/76

จากตารางที่ 1 พบวา ผลการหาประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) และประสิทธิภาพผลลัพธ (E2)

ของชุดการสอนดังกลาว สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โรงเรียนสันทรายหลวง อําเภอสันทราย

จงัหวัดเชียงใหม ไดผลคือ 77/76 สงูกวาเกณฑทีก่าํหนดคอื 75/75 ซึง่ผูวจิยัไดยกตัวอยางของแผนการจัดการ

เรียนรูที่ 8 เรื่อง มาทดลองแยกสารกันเถอะ ที่ใชเวลา 3 ชั่วโมง ซึ่งการจัดการเรียนการสอน ครูผูสอนกําหนด

สถานการณวา ครูมีเงินใหนักเรียน จํานวน 500 บาท (จากใบงานที่ 2) พรอมใหนักเรียนทําการทดลอง

ในเรือ่งทีน่กัเรยีนไดตกลงกันภายในกลุม โดยนกัเรยีนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม และใหนกัเรยีนทาํการทดลอง

กลุมละ 1 การทดลองเทานั้น ดังนั้น กลุมที่ 1 ทําเรื่อง การกรอง กลุมที่ 2 ทําเรื่อง การระเหิด กลุมที่ 3 ทําเรื่อง

โครมาโทรกราฟ และ กลุมที่ 4 ทําเรื่อง การแยกแปงออกจากผงแมเหล็ก ซึ่งจากใบงานที่ 2 นักเรียนในแตละ

กลุมตองทราบหลักการในการแยกสารของกลุมตัวเองวามีหลักการอยางไร (S) เงินจํานวน 500 บาทนั้น

นักเรียนนําไปซื้อสารเคมีใดบาง และอุปกรณใดบางที่นักเรียนจําเปนตองใชในการแยกสาร และใหคํานวณ

Page 7: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560232

คาใชจายที่นักเรียนใชไปในเงินจํานวน 500 บาท (M) เมื่อนักเรียนทราบถึง หลักการใหนักเรียนออกแบบ

การทดลองวา ในการทดลองของนักเรียนมีวิธีการทดลองอยางไรในการแยกสารในแตละวิธีที่ผูวิจัยกําหนด

และนําเสนอวิธีที่เหมาะสมใหแกกลุมอ่ืนไดแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะไดอยางเหมาะสม

จากท่ีนักเรียนทําการทดลองน้ันมีขอผิดพลาดประการใด แลวนักเรียนมีการแกไขอยางไร (T) ซึ่งโดยรวม

จะพบวานกัเรียนมีความรูดานหลักการ วธิกีารทดลอง และวิธกีารแกปญหาเม่ือการทดลองของนักเรียนผิดพลาด

รวมไปถึงวิธีการคํานวณเงินจากจํานวนเงิน 500 บาท ซึ่งรูปภาพระหวางการจัดกิจกรรมแสดงได

ดังภาพที่ 1-3

ภาพที่ 1: แสดงภาพนักเรียนทําการทดลองเรื่องกรองสาร ภาพที่ 2: แสดงการทบทวนความรูกอนทําการสอบ

ภาพที่ 3: แสดงการนําเสนอผลการทดลองของนักเรียน

Page 8: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 233

2. จากการศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร เร่ือง การแยกสาร

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา

2.1 ผลการศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กอนและหลังเรียนไดรับการสอนดวย

ชดุการสอนตามแนวสะเตม็ศกึษา เรือ่ง การแยกสาร พบวาผลคะแนนการจดักจิกรรมกอนเรียนและหลงัเรยีน

โดยกอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ผูวิจัยไดใหเด็กนักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนและเมื่อจัดการเรียน

การสอนครบทุกหัวขอแลว ผูวิจัยไดใหนักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียนอีกครั้งโดยใชขอสอบชุดเดียวกัน

จากการศึกษาคะแนนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ไดคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน 11.59 และคะแนนเฉลี่ย

หลงัเรยีน 17.23 ตามลําดบั จากการเปรียบเทยีบความแตกตางของผลคะแนนกอนและหลังเรยีน โดยใชคาสถติิ

t-test จากการศึกษาคะแนนของนักเรียน โดยพบวามีพัฒนาการดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภายหลังไดรับ

การสอน กลาวคือมีคะแนนสูงกวากอนไดรับการสอน ที่เพิ่มขึ้นรอยละ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

