ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม...

22
ถอดบทเรียน ศูนยเรียนรูการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร (ศพก.) ศพก.อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี สินคาหลัก ทุเรียน โดย สํานักงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ ๓ จังหวัดระยอง

Upload: others

Post on 26-May-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

ถอดบทเรียน

ศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร (ศพก.)

ศพก.อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี

สินคาหลัก ทุเรียน

โดย

สํานักงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดระยอง

Page 2: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

คํานํา

ศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร )ศพก (. เปนแหลงเรียนรูการผลิตสินคาเกษตร ท่ีเหมาะสมสําหรับชุมชนและเปนศูนยกลางการบริการ แลกเปลี่ยนเรียนรูขอมูลขาวสารของหนวยงานตาง ๆ กับเกษตรกรในชุมชน โดยดําเนินการในพ้ืนท่ีของเกษตรกรท่ีประสบความสําเร็จ สามารถเปนแบบอยางใหกับเกษตรกรในชุมชน ในการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเกษตรท่ีสําคัญของพ้ืนท่ี ตั้งแตการผลิต การบริหารจัดการ และการตลาด ภาคราชการจะตองเขาไปรวมดําเนินการในลักษณะการขับเคลื่อนและสนับสนนุให ศพก .สามารถปฏิบัติงานไดและมีความเขมแข็ง รวมถึงการประสานเชื่อมโยงภาครัฐ เอกชน และชุมชน ตามแนวทางประชารัฐ การถอดบทเรียนศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร เปนกิจกรรมหนึ่งในการบริหารจัดการเพ่ือขับเคลื่อนการดําเนินงาน โดยรวมกับสวนกลางในการคัดเลือก ศพก. ท่ีมีการดําเนินการขับเคลื่อนไดดี และดําเนินการถอดบทเรียนเพ่ือเปนตนแบบในการพัฒนา ศพก. การถอดบทเรียนศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตรฉบับนี้ เปนการถอดบทเรียน ศพก.อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี เนื้อหาประกอบดวย ขอมูลท่ัวไป เปาหมาย ฐานเรียนรู หลักสูตรการเรียนรู กระบวนการเรียนรู การบูรณาการการทํางาน การมีสวนรวมของชุมชน บทบาท/หนาท่ี ปจจัยแหงความสําเร็จ ปญหา/อุปสรรค แผนการดําเนินงาน/แผนพัฒนา ศพก. และความยั่งยืน

สํานักงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดระยอง ขอขอบคุณ นายอุดม วรัญูรัฐ เกษตรกรตนแบบเจาของ ศพก.อําเภอทาใหม และสมาชิกศูนยเครือขาย ศพก. ท่ีเสียสละเวลาในการใหขอมูลท่ีมีคุณคา ขอขอบคุณทีมงานจากสํานักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี สํานักงานเกษตรอําเภอทาใหม ท่ีสนับสนุนขอมูลและอํานวยความสะดวกใหการถอดบทเรียน ศพก.ฉบับนี้ มีความสมบูรณ ขอบคุณทีมงานจากกองวิจัยและพัฒนางานสงเสริมการเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร ท่ีชวยชี้แนะการถอดบทเรียน และขอบคุณทีมงานสํานักงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดระยอง ท่ีรวมถอดบทเรียนและใหความชวยเหลือในการจัดทําเอกสารถอดบทเรียน ศพก.ไดสําเร็จตามวัตถุประสงค หวังวาเอกสารฉบับนี้ คงจะเปนประโยชนในการดําเนินงานและพัฒนา ศพก. ตอไป

สํานักงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดระยอง ตุลาคม ๒๕๖๐

Page 3: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

สารบัญ

หนา

ขอมูลท่ัวไป ๑

๑. เปาหมาย ๑

๒. ฐานเรียนรู ๓

๓. หลักสูตรการเรียนรู ๙

๔. กระบวนการเรียนรู ๙

๕. การบูรณาการการทํางาน ๑๐

๖. การมีสวนรวมของชุมชน ๑๑

๗. บทบาท/หนาท่ี ๑๑

๘. ปจจัยแหงความสําเร็จ ๑๓

๙. ปญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงานของ ศพก. ๑๔

๑๐. แผนการดําเนินงาน/แผนพัฒนา ศพก. ๑๔

๑๑. ความยั่งยืน ๑๔

เอกสารอางอิง ๑๕

ภาคผนวก

- ภาพกิจกรรม

Page 4: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

ถอดบทเรียน ศพก.

ศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร (ศพก.) อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี

ขอมูลท่ัวไป

ช่ือ ศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินคาเกษตร (ศพก.) อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี

สินคาหลัก ทุเรียน

สถานท่ีตั้ง ๘๕ หมูท่ี ๗ ตําบลทุงเบญจา อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี

พิกัด X = ๔๘ P ๐๑๗๘๓๒๘ Y = ๑๔๑๖๐๘๕

ช่ือเกษตรกรตนแบบ นายอุดม วรัญูรัฐ อายุ ๕๘ ป

เบอรโทรศัพท ๐๘ ๑๘๖๕ ๔๘๔๖

๑. เปาหมาย

๑.๑ เปาหมายการดําเนินงาน ศพก.

ศูนย เ รี ยนรู ก า ร เ พ่ิมประสิท ธิ ภ าพการผลิ ตสิ นค า เ กษตร ( ศพก . ) อํ า เภอท า ใหม จั ง หวั ดจั นทบุ รี

มีเปาหมาย การผลิตทุเรียนคุณภาพ ลดการใชสารเคมี ลดตนทุนการผลิต เชื่อมโยงเครือขายสู ศพก.ระดับอําเภอ จังหวัด เขต

แ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง เ ค รื อ ข า ย ศ พ ก . สู ก า ร ส ง เ ส ริ ม ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ แ ป ล ง ใ ห ญ

๑.๒ สินคาหลักของพ้ืนท่ี

จั งหวั ดจั นทบุ รี มี อํ า เภอ ท้ั งสิ้ น จํ านวน ๑๐ อํ า เภอ มี พ้ืน ท่ี ท้ั งหมด 3 ,961 ,250 ไร เป น พ้ืน ท่ี ทําการเกษตร จํานวน 1,918,348 ไร คิดเปนรอยละ 48.43 ของพ้ืนท่ีท้ังหมด พืชเศรษฐกิจหลัก ประกอบดวย ยางพารา ทุ เ รี ย น ลํ า ไ ย มั ง คุ ด เ ง า ะ ล อ ง ก อ ง แ ล ะ ก ล ว ย ไ ข ทุ เ รี ย น เ ป น ผ ล ไ ม ท่ี มี ค ว า ม สํ า คั ญ ทางเศรษฐกิจและทํารายไดใหกับจังหวัดมากท่ีสุด พ้ืนท่ีเพาะปลูกมีแนวโนมเพ่ิมข้ึน โดยปจจุบันมีพ้ืนท่ีปลูกทุเรียนท้ังสิ้นจํานวน 203,170 ไร มากท่ีสุดในภาคตะวันออก และเปนอันดับหนึ่งของประเทศ พันธุท่ีนิยมปลูก ไดแก พันธุหมอนทอง ช ะ นี ก า น ย า ว แ ล ะ ก ร ะ ดุ ม เ ป น ต น ( สํ า นั ก ง า น เ ก ษ ต ร จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี : ๒ ๕ ๖ ๐ ) อําเภอทาใหม มีจํานวน ๑๔ ตําบล พ้ืนท่ีการเกษตร ๒๒๔,๐๑๘ ไร พืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญ ไดแก ทุเรียน เงาะ มังคุด

ลองกอง และยางพารา มีพ้ืนท่ีปลูกทุเรียน ๖๘,๓๓๐ ไร พ้ืนท่ีเก็บเก่ียว ๖๑,๑๕๔ ไร ผลผลิตเฉลี่ย ๑,๔๖๒ กก./ไร เกษตรกร

