การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง...

61
1 การดูแลและบํารุงรักษาเครื่องปรับอากาศ วัตถุประสงค - เพื่อไดรับประโยชนสูงสุดจากระบบปรับอากาศ - ปลอดภัยจากมลภาวะในอากาศและภายในหองปรับอากาศ - ประหยัดพลังงานไฟฟา - ลดงบประมาณซอมบํารุงรักษา - ยืดอายุการใชงาน เครื่องปรับอากาศที่ใชในสวนราชการ และบานพักอาศัย ครื่องปรับอากาศแบบติดหนาตาง ( WINDOW TYPE )

Upload: others

Post on 20-Feb-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

1

การดูแลและบํารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ

วัตถุประสงค - เพื่อไดรับประโยชนสูงสุดจากระบบปรับอากาศ - ปลอดภัยจากมลภาวะในอากาศและภายในหองปรับอากาศ - ประหยัดพลังงานไฟฟา - ลดงบประมาณซอมบํารุงรักษา - ยืดอายุการใชงาน

เคร่ืองปรับอากาศท่ีใชในสวนราชการ และบานพักอาศัย

เคร่ืองปรับอากาศแบบติดหนาตาง ( WINDOW TYPE )

Page 2: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

2

อุปกรณ ตางๆ ภายในเคร่ืองปรับอากาศ

1. แผงทอทําความเย็น (Cooling coil) 2. คอมเพรสเซอร (Compressor) 3. แผงทอระบายความรอน (Condenser coil) 4. พัดลมสงลมเย็น (Blower) 5. พัดลมระบายความรอน (Condenser fan) 6. แผนกรองอากาศ (Air filter) 7. หนากากเคร่ืองท่ีมีแผนเกล็ดกระจายลมเยน็ (Louver) 8. อุปกรณควบคุมสําหรับการเปด-ปดเคร่ือง ต้ังคาอุณหภูมิหอง ต้ังความเร็ว

ของพัด ลม สงลมเย็น ต้ังเวลาการทํางานของเคร่ือง เปนตน อุปกรณควบคุมนี้อาจติดต้ังอยูท่ีตัว เคร่ืองปรับอากาศ จากบริเวณอ่ืนๆ ภายในหองปรับอากาศ

9. อุปกรณปอนสารทําความเยน็ (Metering device)

Page 3: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

3

เคร่ืองปรับอากาศแบบแยกสวน ( SPLIT TYPE )

จัดทําและแนะนําโดย

ฝายปฏิบัติการ สวนเคร่ืองจักรกลไฟฟา สํานักเคร่ืองจักรกล

โทร. 02-5836050-69 ตอ 222, 590

Page 4: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

4

การใชงานท่ีมีประสิทธ์ิภาพสูงสุดประหยัดและใหความปลอดภยั

- เปดเคร่ืองปรับอากาศเทาท่ีจําเปน และกอนเปดเคร่ืองประมาณ 15 นาทีควรเปดประตูหนา

ตางใหหองไดมีอากาศถายเท กอนปดประตูหนาตางใหสนิท - ปรับต้ังอุณหภูมิของเคร่ืองฯ ท่ีระดับ 25 องศาเซลเซียส ซ่ึงเปนอุณหภูมิท่ีทําใหรางกาย

รูสึก สบาย และชวยประหยดัไฟฟา - หลีกเลียงการนําของรอนเขาไปในหองท่ีมีการปรับอากาศ ไมทําใหหองเปยกช้ืนหรือปลูก

ตนไม เพราะจะทําใหเคร่ืองปรับอากาศทํางานหนักข้ึน - ควรเปดหลอดไฟหรืออุปกรณไฟฟาในหองเทาท่ีจําเปน เพราะเคร่ืองใชบางชนิดมีความ

รอนออกมา ทําใหอุณหภูมิในหองสูงข้ึน - ปดเคร่ืองปรับอากาศ กอนออกจากหองอยางนอย 30 นาที ถึง 1 ช่ัวโมงเพราะความเย็น

ยังคงอยู ชวยใหประหยดัไฟไดด ี

Page 5: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

5

การบํารุงรักษาเคร่ืองปรับอากาศ การบํารุงรักษาท่ีถูกตองและสมํ่าเสมอ ทําใหเคร่ืองปรับอากาศมีอายุใชงานไดยาว นาน มีประสิทธิภาพสูง และประหยัดพลังงานไฟฟาตลอดเวลา ซ่ึงควรปฏิบัติดังนี้ 1. หม่ันทําความสะอาดแผนกรองอากาศทุก ๆ 2 สัปดาห เพื่อใหเคร่ืองสามารถ จายความเยน็ไดเต็มท่ีตลอดเวลา 2. หม่ันทําความสะอาดแผงทอทําความเย็นดวยแปรงนิ่ม ๆ และนํ้าผสมสบูเหลว อยางออนทุก 6 เดือน เพื่อใหเคร่ืองทําความเยน็ไดอยางมีประสิทธิภาพอยูเสมอ 3. ทําความสะอาดพัดลมสงลมเย็นดวยแปรงขนาดเล็ก เพื่อขจัดฝุนละอองท่ีจับ กันเปนแผนแข็งและติดกันอยูตามซ่ีใบพดัทุก6 เดือน จะทําใหพัดลมสงลมไดเต็มสมรรถนะ ตลอดเวลา 4. ทําความสะอาดแผงทอระบายความรอน โดยการใชแปรงน่ิม ๆ และน้ําฉีด ลางทุก ๆ 6 เดือน เพื่อใหเคร่ืองสามารถนําความรอนภายในหองออกไปท้ิงใหแกอากาศ ภายนอกไดอยางมีประสิทธิภาพ 5. หากปรากฏวาเคร่ืองไมเยน็เพราะสารทําความเย็นร่ัวตองรีบตรวจหารอยรั่วแลว ทําการแกไขพรอมเติมใหเต็มโดยเร็ว มิฉะนั้นเคร่ืองจะใชพลังงานไฟฟาโดยไมทําใหเกิดความ เย็นแตอยางไร 6. ตรวจสอบฉนวนหุมทอสารทําความเย็นอยางสมํ่าเสมอ อยาใหเกิดฉีกขาด

Page 6: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

6

จัดทําและแนะนําโดย

ฝายปฏิบัติการ สวนเคร่ืองจักรกลไฟฟา สํานักเคร่ืองจักรกล

โทร. 02-5836050-69 ตอ 222, 590

Page 7: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

7

ระบบไฟฟาแสงสวาง ระบบไฟฟาแสงสวาง ในสวนราชการกรมชลประทานสามเสนและปากเกร็ด แบงไดตามลักษณะใชังาน ดังน้ี

1. ระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร

2. ระบบไฟฟาแสงสวางนอกอาคาร และ สาธารณูปโภค

ระบบไฟฟาแสงสวางภายในอาคาร ใชไฟฟาประมาณรอยละ 25 ของการใชพลังงานไฟฟาทั้งหมดของ

อาคาร ประสิทธิภาพของแสงคือ ปริมาณแสงท่ีปลอยออกมาจากหลอดแสงสวางอยูที่คาลูเมนตอวัตต ซึ่งไดกําหนดตามมาตราฐาน และความตองการแสงสวาง ปจจุบันไดเลือกหลอดแสงสวางชนิดประหยัดพลังงานไฟฟาโดยคํานึงขอสําคัญคือ

พิจารณาประสิทธิภาพของแสงโดยดูที่คาลูเมนตอวัตตถายิ่งมากย่ิงดีและมีประสิทธิภาพสูง (ลูเมน คือ ปริมาณแสงที่ปลอยออกมาจากหลอดแสงสวาง สวนวัตต คือ พลังไฟฟาที่ใชในการกําเนิดแสง)

อายุการใชงาน หลอดแสงสวางราคาถูกอายุจะสั้นจึงตองเปล่ียนบอย ๆ ซึ่งอาจจะเสียคาใชจายแพงกวาหลอดแสงสวางราคาแพงแตอายุการใชงานนาน เชนหลอดไสราคาถูกกวาหลอดตะเกียบ

(หลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต) แตอายุการใชงานสั้นกวาเปนตน

สีของแสงที่มาจากหลอดแสงสวางตองเหมาะสมกับลักษณะการใชงาน เชน สีคูลไวท (แสงสวางคอนไปทางสีขาว) หรือเดยไลท (แสงสวางสีขาว) เหมาะสมกับหองทํางาน หองเรียน สวนสีวอลมไวท (แสงสวางคอนไปทางสีสม) เหมาะสําหรับ หองจัดเล้ียง หงประชุม เปนตน

หลอดฟลูออเรสเซนต เปนหลอดที่มีประสิทธิภาพแสงและอายุการใชงานมากกวาหลอดไส หลอดฟลูออเรสเซนตแทงยาวที่ใชแพรหลายมีขนาด 36 วัตต แตก็ยังมีหลอดแสงสวางประสิทธิภาพสูง (หลอดซุปเปอรลักซ) ซึ่งมีราคาตอหลอดแพงกวาหลอดแสงสวาง 36 วัตตธรรมดา แตใหปริมาณแสงสวางมากกวารอยละ 20 ในขนาดการใชกําลังไฟฟาที่เทากัน

นอกจากน้ียังมีหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต (CFL) หรือหลอดตะเกียบชนิดทีใหสีของแสงออกมาเทียบเทารอยละ 85 ของหลอดไส (ใหสีของแสงดีที่สุด) สําหรับใชแทนหลอดไสชวยประหยัดไฟ และอายุการใชงานนานกวา 8 เทาของหลอดไส มี 2 แบบ คือแบบขั้วเกลียวกับขั้วเสียบ

หลอด SL แบบขั้วเกลียว มีบัลลาสตในตัว มีขนาด 9, 13, 18, 25 วัตต ประหยัดไฟรอยละ 75 เมื่อเทียบกับหลอดไส เหมาะกับสถานที่ที่เปดไฟนาน ๆ หรือบริเวณที่เปล่ียนหลอดยาก เชน โดมไฟหัวเสา ทางเดิน

หลอดตะเกียบ 4 แทง ขั้วเกลียว (หลอด PL*E/C) ขนาด 9, 11, 15 และ 20 วัตต มีบัลลาสตอิเล็กทรอนิกสในตัว เปดติดทันท ีไมกระพริบประหยัดไฟรอยละ 80 เมื่อเทียบกับหลอดไส

