ปฏิบัติการ6ที...

15
ปฏิบัติการที 6 การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีบ่งชีคุณภาพนํา คํานํา ชนิดของแพลงก์ตอนพืชทีแตกต่างกันตามแหล่งทีอยู่อาศัย โดยแต่ละชนิดจะมีช่วงความทนทาน ต่อสภาวะแวดล้อมทีแตกต่างกัน ดังนั น จึงสามารถใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีวัดระดับความอุดมสมบรูณ์ ของแหล่งนํ าได้ การใช้แพลงก์ตอนพืชในการตรวจสอบมลภาวะของแหล่งนํ าและใช้แบ่งชั นคุณภาพนํ าตาม ความอุดมสมบรูณ์ของสารอาหาร (Palmer, 1977 : 35) ได้แก่ 1. Oligotrophic status เป็นแหล่งนํ าทีมีความอุดมสมบรูณ์ตํ ามีปริมาณการปนเปื อนของสารอาหาร น้อย ลักษณะของนํ าจะใสไม่มีกลิน ปริมาณออกซิเจนทีละลายในนํ าจะสูง นํ ามีคุณภาพดี พบแพลงก์ตอนพืช น้อยชนิดแต่ละชนิดมีจํานวนน้อย แพลงก์ตอนพืชทีพบส่วนใหญ่จะเป็นสาหร่ายสีเขียวพวกเดสมิดส์ (Desmids) เช่น Staurastrum sp. Staurodesmus sp. Closterium sp. Cosmarium sp. และพบไดอะตอม เช่น Cyclotella sp. และ Eunotia sp. เป็นต้น 2. Mesotrophic status เป็นแหล่งนํ าที มีความอุดมสมบรูณ์ปานกลาง มีปริมาณการปนเปื อนของ สารอาหารและปริมาณออกซิเจนที ละลายในนํ าอยู ่ในระดับปานกลาง ลักษณะของนํ าจะสีเขียวใส หรือ ขุ ่นเล็กน้อย นํ ามีคุณภาพปานกลาง พบแพลงก์ตอนพืชมากชนิดแต่ละชนิดมีจํานวนมากหรือน้อย แพลงก์ตอนพืชที พบส่วนใหญ่เป็นสาหร่ายสีเขียว ใน Division Chlorophyta เช่น Pediastrum sp. Scenedesmus sp. Chlorella sp. Oocystis sp. Ankistrodesmus sp. สาหร่ายไดโนแลกเจลเลตใน Division Pyrrophyta เช่น Peridinium sp. Gymnodinium sp. และ Ceratium sp. และ Synedra sp. Gymnodinium sp. และ Ceratium sp. เป็นต้น นอกจากนี ยังพบไดอะตอมใน Division Chrysophyta เช่น Navicula sp. Pinnularia sp. และ Synedra sp. 3. Eutrophic status เป็นแหล่งนํ าที มีความอุดมสมบรูณ์สูงมีการปนเปื อนของสารอาหารมาก นํ ามี สีเขียวขุ ่น หรือสีเขียวคลํ า ปริมาณออกซิเจนที ละลายในนํ าจะตํ าในตอนเช้าและตอนกลางคืน แต่จะสูงใน เวลาบ่าย หรือเย็น พบแพลงก์ตอนพืชน้อยชนิดจะมีจํานวนมาก ซึ งแพลงก์ตอนพืชที พบส่วนใหญ่จะเป็น สาหร่าย สีเขียวแกมนํ าเงินใน Division Cyanophyta เช่น Oscillatoria sp. Phormidium sp. แพลงก์ตอนพืช ยูกลีนอยด์ Division Euglenophyta เช่น Euglena sp. Phacus sp. และ Trachelomonas sp. พวกไดอะตอม เช่น Nitzchia sp. และ Gomphonema sp. เป็นต้น

Upload: others

Post on 31-Oct-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

ปฏิบตัิการที 6 การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีบ่งชี คุณภาพนํ า