ผู ป ลู ก ทุ เ รี ย น จํ า น ว น ๗ , ๗ ๓ ๖ ร า ย ( สํ า นั ก ง า น เ ก ษ ต ร อํ า เ ภ อ ท า ใ ห ม

: ๒๕๕๙) เกษตรกรในพ้ืนท่ีตําบลทุงเบญจา อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี สวนใหญปลูกทุเรียนรอยละ 90 พ้ืนท่ีปลูกเปน

พ้ืนท่ีท่ีเหมาะสมมากสําหรับการปลูกทุเรียน (S1) รอยละ 33.61 และเหมาะสมปานกลางสําหรับการปลูกทุเรียน (S2) รอยละ 66.39 ศพก.อําเภอทาใหม สินคาหลัก ทุเรียน เกิดข้ึนเนื่องจากเกษตรกรผูปลูกทุเรียนสวนใหญประสบปญหาในการผลิต

ทุเรียนในเรื่องคุณภาพและตนทุนการผลิต นายอุดม วรัญูรัฐ เปนเกษตรกรผูปลูกทุเรียนท่ีประสบความสําเร็จในเรื่องการ

ผลิตทุเรียนคุณภาพและการลดตนทุนการผลิตทุเรียน จึงไดจัดตั้ง ศพก.อําเภอทาใหม (ทุเรียน) ข้ึน โดยมีนายอุดม วรัญูรัฐ

เปนเกษตรกรตนแบบในการถายทอดความรู

Page 5: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑.๓ ผลกระทบของ ศพก.ตอการทํางานสงเสริมการเกษตร

๑.๓.๑ การถายทอดเทคโนโลยี ...................

การดําเนินงาน ศพก.ททําใหการทํางานดานการถายทอดเทคโนโลยีมีระบบมากข้ึน เนื่องจาก ศพก. เปน

ศูนยกลางในการจัดฝกอบรม ถายทอดเทคโนโลยีดานการเกษตรใหกับเกษตรกร

๑.๓.๒ การใหบริการเกษตรกร...................

การดําเนินงาน ศพก. ทําใหการใหบริการเกษตรกรในดานตาง ๆ มีความสะดวกมากข้ึน เนื่องจาก ศพก. เปน

ศูนยกลางในการใหบริการดานการเกษตรของหนวยงานตาง ๆ เกษตรกรเขาถึงขอมูลขาวสารไดมากข้ึน

๑ . ๔ อ น า ค ต ศ พ ก . จ ะ เ ป น ตั ว แ ท น ข อ ง ภ า ค รั ฐ ใ น ก า ร ใ ห บ ริ ก า ร ด า น ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ ค ร บ ว ง จ ร

ศพก.อําเภอทาใหม สินคาหลักทุเรียน เปนตนแบบ ใหแกเกษตรกรผูปลูกทุเรียนในตําบลทุงเบญจาและตําบลอ่ืนใน

อําเภอทาใหม ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูการผลิตทุเรียนคุณภาพ และยังเชื่อมโยงสูการสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญทุเรียนใน

จั ง ห วั ด จั น ท บุ รี แ ล ะ เ ป น แ ห ล ง เ รี ย น รู ใ น ก า ร บู ร ณ า ก า ร ร ะ ห ว า ง ห น ว ย ง า น

ท่ีเก่ียวของอีกท้ังยังเปนตนแบบท่ีดีใหกับลูกหลานไดสืบทอดอาชีพการเกษตร เกษตรกรตนแบบเปนตัวอยางท่ีดีในการ

ประกอบอาชีพอยางสุจริต สถาบันการเงินใหความเชื่อถือ สามารถชําระหนี้ไดกอนกําหนด การเปนลูกคาข้ันดีของธนาคาร

ไ ม เ ป น ภ า ร ะ ใ ห ลู ก ห ล า น เ ป น แ บ บ อ ย า ง ท่ี ดี ใ ห เ ก ษ ต ร ก ร ร า ย อ่ื น ถ า ไ ม สํ า เ ร็ จ จ ะ บ อ ก

คนอ่ืนไดอยางไร

Page 6: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๒. ฐานเรียนรู

๒.๑ ฐานเรียนรู ในปจจุบนั ประกอบดวย

๑) การทําตนสมบูรณและการตัดแตงทรงพุม

๒) การจัดการน้ําและปุย

๓) การจัดการดอกและผลผลิตคุณภาพ

๔) การจัดการศัตรูพืช

๕) การใชเครื่องจักรกลการเกษตรเพ่ือลดตนทุน

ในอนาคต จะเพ่ิมฐานเรียนรู ไดแก ๖) เทคนิคการผลิตทุเรียนนอกฤดูอยางยั่งยืน ๗) วิทยาการหลังการ

เก็บเก่ียว ๘) การเพ่ิมมูลคาโดยใชนวัตกรรม ๙) การบัญชีตนทุน ๑๐) การตลาดเชื่อมโยงกับการผลิต รายละเอียดแตละฐาน

เรียนรู ดังนี้

๑) การทําตนสมบูรณและการตัดแตงทรงพุม วิธีการดําเนินงาน

ใชเทคนิคตัดแตงทรงพุมทุเรียนใหมีทรงพุมท่ีเตี้ย งายตอการบริหารจัดการ โดยการตัดปลายยอดใหทุเรียน มีความสูงประมาณ 8 เมตร ตัดแตงก่ิงใหมีทรงพุม ท่ีเหมาะสมตอการติดลูก ในชวงเกิดพายุฤดูรอน ทําใหเกิด วาตภัยในชวงเดือน มีนาคม-เมษายน ของทุกป ปองกัน ความเสียหายจากลมพายุโดยการตัดยอด เสียบโคน คํ้าตน การตัดแตงกิ่งขาง ก่ิงขางเปนก่ิงท่ีเปนจุดกําเนิด ของดอกผล การแตงก่ิงขางก็เพ่ือหวังผลในการสรางผล ทุเรียน และลดปญหาจากวาตภัย โดยจะทําการตัดแตง ก่ิงขางเม่ือทุเรียนอายุได 4 ป ใหก่ิงขางมีความยาวประมาณ 2.5 เมตร จะทําใหทุเรียนมีเสนผานศูนยกลางทรงพุม ประมาณ 5 เมตร ความสูงประมาณ 4-5 เมตร ผลลัพธท่ีเกิดข้ึน 1. เกษตรกรตัดแตงทรงพุมทุเรียนใหงายตอการจัดการ 2. เกษตรกรสามารถลดความเสี่ยงจากวาตภัย

Page 7: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๒) การจัดการน้ําและปุย วิธีการดําเนินงาน

หลังจากเก็บเก่ียวผลไปแลว ควรใสปุยโดยเนนธาตุไนโตรเจนเปนหลัก เพราะวาผลผลิตท่ีเราเก็บเก่ียวไปแลวนั้น มีแปงเปนองคประกอบอยูในเนื้อทุเรียนซ่ึงไดมาจากการสะสมอาหารพวกธาตุไนโตรเจน ดังนั้น การท่ีทุเรียนสูญเสียแปงไปจากการเก็บเก่ียวผลผลิตมาก เราก็ตองใสปุยไนโตรเจนเสริมเขาไปโดยใชปุยสูตรเสมอ 15-15-15 พรอมฉีดพนปุยทางใบเสริม และใหปุยสูตร 25-7-7 เสริมดวย ใชวิธีการใหน้ําแบบสปริงเกลอร โดยสังเกตวาดินเริ่มแหงก็เริ่มใหน้ําเพ่ือเปนการกระตุนใหเกิดตาดอก หม่ันคอยสังเกตวาทุเรียนแตกตาดอกหรือไม ถาเริ่มแตกตาดอกแลวก็ใหน้ําอีกจนปริมาณดอกเพียงพอก็ใหน้ําทุกวัน ซ่ึงปริมาณดอกท่ีออกนอยหรือมากนั้นเปนผลมาจากความสมบูรณของตนทุเรียน การใหน้ําในชวงออกดอก ในชวงทุเรียนยังเล็ก ตั้งแตเริ่มปลูกจนถึง 3 ป ใหน้ําประมาณ 5 - 7 วันตามสภาพอากาศ หลังจาก ฝนตกครั้งสุดทายทําการใหน้ํา ดังนี ้ ดินทราย เวนชวง 7 - 8 วัน หลังจากฝนครั้งสุดทายจึงเริ่มใหน้ํา