หลอดตะเกียบตัวยู 3 ขด (หลอด PL*E/T) ขนาดกะทัดรัด 20 และ 23 วัตต ขจัดปญหาหลอดยาวเกินโคม ประหยัดไดรอยละ 80 ของหลอดไส

Page 8: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

8

หลอดตะเกียบขั้วเสียบ (หลอด PLC) บัลลาสตภายนอก ขนาด 8, 10, 13, 18 และ 26 วัตต ประหยัดไฟรอยละ 80 ของหลอดไส

หลอดตะเกียบ 4 แทงขั้วเสียบ (หลอด PLS) บัลลาสตภายนอกขนาด 7, 9 และ 11 วัตต ประหยัดไฟรอยละ 80 ของหลอดไส

ระบบไฟฟาแสงสวางนอกอาคาร และ สาธารณูปโภค คือไฟฟาแสงสวางที่ติดต้ังใชงานภายนอกอาคาร

และบริเวณที่กําหนดใหมีแสงสวางเชน ไฟสองปายสํานักงาน, ตัวอาคาร, ไฟทาง, สวนสาธารณะเปนตน

การเลือกใชหลอดแสงสวางตามประเภท- ความเหมาะสม และเพ่ือการประหยัดจําแนกไดดั้งน้ี

หลอดแสงจันทร ประสิทธิภาพแสงตํ่ากวาหลอดฟลูออเรสเซนตเล็กนอยแตอายุการใชงานนานกวา คุณภาพแสงลดลงมากเมื่อใชไปนาน ๆ เหมาะสมกับเปนไฟถนน ไฟสนามตามสวนสาธารณะ

หลอดเมทัลฮาไลด ประสิทธิภาพสูง คุณภาพแสงดี แตตองใชเวลาอุนหลอดเมื่อเปด เหมาะกับการใชสองสินคาในคลังสินคา หรือพัสดุ

หลอดโซเดียมความดันสูง ประสิทธิภาพสูง แตคุณภาพแสงไมดี มักใชกับไฟถนน คลังสินคา ไฟสองบริเวณที่เปล่ียนหลอดยาก พ้ืนที่นอกอาคาร

หลอดโซเดียมความดันตํ่า มีประสิทธิภาพสูงแตคุณภาพแสงเพี้ยนมาก เหมาะสมกับไฟถนน ไฟรักษาความปลอดภัย

การดูแล-บํารุงรักษาระบบไฟฟาแสงสวาง

วัตถุประสงค เพ่ือใชงานไดัเต็มสมรรถนะตลอดอายุอุปกรณ ประหยัดพลังงาน และงบประมาณ มีแนวทางปฏิบัติเพ่ือลดพลังงานไดดังน้ี

การเลือกบัลลาสต

บัลลาสต คือ อุปกรณที่ใชในการเปดติดและควบคุมไฟฟาที่จายใหกับหลอด ฟลูออเรสเซนตใหเหมาะสม

เราสามารถแบง ได 3 ชนิดหลัก ๆ ดังน้ี

บัลลาสตขดลวดแกนเหล็กแบบธรรมดา เปนบัลลาสตที่ใชกันแพรหลายรวมกับหลอดฟลูออเรสเซนต เมื่อกระแสไฟฟาผานขดลวดที่พันรอบแกนเหล็ก จะทําใหแกนเหล็กรอนทําใหมีพลังงานสูญเสียประมาณ 10 - 14 วัตต

บัลลาสตขดลวดแกนเหล็กแบบประสิทธิภาพสูง เปนบัลลาสตที่ทําดวยแกนเหล็กและขดลวดท่ีมีคุณภาพดี ซึ่งการสูญเสียพลังงานจะลดลงเหลือ 5 - 6 วัตต

บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส เปนบัลลาสตที่ทําดวยชุดวงจรอิเล็กทรอนิกส มีการสูญเสียพลังงานนอยประมาณ 1 - 2 วัตต เปดติดทันที ไมกระพริบ ไมตองมีสตารทเตอร ไมมีเสียงรบกวน ทําใหอายุการใชงานของหลอดแสงสวางนานขึ้น 2 เทาของหลอดแสงสวางที่ใชรวมกับบัลลาสตแกนเหล็กธรรมดา ดังน้ันหากมีช่ัวโมงการใชงานประหยัดไฟแลว ยังมีประโยชนอีกหลายอยางดังที่กลาวมาขางตน

การเลือกโคมไฟแสงสวาง

Page 9: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

9

โคมประสิทธิภาพสูงจะไมดูดกลืนหรือกักแสงไว แตจะชวยในการลดจํานวนหลอดแสงสวางไดในขณะที่ ความสวางคงเดิม เชน จากเดิมใชหลอดไฟ 4 หลอดตอ 1 โคม จะลดลงเหลือ 2 หลอดตอ 1 โคม โดยที่แสงสวางที่สองลงมาจะยังเทาเดิม โดยทั่วไปมักใชกับหลอดฟลูออเรสเซนตตามอาคารสํานักงาน

เลือกใชหลอดที่มีประสิทธิภาพสูง เชน หลอดฟลูออเรสเซนต 18 และ 36 วัตต ชนิดไตรฟอสฟอร (หลอดซุปเปอรลักซ) ซึ่งจะใหแสงสวางมากกวาหลอดผอมธรรมดาถึงรอยละ 30 แตใชไฟฟาเทาเดิม

ใชหลอดคอมแพคฟลูออเรสเซนต แทนหลอดไส

ใชบัลลาสตอิเล็กทรอนิกสแทนบัลลาสตชนิดขดลวดแกนเหล็กทําใหการใชไฟฟาลดลงจาก 10

วัตต เหลือเพียง 1 – 2 วัตต นอกจากน้ียังชวยยืดอายุการใชงานของหลอดไฟถึง 2 เทา

ใชโคมประสิทธิภาพสูง จะชวยลดจํานวนหลอดไฟจาก 4 หลอดใน 1 โคม เหลือ 2 หลอดโดยที่ความสวางเทาเดิม

ใชงานอยางมีประสิทธิภาพ ประหยัดพลังงานไฟฟาแสงสวางไดรอยละ 1 – 5

ปดไฟ ในเวลาพักเที่ยงหรือเมื่อเลิกใชงาน

ถอดหลอดไฟในบริเวณที่มีแสงสวางเกินความจําเปน ทั้งน้ีควรถอดบัลลาสตและสตารทเตอรออกดวย

บํารุงรักษาอุปกรณอยางสมํ่าเสมอ ตรวจสอบการทํางานและความสวาง ทําความสะอาดสมํ่าเสมอ ทุก ๆ 3 – 6 เดือน

ควรเปล่ียนอุปกรณไฟฟาแสงสวางในคราวเดียวกัน เพ่ือสามารถดูแล-บํารุงรักษา อีกทั้งตรวจสอบคุณภาพไดอยางมีประสิทธิภาพ และเก็บเปนสถิติ

ใชวงจรควบคุมระบบไฟฟาแสงสวางอัตโนมัติ ในสวนที่จําเปนตามเวลา และสภาวะแวดลอม

ปด-เปด ตามมติเพ่ือประหยัดพลังงาน ผูใชงานและผูรับผิดชอบ ควรใหความจริงใจและปฏิบัติโดยเครงครัด

จัดทําและแนะนําโดย

ฝายปฏิบัติการ สวนเคร่ืองจักรกลไฟฟา สํานักเคร่ืองจักรกล

โทร. 02-5836050-69 ตอ 222, 269

Page 10: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

10

หมอแปลงไฟฟา ( TRANSFORMER ) หมอแปลงไฟฟา เปนอุปกรณไฟฟาท่ีใชสําหรับเปล่ียนแรงดันไฟฟาใหสูงข้ึน หรือลดตํ่าลงตามความตองการของการใชงาน หมอแปลงไฟฟามีหลักการทํางาน คือ หมอแปลงไฟฟา ประกอบดวยขดลวด 2 ชุด หรือมากกวาพันอยูบนแกนเหล็ก พลังงานไฟฟาท่ีจะถายทอดจากขดลวดหนึ่งไปสูอีกขดลวดหน่ึงทางสนามแมเหล็ก ซ่ึงเสนแมเหล็กจะเดินอยูในแกนเหล็กท่ีขดลวดพันอยูเปนวงจรแมเหล็ก ขดลวดท่ีตอเขากบัตัวจายไฟฟา หรือตนกําเนดิแรงดัน เรียกวา ขดลวดรับ ( PRIMARY WINDING ) สวนอีกชุดหนึง่ตอเขากับตัวใชไฟฟา ( LOAD ) เรียกวา ขดลวดจาย ( SECONDARY WINDING ) เม่ือปอนพลังงานเขาไปทางขดลวดรับท่ีความถ่ีและขนาดแรงดนัท่ีกําหนด จะไดพลังงานทางขดลวดจายท่ีความถี่เดียวกนั และท่ีขนาดแรงดันตางๆ ตามท่ีตองการ ซ่ึงข้ึนอยูกับคาความตานทานของขดลวด คาความเหนี่ยวนํา ( INDUCTANCE ) ความใกลชิดของขดลวดและข้ึนอยูกับตัวใชไฟฟา ถาความตานทานของขดลวดมีคาตํ่า อาจกลาวไดวาขนาดแรงดันของขดลวดจายข้ึนอยูกับจํานวนรอบของขดลวดจาย ถาจํานวนรอบทางขดลวดจายมากกวาทางขดลวดรับ แรงดันจะสูงข้ึน เรียกวาหมอแปลงเพิ่มแรงดัน ( STEP- UP TRANSFORMER ) ถากลับกัน เรียกวา หมอแปลงลดแรงดัน ( STEP – DOWN TRANSFORMER )

ชนิดของหมอแปลงไฟฟา หมอแปลงไฟฟาแบงตามชนิดของฉนวนไฟฟาออกไดเปน 4 ชนิดใหญๆ คือ 1. หมอแปลงชนิดแหง หมอแปลงชนดิแหง ( Dry Type Transformer ) นิยมใชติดต้ังภายในอาคารท่ีมีผูอยูอาศัยจํานวนมาก เนื่องจากใหความปลอดภัยสูงในดานเกิดเพลิงไหม หากหมอแปลงเกิดระเบิดข้ึนเนื่องจากไมมีสวนท่ีติดไฟ หมอแปลงชนิดแหงมีท้ังชนดิท่ีเปนฉนวนเรซินแหง ( Cast-rasin ) และฉนวนอากาศ ( Air-cooled ) ซ่ึงปจจุบันไดมีการนํากาซบางชนดิมาใชเชน SF6

