วัดเจ้ามูล · 2015-08-14 · 2 สายตรงศาสนา...

4
สายตรงศาสนา 21 เข้าวัดวันธรรมสวนะ สรางเมอ พ.ศ. ๒๕๑๓ มพระพทธรูปปางมารวชย รูปลกษณะ เปนแบบพระพทธชนราช นามวา พระพทธรงษสมากร ขนาดหนาตกกวาง ๖ ศอก สูง ๖.๕๐ ศอก เปนพระประธาน ดานหลงพระประธานเขยนเปนภาพพระพทธเจาเสดจลงจาก สวรรคชนดาวดงส ฝาผนงเขยนเปนภาพเทวดาและเหตการณ ในพทธประวต บานหนาตางอโบสถ เขยนเปนภาพของ สำนวนไทย เชน ฝนทงใหเปนเขม ตกนำรดหวตอ อยาจบปลา สองมอ วิหาร เปนอาคารกออฐถอปูน กวาง ๗ เมตร ยาว ๘ เมตร มพระพทธรูปสมยอูทอง ขนาดหนาตกกวาง ๑.๒๐ เมตร มนามวา หลวงพอทบทม ซงเปนพระประธาน ของอโบสถหลงเกา ศาลาการเปรียญ เปนอาคารกออฐถอปูนทรงไทย กวาง ๑๐ เมตร ยาว ๑๙ เมตร สรางเมอ พ.ศ. ๒๕๒๘ ปจจบน พระครูโอภาสบุญวัฒน์ (บญเลศ โอภาโส ป.ธ.๓, น.ธ.เอก) เปนเจาอาวาส ประวัติความเป็นมา วัดเจ้ามูล เปนวดโบราณ สนนษฐานวาสรางขน ในสมยกรงศรอยธยา และจากการเลาตอ ๆ กนมา เลาวา มเชอพระวงศองคหนง มนามวา “พระองค์เจ้ามูล” ไดรอ ยายพระตำหนกของพระองคมาสรางถวายเปนกฏสงฆ ทรงเรอนไทยแบบสมยโบราณ ถวายใหเปนสมบตของสงฆ เปนทอยูของพระภกษผูเปนเจาอาวาส และทรงเปนผูรเรม สรางวดน ชาวบานตางพรอมใจกนตงชอวดนวา “วัดเจ้ามูล ราชพงศาวราราม” แตนยมเรยกแตเพยงสน ๆ วา วัดเจ้ามูล ในปจจบนน กฏทสรางจากพระตำหนกหลงนนไดชำรด เสยหายไปแลว สถานะและที่ตั้ง วดเจามูล ตงอยูเลขท ๒๖ ถนนจรญสนทวงศ แขวงทาพระ เขตบางกอกใหญ กรงเทพมหานคร มเนอท ๖ ไร ๑ งาน ๕๒ ตารางวา สิ่งสำคัญภายในวัด อุโบสถ เปนอาคารกออฐถอปูน กวาง ๘.๑๕ เมตร ยาว ๒๔.๗๐ เมตร หลงคาลด ๓ ชน ประดบชอฟา ใบระกา วัดเจ้ามูล กรมการศาสนาขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนเข้าวัดทุกวันธรรมสวนะณวัดใกล้บ้านหรือร่วมเข้าวัดกับ กรมการศาสนาซึ่งในเดือนธันวาคม๒๕๕๓กรมการศาสนามีกำหนดการเข้าวัดปฏิบัติธรรมณวัดเจ้ามูล (วันจันทร์ที่๖ธันวาคม)วัดยางสุทธาราม(วันอังคารที่๑๔ธันวาคม)วัดสันติธรรมาราม(วันอังคารที่๒๑ธันวาคม) วัดประดู่ฉิมพลี(วันพุธที่๒๙ธันวาคม)จึงขอนำเสนอประวัติวัดดังกล่าวโดยย่อเพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ทราบ