ดินรวน (ดินแดง) เวนชวง 15 - 20 วัน หลังจากฝนครั้งสุดทายจึงเริ่มใหน้ํา

ดินลูกรัง เวนชวง 7 - 8 วัน หลังจากฝนครั้งสุดทายจึงเริ่มใหน้ํา

ดินมันปู เวนชวง 10 วันข้ึนไป หลังจากฝนครั้งสุดทายจึงเริ่มใหน้ํา

ผลลัพธท่ีเกิดข้ึน 1. เกษตรกรสามารถจัดการน้ําและปุยไดตามสถานการณท่ีเกิดข้ึน 2. เกษตรกรสามารถบริหารจัดการผลผลิตไดอยางมีคุณภาพ

๓) การจัดการดอกและทําทุเรียนผลสวย วิธีการดําเนินงาน

ดูความแข็งแรงของก่ิง วาสามารถรับ น้ําหนักไดมากนอยขนาดไหน ในปแรกท่ีทุเรียน เริ่มใหผลผลิตจะทําการไวดอกใหดก ไมแตงดอกออกเลย ไวใหมาก ยิ่งมากยิ่งดี เพ่ือใหไดทุเรียนท่ีมีรูปทรงสวย เปลือกไมหนา ผลไมใหญมากจนเกินไป เหตุท่ีเปนเชนนี้เพราะวาทุเรียนทําการสะสมอาหาร มาเปนเวลานานถึง 4 ป ธาตุอาหารภายในตน จึงมีอยูปริมาณมาก หากเราไปแตงดอกออก จะทําใหตนทุเรียนนําธาตุอาหารท่ีมีอยูมากนี้ ไปสรางเปลือกกอน การเจริญเติบโตและพัฒนาการ ของผลเปนไปอยางรวดเร็วมากจนเกินไป ทําให ไดทุเรียนท่ีมีลักษณะผลใหญ หรือท่ีเรียกวา ตะเข ดังนั้น หากเราไวดอกใหดกเขาไว ทําการผสมดอกชวย ในชวงเวลา 18.30 – 21.00 น. จะทําใหทุเรียนติดผล ในปริมาณมาก จากนั้นคอยไปแตงผลออกภายหลัง

Page 8: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

โดยจะทําการแตงผลครั้งแรกเม่ือผลทุเรียนมีอายุ 40 วันข้ึนไปหลังติดผล ขนาดผลประมาณเทาไขไก จากนั้นในครั้งท่ี 2 และ 3 จะทําการแตงผลเม่ือผลทุเรียนอายุ 50 และ 60 วันตามลําดับ ผลลัพธท่ีเกิดข้ึน 1. เกษตรกรสามารถแตงดอกและผลทุเรียน ไดเหมาะสม 2. เกษตรกรสามารถผลิตทุเรียนท่ีมีขนาดเหมาะสม รูปทรงสวยงาม ตรงตามความตองการของตลาด

๔) การจัดการศัตรูพืชในสวนทุเรียน วิธีการดําเนินงาน

ใชเทคนิคทํากอน-เกิด เพ่ือลดปญหาการระบาด ของโรคและแมลงศัตรูพืชในสวนทุเรียน โดยใชเทคนิค จัดระบบการปลูกและปรับโครงสรางของดนิใหสมบูรณ และมีความเหมาะสม ทําการปองกันกอนการเกิด โรคระบาด มีการใชเชื้อราไตรโคเดอรมาในการควบคุม โรคพืช ควบคุมทรงพุมทุเรียนใหไมสูงเกินไป ควบคุม การใชสารเคมีเทาท่ีจําเปน โรคสําคัญท่ีพบอยูเสมอคือ โรครากเนาโคนเนา ของทุเรียนท่ีเกิดจากเชื้อราไฟทอฟธอรา โดยจะระบาด มากในชวงท่ีฝนชุก หรือความชื้นในอากาศสูง มีวิธีปองกัน คือหม่ันสํารวจดูตนทุเรียนเปนประจําทุกสัปดาห พยายาม บํารุงตนทุเรียนใหมีความแกรง แข็งแรง สมบูรณเพ่ือให ตานทานตอการเขาทําลายของเชื้อโรค และตองพยายาม ปรับสภาพดินไมใหมีความเปนกรด เนื่องจากสภาพดิน ดังกลาวจะเหมาะตอการเขาทําลายของเชื้อ และตองไมให น้ําขังโคนตนทุเรียน ใชเชื้อราไตรโคเดอรมาผสมไปกับ การใหน้ํา และฉีดพนใบรวมดวยเพ่ือปองกันการเกิดโรค เชื้อราไตรโคเดอรมาจะไปเจริญในดิน เพ่ิมปริมาณมากข้ึนและคอยควบคุมเชื้อรา ไฟทอฟธอราในดิน แตหากพบอาการของโรคในระยะเริ่มตนก็จะใชสารเคมีเมทาแลกซิล ฉีดพนใหท่ัวท้ังภายนอกและภายในทรงพุม จากนั้นตองหม่ันสังเกตอาการดูวาตนทุเรียนมีอาการดีข้ึนหรือไม เพ่ือฉีดพนซํ้าอีกครั้งจนอาการดีข้ึน โดยเนนการปองกันมากกวาการรักษาเทาท่ีสามารถทําได ผลลัพธท่ีเกิด 1. เกษตรกรนําความรูไปปฏิบัติ โดยเลือกใชวิธีการท่ีเหมาะสมในการจัดการศัตรูพืชในสวนทุเรียนได 2. เกษตรกรผลิตทุเรียนท่ีมีคุณภาพตรงตามความตองการของตลาด

Page 9: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๕) การใชเครื่องจักรกลทางการเกษตรในการดูแลสวน ลดแรงงานคน วิธีการดําเนินงาน

มีการใชเครื่องจักรกลทางการเกษตรเขามาชวยในการจัดการสวน เชน การใชรถพนสารเคมีแอรบลาสท(Air Blast) ในการพนปุยทางใบ และสารเคมีปองกันกําจัดศัตรูพืช การใชรถตัดหญา แทนการใชสารเคมีกําจัดวัชพืช การประยุกตใชเครื่องยนตลอตะขาบในการตัดแตงก่ิง แตงดอกและผลของทุเรียน

ผลลัพธท่ีเกิด 1. เกษตรกรใชเครื่องมือตาง ๆ มาชวยในการปฏิบัติงานในสวน 2. ลดเวลาและแรงงานคนท่ีใชในการผลิต ลดตนทุนทางดานคาจางแรงงานลงได สามารถทํางานไดเสร็จภายในเวลาอันรวดเร็ว

๒.๒ ผูกําหนด ฐานเรียนรู

กําหนดฐานเรียนรูจากประสบการณของเกษตรกรตนแบบ จากการศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู คนควา คิด

ป ร ะ ยุ ก ต ง า น วิ จั ย เ ช น ก า ร ตั ด แ ต ง ใ ห โ ค น ต น โ ป ร ง ล ม เ ข า ไ ด ช ว ง ฤ ดู ฝ น ค ว า ม ชื้ น สู ง ทํ า อ ย า ง ไ ร

ให ดินแห ง ผลิดอก คิดเทคนิคการใชพลาสติกคลุมโคนตนทุ เรียนไม ให ได รับน้ํ า /ความชื้น เ ม่ือแตกตาดอก