ฉนวนไฟฟาในหมอแปลงยงัทําหนาท่ีระบายความรอนออกจากขดลวดของหมอแปลงดวย 2. หมอแปลงชนิดฉนวนของเหลวติดไฟได หมอแปลงชนดิฉนวนของเหลวติดไฟได ( Flammable Liquid- Insulated Transformer ) ฉนวนท่ีใชกันโดยท่ัวไปคือน้ํามันซ่ึงมีคุณสมบัติในการเปนฉนวนไฟฟาท่ีดีแตติดไฟได ขอดีของน้ํามันคือราคาถูกเม่ือเทียบกบัฉนวนชนิดอ่ืน การบํารุงรักษาไมยุงยาก แตมีขอเสียท่ีติดไฟไดและอาจเกิดการร่ัวไหลได นยิมใชอยางกวางขวางเพราะราคาถูกและมีผูผลิตหลายรายในประเทศ หมอแปลงชนิดฉนวนน้ํามันยังแบงออกเปนแบบมีถังพักน้ํามัน(Conservator) และแบบปดผนึก (Sealed Tank )

Page 11: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

11

3. หมอแปลงชนิดฉนวนของเหลวติดไฟยาก หมอแปลงชนดิฉนวนของเหลวติดไฟยาก (Less-Flammable Liquid-Insulated Transformer ) ฉนวนของเหลวท่ีบรรจุอยูภายในมีจดุติดไฟท่ีอุณหภูมิไมตํ่ากวา 300° C ฉนวนท่ีใชตองไมเปนพษิตอบุคคลและส่ิงแวดลอมดวย ปจจุบันมีใชไมมากนัก และยังไมเหมาะท่ีจะใชภายในอาคารท่ีมีผูอยูอาศัยจํานวนมากแตก็ใหความปลอดภัยสูงกวาหมอแปลงชนดิฉนวนนํ้ามัน 4. หมอแปลงชนิดฉนวนของเหลวไมติดไฟ หมอแปลงชนดิฉนวนของเหลวไมติดไฟ ( Nonflammable Fluid-Insulated Transformer ) หมอแปลงชนิดนี้ปจจุบันมีใชงานนอยและมีราคาแพง ในการทําฉนวนของเหลวไมติดไฟมาใชตองระวังเร่ืองการเปนพิษตอบุคคลดวย ฉนวนท่ีใชอาจเปนน้ํามันหรือไมก็ได เดิมไดมีการนําฉนวนชนิดหนึ่งมาใชเรียกวาอาซคาเรล แตปจจบัุนเลิกใชเนื่องจากพบวาเปนพิษตอบุคคล การแบงประเภทหมอแปลง ตามระบบถนอมน้ํามัน 1. ชนิดหายใจอิสระ หรือ ชนิดมีถังใสน้าํมันสํารอง ( Conservator ) หมอแปลงไฟฟาชนิดนี้ อากาศท่ีอยูในท่ีวางเหนือน้ํามัน ในตัวถังหมอแปลงไฟฟา ตอนบน หรือ ในถังใสน้าํมันสํารอง จะสามารถถายเทไดอยางอิสระ ท้ังนี้ข้ึนอยูกับความดันภายในตัวถัง กับภายนอกตัวถัง โดยอากาศท่ีผานเขาไปในหมอแปลงไฟฟานี้ จะเปนอากาศแหงท่ีผานการดูดความช้ืนจากสารซิลิกาเจล ( Silica gel ) โดยผานหองหายใจดูดความช้ืน ( Dehydratihy breather )

2. ชนิดปดผนกึบรรจุกาซเฉ่ือย ( ไนโตรเจน ) หมอแปลงไฟฟาชนิดนี ้ เปนระบบปดผนกึ อากาศภายในไมสามารถถายเทสัมผัสกับอากาศภายนอกไดและยังบรรจกุาซเฉ่ือยแหง ในท่ีวางเหนือน้ํามัน โดยมีความดันสูงกวา ความดันบรรยากาศภายนอกหมอแปลงเล็กนอยท้ังนี้ตองออกแบบชองวางทางตอนบนใหมีปริมาตรท่ีสามารถรองรับกับการขยายตัว เนื่องจากอุณหภูมิ 3. ชนิดไดอะแฟรม หรือ ถุงลม หมอแปลงไฟฟาชนิดนี ้ จะมีไดอะแฟรม หรือ ถุงลม เปนตัวกั้นระหวางน้ํามันภายในกบัอากาศภายนอก ไมใหสัมผัสถายเทกันได ท้ังนี้ ไดอะแฟรม และถุงลมจะเปนตัวยืดหยุนท่ีจะรองรับกับการขยายตัว หรือ หดตัวของน้ํามัน 4. ชนิดปดผนกึบรรจุน้ํามันเต็ม หมอแปลงไฟฟาชนิดนี้ เปนแบบปดผนึกอีกประเภทหนึ่ง ท่ีอาศัยการขยายตัว-หดตัวของน้ํามัน ดวยความยดืหยุนของตัวถังหมอแปลง ในท่ีนี้ จะเนนถึงการบํารุงรักษาของหมอแปลงชนิดหายใจอิสระ หรือ ชนิดมีถังใสน้าํมันสํารอง ท้ังนี้ เนื่องจากเปนชนิดท่ีผูใชภายในประเทศเปนสวนใหญ

Page 12: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

12

หมอแปลงไฟฟา ประกอบดวยสวนตางๆ ท่ีสําคัญ ดังนี้ 1. แกนเหล็กไส ( Core ) เปนทางเดนิของเสนแรงแมเหล็กท่ีเกดิจากการเหนีย่วนําของขดลวด ( Coil ) ต้ังแต 2 ขด หรือ มากกวา 2. ขดลวด ( Coils ) เปนลวดทองแดงหุมฉนวน ซ่ึงโดยปกติจะหุมแกนเหล็ก มี 2 ขด คือ ทางดานไฟเขาและไฟออก 3. ตัวถังหมอแปลง ( Case ) ใชสําหรับใสน้ํามัน เพื่อประโยชนในการเปนฉนวนไฟฟา และชวยพาความรอนในขดลวด และแกนเหล็กออกสูภายนอก 4. ลูกถวย ( Bushing ) หรือฉนวนรับสายเปนตัวกลางในการรับกระแสไฟฟา หรือ สงออกกระแสไฟฟา ท้ังนีโ้ดยปกติจะติดต้ังอยูบนฝาของถังหมอแปลง 5. อุปกรณปองกันตางๆ ปกติอุปกรณปองกันเหลานี ้ จะติดต้ังสําหรับหมอแปลงท่ีมีขนาดต้ังแต 1000 KVA. ข้ึนไป

5.1. บุชโฮลซรีเลย ( Buchholz relays ) เปนอุปกรณท่ีชวยใหสัญญาณเตือน ( alarm ) หรือ สัญญาณตัดวงจร ( trip ) ในกรณีท่ีเกดิปญหาข้ึน ภายในหมอแปลงดวยระบบเชิงกล ( Mechanical ) รีเลยชนิดนีจ้ะติดต้ังอยูบนทอเหนือฝาถังกบัถังใสน้ํามันสํารอง ( Conservator ) ในภาวะปกติกระเปาะจับกาซของรีเลย จะมีน้ํามันเต็ม โดยดไูดจากหนาตางกระจก รีเลยนี้จะทํางานเม่ือมีกรณีตางๆดังนี้ ก. น้ํามันในกระเปาะจับกาซ มีระดับตํ่าลง อันเนื่องมาจากนํ้ามันในถังใสน้ํามันสํารองหมด จนอากาศภายนอกไหลเขาไปแทนท่ีในกระเปาะจับกาซ ( การหมดของน้ํามันในถังใสน้ํามันสํารองอาจเกิดการร่ัวซึมบนตัวถัง หรือ แนวเช่ือม ฯลฯ ) ข. เม่ือฉนวนภายในถูกทําลาย อันเนื่องมาจากอุณหภูมิสูงผิดปกติ หรือ เกดิประจุทําลายฉนวน จะทําใหเกดิกาซข้ึน คอยๆ เคล่ือนท่ีลอยข้ึนไปยังกระเปาะเก็บกาซ ถากาซนี้สะสมมาก จนแทนท่ีน้ํามันเต็มกระเปาะ ( 150-300 cc ) จะทําใหจุดสัมผัส ( Contact ) แตะกันครบวงจร จึงสงสัญญาณเตือน ( Alarm ) ค. เม่ือเกิดส่ิงผิดปกติภายในหมอแปลง เชน การลัดวงจรภายใน ฯลฯ ทําใหเกิดความดันสูง ทําใหน้ํามันไหลดวยความเร็วสูงมาก ( 65-150 cm/sec.) ผานรีเลยนี้จะทําใหจดุสัมผัส ( contact ) แตะกันครบวงจรจึงสงสัญญานตัดตอน ( trip ) ไปยังสวิชทตัดตอน ( Breaker ) หรือ สวิชทแรงสูง ( HV Swithch ) เพื่อตัดวงจรออกจากระบบไฟ 5.2. อุปกรณวดัอุณหภูมิ ( Thermometer ) อุปกรณวดัอุณหภูมิโดยปรกติจะติดต้ังสําหรับวัดอุณหภูมิของน้ํามันตอนบน ท้ังนี้อุณหภูมิดังกลาวจะปนอุณหภูมิสูงสุด โดยมีอุปกรณวัดอุณหภูมิ 2 แบบดวยกัน คือ

Page 13: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

13

5.2.1) อุปกรณวดัอุณหภมิูแบบแทงปรอท หรือหนาปทม ( Dial thermometer ) ใชดูอุณหภูมิของนํ้ามันหมอแปลงฯ ขณะใชงานวามีอุณหภูมิสูงเทาใด

5.2.2) อุปกรณวดัอุณหภูมิแบบมีจุดสัมผัส 2 จุด (Thermometer with double contact ) ใชดูอุณหภูมิของนํ้ามันหมอแปลงฯ ขณะใชงานวามีอุณหภูมิสูงเทาใด และยังมีจุดสัมผัส 2 จุด เพื่อใชต้ังอุณหภูมิใหจุดสัมผัสนี้แตะกัน โดยจุดสัมผัสแรกจะต้ังอุณหภูมิท่ี 90-95°C และจุดสัมผัสท่ี 2 จะต้ังอุณหภูมิท่ี 95-100° C ท้ังนี้จุดสัมผัสแรกจะมีจุดมุงหมายเพื่อใชในการสงสัญญาณเตือน และจุดสัมผัสท่ีสองจะมีจุดมงหมายในการสงสัญญาณตัดตอน ( Trip )

Page 14: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

14

6. แท็ป ( Taps )เปนอุปกรณท่ีชวยปรับเปล่ียนแรงดันไฟฟา ใหสอดคลองกับแรงดันท่ีตองการท้ังนี้ในการปรับเปล่ียน จะตองเปดวงจรแรงดันไฟฟาเขา (No Voltage) เทานั้น โดยมี 2 ประเภทดวยกัน คือ

6.1 แบบปรับแรงดันไฟฟาระบบ (Dual voltage tap changer or System voltage tap ) ใชในการปรับระบบของแรงดันไฟฟา โดยปกติจะอยูทางดานแรงสูง เชน ระบบไฟของการไฟฟานครหลวงแบบ 12/24 KV. จะมีแท็ปเปล่ียนระบบเปนไดท้ัง 12 KV. หรือ 24 KV.