Upload: others

Post on 14-Aug-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วัดเจ้ามูล · 2015-08-14 · 2 สายตรงศาสนา วัดประดู่ฉิมพลี ใบไม้ บานประตูและหน้าต่างปิดทองประดับกระจกลายยา

สายตรงศาสนา 21

เข้าวัดวันธรรมสวนะ

สร้างเมื่อพ.ศ.๒๕๑๓มีพระพุทธรูปปางมารวิชัยรูปลักษณะ

เป็นแบบพระพุทธชินราช นามว่า พระพุทธรังษีสมากร

ขนาดหน้าตักกว้าง๖ศอกสูง๖.๕๐ศอกเป็นพระประธาน

ด้านหลังพระประธานเขียนเป็นภาพพระพุทธเจ้าเสด็จลงจาก

สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ฝาผนังเขียนเป็นภาพเทวดาและเหตุการณ์

ในพุทธประวัติ บานหน้าต่างอุโบสถ เขียนเป็นภาพของ

สำนวนไทยเช่นฝนทั่งให้เป็นเข็มตักน้ำรดหัวตออย่าจับปลา

สองมือ

วิหาร เป ็นอาคารก่ออ ิฐถ ือปูน กว ้าง ๗ เมตร

ยาว ๘ เมตร มีพระพุทธรูปสมัยอู่ทอง ขนาดหน้าตักกว้าง

๑.๒๐ เมตร มีนามว่า หลวงพ่อทับทิม ซึ่งเป็นพระประธาน

ของอุโบสถหลังเก่า

ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย

กว้าง๑๐เมตรยาว๑๙เมตรสร้างเมื่อพ.ศ.๒๕๒๘

ปัจจุบัน พระครูโอภาสบุญวัฒน์ (บุญเลิศ โอภาโส

ป.ธ.๓,น.ธ.เอก)เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติความเป็นมา

วัดเจ้ามูล เป็นวัดโบราณ สันนิษฐานว่าสร้างขึ ้น

ในสมัยกรุงศรีอยุธยา และจากการเล่าต่อ ๆ กันมา เล่าว่า

มีเชื้อพระวงศ์องค์หนึ่ง มีนามว่า “พระองค์เจ้ามูล” ได้รื้อ

ย้ายพระตำหนักของพระองค์มาสร้างถวายเป็นกุฏิสงฆ์

ทรงเรือนไทยแบบสมัยโบราณ ถวายให้เป็นสมบัติของสงฆ์

เป็นที่อยู่ของพระภิกษุผู้เป็นเจ้าอาวาส และทรงเป็นผู้ริเริ ่ม

สร้างวัดนี้ ชาวบ้านต่างพร้อมใจกันตั้งชื่อวัดนี้ว่า “วัดเจ้ามูล

ราชพงศาวราราม”แต่นิยมเรียกแต่เพียงสั้นๆว่าวัดเจ้ามูล

ในปัจจุบันนี ้ กุฏิที ่สร้างจากพระตำหนักหลังนั ้นได้ชำรุด

เสียหายไปแล้ว

สถานะและที่ตั้ง

ว ัดเจ ้ามูล ตั ้งอยู ่ เลขที ่ ๒๖ ถนนจรัญสนิทวงศ์

แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีเนื ้อที่

๖ไร่๑งาน๕๒ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด

อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๘.๑๕ เมตร

ยาว๒๔.๗๐ เมตรหลังคาลด๓ชั้นประดับช่อฟ้า ใบระกา

วัดเจ้ามูล

กรมการศาสนาขอเชิญชวนพุทธศาสนิกชนเข้าวัดทุกวันธรรมสวนะ ณ วัดใกล้บ้าน หรือร่วมเข้าวัดกับ

กรมการศาสนา ซึ่งในเดือนธันวาคม ๒๕๕๓ กรมการศาสนามีกำหนดการเข้าวัดปฏิบัติธรรม ณ วัดเจ้ามูล