ใหลด/ควบคุมไนโตรเจน และจากการประชุมหนวยงานในอําเภอ เครือขาย ศพก. รวมกันทบทวนรายละเอียดแตละฐาน

เรียนรู และจํานวนฐานเรียนรูอีกครั้ง

๒.๓ ฐานเรียนรู ตอบสนองความตองการของเกษตรกรในชุมชน

ฐานเรียนรูตอบสนองความตองการของเกษตรกรในชุมชน บางประเด็นมีการลงทุนสูง เกษตรกรอ่ืน

ยังไมม่ันใจ เกษตรกรตนแบบจึงตองทําใหดูเปนตัวอยาง ถาเกษตรกรอ่ืนมีเทคโนโลยีใกลเคียงกัน เขาจะไมสนใจ และการ

สื่อสารคอนขางยาก

๒.๔ ฐานเรียนรู ครอบคลุมหวงโซอุปทานของสินคาเกษตรหลัก (ท้ังตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา)

ฐานเรียนรู ท่ี มีอยู เ ดิม จํ านวน ๕ ฐานเรี ยนรู ได แก ๑ ) การ ทําตนสมบู รณและการตัดแต งทรง พุ ม

๒) การจัดการน้ําและปุย ๓) การจัดการดอกและผลผลิตคุณภาพ ๔) การจัดการศัตรูพืช ๕) การใชเครื่องจักรกลการเกษตร

เ พ่ื อ ล ด ต น ทุ น จ ะ เ ป น ห ว ง โ ซ อุ ป ท า น ต น น้ํ า ใ น อ น า ค ต จ ะ เ พ่ิ ม ฐ า น เ รี ย น รู ไ ด แ ก

๖) เทคนิคการผลิตทุเรียนนอกฤดูอยางยั่งยืน ๗) วิทยาการหลังการเก็บเก่ียว ๘) การเพ่ิมมูลคาโดยใชนวัตกรรม ๙) การบัญชี

ตนทุน ซ่ึงฐานท่ี ๘ และ ๙ จะเปนโซกลางน้ํา และอาจจะตองเพ่ิมฐานเรียนรูดานการตลาด เพ่ือเปนโซปลายน้ํา

Page 10: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

จากฐานเรียนรูตนน้ํา ตองการพัฒนาทุเรียนใหมีคุณภาพ ผลผลิตตองเปนท่ียอมรับของผูบริโภค

เกิดความม่ันคงในอาชีพ ถาหากเกษตรกรทําตลาดเอง ผูบริโภคจะรูจักเรามากข้ึน เกษตรกรมีจิตสํานึก

กลารับผิดชอบสินคาตัวเอง อาชีพจะม่ันคง ในอนาคตจะไมมีปญหาการตลาด ไมตองเกรงวาจะขายผลผลิตไมได ผูคาจะมี

กําไร และกลับมาซ้ือผลผลิตคุณภาพอีก

๒.๕ การนําภูมิปญญาทองถ่ิน/นวัตกรรมหรืองานวิจัย มาใชเปนฐานเรียนรู

ฐานเรียนรูท่ีมาจากงานวิจัย ไดแก การจัดการน้ําและปุย การจัดการดอกและผลผลิตคุณภาพ สวนผลผลิตทุเรียนท่ี

เสียหาย มีตําหนิเล็กนอย ท่ีสุกพรอมกัน จําหนายไดไมหมด สามารถนํามาแปรรูปโดยการทอด การกวน การแชแข็ง โดย

วิสาหกิจชุมชนชาวสวนทุเรียนจันท ซ่ึงเปนเครือขายของ ศพก. และจะจัดทําฐานเรียนรูในอนาคต เรื่อง การเพ่ิมมูลคาโดยใช

นวัตกรรม

๒.๖ ท่ีมาขององคความรูท่ีใชในฐานเรียนรู

๑) ฐานเรียนรู การทําตนสมบูรณและการตัดแตงทรงพุม

หนวยงานภาครัฐ ศูนยวิจยัพืชสวนจันทบุร ีทดลอง วิจัย และถายทอดความรูเรื่องการตัดแตงทรงพุม

ทุเรียน ทําใหสามารถบริหารจัดการดูแลตน ใบ ดอกและผลไดงาย และลดความเสี่ยงเรื่องความเสียหายจากวาตภัย

จากการปฏิบัติจริง เกษตรกรไดนําความรูท่ีไดรับมาทดลองใช และสั่งสมประสบการณ

ทําใหเกิดองคความรู การบํารุงตนใหสมบูรณเพ่ือจะสงผลตอผลผลิตท่ีมีคุณภาพ

๒) ฐานเรียนรู การจัดการน้ําและปุย

หนวยงานภาครัฐ สถานีพัฒนาท่ีดินจันทบุรี มาตรวจวัด pH ของดิน ใหองคความรูเรื่อง

ปุยหมัก เพ่ือเพ่ิมความอุดมสมบูรณของดิน ปุยหมักน้ําชีวภาพ จากปลา จากผลไมสุก (กลวยหอม มะละกอ มังคุด ลองกอง)

ตามฤดูกาล เม่ืออากาศรอนจัด ใหน้ําหมักชีวภาพรวมกับระบบน้ํา พืชสามารถใชธาตุอาหารไดทันที

จากการปฏิบัติจริง เกษตรกรเรียนรูสภาพดิน ดินรวม ดินทราย ดินลูกรัง ดินมันปู เหมาะสมกับพืชชนิด

ใด คุณสมบัติตางกันอยางไร ดินภูเขาไฟมีความอุดมสมบูรณสูง สามารถปลูกพืชท่ีตองการความอุดมสมบูรณสูง จะทําให

ไดผลผลิตคุณภาพ

ในอดีตการใหน้ําในสวนผลไมทางสายยาง เปนการไมประหยัดน้ํา ปจจุบัน แหลงน้ํามีจํากัด เกษตรกร

ขยายพ้ืนท่ีมากข้ึน เรียนรูความตองการน้ําของพืชแตละชนิด น้ําสวนเกินท่ีเหลือจากพืชใชแลว จะสูญเสียไปโดยเปลา

ประโยชน ในน้ําควรตองมีปุยดวย ใหปุยทางน้ํา พืชสามารถใชน้ําและปุยไดทันที ปุยเชิงเดี่ยว ปุยเกร็ด ละลายน้ําไดเร็ว พืช

ใชไดทันที เม่ือเทียบกับปุยเม็ด ละลายน้ําชา ไมสามารถตอบสนองความตองการของพืชไดทันที

จากหนวยงานภาคเอกชน (บริษัท) และประเทศอิสราเอล มีผลการปฏิบัติการใหปุยพรอมกับระบบน้ํา

การใชน้ําอยางประหยัด

๓) ฐานเรียนรู การจัดการดอกและผลผลิตคุณภาพ

จากงานวิจัย การตัดแตงดอกและผลผลิต หากไมตัดแตงผลผลิตจะไมไดคุณภาพ

จากการปฏิบัติจริง ถาออกดอกในปริมาณมาก พืชตองใชธาตุอาหารมาก เม่ือธาตุอาหารในดินหมด

ตองเติมธาตุอาหาร ฉะนั้น ตองตัดแตงใหเหมาะสมกับสภาพดิน ตนไมตองการอาหารทุกวัน การท่ีฝนตก ชา เร็ว ตอง

ปฏิบัติงานใหสอดคลองกับสภาพดินฟาอากาศท่ีเปลี่ยนแปลงไป การตัดแตงก่ิงเร็ว พืชจะ

Page 11: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

แตกใบออนเร็ว ผลไมสวย บิดเบี้ยว เชน ทุเรียนหมอนทองอาจจะพัฒนาผลเปลือกหนา รูปทรงยาว ชวงจะพัฒนาพูใหเตงได