6.2 แบบปรับแรงดันไฟฟา( Regulating voltage tag หรือ tap changer ) ใชในการปรับเปล่ียนแรงดนัใหมากข้ึนหรือลดลงตามท่ีกําหนดไวบนแผนปาย ( Nameplate )

สําหรับหมอแปลงท่ีมีแท็ปแบบปรับแรงดนัระบบโดยปกติผูผลิตจะต้ังแท็ปไวท่ีระบบแรงดันท่ีสูงสุด เชน 12/24 KV. จะต้ังไวท่ี 24 KV. สําหรับแท็ปแบบปรับแรงดนันั้นจะถูกต้ังไวท่ีคาแรงดนัพิกัด ( Rated voltage ) ของหมอแปลงเสมอโดย การไฟฟาสวนภูมิภาค กําหนดใหมีแท็ปแบบปรับแรงดันไฟฟานี้ เปน 5 ข้ัน ( รวมท่ีแรงดันพิกัด ) ดังนี้คือ + 2 x 2.5% - 2 x 2.5% โดยแตละข้ันมีคาความตาง 2.5% โดยแตละข้ันมีคาความตาง 2.5% ของแรงดันพกิัด ท้ังนี้จะเปนแท็ปทางดานมาก 2 ข้ัน และ ทางดานนอย 2 ข้ัน เชน ระบบแรงดนั 22 KV. + 2 x 2.5% KV. สวน การไฟฟานครหลวง กําหนดใหมีแท็ปแบบปรับแรงดันไฟฟาเปน 5 ข้ัน ( รวมท่ีแรงดันพกิดั ) ดังนี้ คือ -4 x 2.5% โดยแตละข้ันมีคาความตาง 2.5% ของแรงดันพิกัด ท้ังนี้จะเปนแท็ปทางดานนอยท้ังหมด 4 ข้ัน ขอควรระวังในการใชแท็ป การเปล่ียนแท็ปทุกคร้ังจะกระทําไดตอเม่ือ วงจรของหมอแปลงถูกตัดออกจากระบบโดยสมบูรณแลว มิฉะนั้นอาจจะเกิดอันตรายถึงชีวิต หรือ เกิดความเสียหายตอเคร่ืองมือข้ึนได ท้ังนี้เนื่องจากแท็ปนี้ไดออกแบบไว เพื่อการเปล่ียนแท็ปในขณะที่ไมมีแรงดันไฟฟา ( No Voltage ) เทานั้น การเปล่ียนแท็ปใดๆ ดวยจุดมุงหมายท่ีจะปรับเปล่ียนแรงดันใหสอดคลองกับภาวะนั้น หากไมมีความชํานาญแลว ควรปรึกษา หรือ ขอคําแนะนํา หรือ มอบหมายใหเจาหนาท่ีการไฟฟา หรือ ผูผลิต ดําเนินการให

น้ํามันหมอแปลง ( Transformer oil ) ใชบรรจุในหมอแปลง เพื่อเปนฉนวนกนัความตางศักยท่ีมีขนาดสูง และเปนตัวชวยพาความรอนของแกนเหล็ก และขดลวดสูภายนอกโดยปกติหมอแปลงท่ีผลิตจากโรงงานจะผานการอบไลความช้ืน จากแกนเหล็ก ( Core ) และขดลวด ( Winding )ในเตาอบสูญญากาศและหลังจากนั้นก็บรรจุน้ํามันหมอแปลงท่ีผานการกรอง, อบไลความช้ืน ( High vacuum heating puritier ) เขาในตังถังหมอแปลง โดยเติมน้ํามันใหมีระดับน้ํามันท่ีพอเหมาะตามระบุไวท่ีขีดบนระดับน้ํามัน ( Oil level )

Page 15: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

15

Page 16: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

16

ลักษณะการติดต้ังหมอแปลงไฟฟา การติดต้ังหมอแปลงไฟฟา สามารถแบงออกไดเปน 3 ลักษณะ คือ 1. แบบแขวนเสา ( Pole Mounted ) การติดต้ังแบบแขวนเสา ตองคํานึงถึงขนาด และนํ้าหนกัของหมอแปลง ท้ังนี้ การไฟฟาภูมิภาค อนุญาตใหติดต้ังแบบแขวนเสาได โดยมีขนาดไมมากกวา 160 เควีเอ และ ตองมีน้ําหนกัไมเกนิ 1,000 กก. การไฟฟานครหลวง อนุญาตใหติดต้ังแบบแขวนเสาได โดยมีขนาดไมมากกวา 300 เควีเอ และตองมีน้ําหนักไมเกิน 1,800 กก.

2. แบบตั้งบนนั่งราน ( Plat form ) การไฟฟาสวนภูมิภาค อนุญาตใหติดต้ังบนน่ังราน ไดโดยมีขนาดไมมากกวา 400 เควีเอ การไฟฟานครหลวง อนุญาตใหติดต้ังบนนั่งรานได โดยกําหนดขนาดตามน่ังรานท่ีสามารถรับน้ําหนักได เชน รับไดไมเกนิ 4,500 กก. หรือ 6,500 กก. 3. แบบตั้งบนพื้น ( Foundation ) การติดต้ังบนพื้นนั้นสามารถ ติดต้ังไดทุกขนาด ท้ังนี้ตองออกแบบฐานท่ีจะวางหมอแปลงฯ ใหสามารถรับน้ําหนกัของหมอแปลงขนาดน้ันๆ ได

Page 17: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

17

Page 18: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

18

การบํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟาชนิดแชในนํ้ามัน การบํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟา อาจกอใหเกิดอันตรายตอผูปฏิบัติงานไดงาย จึงจาํเปนอยาง

ยิ่งท่ีจะตองปฏิบัติงานดวยความระมัดระวังเพื่อความปลอดภัยของผูปฏิบัติงานดังนัน้การบํารุงรักษาจึงมีขอท่ีควรดําเนินการ ดังตอไปนี ้

1. ควรศึกษาและทําความเขาใจรูปแบบของการจายไฟของหมอแปลงเคร่ืองนั้นๆ เพื่อปลดสวิทซตัดตอนตางๆ ไดอยางถูกตอง

2. ติดปายเตือนตางๆ เพื่อปองกันมิใหบุคคลอ่ืนสับจายไฟเขาโดยประมาท 3. ควรตรวจสอบขณะท่ีไมมีแรงดันไฟฟาเทานั้นทําการกราวดดานไฟฟาแรงสูงกอน

การปฏิบัติงานทุกคร้ัง 4. ผูท่ีทําการตรวจสอบจะตองเปนผูท่ีผานการฝกอบรมและเปนผูท่ีมีความชํานาญงานเทานั้น

5. ตองแตงกายใหเหมาะสมและใชเคร่ืองมือท่ีมีความเปนฉนวนท่ีด ี 6. จะตองไมปฏิบัติงานใกลกับอุปกรณท่ียังมีไฟฟาอยูและยังไมไดปดปองกันไว ลําดับขั้นการตรวจสอบหมอแปลงไฟฟา 1. ตองตรวจดูระดับน้ํามันในหมอแปลงวาถึงขีดท่ีกําหนดไวหรือไม โดยดูจากมาตรวัดระดับน้ํามัน ตามปกติระดบัน้ํามันท่ีกําหนดใหมานั้นเปนระดับน้ํามันท่ีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส 2. ตรวจดวูามีรอยนํ้ามันร่ัวออกจากตัวถังหมอแปลงหรือไม จดุท่ีมักตรวจพบรอยร่ัวอยูเสมอ คือ ท่ีแผงระบายความรอน , ถังพักน้ํามัน , ฝาปด ,มาตรวดัอุณหภูมิ มาตรวัดน้ํามัน และวาลวน้ํามัน 3. ตรวจดูสีของตัวถัง ถาสีอยูในสภาพไมดีควรทาใหม และตรวจดรูอยผุกรอนดวย 4. ตรวจสอบบุชช่ิงท้ังดานแรงสูงและดานแรงตํ่าวามีรอยบ่ินแตกราวหรือไม 5. ตรวจสอบข้ัวตอ และแคลมปจับวาหลุดหลวมหรือไม

6. วัดคาความเปนฉนวนของขดลวดหมอแปลง โดยทําการวดัความเปนฉนวนระหวางขดลวดกับขดลวด ขดลวดกับกราวดดวยเมกเกอร ( MEGGER ) ท่ีพกิัดแรงดนัไฟตรงขนาด 1,000-2,500 โวลท คาความเปนฉนวนตํ่าทีสุดท่ียอมรับไดสําหรับหมอแปลงระบบ 22 KV-33 KV วัดท่ีอุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะตองไมตํ่ากวา 1,000 เมกกะโอหม และท่ีอุณหภูมิของหมอแปลง 30 องศาเซลเซียส ตองวัดไดไมตํ่ากวา 500 เมกกะโอหม 7. ตรวจสอบขดลวด ท้ังดานแรงสูงและดานแรงตํ่าวาขาดหรือไม โดยใชมัลติมิเตอร 8. ตรวจสอบสารดูดความช้ืนหรือซิลิกาเจล ( SILICA GEL ) วาเปลี่ยนจากสีน้ําเงินเปนสีชมพูออนๆ หรือไม ถาเปล่ียนเปนสีชมพอูอนๆ แสดงวาซิลิกาเจลนัน้เส่ือมสภาพการใชงาน

9. ตรวจสอบน้ํามันหมอแปลงดวยการทดสอบคาความคงทนของไดอิเลคตริก ( DIELECTRIC STRENGTH ) ของน้ํามันหมอแปลงดวยแรงดันเสียสภาพฉับพลัน ( BREAKDOWN VOLTAGE ) โดยมีคามาตรฐานอยูท่ี 30 KV.