(วันจันทร์ที่ ๖ ธันวาคม) วัดยางสุทธาราม (วันอังคารที่ ๑๔ ธันวาคม) วัดสันติธรรมาราม (วันอังคารที่ ๒๑ ธันวาคม)

วัดประดู่ฉิมพลี (วันพุธที่ ๒๙ ธันวาคม) จึงขอนำเสนอประวัติวัดดังกล่าวโดยย่อ เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้ทราบ

Page 2: วัดเจ้ามูล · 2015-08-14 · 2 สายตรงศาสนา วัดประดู่ฉิมพลี ใบไม้ บานประตูและหน้าต่างปิดทองประดับกระจกลายยา

22 สายตรงศาสนา

วิหาร เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๗ เมตร

ยาว ๑๑ เมตร มีพระพุทธรูปปูนปั้นปางสมาธิ หน้าตัก

กว้างประมาณ ๖๙ นิ ้ว เป็นพระประธาน ชาวบ้าน

บริเวณใกล้เคียงวัดเรียกว่า หลวงพ่อใหญ่ มีสิ่งที่แปลก

คือ นิ ้วหัวแม่มือไม่จดติดกัน นิ ้วหัวแม่มือขวาจะอยู ่

สูงกว่านิ้วหัวแม่มือซ้ายพระพักตร์อิ่มมีรอยยิ้ม

ศาลาการเปรียญ เป ็นอาคารก่ออ ิฐถ ือปูน

ทรงไทยกว้าง๑๐เมตรยาว๒๑เมตร

ปัจจุบันพระครูจันทสุทธิวัฒน์ (สายัณห์จนฺทวํโส

น.ธ.เอก,ป.ธ.๔)เป็นเจ้าอาวาส

วัดยางสุทธาราม

ประวัติความเป็นมา

วัดยางสุทธาราม มีประวัติการสร้างที ่เล่ากัน

สืบมาว่า สร้างขึ้นในสมัยปลายกรุงศรีอยุธยาต้นสมัย

กรุงธนบุร ี โดยมีเจ้าสามกรมเป็นผู ้สร ้าง ข้อสังเกต

ที่สรุปได้ว่าสร้างในสมัยกรุงธนบุรี ได้แก่ รูปทรงของอุโบสถ

มหาอุด คือ มีประตูหน้าไม่มีประตูหลัง อีกทั้งไม่มีช่อฟ้า

ใบระกา หางหงส์ (ปัจจุบัน ได้สร้างอุโบสถหลังใหม่แล้ว)

ศิลปะลายปูนปั ้นทั ้งด้านหน้าและด้านหลังเป็นศิลปะ

ร่วมสมัยที่มีทั้งไทยจีนและฝรั่งผสมผสานกันแต่เดิมนั้น

บริเวณวัดเป็นที่สวน มีต้นยางมาก ชาวบ้านจึงตั้งชื่อว่า

“วัดยาง” ต่อมา ได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดยางสุทธาราม”

เมื่อวันที่๒๙พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๑๒

สถานะและที่ตั้ง

วัดยางสุทธารามตั้งอยู่เลขที่๗๖๗ถนนพรานนก

แขวงบ้านช่างหล่อ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

มีเนื้อที่๖ไร่๒งาน๖ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด

อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนกว้าง๑๒ เมตร

ยาว ๒๒ เมตร สร้างเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๙ มีพระพุทธรูป

ปางประทานพรเป็นพระประธานฝาผนังเป็นหินอ่อน

Page 3: วัดเจ้ามูล · 2015-08-14 · 2 สายตรงศาสนา วัดประดู่ฉิมพลี ใบไม้ บานประตูและหน้าต่างปิดทองประดับกระจกลายยา