0.05 ดังแสดงผลในตารางที่ 2

ตารางที่ 2

แสดงผลคะแนนภาพรวมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

N=22

x S.D. d S.D.d t Sig.(1-tailed)

11.59 4.12 5.64 2.11 12.56 0.0000 17.23 4.93

2.2 ผลการศึกษาทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมของผูเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

ในรายวชิาวิทยาศาสตร เม่ือไดรบัการสอนดวยชุดการสอนตามแนวสะเตม็ศึกษา เร่ือง การแยกสาร ใชวธิกีาร

จัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบ STEM ไดผลดังแสดงในตารางที่ 3 โดยมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้

4.50 – 5.00 หมายถึง มีทักษะมากที่สุด

3.50 – 4.49 หมายถึง มีทักษะมาก

2.50 - 3.49 หมายถึง มีทักษะปานกลาง

1.50 – 2.49 หมายถึง มีทักษะนอย

1.00 - 1.49 หมายถึง มีทักษะนอยที่สุด

Page 9: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560234

ตารางที่ 3

แสดงผลการสรุปการประเมินทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมของผูเรียน

X S.D

1. 3.41 2.12 2. 3.60 0.50 3. 3.84 1.04

3.63 1.22

จากขอมูลในตารางที่ 3 พบวา ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม โดยเฉลี่ยมีคาเทากับ 3.63 จัดอยู

ในระดับมาก โดยผลการประเมินเฉลี่ยในดานความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมมีคาสูงที่สุด รองลงมาดาน

การสื่อสารและการมีสวนรวมและการคิดวิพากษและการแกปญหา ตามลําดับ

อภิปรายผลการวิจัย 1. ตอนที่ 1 การศึกษาหาประสิทธิภาพของชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร

ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 75/75

การศึกษาหาประสิทธิภาพของชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา ที่ไดพัฒนาขึ้นในรายวิชา

วิทยาศาสตร เรื่อง การแยกสาร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 พบวา แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน

มีคา IOC เทากับ 0.97 เมื่อเทียบกับเกณฑแลว คา IOC ที่ไดมากกวา 0.5 (กรมวิชาการ, 2546, 65)

แสดงวา แบบทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนน้ีสามารถนําไปทดสอบในการวัดผลสัมฤทธิ์ได นอกจากนี้

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิมีคาอํานาจจําแนกขอสอบรายขอท่ีสามารถนําไปใชไดทุกขอ เน่ืองจากมีคา

อยูระหวาง 0.23 – 0.50 (ลวน สายยศ และ องัคณา สายยศ, 2548 ) โดยมีคาอาํนาจจาํแนกของขอสอบรายขอ

แบบอิงเกณฑ ซึ่งไดจากการคํานวณโดยใช B-index ซึ่งถาหากคา IOC มีคามากกวาหรือเทากับ 0.20

แสดงวา สามารถนําขอสอบนีไ้ปใชในการวดัผลสัมฤทธ์ิทางการเรยีนของนกัเรียนได สวนคา B-index ทีน่อยกวา

0.2 หมายถึง ไมสามารถนําไปใชได สวนคาความยากงายของขอสอบรายขอแบบอิงกลุมเมื่อเทียบเกณฑ

มีคา 0.20-0.59 หมายถึง ขอสอบนั้นเปนขอสอบที่เหมาะสมสําหรับการนําไปใชทุกขอ และขอสอบที่มีคา

ความยากงายท่ีมากกวา 0.80 หมายถึง ขอสอบชุดนี้มีความงายมาก สวนขอสอบท่ีมีคาความยากงาย

ที่มีคานอยกวา 0.2 จะถือวาเปนขอสอบท่ีมีความยากมากเกินไป จึงเปนขอสอบท่ีมีคาควรปรับปรุงหรือ

ตดัทิง้ เมือ่เปรียบเทียบจากการคาํนวณ แลวพบวาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิมคีวามเหมาะสม สาํหรับการนาํ

ไปใชไดทุกขอ และมีประสิทธิภาพของนวัตกรรมทางการศึกษาที่ไดสรางข้ึน ตามเกณฑความสัมพันธ

ระหวางกระบวนการและผลลัพธ เทากับ 77/76 ซึง่สูงกวาเกณฑทีก่าํหนดไว คอื 75/75 แสดงวา การจัดกิจกรรม

Page 10: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 235

การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เทากับ 77 ซึ่งมีคาสูงกวาเกณฑและมีประสิทธิภาพ