Page 19: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

19

10. วัดคาอัตราสวนของแรงดันไฟฟา เพือ่ตรวจสอบจํานวนรอบทางดานแรงสูงและแรงตํ่าวาถูกตองหรือไม โดยการปอนแรงดันขนาด 400 โวลท เขาทางดานแรงสูงของหมอแปลง แลวใชโวลทมิเตอรวดัคาแรงดันไฟฟาทางดานแรงตํ่าคาท่ีวัดไดจะตองมีคาใกลเคียงกับคาจากตารางดังตอไปนี ้ตารางการวัดคาอัตราสวนแรงดันไฟฟาของหมอแปลงโดยการปอนแรงดันไฟฟาขนาด 400 โวลท

พิกัดโวลทดานแรงสูง ( KV)

พิกัดโวลทดานแรงตํ่า ( V )

คาท่ีวัดได ( V )

11 230 400 460

8.4 14.5 16.7

22 230 400 460

4.2 7.3 8.4

33 230 400

2.8 4.8

11. ตรวจสอบบุชช่ิงท้ังดานแรงสูงและดานแรงตํ่าวามีรอยแตกบ่ิน สกปรก หรือไม 12. ตรวจสอบลอฟา ( LIGHTNING ARRESTER ) วาผิดปกติหรือไม 13. ตรวจสอบจุดสายตอลงดินวาหลุดหลวม สึกกรอนของจุดตอลงดนิ หรือไม การบํารุงรักษาหมอแปลงไฟฟาจะกระทําในเชิงปองกนัโดยมีวิธีการปฏิบัติดังตอไปนี้ 1. การตรวจสอบกระแสไฟฟาท่ีจายใหกับโหลด ควรกระทําทุกๆวนั 2. การตรวจดูระดับน้ํามันหมอแปลง โดยอานจากมาตรวัดระดับน้ํามัน ควรกระทําทุกๆ 6 เดือน 3. การตรวจดูบุชช่ิง ทําทุกๆ 6 เดือน 4. การตรวจดูอุปกรณลอฟา ทําทุกๆ 6 เดอืน 5. การตรวจสอบจุดตอลงดนิ ทําทุกๆ 1 ป 6. การวัดคาความเปนฉนวนของขดลวดหมอแปลง ทําทุกๆ 1-5 ป 7. การวัดคาอัตราสวนของแรงดันไฟฟา ทําทุกๆ 5 ป

Page 20: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

20

เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ( A.C. GENERATOR ) เคร่ืองกําเนิดไฟฟา เปนอุปกรณท่ีเปล่ียนพลังงานกลใหเปนพลังงานไฟฟาใชเปนเคร่ืองตนกําลังในการใชงานอุปกรณไฟฟา และเคร่ืองจักรกลตาง ๆ ท่ีใชระบบไฟฟา เคร่ืองกําเนิดไฟฟาท่ีพบเห็นโดยท่ัวไปมีอยู 2 ชนิด คือ

1. เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสตรง 2. เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ

ในท่ีนี้จะกลาวถึงเคร่ืองกําเนดิไฟฟากระแสสลับโดยมีหลักการดังนี ้เคร่ืองกาํเนิดไฟฟากระแสสลับใชหลักการของการเหน่ียวนําของแมเหล็กไฟฟา ซ่ึง

ประกอบดวยขดลวดอารเมเจอร และขดลวดสนามแมเหล็ก แตมีขอแตกตางจาก เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสตรง คือ ในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสตรง นัน้ อารเมเจอรหมุน และสนามแมเหล็กอยูกับท่ี สวนเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ จะตรงกันขาม การออกแบบท่ัว ๆ ไปนั้น ขดลวดอารเมอจอร จะอยูกับท่ีเรียกวาตัวอยูกับท่ีและขดลวดสนามหมุน เรียกวา ตัวหมุน ตัวอยูกับท่ีประกอบดวยเหล็กหลอ ทําหนาท่ียดึแกนเหล็กอารเมเจอร และมีสล็อทสําหรับบรรจุขดลวด สวนตัวหมุนจะเคล่ือนท่ีเปนข้ัวแมเหล็กข้ัวเหนือ ( N ) และข้ัวใต ( S ) และเปนข้ัวแมเหล็กท่ีคงตัว ข้ัวแมเหล็กนีถู้กกระตุน จากแหลงจายไฟฟากระแสตรงจากภายนอก หรือจากเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ เนื่องจากขดลวดสนามแมเหล็กหมุนตลอดเวลา ไฟฟากระแสตรงท่ีจายใหจงึจายโดยผานสลิปริง 2 วง เม่ือตัวหมุน หมุน ตัวนําท่ีตัวอยูกับท่ีจะตัดกับสนามแมเหล็ก ดังนัน้ จึงเกิดแรงเคล่ือนไฟฟาเหน่ียวนําข้ึนในตัวนํานั้น และเนื่องจากการหมุนของขดลวดสนามแมเหล็กแรงเคล่ือนไฟฟาเหนีย่วนําและกระแสไฟฟาจึงเกิดข้ึนท่ีขดลวดตัวนําอารเมเจอร ท่ีอยูกับท่ี ดังนัน้ แรงกระแสไฟฟาสลับ จึงเกิดข้ึนในตัวนําท่ีตัวอยูกบัท่ี โดยความถ่ีของแรงเคล่ือนไฟฟาเหนี่ยวนํา ข้ึนอยูกับข้ัวแมเหล็กเหนือและใตท่ีตัดผานตัวนําในเวลา 1 วินาที และทิศทางสามรถกําหนดได โดยกฎมือขวาของเฟลมม่ิง เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับแบบขดลวดอารเมเจอรอยูกับท่ี หรือแบบสนามแมเหล็กหมุนบางคร้ังจะเรียกวาชนิดสนามแมเหล็กหมุน มีขอดีคือ

- กระแสไฟฟาท่ีจายออกมาสามารถตอออกโดยตรงจากข้ัวสายของตัวอยูกับท่ี (หรือจาก ขอลวดอารเมเจอร ) ไปยังโหลดโดยไมตองผานแปรงถาน

- สามารถใชลวดเสนโต และพันไดมากรอบ - ใชแปรงถานและสลิปริงสําหรับแรงเคล่ือนไฟฟากระแสตรง เพื่อจายใหกับวงจรขดลวด

สนามแมเหล็ก - ขดลวดอารเมเจอรสามารถท่ีจะยดึใหแข็งแรงไดงาย เพราะไมตองคํานึงแรงหนีศูนย

เนื่องจากการหมุน

Page 21: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

21

สวนประกอบของเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับชนิดอารเมเจอรอยูกับท่ี 1. เปลือกของตัวอยูกับท่ี ( Stator Frame ) เปลือกในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสตรงจะใชเปนทางเดนิของเสนแรงแมเหล็ก แตในเคร่ือง

กําเนิดไฟฟากระแสสลับไมไดทําหนาท่ีเปนทางเดินของเสนแรงแมเหล็กแตจะทําหนาท่ียึดแกนเหล็กท่ีใชบรรจุขดลวดอารเมเจอรซ่ึงเปลือกนี้จะมีเสนผานศูนยกลางใหญและเปนเคร่ืองกําเนิดไฟฟาท่ีมีความเร็วรอบต่ํา ท่ีเปลือกนีจ้ะถูกออกแบบใหมีชองวางสําหรับชวยระบายความรอนดวย

2. แกนเหล็กตัวอยูกับท่ี ( Stator Core ) แกนเหล็กอารเมเจอรและแกนเหล็กตัวอยูกบัท่ี ทํามาจากแผนเหล็กบาง ๆ มีคุณสมบัติพิเศษตอการเปนแมเหล็กมาอัดซอนเขาดวยกนั แกนเหล็กนี้จะตองมีการสูญเสียเนื่องจากกระแสไหลวนนอย แผนเหล็กท่ีอัดซอนเขาดวยกันในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับขนาดเล็กจะถูกยึดดวยวงแหวน หรือในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับขนาดใหญจะถูกยดึเปนทอน ๆ แผนเหล็กท่ียึดแตละแผนจะเคลือบดวยฉนวนและมีอากาศผานไดเพื่อการระบายความรอน สวนสล็อทสําหรับบรรจุขดลวดอารเมเจอรจะทํามาจากแผนเหล็กบาง ๆ เชนกนั

3. ตัวหมุน ( Rotor ) ตัวหมุนในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับนั้นแบงออกเปน 2 ชนิดคือ

3.1 ชนิดมีข้ัวแมเหล็กยื่นออก ( Salient – Pole Type ) เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับชนิดท่ีตัวหมุนมีข้ัวแมเหล็กยื่นออกมานี้ จะนิยมใชกบั

เคร่ืองกําเนิดไฟฟาท่ีมีความเร็วรอบตํ่าและความเร็วปานกลางข้ัวแมเหล็กท่ียื่นออกมาจะมีขนาดใหญ 3.2 ชนิดข้ัวแมเหล็กเรียบ ( Smooth Cylindrical Type )

เคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับท่ีเปนชนิดข้ัวแมเหล็กเรียบ สวนมากจะใชกับ เคร่ืองเทอรไบน ( turbine ) หรือเคร่ืองกังหันไอน้ํา ซ่ึงเปนเคร่ืองท่ีหมุนดวยตัวตนกําลังขับท่ีมีความเร็วรอบสูงตัวหมุนประกอบดวยแทงเหล็กทรงกระบอก และทําเปนสล็อทเพ่ือบรรจุขดลวดสนามแมเหล็กหมุน ถูกออกแบบใหมี 2 ข้ัว หรือ 4 ข้ัว เคร่ืองกําเนดิจะถูกขับใหหมุนดวยความเร็วรอบ 3,000 รอบ / นาที หรือ 1,500 รอบ / นาที บริเวณที่เปนข้ัวแมเหล็กจะไมมีสล็อท สวนท่ีเปนข้ัวแมเหล็กจะอยูกึ่งกลาง โดยมีขดลวดสนามแมเหล็กพันลงในสล็อทลอมรอบไว ความหนาแนนของสนามแมเหล็กจะมากท่ีสุดท่ีบริเวณกึ่งกลางข้ัวแมเหล็ก ตัวหมุนชนิดนีจ้ะไมมีข้ัวยื่นออกมา ( non – salient pole ) เคร่ืองกําเนดิไฟฟาชนดินี้มีเสนผาศูนยกลางเล็ก แตจะมีแกนยาว หรือตัวหมุนเปนทรงกระบอกยาว โครงสรางของโรเตอรชนิดนี้จะทําใหเกิดการสมดุลดีกวาชนิดมีข้ัวแมเหล็กยืน่ออกมา และขณะท่ีเคร่ืองกําเนิดนีห้มุนจะเสียงเบาขณะทํางาน ดังนั้นจงึเกิดการสูญเสียเนื่องจากแรงเสียดทาน หรือแรงลมนอยขดลวดหนวง ( damper winding ) ในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับสวนมากจะมีแทงทองแดงหรือขดลวดหนวงซ่ึงเรียกวา ขดลวดกรงกระลอก อยูแทงทองแดงนี้ถูกตอลัดวงจรเขาดวยกันดวยวงแหวนทองแดงท้ัง 2 ดานของตัวหมุน ขดลวดหนวงนีจ้ะใชประโยชนในการปองกันการส้ันหรือการแกวงเม่ือความเร็วของเคร่ืองกําเนิดข่ึน ๆ ลง ๆ ไมสมํ่าเสมอ

Page 22: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

22

เนื่องจากขดลวดหนวงถูกฝงไวท่ีดานหนาของข้ัวแมเหล็กซ่ึงเปนสวนท่ีหมุนและตัวหมุนนัน้จะหมุนดวยความเร็วรอบเทากับความเร็วซิงโครนัส ดังนั้นขดลวดหนวงจึงไมตัดกับสนามแมเหล็ก แตเม่ือมีการเพิ่มหรือลดภาระลงในทันทีทันใดจะทําใหเกิดการส้ันท่ีตัวหมุน ความเร็วของตัวหมุนจะเกิดการเปล่ียนแปลง ขดลวดหนวงจะตัดกบัสนามแมเหล็กทําใหเกิดแรงเคล่ือนไฟฟาเหนีย่วนําข้ึนและมีกระแสไฟฟาไหลในขดลวดหนวง จงึเปนผลใหเกดิปฎิกิริยาตอตานกับการเคล่ือนท่ีตัดกับสนามแมเหล็กของขดลวดหนวงทําใหมีแรงตานการส่ันจากอํานาจแมเหล็กท่ีเกดิจากการไหลของกระแสไฟฟาในขดลวดหนวงกับอํานาจแมเหล็กของสนามแมเหล็กท่ีหมุนบนอารเมเจอรซ่ึงจะหนวงการส่ันใหหยดุเร็วข้ึน การใชและการดูแลบํารุงรักษาเคร่ืองกําเนดิไฟฟากระแสสลับแบบไมมีแปรงถาน ( BRUSHLESS ) เคร่ืองกําเนิดไฟฟา กระแสสลับแบบไมมีแปรงถาน ( BRUSHLESS) สนามแมเหล็กหมุน ( REVOLVING FIELD ) ควบคุมแรงดนัไฟฟาโดย ( AUTOMATIC VOLTAGE REGULATOR หรือ AVR. ) เคร่ืองกําเนดิไฟฟาชนดินี ้ เปนระบบ SELF EXCITED คือเปนระบบการสรางแรงดันไฟฟาใหถึงจุดท่ีตองการ ( BUILD UP ) โดยอาศัย สนามแมเหล็กท่ีตกคางอยูในระบบแรงดันไฟฟาท่ีข้ัวจายจะถูกควบคุม และปรับแรงดันเอง โดยใหอยูในชวงแรงดันไฟฟาท่ียอมรับได ไมวาเปอรเซ็นตของ VOLTAGE REGULATOR ไมเกิน + 2.5 % หรือไมเกนิ + 1.0 % แลวแตความตองการของผูซ้ือ นอกจากนี ้ แรงดันไฟฟาท่ีอัตรากําหนด ยังสามารถปรับเปล่ียนได + 5 % โดยการหมุนลูกบิดท่ีแผงควบคุมไฟฟา ลักษณะโครงสรางเคร่ืองกําเนิดไฟฟา BRUSHLESS เคร่ืองกําเนิดไฟฟา ประกอบดวยสวนสําคัญ ดังนี้

1. Main Alternator Main Rotor เปน Rotating field ข้ัวแมเหล็กใหแกนเหล็กชนิดพเิศษ อัดซอนกัน และยดึ

ติดกับเพลาขดลวดสรางสนามแมเหล็กจะพันลงบนข้ัวแมเหล็กโดยตรง Main Stator เปนขดลวดกระแสสลับซ่ึงเปนขดลวดจายกระแสไฟฟาเพราะใชแกนเหล็กชนดิพิเศษท่ีให Flux Density สูง และ Core Loss นอย

2. Exciter Alternator เปนแบบ Rotating armature ซ่ึงเปนตัว exciter ใหแก Main alternator ขดลวด excitater

armature จะอยูบนเพลาเดียวกับ main alternator ซ่ึงพันเปนแบบ 3 เฟส 3. Rotating rectifier แรงดันไฟฟาท่ีออกจาก Exciter armature ซ่ึงเปนกระแสสลับ 3 เฟส จะถูกเปล่ียนเปน

ไฟฟากระแสตรงดวย rectifier เพื่อปอนใหแก rotating field ของ Main Alternator โดยไมตองใชแปรงถานเนื่องจากอยูบนแกนเพลาเดยีวกนั

Page 23: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

23

4. Automatic Voltage Regulator เปนวงจรเรกกเุรเตอรเพื่อควบคุมใหเคร่ืองกําเนิดไฟฟาทํางาน Self – Excited และ Self –

Regulated โดยอยูระหวาง field ของ exciter กับ output ของ Main Alternator วงจรเรกกเุรเตอรประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี ้

- Voltage Sensing and Comparison Circuit - Trigger Pulse Timing Circuit - Power Control Circuit - Stability Feed Back Circuit - Under Speed Protection Circuit 5. สรุปโครงสรางทางไฟฟา

Page 24: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

24

6. การ Build Up เคร่ืองกําเนิดไฟฟา เปนแบบ Self – Excited และสามารถ Build Up แรงดันจาก Residual

Voltage ท่ี Exciter ถา Residual magnetic นอยหรือไมมีใหแกไขดังนี้ :- - ใหเคร่ืองกําเนดิไฟฟาหมุนท่ีความเร็วอัตรากําหนด 1500 รอบ / นาที หรือ (50 Hz.)

หรือ 1800 รอบ / นาที ( 60 Hz. ) ตอแบตเตอร่ี 12 โวลท ท่ีขดลวด Field + และ F ield - ประมาณช่ัวขณะหน่ึงโดยปลดแผงวงจรเรกกุเรเตอรออกกอน

ขอควรระวัง หามใช Megger ตรวจสอบความเปนฉนวน ตรวจวัดแผงวงจร Automatic voltage regulator โดยเด็ดขาด

Page 25: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

25

Page 26: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

26

สวนประกอบของเครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ

หมายเลข รายการอุปกรณ 1 Wound stator assembly 4 Wound rotor assembly 15 Fan 18 Balancing disc 21 Lifting eye 22 Key 30 D.E bracket 33 Air exit screen 34 Bolts 36 N.D.E. bracket 37 Rods 38 Nut 48 Terminal box cover 49 Screws 51 Air inlet screen 60 D.E. bearing 70 N.D.E. bearing 90 Wound exciter fied 91 Bolts

100 Wound exciter armature 120 Terminal plate support 124 Terminal plate 198 A.V.R. 214 Rectifier bridge 284 Sleeve 320 Driving hub 322 Driving discs 323 Bolts 324 Lock washers 325 Spacer shim 349 Rubber ‘O ring’ 410 D.E. bearing housing 411 Bolts

Page 27: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

27

การตรวจสอบและบํารุงรักษาเคร่ืองกําเนิดไฟฟา การตรวจสอบเคร่ืองกําเนิดไฟฟา

วัดคาความเปนฉนวนของขดลวดสเตเตอร, ขดลวดโรเตอร และขดลวดชุดเอ็กซไซต เเตอร โดยใช MEGGER ทําการวดัคาความเปนฉนวนระหวางขดลวดกับเฟรม ตองอานคาได

1. ไม นอยกวา 1 เมกกะโอหม 2. ตรวจสอบแปรงถาน 3. ตรวจสอบลูกปน 4. ตรวจสอบไดโอด 5. ตรวจสอบแบตเตอร่ีสตารทเคร่ืองยนต 6. ตรวจสอบ AVR ( ออโตเมติคโวลทเตจเร็คกูเรเตอร )

การตรวจสอบเมื่อเคร่ืองกําเนิดไฟฟาจายโหลด

1. อานคาแรงดนัไฟฟาท้ัง 3 เฟส 2. อานคาความถ่ีไฟฟาตองได 50 เฮิรทซ 3. อานคากระแสไฟฟาในแตละเฟส 4. อานคากิโลวัตต

การบํารุงรักษาและการทําความสะอาดเคร่ืองกําเนิดไฟฟา การทําความสะอาดเคร่ืองกําเนิดไฟฟามีความจําเปนอยางมาก เนื่องจากเคร่ืองกําเนิดไฟฟานานๆ คร้ังจึงจะถูกใชงานสักคร้ัง ทําใหมีฝุนละอองจับ มีจาระบีและน้ํามันเคร่ืองเปรอะเปอนท่ีสวนตางๆ ของเคร่ืองกําเนิดไฟฟา ระยะเวลาในการทําความสะอาดมีดังตอไปนี ้

1. ทุกๆ ป

2. ทุกคร้ังท่ีมีการถอดเคร่ืองกําเนิดไฟฟา

3. ทุกคร้ังท่ีมีผลการทดสอบคาความเปนฉนวนไมผาน 4. ทุกสัปดาหในกรณีท่ีมีสภาพบรรยากาศมีความช้ืนสูง , สภาพฝุนจัด, มีเกลือสูง และมี

สารเคมีบางชนิด

การบํารุงรักษาเคร่ืองกําเนิดไฟฟา การบํารุงรักษาเคร่ืองกําเนิดไฟฟาเปนส่ิงท่ีจําเปนอยางยิ่ง ดังนั้น การบํารุงรักษาโดยการตรวจวดัคาความเปนฉนวนของขดลวดจึงกําหนดระยะเวลาตามการใชงานของเคร่ืองกําเนิดไฟฟา เชน