คํานํา ชนิดของแพลงก์ตอนพืชที แตกต่างกนัตามแหล่งที อยู่อาศยั โดยแต่ละชนิดจะมีช่วงความทนทานต่อสภาวะแวดลอ้มที แตกต่างกนั ดงันั น จึงสามารถใชแ้พลงก์ตอนพืชเป็นดชันีวดัระดบัความอุดมสมบรูณ์ของแหล่งนํ าได ้การใชแ้พลงกต์อนพืชในการตรวจสอบมลภาวะของแหล่งนํ าและใชแ้บ่งชั นคุณภาพนํ าตามความอุดมสมบรูณ์ของสารอาหาร (Palmer, 1977 : 35) ไดแ้ก่ 1. Oligotrophic status เป็นแหล่งนํ าที มีความอุดมสมบรูณ์ตํ ามีปริมาณการปนเปื อนของสารอาหารนอ้ย ลกัษณะของนํ าจะใสไม่มีกลิ น ปริมาณออกซิเจนที ละลายในนํ าจะสูง นํ ามีคุณภาพดี พบแพลงกต์อนพืช น้อยชนิดแต่ละชนิดมีจาํนวนน้อย แพลงก์ตอนพืชที พบส่วนใหญ่จะเป็นสาหร่ายสีเขียวพวกเดสมิดส์ (Desmids) เช่น Staurastrum sp. Staurodesmus sp. Closterium sp. Cosmarium sp. และพบไดอะตอม เช่น Cyclotella sp. และ Eunotia sp. เป็นตน้ 2. Mesotrophic status เป็นแหล่งนํ าที มีความอุดมสมบรูณ์ปานกลาง มีปริมาณการปนเปื อนของสารอาหารและปริมาณออกซิเจนที ละลายในนํ าอยู่ในระดับปานกลาง ลกัษณะของนํ าจะสีเขียวใส หรือ ขุ่นเล็กน้อย นํ ามีคุณภาพปานกลาง พบแพลงก์ตอนพืชมากชนิดแต่ละชนิดมีจํานวนมากหรือน้อย แพ ลงก์ตอ น พื ช ที พ บส่วน ให ญ่ เป็น ส าห ร่ายสี เขียว ใน Division Chlorophyta เช่ น Pediastrum sp. Scenedesmus sp. Chlorella sp. Oocystis sp. Ankistrodesmus sp. สาหร่ายไดโนแฟลกเจลเลตใน Division Pyrrophyta เช่น Peridinium sp. Gymnodinium sp. และ Ceratium sp. และ Synedra sp. Gymnodinium sp. และ Ceratium sp. เป็นต้น นอกจากนี ยังพบไดอะตอมใน Division Chrysophyta เช่น Navicula sp. Pinnularia sp. และ Synedra sp. 3. Eutrophic status เป็นแหล่งนํ าที มีความอุดมสมบรูณ์สูงมีการปนเปื อนของสารอาหารมาก นํ ามี สีเขียวขุ่น หรือสีเขียวคลํ า ปริมาณออกซิเจนที ละลายในนํ าจะตํ าในตอนเชา้และตอนกลางคืน แต่จะสูงในเวลาบ่าย หรือเย็น พบแพลงก์ตอนพืชน้อยชนิดจะมีจาํนวนมาก ซึ งแพลงก์ตอนพืชที พบส่วนใหญ่จะเป็นสาหร่าย สีเขียวแกมนํ าเงินใน Division Cyanophyta เช่น Oscillatoria sp. Phormidium sp. แพลงก์ตอนพืชยูกลีนอยด์ Division Euglenophyta เช่น Euglena sp. Phacus sp. และ Trachelomonas sp. พวกไดอะตอม เช่น Nitzchia sp. และ Gomphonema sp. เป็นตน้

Page 2: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

อุปกรณ์และวธีิการศึกษาแพลงก์ตอนพืช 1.1 ถงัพลาสติก ขนาด 20 ลิตร 1.2 ขวดสีชา ขนาด 150 ml ใชใ้นการเก็บรักษาสภาพแพลงกต์อนพืช

1.3 ตาข่ายแพลงกต์อน (Plankton net) ขนาดความถี 20 ไมโครเมตร (ภาพที 1) 1.4 สารเคมีที ใชเ้ก็บรักษาแพลงกต์อนพืช ไดแ้ก่ Lugol’s solution 1.5 Auto pipette

1.6 สไลดแ์ละกระจกปิดสไลด ์1.7 นํ ายาเคลือบเลบ็ 1.8 กระดาษทิชชู 1.9 กลอ้งจุลทรรศนช์นิดเลนส์ประกอบ (Compound microscope)

วธีิการศึกษา

เก็บรวบรวมแพลงกต์อนพืชจากแหล่งนํ าที ศึกษาโดยการใชต้าข่าย ซึ งมีขนาดของช่องแต่ละช่อง 20 ไมโครเมตร กรองนํ าจากแหล่งนํ านั น 10-20 ลิตร ขึ นอยู่กับความต้องการของแพลงก์ตอนพืช วินิจฉ ัยแพลงก์ตอนพืชที ศึกษาถึงระดับสกุล (ในกรณี นี ไม่จําเป็นต้องวินิจฉ ัย ถึงระดับชนิด) นับจํานวน แพลงกต์อนพืช หาแต่ละจีนสัที พบมากที สุด และรองลงไป 2 สกลุ ดูคะแนนแต่ละสกุลที บ่งบอกคุณภาพนํ าในตารางที 1 นาํคะแนนแต่ละสกุล มารวมกนัและหาค่าเฉลี ย นาํค่าเฉลี ยไปเปรียบเทียบคะแนนในตารางที 2 จะทราบคุณภาพนํ าตามระดบัความตอ้งการสารอาหารและคุณภาพนํ าทั วไป (ยวุดี พีรพรพิศาล, 2549 : 78)