ผลลัพธโดยเฉลี่ย ( E2 ) เทากับ 76 ซึ่งมีคาสูงกวาเกณฑที่กําหนดไวทั้งสองกรณี แสดงวาการใชชุดกิจกรรม

นี้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพทั้งกระบวนการและผลลัพธที่เกิดขึ้นกับนักเรียน และ

ขอมูลดังกลาวยืนยันวาการสรางชุดการสอนดังกลาวสอดคลองกับวัตถุประสงคของงานวิจัย

2. ตอนท่ี 2 ศกึษาผลการใชชดุการสอนกับนกัเรียนระดบัช้ันมธัยมศกึษาปที ่2 โรงเรียนสันทรายหลวง

ไดศึกษาผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน 3 ประเด็นดังนี้

2.1 สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง การแยกสาร กอนเรียนและ

หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 โดยใชชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เร่ือง การแยกสาร

สรุปไดวา นักเรียนสามารถนําความรูและกระบวนการทางวิทยาศาสตรไปใชในการแกไขปญหา อยางเปน

ระบบ การคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค และคิดอยางมีเหตุผล นอกจากนี้ผลคะแนนของนักเรียนหลังจากไดรับ

จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนี้ พบวา นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ไดคะแนนเฉลี่ยกอนเรียน 11.59

และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน 17.23 ตามลําดับ โดยเปรียบเทียบความแตกตางของ ผลคะแนนกอนและหลัง

เรียนจากคาสถิติ t-test พบวามีพัฒนาการดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภายหลังไดรับการสอนมีคะแนนสูง

กวากอนไดรับการสอนที่เพิ่มขึ้นรอยละ 2 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐาน

ที่ตั้งไว แสดงวานักเรียนมีความเขาใจเนื้อหาดังกลาวมากขึ้น ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดีขึ้นอยางเห็นไดชัด

ซึง่งานวจิยันีส้อดคลองกบังานวจิยัของ Telley (2012) ไดศกึษาการจดัการเรียนการสอน STEM โดยใชโครงงาน

เปนฐาน (PBL) และบูรณาการกระบวนการออกแบบทางวิศวกรรมในหนวยการเรียนรูเร่ือง ระบบโลก

พบวา ระดับผลการเรียนของนักเรียนเพ่ิมข้ึน และมีระดับของการมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูสูงข้ึน

และงานวิจัยของ Becker & Park (2011) ไดศึกษาการบูรณาการ STEM ลงสูการศึกษาทางวิศวกรรมศาสตร

กับผูเรียนในระดับอุดมศึกษา พบวา นักศึกษามีความเขาใจในวิชาคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร เขาใจถึง

เหตุผลวาทาํไมตองรูสิง่เหลานัน้และสงผลตอการเกิดแรงบนัดาลใจในการเรียนรูคณติศาสตรและวิทยาศาสตร

2.2 การศึกษาทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมของผูเรียนเมื่อไดรับการสอนดวยชุด การสอน

ตามแนวทางสะเต็มศึกษา เร่ือง การแยกสาร นักเรียนท่ีไดรับการสอน มีทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม

โดยมีคะแนนเฉลีย่ 3.63 ซึง่ จดัอยูในระดบัมาก ถาพจิารณาในแตละดานจะพบวา ในดานความคดิสรางสรรค

และนวัตกรรม นักเรียนไดคะแนนเฉลี่ยสูงสุดที่ 3.84 จัดอยูในระดับมาก โดยเฉพาะเรื่องความคิดสรางสรรค

และการนํานวัตกรรมสูการปฏิบัติ ทั้งน้ีเปนผลมาจากรูปแบบการในการดําเนินกิจกรรมไดเนนใหนักเรียนนํา

องคความรูทีเ่รยีนมาบูรณาการในการออกแบบนวตักรรมใหมเพ่ือแกปญหาในสถานการณทีก่าํหนด ซึง่แตละกลุม

ออกแบบนวัตกรรมที่แตกตางกันตามความคิดสรางสรรคของแตละกลุม และสามารถนําไปแกปญหา

ในสถานการณที่กําหนดได นอกจากน้ีในสวนของการส่ือสาร และการทํางานรวมกับผูอื่นอยางสรางสรรค

ก็มีคะแนนเฉลี่ยสูงรองลงมา ทั้งนี้เปนผลมาจากการดําเนินกิจกรรม และจะใหนักเรียนทํางานในรูปแบบของ