Page 28: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

28

1. เคร่ืองกําเนดิไฟฟาท่ีใชงานตอเนื่อง หรือเปนตัวตนกําลังในการจายโหลด - ในสภาพบรรยากาศท่ีแหง และสะอาดตรวจสอบทุก 12 เดือน

- ในสภาพบรรยากาศท่ีมีความช้ืน และสกปรก ตรวจสอบทุก 3 เดือน 2. เคร่ืองกําเนดิไฟฟาสํารองฉุกเฉิน ( STAND BY ) ตรวจสอบทุก 12 เดือนการตรวจวัด

คาความเปนฉนวนตามกําหนดระยะเวลาการใชงานของเคร่ืองกําเนิดไฟฟาแลวยังมีกรณีท่ีคาความเปนฉนวนของขดลวดท่ีวดัคร้ังท่ีแลวตํ่า ใหทําการตรวจสอบทุก 1 เดอืน ถาหากผลการวัดปรากฏวาคาความเปนฉนวนตํ่ากวาคาท่ียอมรับ( ตํ่ากวา 1 เมกกะโอหม ) ใหนําทุน armatureไปทําความสะอาด อบไลความช้ืนแลวนํามาทดสอบใหมจนกระท่ังอยูในคาท่ีพอใจ

วิธีการเก็บเครื่องกําเนิดไฟฟา

การเก็บเคร่ืองกําเนิดไฟฟาก็เปนวิธีการบํารุงรักษาเคร่ืองอยางหนึ่ง เคร่ืองกําเนดิไฟฟาท่ีไมไดใชงานนานๆ จะตองเก็บใหเคร่ืองอยูในสภาพท่ีใชงานไดทันที วิธีการเก็บกระทําไดดังนี ้

1. เก็บในท่ีรมชายคาท่ีสะอาด อากาศแหง 2. คลุมดวยพลาสติก และเวนชองใหเคร่ืองระบายลมได 3. ใชหลอดไฟฟาอุนขดลวดใหมีอุณหภูมิรอนกวาอุณหภมิูหอง 5 องศาเซลเซียส 4. หมุนเพลา 2 รอบทุกๆ 3 เดือน เม่ือทําการเก็บเคร่ืองกําเนิดไฟฟาตามวิธีดังกลาวขางตนนีแ้ลว หากตองการนําเคร่ืองกําเนิด

ไฟฟาไปใชงาน หรือ START – UP ตองทําการอุนขดลวดของเครื่องกําเนิดไฟฟาอยางนอย 24 ช่ัวโมง กอนนําเคร่ืองไปใชงาน การตรวจสอบเคร่ืองยนตดีเซล ท่ัวไป 1. ตรวจสอบดวยสายตา 2. ทําความสะอาดระบบระบายความรอน 3. เปล่ียนทอยางตางๆ เทาท่ีจําเปน 4. ตรวจทําความสะอาดข้ัวไฟฟาตางๆ และแบตเตอร่ี 5 . ตรวจดูความตึงของสกรูยึดแทนเคร่ืองตางๆ 6. ตรวจดูระบบไดชารจ 7. ตรวจดูระบบมอเตอรสตารท และเยนเนอเรเตอร การตรวจสอบซอมแซมเคร่ืองยนตดีเซล แบตเตอร่ีเต็ม แตเคร่ืองไมหมุน

- ชุด Fuse Control ขาด

Page 29: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

29

- ข้ัวแบตเตอร่ีแนนแตคอนแทคไมดี ข้ัวมีออกไซดมาก - สวิทชเสีย หรือคอนแทคไมดี สายสวิทชหลวม - โซลินอยดเสีย สายขาดภายใน สายหรือข้ัวหลวม - มอเตอรสตารทเสีย

เคร่ืองหมุนแตไมติด

- แบตเตอร่ีออน - น้ํามันโซลาแหงปม , แหงกรอง - Fuel Shutdown Valve ไมเปดคอยลเสีย สวิทชสตารทเสีย - Safety Control ส่ังดับเคร่ืองไว

เคร่ืองหมุนชา , ติดยาก

- แบตเตอรร่ีออน - สายแบต, ข้ัวไมดี - มอเตอรสตารทเสียกินไฟมากเกินไป

เคร่ืองดับแตยงัหมุนได

- ปมบกพรอง - ชุด Fuel shutdown Valve ทํางานคาง

เคร่ืองดับหมุนไมได

- ขอเหวีย่งหกั - แบร่ิงละลาย - กระบอกสูบ , ลูกสูบติดแนน - กานสูบหกั ลูกสูบแตก กระบอกสูบแตก

กินน้ํามันเคร่ืองมาก

- เติมน้ํามันมากเกินไป - กานวดัน้ํามันเคร่ือง ขีดระดับผิด - น้ํามันเคร่ืองร่ัว - แหวนตาย แหวนหกั - เทอรโบร่ัวท่ีชีล - เติมน้ํามันเคร่ืองท่ีใสเกินไป

Page 30: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

30

กําลังตกเปนบางคร้ัง - น้ํามันเขา Float Tank ไมทัน - ทอน้ํามันโซลาหักงอ , ตีบตัน - มีของอุดทอในถังน้ํามัน - ทอหายใจอุดตัน - ลมร่ัวเขาทางดดูของปมได - ทอยางตีบภายใน ทอยางกรองอากาศตีบเม่ือรอบสูง

กําลังตก (ทันทีทันใด)

- แผนเหล็กในทอเก็บเสียงหลุดอุดทอไอเสีย - ปมโซลาบกพรอง - Governor บกพรอง - ทอยางเช้ือเพลิงอุดตัน - หัวฉีดติด มีน้ําในเชื้อเพลิง - เทอรโบเสีย

กําลังตกไมมีควัน (คอยเปนคอยไป) - กรองโซลาตัน น้ํามันไหลไมสะดวก - เพรสเชอรจากปมโซลา ตํ่าเกินไป - เกียรปมของปมโซลาสึก - มีใครไปปรับแตงปมโซลา - ไมไดต้ังหัวฉีดนานแลว - ทอน้ํามันเขาหวัฉีดอุดตัน - กรองโซลาสกปรก

ควันดําเม่ือมีโหลด - ฉีดน้ํามันมากไป ปมโซลาบกพรอง - กรองอากาศตนั - ทอไอดีร่ัว ( เฉพาะเคร่ืองมีเทอรโบ) - น้ํามันกลับจากหัวฉีดไมทัน - ทอไอเสียตัน - เทอรโบทําลมนอย - เขมาเกาะในชองไอดีของฝาสูบ

Page 31: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

31

- ทอยางกรองอากาศหรือ Snorkel ตัน ควันดําตลอด

- กรองอากาศตนั - ปรับหัวฉีดไมถูกตอง , วาลวไมถูกตอง - น้ํามันเช้ือเพลิงผิดชนิด - คัปหัวฉีดไมถูกตอง หรือคัปแตก - Protrusion ของหัวฉีดนอยเกนิไป - ลูกสูบ , เพลาลูกเบ้ียว , หัวฉีดผิดขนาด

กินน้ํามันเชื้อเพลิงมากเกินไป เคร่ืองจะเกนินํ้ามันเช้ือเพลิงมากหรือนอยข้ึนอยูกับโหลด มิไดข้ึนอยูกบัรอบเคร่ืองและกินน้ํามันมากนอยเทาใดน้ันตองดูตามพิกดัของแตละเคร่ือง จะใชเปรียบเทียบกับเคร่ืองอ่ืนไมได หัวขอตอไปนี้เปนคําแนะนําเบ้ืองตนในการหาจดุบกพรองของเคร่ืองท่ีกินน้ํามันเช้ือเพลิงมากเกินไป

- หัวฉีดสกปรก , ท่ีคัป , ท่ีกรองท่ีภายในหวัฉีด - น้ํามันผิดชนดิ - เดินเคร่ืองเบาไวนานเกนิไป - ไอเสียออกไมสะดวก ( Back Pressure ตองไมเกิน 2" ของปรอท) - อากาศเขาไมทัน (ตองไมเกิน 25" ของน้ําเม่ือโหลดเต็มท่ี) - น้ํามันเช้ือเพลิงกลับไมทัน ( ตองไมเกิน 2 ปอนดตอตารางนิ้ว )

ความดันน้ํามันเคร่ืองต่ํา - น้ํามันตํ่ากวาปกติ ตรวจวากานวัดถูกตองหรือไม - น้ํามันเปนฟอง - น้ํามันรอนจดั - น้ํามันใสเกนิไปเนื่องจากผิดชนิดหรือโซลาปน - ออยลคูลเลอรตัน , ทอน้ํามันตีบ ( เฉพาะ Remote Filter) - เกจเสีย , สายตัน , ตอเกจผิดท่ี - ทอดูดในเคร่ืองหลวม - น้ํามันผานกรองบายพาสมากเกินไป ออริพิสโตเกินไป - กรองฟูลโฟลตัน หรือครีบลม - เร็กกูเลเตอรในปมเปดคาง - บายพาสวาลวของ Cooling Nozzle เปดคาง

Page 32: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

32

- บูชช่ิง , แบร่ิงสืกมาก - เฟองปมสึก , ตัวเรือนสึก - เฟองหลวมกับเพลา

เคร่ืองเดินไมเรียบและไมครบสูบ - ปะเกน็ฝาสูบร่ัว , สกรูฝาสูบขาด - หัวฉีดสกปรก กําลังอัดร่ัวผานไดท่ีแหวนยาง - วาลวร่ัว ปรับต้ังผิดจังหวะ - หัวฉีดทํางานไมเทากัน - ปมบกพรอง

เดินไมครบสูบตลอดเวลา - แกนหัวฉีด ติดแนนบางหวั - ต้ังวาลว , หัวฉีดไมถูก - ตะเกยีบงอ - มีน้ําในน้ํามันโซลา - คัปหัวฉีดแตก

น้ําปนนํ้ามันเคร่ืองจํานวนมาก - แหวนยางกระบอกสูบร่ัว - ประเก็นฝาสูบคอมเพรสเซอรร่ัว - แหวนยางของออยลคูลเลอรร่ัว - ฝาสูบเปนตามด ( อาจจะเปนท่ีอ่ืนๆ ก็ได ) - ตาน้ํามันร่ัว ( ตองอัดน้ําหาจงึจะพบ )

น้ําปนนํ้ามันเคร่ือง จํานวนนอย - ฝาสูบราว, เปนรูพรุน, ร่ัวตาน้ํา, ปล๊ักตาง ๆ - กระบอกสูบเปนตามดทะลุ