ยาก เนื้อนอย ตองหาวิธีปองกันจากสภาพปญหาของตนเอง เพ่ือรองรับสภาพดินฟาอากาศ

๔) ฐานเรียนรู การจัดการศัตรูพืช

จากหนวยงานภาครัฐ กรมวิชาการเกษตร ในอดีตใหใชไฟลอแมลง

กรมสงเสริมการเกษตร ปจจุบัน ใชสารชีวภัณฑ โดยตองใชใหเหมาะสมกับชวงเวลา ไมรอนเกินไป ไมมี

ลมแรง ซ่ึงอาจตองฉีดเวลากลางคืน แตแรงงานคนสวนใหญไมทํางานเวลากลางคืน จึงตองใชเครื่องจักรกล เทคโนโลยี

ตางประเทศใชสารชีวภัณฑได เครื่องจักรกลตองมีความพรอม ใชไดบอยเทาท่ีตองการ ใหเหมาะสมกับชวงเวลา สารชวีภัณฑ

ท่ีใกลหมดอายุ ตองใชใหทันเวลา การใชสารชีวภัณฑชวงท่ีฝนตก แมลงลงทําลายมาก ตองฉีดพนชวงเย็นถึงกลางคืน เพราะ

ถาอากาศรอน เชื้อจะเดินไมดี

๕) ฐานเรียนรู การใชเครื่องจักรกลการเกษตรเพ่ือลดตนทุน

จากงานวิจัยของบริษัทเอกชน และตางประเทศ การตัดแตงก่ิง ตัดหญา ฉีดพนสารเคมี ตองใช

เครื่องจักรกลการเกษตร เพ่ือใหสามารถทํางานไดตอเนื่อง หากตนสูง ตองตัดแตงก่ิงใหเตี้ยลงเพ่ือลดผลกระทบจากภัย

ธรรมชาติ (ลม) ลดแรงปะทะซ่ึงจะทําใหตนโคนลม ผลผลิตเสียหายได

๒.๗ การพัฒนาองคความรู นวัตกรรมใหม (หรือไม อยางไร)

๒.๗.๑ การทําปุยหมักแหง จากเปลือกทุเรียน เนื่องเปลือกทุเรียนมีปริมาณกากใยมาก จะทําใหไดปุยหมักท่ีมีกากใย

สูง จะชวยปรับโครงสรางดินไดดีข้ึน ไมแนนทึบ

๒.๗.๒ ในอดีต จากการศึกษาดู งานประเทศไตหวัน มี เทคนิคการคลุมโคนตนพืชดวยพลาสติกหนา

ทําใหโคนตนพืชโศกน้ํา สามารถจัดการบังคับใหตนพืชออกดอกผลไดกอนฤดู จึงนํามาใชกับตนทุเรียนโดยคลุมโคนตนทุเรียน

ดวยพลาสติกหนา ขนาดกวาง ๕ เมตร ยาว ๕ เมตร คลุมโคนและยกสูงประมาณ ๗๐ เซนติเมตร แลวปูใหลาดเทไประหวาง

แ ถ ว เ พ่ื อ เ ว ล า ฝ น ต ก น้ํ า จ ะ ไ ห ล ไ ป ล ง พ้ื น ท่ี ว า ง ร ะ ห ว า ง แ ถ ว โ ค น ต น จ ะ ไ ม ไ ด รั บ น้ํ า

ทําให โคนตนโศกน้ํ า คลุมไวประมาณ ๑๕ วัน ใช เครื่องวัดความชื่นของดิน วัด ทุกวัน จดบันทึก เ ก็บขอมูล

เปนสถิ ติ แลวนํามาวิ เคราะหประกอบการตัดสินใจ ฉีดสารบั ง คับการออกดอก (พาโคลบิวทราโซล ๒๕ %)

ในอัตรา ๕๐-๖๐ กรัม/ตน (๖๐๐ ซี.ซี.ตอน้ํา ๒๐๐ ลิตร) สวนท่ัวไปใชอัตรา ๑ ลิตร/น้ํา๒๐๐ ลิตร/๒๐ ตน ท้ังนี้ ตองดูอายุ

ตน ทรงพุม ประกอบเพ่ือการตัดสินใจใชประมาณสารพาโคลบิวทราโซล ใหพอเหมาะ ดวย

Page 12: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๒.๗.๓ น้ํามันสกัดจากเนื้อทุเรียน จากการกวนทุเรียนเปนเวลานาน ทําใหเกิดน้ํามัน เม่ือทดลองนํามาลูบท่ีผิว รูสึก

ผิวหนังนิ่มนวลข้ึน จึงคิดวานาจะมีสรรพคุณในดานบํารุงผิว ถาสามารถพัฒนาตอยอดจะทําใหเพ่ิมมูลคาทุเรียนไดอีก จะตอง

เรียนรูคุณสมบัติของทุเรียนเพ่ิมเติม ซ่ึงอยูระหวางประสานกับหนวยงานท่ีเก่ียวของสําหรับนวัตกรรมนี้

๓. หลักสูตรการเรียนรู

๓.๑ หลักสูตรการเรียนรู ของ ศพก.อําเภอทาใหม ไดแก การผลิตทุเรียนคุณภาพโดยวิธีผสมผสาน

มี ๕ หลักสูตรยอย ท่ีใชในการถายทอดใหแกเกษตรกร ดังนี้

๓.๑.๑ การจัดการน้ําและปุยในการผลิตทุเรียน

๓.๑.๒ การจัดการดอกและทําทุเรียนผลสวย

๓.๑.๓ การจัดการศัตรูพืชในสวนทุเรียน

๓.๑.๔ เศรษฐกิจพอเพียง, ทฤษฎีใหม, เกษตรผสมผสาน

๓.๑.๕ บัญชีครัวเรือน

๓.๒ การกําหนดหลักสูตรการเรียนรู (อยางไร ใครมีสวนรวม ภาครัฐ เกษตรกรตนแบบ ศูนยเครือขาย)

การกําหนดหลักสูตรการเรียนรู โดยใชองคความรูของเกษตรกรตนแบบเปนหลัก สํานักงานเกษตรอําเภอทาใหม

หนวยงานท่ีเก่ียวของและศูนยเครือขาย ประชุมรวมกัน และกําหนดเปนหลักสูตรของ ศพก.อําเภอทาใหม

๓.๓ หลักสูตรการเรียนรูตอบสนองความตองการของเกษตรกรในชุมชน

หลักสูตรการเรียนรู การผลิตทุเรียนคุณภาพโดยวิธีผสมผสาน ตอบสนองความตองการของเกษตรกรในชุมชนเพราะ

เกษตรกรสวนใหญปลูกทุเรียน

๓.๔ หลักสูตรการเรียนรู ครอบคลุมหวงโซอุปทานของสินคาเกษตรหลัก (ท้ังตนน้ํา กลางน้ํา ปลายน้ํา)

หลักสูตรการเรียนรู ของ ศพก.อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี ประกอบดวย การจัดการน้ําและปุยในการผลิตทุเรียน

การจัดการดอกและทําทุเรียนผลสวย การจัดการศัตรูพืชในสวนทุเรียน ซ่ึงเปนตนน้ํา สําหรับหลักสูตรกลางน้ํา ไดแก การทํา

บัญชีครัวเรือน มีแผนจะกําหนดหลักสูตรกลางน้ําเพ่ิมเติมในอนาคต คือ การเพ่ิมมูลคาโดยใชนวัตกรรม และปลายน้ํา

หลักสูตรดานการตลาด

๔. กระบวนการเรียนรู

๔.๑ การจัดกระบวนการเรียนรูแตละฐานเรียนรู (การสาธิต ฝกปฏิบัติ บรรยาย ฯลฯ)

- การสาธิต สําหรับฐานเรียนรู การทําตนสมบูรณและการตัดแตงทรงพุม การจัดการน้ําและปุย การใชเครื่องจักรกล

ทางการเกษตรในการดูแลสวนลดแรงงานคน - ฝกปฏิบัติ สําหรับฐานเรียนรู การจัดการดอกและทําทุเรียนผลสวย