ตวัอยา่ง สมมุติในอ่างเก็บนํ า A มีแพลงกต์อนพืชชนิดเด่น จากตาราง 1 พบว่า คะแนนแต่ละสกุลมีดงันี

Euglena = 10

Trachelomonas = 8

Fragilaria = 5 นาํคะแนนมารวมกนัไดเ้ท่ากบั 23 คะแนน จากนั นหารดว้ยจาํนวนสกุลของแพลงก์ตอนพืชชนิดเด่นที นํามาคาํนวณ จากตวัอย่างนี เท่ากบั 3 สกลุ ดงันั นคะแนนคุณภาพนํ าของแหล่งนํ า A

Page 3: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

= 23/3 = 7.6

จากนั นนําคะแนนมาเปรียบเทียบคุณภาพนํ าในตารางที 2 อยู่ระดับสารอาหารสูง (Eutrophic) คุณภาพนํ าทั วไปมีคุณภาพนํ าไม่ดี ตารางที 1 คะแนนของแพลงกต์อนพืช AARL-CMU SCORE

จีนสั คะแนน จีนสั คะแนน Actinastrum 5 Cylindrospermopsis 7 Acanthoceras 5 Cymbella 5 Achnanthes 6 Dictyosphaerium 7 Amphora 6 Dimorphococcus 7 Anabaena 8 Dinobryon 1 Ankistrodesmus 7 Gymnodinium 6 Aphanocapsa 5 Gyrosigma 7 Aphanothece 5 Hantzschia 8 Aulacoseira 6 Isthmochloron 5 Bacillaria 7 Kirchneriella 5 Botryococcus 4 Melosiera 5 Centritractus 4 Merismopedia 9 Ceratium 4 Micractinium 7 Chlamydomonas 6 Micrasterias 2 Chlorella 6 Microcystis 8 Chroococcus 6 Monoraphidium 7 Closterium 6 Navicula 5 Cocconeis 6 Nephrocytium 5 Coelastrum 7 Nitzschia 9 Cosmarium 2 Oocysis 6 Crucigenia 7 Oscillatoria 9 Crucigeniella 7 Pandorina 6 Cryptomonas 8 Pediastrum 7

Page 4: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

ตารางที 1 คะแนนของแพลงกต์อนพืช AARL-CMU SCORE (ต่อ) จีนสั คะแนน จีนสั คะแนน

Cyclotella 2 Peridiniopsis 6 Peridnium 6 Eunotia 5 Phacus 8 Fragilaria 5 Phormidium 9 Golenkinia 6 Pinnularia 5 Gonium 6 Planktolyngbya 7 Spirulina 9 Pseudanabaena 7 Staurastrum 3 Rhizosolenia 6 Staurodesmus 3 Rhodmonas 8 Stauroneis 5 Rhopalodia 5 Strombomonas 8 Scenedesmus 8 Surirella 6 Elakatothrix 6 Synedra 6 Encyonema 6 Synura 8 Epithemia 3 Tetraedron 6 Euastrum 6 Trachelomonas 8 Euglena 10 Volvox 6

ที มา : ยวุดี พีรพรพิศาล (2549 : 79-80)

ตารางที 2 คะแนนคุณภาพนํ าตามระดบัสารอาหาร และคุณภาพนํ าทั วไป คะแนน คุณภาพนํ าตามระดบัสารอาหาร คุณภาพนํ าทั วไป 1.0-2.0 ระดบั Oligotrophic สารอาหารนอ้ย คุณภาพนํ าดี 2.1-3.5 ระดับ Oligo- mesotrophic สารอาหารน้อยถึง

ปานกลาง คุณภาพนํ าดีปานกลาง

3.6-5.5 ระดบั Mesotrophic สารอาหารปานกลาง คุณภาพนํ าดีปานกลาง 5.6-7.5 ระดบั Meso – eutrophic สารอาหารปานกลางถึง

สูง คุณภาพนํ าดีปานกลางถึงไม่ดี

7.6-9.0 ระดบั Eutrophic สารอาหารสูง คุณภาพนํ าไม่ดี 9.1-10..0 ระดบั Hypeyeutrophic คุณภาพนํ าไม่ดีอยา่งมาก

ที มา : ยวุดี พีรพรพิศาล (2549 : 78)

Page 5: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

ผลการศึกษา ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... สรุปผลการศึกษา ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

Page 6: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

อภิปรายผลการศึกษา ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… เอกสารอ้างองิ ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………

Page 7: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·

ภาคผนวก

Page 8: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 9: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 10: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 11: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 12: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 13: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 14: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·
Page 15: ปฏิบัติการ6ที การใช้แพลงก์ตอนพืชเป็นดัชนีุณบภา่งพชี คนํ าbiology.crru.ac.th/biology/images/PDF/Phyco/LabPhyco-06.pdf ·