สายตรงศาสนา 23

วัดสันติธรรมาราม

ขนาดหน้าต ักกว ้าง ๒.๘๓ เมตร ยาว ๖.๑๐ เมตร

ซึ ่งชาวบ้านใกล้เคียงเรียกว่า หลวงพ่อขาว เชื ่อกันว่า

มีพุทธคุณด้านเมตตามหานิยม

ศาลาการเปรียญ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย

๒ ชั้น กว้าง ๑๐.๒๐ เมตร ยาว ๑๐ เมตร มีพระพุทธรูป

ปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง ๒๕ นิ ้ว สูง ๓๕ นิ ้ว

เป็นพระประธาน

วิหารประดิษฐานเจ้าแม่กวนอิม กว้าง ๗ เมตร

ยาว๑๐เมตร

ศาลาปฏิบัติธรรม เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน ๓ ชั้น

กว้าง๑๑เมตรยาว๒๒เมตร

ปัจจุบันพระครูสันติธรรมาภรณ์ (บุตร สุชีโว

น.ธ.เอก,อภิธรรมมหาบัณฑิต)เป็นเจ้าอาวาส

ประวัติความเป็นมา วัดสันติธรรมาราม เดิมมีชื ่อว่า วัดโคก สร้างขึ ้น

เมื่อประมาณสมัยอยุธยาตอนปลาย หรือต้นสมัยกรุงธนบุรี

ต่อมา ได้เป็นวัดร้างไปเป็นเวลานาน ครั้น พ.ศ. ๒๔๙๕

ทางคณะสงฆ์ได้ดำเนินการบูรณะวัดขึ้นมาใหม่อีกครั้งหนึ่ง

โดยมีพระมหาโพธิวงศาจารย์ เป็นประธานฝ่ายบรรพชิต

นาวาโท พระศรฤทธิ์รณชัย ร.น. เป็นประธานฝ่ายฆราวาส

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศยกสภาพวัดร้างเป็นวัด

มีพระสงฆ์ เมื ่อวันที่ ๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๕ ต่อมา

เมื ่อวันที่ ๔ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๙๖ ได้เปลี่ยนชื่อเป็น

“วัดสันติธรรมาราม” สถานะและที่ตั้ง วัดสันติธรรมาราม ตั้งอยู่เลขที่ ๒๓๑ ถนนตากสิน

ซอย๒๗(ถนนเจริญนครซอย๖๐)แขวงบุคคโลเขตธนบุรี

กรุงเทพมหานครมีเนื้อที่๔ไร่๗ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนกว้าง๘.๕๐ เมตร

ยาว ๒๒ เมตร หลังคาลด ๒ ชั ้น ไม่มีช่อฟ้า ใบระกา

มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย ขนาดหน้าตักกว้าง ๓๙ นิ ้ว

สูง ๔๙ นิ ้ว ซึ ่งพุทธลักษณะเป็นแบบพระพุทธชินราช

เป็นพระประธาน

วิหาร เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๗ เมตร

ยาว ๑๐ เมตร เป็นที ่ประดิษฐานพระพุทธรูปศิลาแลง

Page 4: วัดเจ้ามูล · 2015-08-14 · 2 สายตรงศาสนา วัดประดู่ฉิมพลี ใบไม้ บานประตูและหน้าต่างปิดทองประดับกระจกลายยา

2� สายตรงศาสนา

วัดประดู่ฉิมพลี

ใบไม้ บานประตูและหน้าต่างปิดทองประดับกระจกลายยา

มีพระพุทธรูปปางมารวิชัย มีนามว่า หลวงพ่อสุโขทัย พระพุทธ-

สัมพันธมุนีขนาดหน้าตักกว้าง๙๙นิ้วเป็นพระประธานซึ่งมีเรื่อง

เล่ากันว่า สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ ได้เลือกมาจาก

พระพุทธรูปที่อยู่ณวัดบางอ้อยช้างจังหวัดนนทบุรี

วิหาร เป ็นอาคารก่ออ ิฐถ ือปูน กว ้าง ๖.๑๐ เมตร

ยาว ๑๗.๓๐ เมตร จำนวน ๒ หลัง อยู่ด้านทิศตะวันตก ๑ หลัง

เป็นที่ประดิษฐานพระไสยาสน์ และอยู่ด้านทิศตะวันออก ๑ หลัง

เป็นที่ประดิษฐานพระยืน

เจดีย์กลมทรงรามัญ สร้างไว้เหนือเรือนตึกแปดเหลี่ยม

มีเสารายและชานโดยรอบ เป็นที่ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท

จำลอง

ศาลาราชสังวราภิมณฑ์ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูนทรงไทย

๒ ชั้น กว้าง ๑๑ เมตร ยาว ๑๖.๕๐ เมตร เป็นที่ประดิษฐาน

รูปหล่อเหมือนพระราชสังวราภิมณฑ์หรือหลวงปู่โต๊ะ

ศาลาอเนกประสงค์ กว้าง๑๒.๖๐เมตรยาว๑๗เมตร

ศาลาท่าน้ำ สร้างเมื่อพ.ศ.๒๕๐๒

ป ัจจ ุบ ัน พระครูวินัยธรเพลิน (จ ิต ฺตกาโร พธ.บ.)

เป็นผู้รักษาการเจ้าอาวาส

ประวัติความเป็นมา

วัดประดู่ฉิมพลี เดิมเรียกว่าวัดสิมพลี แต่ชาวบ้านนิยม

เรียกว่า วัดประดู่ฉิมพลี อีกชื่อหนึ่งนิยมเรียกว่า วัดประดู่นอก

เพ ื ่อให ้แตกต่างก ับว ัดประดู ่ใน หร ือว ัดประดู ่ในทรงธรรม

สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชัยญาติ (ทัต บุนนาค) แต่ครั้งยังเป็น

พระยาศรีพิพัฒนรัตนราชโกษา จางวางพระคลังสินค้า ได้บูรณะขึ้น

เมื่อปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว มาสำเร็จ

บริบูรณ์ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สิ้นเวลา

ถึง ๘ ปี เล ่าก ันว ่า สมเด ็จเจ ้าพระยาบรมมหาพิช ัยญาติ

ได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดในพระพุทธศาสนา๓วัดคือวัดประยุรวงศาวาส

วัดพิชยญาติการาม และวัดประดู ่ฉิมพลี และได้ถวายให้เป็น

พระอารามหลวง ๒ วัด คือ วัดประยุรวงศาวาส วัดพิชยญาติการาม

ส่วนวัดประดู่ฉิมพลีนั้น ไม่ได้ถวายเป็นพระอารามหลวง เพราะ

ประสงค์จะให้เป็นวัดราษฎร์ และประสงค์จะจองเป็นเจ้าภาพ

ทอดกฐินเป็นประจำทุกปี

สถานะและที่ตั้ง

ว ัดประดู ่ฉ ิมพลี ต ั ้งอยู ่ เลขที ่ ๑๖๘ ถนนเพชรเกษม

แขวงท่าพระ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพมหานคร มีเนื้อที่ ๑๑ ไร่

๒งาน๔๔ตารางวา

สิ่งสำคัญภายในวัด

อุโบสถ เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน กว้าง ๑๓ เมตร หรือ

๖วา๒ศอกยาว๓๒เมตรหรือ๑๖วาสร้างตามแบบที่เรียกว่า

เป็นพระราชนิยม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

รัชกาลที่ ๓คือ ยกฐานสูง๒ชั้น โดยเป็นฐานของอุโบสถชั้นหนึ่ง

และเป็นชานโดยรอบอีกชั้นหนึ่ง มีบันไดที่ฐานทั้ง ๔ ด้าน ภายใน

ไม่มีเสาประธานหลังคาลด๓ชั้นไม่มีช่อฟ้าใบระกาและคันทวย

มีเสาราย ร ับชายคาที ่ย ื ่นมาปกคลุมมุขหน้า-หลังและชาน

โดยรอบอุโบสถ หน้าบันเป็นแบบกระเท่เซ ปั ้นลายปูนประดับ

กระเบื้องเคลือบต่างสีซุ้มประตูหน้าต่างปั้นลายปูนเป็นลายดอกไม้