- การบรรยาย สําหรับฐานเรียนรู การจัดการศัตรูพืชในสวนทุเรียน

๔.๒ เทคนิคการเชิญชวนเกษตรกรใหเขามาศึกษาเรียนรูท่ี ศพก. และเขารวมงาน Field Day

ศพก. ตองมีเทคโนโลยีใหม นวัตกรรมใหม ตลาดทางเลือก การเพ่ิมมูลคา เกษตรกรตองการเรียนรู

ท่ีมากกวาสิ่งท่ีเปนอยู

Page 13: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๐

๔.๓ การจัดงาน Field Day

๔.๓.๑ งาน Field Day คือ งานวันถายทอดเทคโนโลยีเพ่ือเริ่มตนฤดูกาลผลิตใหม โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือกระตุนให

เกษตรกรเริ่มตนการผลิตในปเพาะปลูกใหมโดยใชเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับพ้ืนท่ี และมีการใหบริการดานการเกษตรจาก

หนวยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ และหนวยงานในพ้ืนท่ีท่ีเก่ียวของ

๔.๓.๒ เปาหมายในการจัดงาน Field Day คือ เกษตรกรเขารวมงานจํานวน ๒๐๐ ราย จากทุกตําบลในอําเภอทา

ใหม จังหวัดจันทบุรี

๔.๓.๓ ไดเรียนรูอะไรบาง จากงาน Field Day

เกษตรกรท่ีมารวมงาน Field Day เม่ือวันท่ี ๑๕ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ ศพก.อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี

จํานวน ๒๐๐ คน สุมตัวอยาง จํานวน ๓๐ คน พบวาเปนเพศชาย จํานวน ๑๖ คน เพศหญิง จํานวน ๑๔ คน สวนใหญมีอายุ

ระหวาง ๔๑-๕๐ ป จํานวน ๑๔ คน รองลงมาอายุ ๖๑-๗๐ ป, ๕๑-๖๐ ป และ ๓๘-๔๐ ป จํานวน ๗ คน, ๖ คน และ ๓ คน

ตามลําดับ เกษตรกรท่ีมารวมงานมาจากตําบลรําพัน โขมง สองพ่ีนอง เขาบายศรี ทุงเบญจา และเขาแกว ไดเรียนรู เรื่องการ

วิเคราะหดิน การผลิตปุยอินทรีย การผลิตพืชตามมาตรฐาน GAP การจัดการศัตรูพืช และการเตรียมตนทุเรียนหลังการเก็บ

เก่ียว จากสถานีเรียนรู ซ่ึงเกิดจากการบูรณาการของหนวยงานภาคี

๔.๓.๔ นําองคความรูท่ีไดรับจากงาน Field Day ไปใชหรือไม อยางไร

เกษตรกรท่ีเขารวมงาน Field Day ไดนําความรูท่ีไดรับไปใชกับสวนของตนเอง เพ่ือใหเกิดผลสําเร็จ

เหมือนกับเกษตรกรตนแบบ

๔.๓.๕ การนําองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมจากแหลงอ่ืนมาใชในการจัดงาน Field Day หรือไม อยางไร

ในการจัดงาน Field Day มีสถานีหลัก สถานีรอง ถายทอดความรูโดยเกษตรกรตนแบบ หนวยงานท่ี

เก่ียวของ และสมาชิกเครือขาย ปงบประมาณ ๒๕๖๑ จะเพ่ิมสถานีเรียนรูเพ่ิมเติม ไดแก สถานกีารตลาดเชื่อมโยงการผลิต

เพ่ือผลิตทุเรียนคุณภาพใหตรงกับความตองการตลาด วางแผนประชุมรวมกับสมาชิกกลุมเพ่ือเก็บขอมูล การบริหารจัดการ

การผลิต การตลาด ซ่ึงการตลาดเปนหัวใจสําคัญของการผลิต

๔.๔ เกิดการพัฒนาทักษะในการถายทอดเทคโนโลยี หรือไม อยางไร

จากการจัดงาน Field Day ทําใหเกษตรกรตนแบบ และสมาชิกศูนยเครือขายท่ีรวมเปนวิทยากร

เกิดทักษะในการถายทอดเทคโนโลยี เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูมากข้ึน

๔.๕ มีการนําองคความรู เทคโนโลยีไปประยุกตใชในไรนาของตนเองหรือไม อยางไร

องคความรู เทคโนโลยี ท่ีมาจัดเปนสถานีเรียนรู บางเรื่องเกิดจากการปฏิบัติงานอยูแลวของเกษตรกรตนแบบ

สําหรับเทคโนโลยีใหม ๆ ก็จะนําไปประยุกตใชในสวนตนเองดวย

๕. การบูรณาการการทํางาน

๕.๑ คณะกรรมการ Single Command มีสวนชวยสนบัสนุนการดําเนินงานของ ศพก.ใหบรรลุเปาหมาย อยางไร

ป ๒๕๖๐ มีการเปลี่ยนประธานคณะกรรมการ Single Command ของจังหวัดจันทบุรี จากเกษตรจังหวัดจันทบุรี

เปนเกษตรและสหกรณจังหวัดจันทบุรี บทบาทหนาท่ีของคณะกรรมการ Single Command มีการสั่งงานตามลําดับชั้น

มีความสัมพันธท่ีดีตอกัน แตมีการเปลี่ยนตัวบุคคลในหนวยงานบอย ทําใหการประสานงานยังมีปญหาอยูบาง สําหรับการบูรณา

การในพ้ืนท่ี ยังไมมีการบูรณาการอยางจริงจัง ปงบประมาณ ๒๕๖๑ กําหนดวางแผนจะจัดประชุมใหชัดเจน เปนรูปธรรมมากข้ึน

Page 14: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๑

๕.๒ หนวยงานท่ีรวมดําเนินงาน ศพก.

หนวยงานท่ีรวมดําเนินงาน ศพก. ไดแก สํานักงานเกษตรอําเภอทาใหม สํานักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี สถานี

พัฒนาท่ีดินจันทบุรี สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรท่ี ๖ สํานักงานประมงจังหวัดจันทบุรี สํานักงานปศุสัตวจังหวัดจันทบุรี

สํานักงานตรวจบัญชีสหกรณจันทบุรี และสํานักงานสงเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี ๓ จังหวัดระยอง เปนตน

๕.๓ เทคนิคการประสานงานใหหนวยงานตาง ๆ เขามารวมดําเนินการ

สํานักงานเกษตรจังหวัด สํานักงานเกษตรอําเภอ ประสานแจงใหหนวยงานตาง ๆ เขามารวมดําเนินการท่ี ศพก. ทุก

วันพฤหัสบดี เพ่ือใหสอดคลองกับระบบสงเสริมการเกษตร (T&V system)

๕.๔ การวางแผนและการดําเนินงานของหนวยงานตาง ๆ ท่ีเขารวมดําเนินการใน ศพก.

หนวยงานตาง ๆ มีการจัดทําแผนปฏิบัติงานท่ีจะมาดําเนินการใน ศพก.

๖. การมีสวนรวมของชุมชน

๖.๑ การจัดทําแผนการดําเนินงานของ ศพก.มีวิธีการอยางไร ใครมีสวนรวมบาง

คณะกรรมการ ศพก. อําเภอทาใหม ประธานศูนยเครือขาย ศพก. นายกองคการบริหารสวนตําบล

ผูใหญบานและเจาหนาท่ีหนวยงานตาง ๆ ท่ีเก่ียวของเขารวมประชุมเพ่ือจัดทําแผนการดําเนินงานของ ศพก.

๖.๒ คณะกรรมการ ศพก.และชุมชนมีบทบาทในการดําเนินงานของ ศพก.อยางไร

ตัวแทนชุมชนทุกตําบลรวมเปนคณะกรรมการ ศพก. เพ่ือรวมกันขับเคลื่อนการดําเนินงานของ ศพก.