การทํางานเปนกลุม จึงควรสงเสริมใหนักเรียนมีการแลกเปล่ียนความคิดเห็นในการออกแบบนวัตกรรมและ

การนําเสนอความคิดในการออกแบบนวัตกรรมหนาช้ันเรยีนและรวมกนัตอบคําถามหนาช้ันเรยีน จงึจะทําให

Page 11: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560236

นักเรียนทํางานรวมกันอยางมีความสุข และสรางสรรค สอดคลองกับผลงานวิจัยของ Ning (2013) ไดศึกษา

การเพิ่มความสนใจในการเรียนรูแบบสะเต็มศึกษา ผานการระดมสมอง โดยใชโย-โย ซึ่งจากงานวิจัยของ

Telley (2012) ทีก่ลาวไวในตอนตน ในสวนของนักเรียนมีระดับของการมีสวนรวมในกระบวนการเรียนรูสูงข้ึน

เชนกัน

จากทุกขอท่ีกลาวมาสอดคลองกับการศึกษาในรูปแบบสเต็มศึกษาท่ีขวัญทิวา ตั้งม่ัน, ปรางวลัย

จาํปาลี, อภิชาต อนุยับรรณ และ วนิยั ทองมาก (2555) ซึง่ไดทาํงานวจิยัเร่ืองสะเตม็ศึกษากับนักเรียนโรงเรยีน

ภมูิซรอลวทิยา จงัหวดัศรสีะเกษ เรือ่งอปุกรณกําจัดวัชพืชอนรุักษนํา้ และ เกศนิี อนิถา, ภาณพุัฒน ชยัวร และ

อโนดาษ รัชเวทย (2558) ไดทําการศึกษาการสรางและใชชุดกิจกรรม มหัศจรรยยางพารา โดยใชชุดการสอน

แบบสะเต็มศกึษากับนกัเรียนระดบัมธัยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนแมจนัวทิยาคม จงัหวัดเชยีงราย จากการ

ศึกษาทั้งสองงานวิจัย พบวาผูเรียนมีการคิดอยางเปนระบบ ในการบูรณาการความรูจากสิ่งที่ไดเรียน เพื่อนํา

มาใชในการสรางนวัตกรรมใหมๆ จากสถานการณทีก่าํหนดและมีการทํางานรวมกันเปนกลุมอยางสรางสรรค

และสอดคลองกับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (National Research Council, 2012) และพบวา

นกัเรียนมีประสิทธภิาพทางการเรยีนสูงขึน้อยางมีนยัสาํคญัหลังจากไดรบัการเรียนการสอนแบบสะเต็มศกึษา

มาบูรณาการความรูในสาขาวิชาตางๆ ได

สรุป การวิจัยไดชุดการสอนตามแนวสะเต็มศึกษา เรื่อง การแยกสาร ที่มีประสิทธิภาพ 77/76 ซึ่งสูงกวา

เกณฑทีต่ัง้ไวที ่75/75 และเม่ือนาํชดุการสอนไปใชกบันกัเรียนกลุมตวัอยาง ซึง่เปนนกัเรียนช้ันมธัยมศกึษาปที ่2

โรงเรียนสันทรายหลวง จํานวน 1 หองเรียน ซึ่งไดมาโดยวิธีการเลือกอยางงาย โดยผลการใชชุดการสอน

พบวามีพัฒนาการดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติที่ระดับ 0.05 และทักษะการเรียนรูและนวัตกรรมของนักเรียนเฉลี่ย เทากับ 3.63 อยูในระดับมาก

สําหรับ ขอเสนอแนะในการนําผลงานวิจัยไปใชประโยชน มีดังนี้

1. ชุดการสอนน้ีสามารถกําหนดไวในหลักสูตรของโรงเรียนได เพื่อใชวัดความคิดสรางสรรค

การแกปญหา การทํางานรวมกับผูอื่น ฯลฯ

2. หากในการทําวิจัยในคร้ังตอไป สามารถนําชุดการสอนอื่น มาปรับใชในแนวสะเต็มศึกษา

เพือ่พฒันาผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาของนักเรียนไดในทุกระดับชัน้และทกุวชิาโดยนํามาบูรณาการกันเพ่ือแกไข

ปญหาในชีวิตจริงได เปนการสนองความตองการนโยบายของชาติ รวมทั้งเปนการยกระดับความคิด ความรู

ของผูเรียน รวมถึงเปนการสนับสนุนทักษะการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ไดเปนอยางดี โดยเฉพาะทักษะ

การคิดอยางสรางสรรค ทกัษะการแกปญหา ฯลฯ นอกจากนี ้ครสูามารถเลอืกใชกลวธิกีารสอนตาง ๆ มาสอดแทรก

ไดอีกมากมาย

3. สามารถนําวิธีวัดผลในดานตาง ๆ มาเพิ่มเติม เพื่อดูผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ทั้งใน

ระหวางการจัดการเรียนการสอนหรือเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเรียนการสอนก็ได

Page 12: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560 237

4. จากผลการศึกษาชุดการสอนดังกลาว เปนชุดการสอนที่เปนแบบ Active Learning ที่สนับสนุน

ใหนักเรียนไดศึกษาเรียนรู จากสถานการณจริง และสามารถนํามาใชในการพัฒนาทักษะการเรียนรู

และนวัตกรรม เนนการเกิดความคิดสรางสรรคไดโดยสามารถวดัออกมาเปนตัวเลขถงึการพฒันาอยางแทจรงิ

สนับสนุนใหนักเรียนแสดงความรูความสามารถออกมา และสามารถทํางานเปนทีมไดดีเย่ียม ซึ่งสนับสนุน

การเรียนรูในยุค Thailand 4.0 ไดเปนอยางดี

เอกสารอางอิงเกศินี อินถา, ภาณุพัฒน ชัยวร และ อโนดาษ รัชเวทย. (2558). การสรางชุดกิจกรรมการเรียนรูเรื่อง

“มหัศจรรยยางพารา” โดยใชแนวการสอนแบบ STEM กับการพัฒนาการศึกษาในศตวรรษที่ 21

ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารครุพิบูล. 2 (ฉบับพิเศษ 1),132-141.

กรมวิชาการ. (2546). การจัดสาระการเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรู

สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: องคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.).

ขวัญทิวา ตั้งมั่น, ปรางวลัย จําปาลี, อภิชาต อุนัยบรรณ และ วินัย ทองมาก. (2555). งานวิจัยเรื่อง

อุปกรณกําจัดวัชพืชอนุรักษ (The Equipment Eradicates the Weed). โรงเรียนภูมิซรอลวิทยา

จังหวัดศรีสะเกษ โครงการยุวชนไทยรวมใจรักษนํ้า ป 2555.

ปณญานัตย วิเศษสมวงศ. (2558). สวนอาเซียนสํานักการประชาสัมพันธตางประเทศจากบทความ

ออนไลน. สืบคนเม่ือ 26 กุมภาพันธ 2558, จาก http://www.aseanthai.net/special-news- detail.

php?id=127.

ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2548). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. (พิมพครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ:

สุวีริยาสาสน

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ. (2556). คูมือการจัดสอบ O-NET. สําหรับศูนยสอบ 2556.

กรุงเทพฯ: สถาบันการทดสอบแหงชาติ (องคการมหาชน).

สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2551). หนังสือเรียนวิทยาศาสตร

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เรื่อง การแยกสาร ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2552. กรุงเทพฯ: การพิมพ สกสค ลาดพราว.

Becker, H. K. & Park, K. (2011). Effects on integrative approached among Science, Technology. Engineering, and Mathematics (STEM) subject on student’ learning: A preliminary meta- analysis. Journal of STEM Education. 12(5), 23 – 37.Ning, F. (2013). Increasing high school students’ Interest in STEM Education through collaborative brainstorming with yo-yos. Journal of STEM Education. 14(2), 8 – 14.Talley, T. (2012). STEM strategies: project based learning in earth/space systems. Retrieved December 13, 2013, from http: // www. utmb.edu/tstem/ articles/ STEMStrategies_

PBLand%20Earth_Space_Systems_Final.pdf.

Page 13: การพัฒนาท ักษะการเร ียนรู และนวัตกรรมในศตวรรษท ี่ 21 โดย ...journal.feu.ac.th/pdf/v11i3t3a20.pdf ·

ÇÒÃÊÒÃÇÔªÒ¡ÒÃÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑ¿Òà �ÍÕÊà·Íà �¹ปที่ 11 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม 2560 - กันยายน 2560238

PSRATI. (2556). ทําไมตองเปนการเรียนรูแบบ Stem Education. สืบคนเมื่อ 26 กุมภาพันธ 2558,

จาก https://lekratiporn.wordpress.com/2013/08/04/stem-education/.

National Research Council. (2012). Education for Life and Work: Developing Transferable

Knowledge and Skills in the 21st Century. Washington, DC: The National Academies Press.