๗. บทบาท/หนาท่ี

๗.๑ บทบาทหนาท่ีในการขับเคลื่อนงานของ ศพก. ของผูมีสวนเก่ียวของ

๗.๑.๑ เกษตรกรตนแบบเจาของ ศพก.

นายอุดม วรัญูรัฐ เกษตรกรตนแบบทําหนาท่ีประธานคณะกรรมการ ศพก. อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี

เปนประธานคณะกรรมการเครือขาย ศพก.ระดับจังหวัด ประธานคณะกรรมการเครือขาย ศพก.ระดับเขต (เขต ๓) และรอง

ประธานคณะกรรมการเครือขาย ศพก.ระดบัประเทศ

นายอุดม วรัญูรัฐ เปนวิทยากรในการถายทอดความรูใหกับผูท่ีมาเรียนรูใน ศพก. อําเภอ

ทาใหม จังหวัดจันทบุรี ใช ศพก.เปนแหลงเรียนรู แลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติ เทคโนโลยี เทคนิคการผลิต การตลาด เปนตัวอยาง

แกชุมชน และมีการพัฒนาตนเองตลอดเวลา ตอเนื่อง มีการตอยอด มองใหถึงแกนของชีวิต เขาสูโอกาสการแขงขัน ซ่ึงใน

อนาคตจะมีการแขงขันสูงในดานตนทุนการผลิต มีการหาชองทางการตลาดเพ่ิมข้ึน รวบรวมสมาชิกรวมกลุมกันในชุมชน

อําเภอ จังหวัด ใหขอมูลขาวสาร ใหผลิตใหตรงกับความตองการของตลาด

๗.๑.๒ เจาหนาท่ีสงเสริมการเกษตรระดับอําเภอ/จังหวัด

เจาหนาท่ีสงเสริมการเกษตรระดับอําเภอรวมเปนคณะกรรมการ ศพก. เพ่ือชวยในการขับเคลื่อนการ

ดําเนินงานของ ศพก. ในทุก ๆ ดาน ท้ังการวางแผน จัดเก็บขอมูล วิเคราะหขอมูล จัดทําแผนพัฒนา ศพก. กําหนดกิจกรรม

ดําเนินกิจกรรมตามแผน และรวมประเมินผลการดําเนินงาน ศพก.

ในมุมมองของเกษตรกรตนแบบ มีความเห็นวา เจาหนาท่ีตองพัฒนางานในสายอาชีพใหกวางไกล สรางความ

นาเชื่อถือ ใหเกษตรกรมีความศรัทธา เชน เจาหนาท่ียายมาจากตางจังหวัด ตางอําเภอ ท่ีไมมีประสบการณดานไมผล

Page 15: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๒

หรือมีประสบการณนอย ตองพัฒนาตนเองใหมีความรอบรูมากข้ึน รูจักประสานงานกับบุคคลท่ีเก่ียวของของกระทรวงเกษตร

และสหกรณ ควรมีความรูเรื่องการตลาดใหตรงกับชวงเวลา เตรียมความพรอมในดานขอมูล เตรียมแผนพัฒนาการเกษตรใน

พ้ืนท่ี เปนตน

๗.๑.๓ ศูนยเครือขาย

ศูนยเครือขายทําหนาท่ีเปนแหลงเรียนรูเพ่ิมเติมในเรื่องอ่ืน ๆ เชน ศูนยจัดการดินปุยชุมชน

ใหความรูเรื่องการวิเคราะหดิน การใสปุยใหเหมาะสมกับสภาพดิน ศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชนใหความรูในเรื่องการจัดการ

ศัตรูพืชอยางถูกวิธี

ศูนยเครือขาย ศพก.อําเภอทาใหม จังหวัดจันทบุรี จํานวน ๑๐ แหง ประกอบดวย

ที่ ชื่อศูนยเครือขาย ประเภทศูนย ที่อยู ชื่อประธานศูนย

๑. ศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน

บานมาบโอน

ศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน

(ศจช.)

หมูที่ ๑๑ ตําบลเขา

บายศรี อําเภอทาใหม

นายจุมพล

ประสงคด ี

๒. ศูนยจัดการดินปุยชุมชน

วิสาหกิจชุมชนผลิตปุย

บานไทรนอง

ศูนยจัดการดินปุยชุมชน

(ศดปช.)

หมูที่ ๑๕ ตําบล

สองพี่นอง อําเภอ

ทาใหม

นายสพุรรค

สุขสมบูรณ

๓. วิสาหกิจชุมชนแปรรูป

พริกไทยบานน้าํโจน

ศูนยเรียนรูพืชผัก หมูที่ ๓ ตําบลทุงเบญจา

อําเภอทาใหม

นางกัญญา

เสนาะสรรพ

๔. ศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน

บานทุงสน

ศูนยจัดการศัตรูพืชชุมชน

(ศจช.)

หมูที่ ๔ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นางสาวดวงพร ศรี

คงรักษ

๕. วิสาหกิจชุมชนเพาะเห็ด

และแปรรูปเห็ด

บานไรเกา

ศูนยเรียนรูพืชผัก หมูที่ ๘ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นางอรชร เพิ่มพวก

๖. วิสาหกิจชุมชนทาศาลา ศูนยเรียนรูดานการ

แปรรูปผลิตผล

ดานการเกษตร

หมูที่ ๓ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นายสพุรรค

สุขสมบูรณ

๗. วิสาหกิจชุมชนผูเลี้ยง

ชันโรง (ผึ้งจิ๋ว) บานตน

เลียบ

ศูนยเรียนรูดานแมลง

เศรษฐกิจ

หมูที่ ๖ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นายจักรชัย

เสมสฤษดิ ์

๘. ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจ

พอเพียง กลุมผลิตผักและ

ผลไมใหมีคุณภาพและ

ปลอดภัย

ศูนยเรียนรูเศรษฐกิจ

พอเพียง/เกษตรทฤษฎี

ใหม/เกษตรผสมผสาน

หมูที่ ๗ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นายฉลวย

จันทแสง

๙. กลุมเกษตรกรผูปลูก

พริกไทย ตําบลรําพนั

ศูนยเรียนรูพืชผัก หมูที่ ๗ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นายบุญชัย ก่ิงมณ ี

๑๐. วิสาหกิจชุมชนผูเลี้ยงกบ

ดวยสมุนไพร

ศูนยเรียนรูดานประมง หมูที่ ๗ ตําบลรําพัน

อําเภอทาใหม

นายวนัชัย

กิจจาอาภา

Page 16: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๓

ศูนยเครือขาย ศพก. ตองเชื่อมโยงผลผลิต ผลิตภัณฑ เชน นําสินคามาจัดแสดง ณ ศพก.หลัก เม่ือมี

ผูมาศึกษาดูงาน กอจะไดชมผลผลิต ผลิตภัณฑของศูนยเครือขาย ตองคัดเลือกประธานศูนยท่ีมีความเกง สงเสริมดาน

การตลาด สามารถนําสินคาของเครือขายไปจําหนายได เปนการสรางรายไดและเผยแพรชื่อเสียงใหกับสินคาในพ้ืนท่ี

๗.๒ ใครทําหนาท่ีประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของ ศพก. และประชาสัมพันธผานชองทางใดบาง

เจาหนาท่ีสงเสริมการเกษตรท่ีรับผิดชอบ ศพก. ทําหนาท่ีประชาสัมพันธขอมูลขาวสารของ ศพก. โดยการแจงทาง

หนังสือราชการ แจงในท่ีประชุมหมูบาน แจงผานไลนกลุมเครือขายเกษตรอําเภอทาใหม

หนวยงานท่ีเก่ียวของในการทําหนาท่ีประชาสัมพันธ เชน หอการคาจังหวัดจันทบุรี SC สาํนักวิจัยและพัฒนาการ

เกษตรท่ี ๖ สถาบันการศึกษา สถาบันทุเรียนไทย ประชารัฐ เปนตน

๘. ปจจัยแหงความสําเร็จ

๘.๑ ปจจัยแหงความสําเร็จของ ศพก.

๑) เกษตรกรตนแบบ ตองเปนผูท่ีมีความรูความสามารถและมีจิตอาสาท่ีตองการถายทอดความรูใหกับผูท่ีสนใจท่ีเขา

มาเรียนรูท่ี ศพก. ไมหวงวิชา พรอมท่ีจะขับเคลื่อนการดําเนินงานของ ศพก. รวมกับหนวยงาน

ตาง ๆ ท่ีเก่ียวของ

๒) ศพก. ตองมีการพัฒนาตอเนื่อง มีเทคโนโลยีสมัยใหม นวัตกรรมใหม ๆ

๓) ฐานเรียนรู ตองเปนท่ีดึงดูดใจ เกษตรกรในพ้ืนท่ีใหความสนใจท่ีจะแลกเปลี่ยนเรียนรูและนําไปปฏิบัติในพ้ืนท่ีของ

ตนเอง

๔) คณะกรรมการ ศพก.ในแตละอําเภอตองมีสวนรวมในการประเมินศักยภาพ ศพก.

๕) ควรจัดใหคณะกรรมการ ศพก.แตละอําเภอไดมีโอกาสไปเยี่ยมเยียน แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวาง ศพก.ตางอําเภอ

เพ่ือพัฒนาศพก.ใหเปนทิศทางเดียวกัน

๖) ควรกําหนดใหมีการจัดงานวันถายทอดเทคโนโลยี (Field day) ในระดับจังหวัด เพ่ือพัฒนา เชื่อมโยงเครือขาย

ระดับจังหวัด

๗) ศูนยเครือขาย ศพก.ตองพัฒนาตนเอง ตั้งใจ จริงใจ และรวมบูรณาการพัฒนา ศพก.

๘) เจาหนาท่ี ตองพัฒนาตนเองตลอดเวลา ทันตอการเปลี่ยนแปลง

๘.๒ วิธีการท่ีดีเลิศ (Best Practice) ท่ีทําใหบรรลุเปาหมาย

วธิีการท่ีดีเลิศ จะตองมีขอมูลพ้ืนท่ี มีการวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบ คณะกรรมการ ศพก. และเจาหนาท่ี

หนวยงานตาง ๆ มีการบูรณาการอยางแทจริง รวมกันวางแผนและขับเคลื่อนการดําเนินงาน ศพก.

ใหบรรลุเปาหมาย และมีการประเมินแบบมีสวนรวม ศูนยเครือขายทุกศูนย ตองคนหาจุดเดน และประธานศูนยเครือขาย

ตองเปนวิทยากรถายทอดความรู เปนท่ีปรึกษาเฉพาะดาน และพรอมแลกเปลี่ยนเรียนรู

๘.๓ สิ่งท่ีคาดไมถึง ท่ีทําใหการดําเนินงานของ ศพก.บรรลุเปาหมาย

สิ่งท่ีคาดไมถึง ท่ีทําใหการดําเนินงานของ ศพก.บรรลุเปาหมาย ไดแก

๑) นโยบายรัฐบาลท่ีสนับสนุนการดําเนินงาน ศพก.อยางเต็มท่ี สนับสนุนงบประมาณในการสรางศาลาเรียนรู เพ่ือ

เปนสถานท่ีในการถายทอดความรู เทคโนโลยีแกเกษตรกร

Page 17: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๔

๒) การขับเคลื่อน ศพก.โดยวิธีการประชุม สัมมนา สัญจรระดับเขต ระดับประเทศ ไปยังจังหวัดตาง ๆ ทําใหได

แลกเปลี่ยนเรียนรู สัมผัสของจริง สามารถนํามาพัฒนา ศพก.ในพ้ืนท่ีได

๓) การประสานงานของหนวยงานตาง ๆ ทําใหสามารถเขาถึงขอมูลไดงาย

๔) ชองทางการสื่อสารในยุคดิจิทัล ทําใหสามารถคนหา แลกเปลี่ยนขอมูล ดานองคความรู เทคโนโลยี การตลาด

และเชื่อมโยงเครือขายไดงายข้ึน

๙. ปญหา/อุปสรรค ในการดําเนินงานของ ศพก.

ปญหา อุปสรรค การแกไข

๑) เกษตรกรยังไมเชื่อม่ันบทบาทหนาท่ีของ ศพก.- ๑) เกษตรกรตองใชเวลาในการเรียนรูนโยบายภาครัฐ

๒) ภาครัฐตองสรางความเชื่อม่ันใหกับเกษตรกร

๑๐. แผนการดําเนินงาน/แผนพัฒนา ศพก.

๑๐.๑ คณะกรรมการ ศพก. และเจาหนาท่ีหนวยงานตาง ๆ รวมกันวางแผนการดําเนินงานของ ศพก. ตั้งแตตน

ปงบประมาณ

๑๐.๒ แผนพัฒนา ศพก. จะตองจัดประชุมคณะกรรมการ ศพก. ศูนยเครือขาย และหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือวิเคราะห

ศักยภาพ และจัดทําแผนพัฒนา ศพก. โดยเนนพัฒนาองคประกอบของ ศพก.เปนหลัก (เกษตรกรตนแบบ ฐานเรียนรู แปลง

เรียนรู และหลักสูตรการเรียนรู) และพัฒนายกระดับ ศพก.ใหดีข้ึนกวาเดิม

๑๑. ความย่ังยืน

ขอเสนอแนะในการพัฒนาใหการดําเนินงานของ ศพก.เกิดความยั่งยืน ดังนี้

๑๑.๑ ศพก. ตองดําเนินการอยางตอเนื่องโดยมีคณะกรรมการ ศพก. เปนหลักในการขับเคลื่อนการดําเนินงาน

๑๑.๒ เกษตรกรตนแบบตองพัฒนาใหกาวหนา เพ่ือเปนตัวอยางในการพัฒนาการเกษตรในพ้ืนท่ี และสรางความเชื่อม่ัน

ใหกับเกษตรกร

๑๑.๓ พัฒนาศูนยเครือขายใหเขมแข็งในระดับอําเภอ เชื่อมโยงระหวางอําเภอในจังหวัด และระดับเขต

๑๑.๔ เกษตรกรในพ้ืนท่ีตองนําความรูท่ีไดรับไปพัฒนาตอยอด เรียนรูจาก ศพก.เครือขาย เชื่อมโยงการประกอบอาชีพ

กับ ศพก.ใหได

Page 18: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๕

เอกสารอางอิง

สํานักงานเกษตรจังหวัดจันทบุรี. ๒๕๖๐. ขอมูลของจังหวัดจันทบุรี. เอกสารประกอบการรับดารตรวจราชการ

และติดตามการขับเคลื่อนนโยบายสําคัญเรงดวนของรัฐบาลของ ฯพณฯ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา

นายกรัฐมนตรี วันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๖๐ ณ สหกรณเขาคิชฌกูฏ จํากัด ตําบลชากไทย อําเภอ

เขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี.

สํานักงานเกษตรอําเภอทาใหม. ๒๕๕๙. สถิติการปลูกพืชอําเภอทาใหม ป ๒๕๕๙ (๒๐ ก.ย.๒๕๕๙).

อัดสําเนา.

Page 19: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

ภาคผนวก

Page 20: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๗

ภาพกิจกรรม

งานวันถายทอดเทคโนโลยี (Field Day) ป ๒๕๖๐

สถานีท่ี ๑

Page 21: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๘

สถานีท่ี ๒

สถานีท่ี ๓

สถานีท่ี ๔

Page 22: ถอดบทเรียน ศพก.อําเภอท าใหม ...alc.doae.go.th/wp-content/uploads/2017/10/LessonLearned...ถอดบทเร ยน ศ นย เร

๑๙

สถานีท่ี ๕

ทีมถอดบทเรียน