น้ํามันเคร่ืองปนน้ํา - ออยลคูลเลอรร่ัว , ประเกน็หรือแหวนยางร่ัว - ทอน้ํามันในเคร่ืองเปนตามด - Water Temperature เปนองศาฟาเรนทไฮท เคร่ืองทุกแบบมีความรอนท่ีใชงานเทากัน

คือ 180° F-200° F /82°C-93° C

Page 33: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

33

- Oil Temperature เปนองศาฟาเรนทไฮท เคร่ืองทุกแบบมีความรอนท่ีใชงานเทากัน คือ 170° F-225° F /77° C-107° C

- Exh. Temperature เปนองศาฟาเรนทไฮท เคร่ืองทุกแบบมีความรอนไอเสียท่ี Idle ประมาณ 200°F(93° C) และที่ Rated ประมาณ 1200° F/690° C

- Fuel Filter Restriction ทุกแบบไมเกิน 8 นิ้วของปรอท - Air Filter Restriction ทุกแบบไมเกิน 20 นิว้ของน้ํา - Exh. Back Pressure ทุกแบบไมเกิน 3 นิ้วของปรอท - Fuel Return Back Pressure ไมเกิน 2 ปอนด ตอตารางนิ้ว สําหรับแบบ Flange Type ไม

เกิน 4 ปอนด ตอตารางนิ้ว สําหรับแบบ Cylindrical Generator ไมผลิตแรงดันออกมา หรือออกมาผิดพลาด

- ชุด Alternator บกพรอง - Voltage Regulator Output Module บกพรอง - PT/CT Board บกพรอง - ชุด Display บกพรอง - ชุด Main Board บกพรอง

Battery Charger ไมทํางาน

- ชุด Fuse Control ขาด - ชุดแผน Print Charger มีปญหา - ไมมีไฟฟา 220 โวลต (AC) ปอนเขาระบบ - ไมได On Charger Switch

การเติมกรดและการประจุไฟแบตเตอร่ีใหม

- จัดเก็บแบตเตอรี่แหงไวในท่ีรมหางจากบริเวณท่ีมีความรอน เชน เตาไฟ หรือท่ีซ่ึงมีแสงแดดสองถึง

- สําหรับแบตเตอร่ี ทางโรงงานผูผลิตไดประจุแหงมาอยางดีแลว ดงันั้น หากมีความจําเปนรีบดวน ทานสามารถใชแบตเตอร่ีสตารทไดหลังจากเติมกรดท้ิงไว 10 – 15 นาที อยางไรก็ตาม เพื่อประสิทธิภาพและความคงทนสูงสุดในการทํางานของแบตเตอร่ี ควรทําการประจุแบตเตอร่ีจนเต็มกอนใชงาน โดยกอนประจุไฟ ใหเติมกรดกํามะถันลงในแตละชองของแบตเตอร่ีใหความแกของกรดมีคาเทากับ

ความถวงจําเพาะ(ถ.พ.) = 1.240 – 1.260 หามใชกรดแกเกินกวา ถ.พ. ท่ีกําหนดเพราะจะทําใหอายุการใชงานของแบตเตอร่ีส้ันลง

Page 34: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

34

- การประจุไฟแบตเตอร่ีแบบชา ใหใชกระแส 1 – 20 แอมป ตามขนาดของแบตเตอร่ี แตไมควรจะต้ังกระแสเกิน 10% ของแอมแปรของแบตเตอร่ี

- อุณภูมิของน้ํากรดไมควรเกนิ 50 องศาเซลเซียส ขณะทําการประจุไฟฟาหากอุณหภูมิเกิน 50 องศาเซลเซียส ใหลดกระแสลงหรือหยดุพักการประจไุฟช่ัวคราว

- เม่ือประจุไฟเต็มท่ีแลวคาความถวงจําเพาะของกรดในแตละชองมีคาเทากับ 1.240 – 1.260 (เทากับคาความถวงจาํเพาะของกรดกอนเติมลงในแบตเตอร่ี)

- กอนนําแบตเตอร่ีติดต้ังใชงานควรปรับระดับน้ํากรดใหเทากันทุกชองและมีระดับน้าํกรดตามขีดระดับท่ีกําหนดหรือสูงกวาแผนธาตุประมาณ 1 เซนติเมตร

- ดึงเทปท่ีจุกออกตรวจดูรูระบายอากาศวาไมอุดตัน - นําแบตเตอร่ีท่ีติดต้ังแลวใชงาน โดยตอสายแบตเตอร่ีดานบวกเขากับข้ัวบวกของ

แบตเตอร่ี และตอสายดานลบเขากับข้ัวลบของแบตเตอร่ี การบํารุงรักษาแบตเตอร่ีใชแลว

- โดยปกติแบตเตอร่ีไมตองเติมน้ํากล่ันบอย ๆ หากตรวจพบวาระดับน้ํายาภายในแบตเตอร่ีลดตํ่ากวาระดับแผนธาตุควรเติมน้ํากล่ันใหไดระดับตามท่ีตองการ (หามเติมน้ํากรด) หรือประมาณ 1 เซนติเมตร เหนือระดับแผนธาตุ อยาเติมน้ํากล่ันเต็มเกนิไปเพราะน้ํายาในแบตเตอร่ีจะเดือดกระเดน็ออกมาเปนอันตรายได หากนํ้ายาแหงบอย ๆ แสดงวาเกินโอเวอรชารจ ควรตรวจไดนาโมชารจ หรือ Battery Charger

- ถาไฟไมพอสตารท ใหนําแบตเตอร่ีไปประจุไฟใหม (หามใชวิธีเปล่ียนถายน้ํายา) - รักษาแบตเตอร่ีใหสะอาดโดยเฉพาะอยางยิง่อยาใหท่ีระบายอากาศของจุกมีผงฝุนเขาไป

อุดตัน เพราะจะทําใหแบตเตอร่ีระเบิดได - รักษาข้ัวแบตเตอร่ีใหสะอาด ถาท่ีข้ัวสกปรก ใหลางดวยน้ํารอนใหสะอาดและทาดวย

จาระบีตรงสวนบน อยาทารอบข้ัว - แบตเตอร่ีท่ีไมไดใชงาน ควรนําไปประจุไฟเดือนละคร้ัง และกอนใชงานตองประจุไฟให

เต็มอีกคร้ัง - แบตเตอร่ีเปนสวนหนึ่งของระบบไฟในเครื่องยนต หากช้ินสวนอ่ืนๆ ของระบบไฟเกิด

บกพรอง จะทําใหการทํางานของแบตเตอร่ีบกพรองไปดวย ดังนัน้ ควรหม่ันตรวจสอบความเรียบรอยของชิ้นสวนไฟฟาในระบบ หากพบขอบกพรองควรรีบแกไข แบตเตอร่ีจึงจะรับใชทานดวยประสิทธิภาพและความคงทนสูงสุด

Page 35: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

35

หลักการทํางานของชุดสวิตซโอนยายอัตโนมัติ Automatic Transfer Switch (ATS) - เม่ือไฟฟาของการไฟฟาดับลง ไฟฟามาไมครบเฟส หรือแรงดันไฟฟาเฟสใดเฟสหนึง่ตํ่า

กวา 200 โวลต (สามารถปรับต้ังได 180 – 220 โวลต) เปนระยะเวลา 3 นาที (สามารถปรับต้ังได 0- 10 วินาที) จะมีสัญญาณไปส่ังสตารทเคร่ืองยนต (Generator)

- เม่ือ Generator ทํางานแลว จะสงสัญญาณใหชุดควบคุมตรวจสอบระดบัแรงดันไฟฟา ถาระดับแรงดนัอยูในระดับใชงานแลว เคร่ืองยนตจะวิง่ตัวเปลาเปนเวลา 5 วินาที (สามารถปรับต้ังได 0 – 30 วินาที) สัญญาณจะส่ังให ATS สับเปล่ียนไปใชไฟจาก Generator

- เม่ือไฟฟาของการไฟฟามาตามปกติครบ 3 เฟส ชุดควบคุมจะสงสัญญาณให ATS สับเปล่ียนไปใชไฟจากการไฟฟาภายในระยะเวลา 1 – 10 นาที (ปกติต้ังไว 5 นาที) และเคร่ืองยนตยังคงเดินเคร่ืองตอไป จนถึงระยะเวลาท่ีต้ังไวประมาณ 5 นาที เคร่ืองยนตจงึจะหยุดทํางาน

- ทุกระยะเวลา 1 สัปดาห จะมีสัญญาณส่ังสตารทเคร่ืองยนต และเคร่ืองยนตจะเดินเคร่ืองเปนระยะเวลาตามท่ีต้ังไวประมาณ 5 นาทีจงึจะดับเคร่ืองเองโดยอัตโนมัติ

- Function Selector switch สําหรับเลือกการทํางานของชุดควบคุมสามารถเลือกการทํางานได 4 จังหวะ ดงันี้ Off Generator จะไมทํางานไมวากรณีใดๆ Auto ระบบจะทํางานตามหลักการทํางานตามปกติ Test สําหรับทดสอบการทํางาน โดยสมมุติวาไฟฟาปกติดับและชุดควบคุมจะ

ทํางานตามหลักการทํางานข้ันตอไป Engine start สําหรับส่ัง Generator ทํางานทันทีโดยไมตองรอสัญญาณอ่ืน ๆ

Page 36: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

36

มอเตอรไฟฟา ( ELECTRIC MOTOR ) มอเตอรไฟฟา เปนอุปกรณไฟฟาท่ีเปล่ียนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานกล ใชในการขับเคล่ือนแทนแรงคน และเคร่ืองจักรกล มอเตอรไฟฟาท่ีนิยมใชโดยท่ัวไปมักแบงได ดังนี ้ แบงตามชนิดของกระแสไฟฟา 2 ชนิด คือ 1. มอเตอรไฟฟากระแสตรง 2. มอเตอรไฟฟากระแสสลับ แบงตามขนาดแรงดันไฟฟาได 2 ชนิด คือ 1. มอเตอรแรงตํ่า คือ มอเตอรท่ีใชแรงดันไฟฟาไมเกิน 750 โวลต 2. มอเตอรแรงสูง คือ มอเตอรท่ีใชแรงดนัไฟฟาเกิน 750 โวลต แบงตามลักษณะการทํางานของมอเตอรไฟฟากระแสสลับ แบงได 2 ชนิด คือ 1. มอเตอรชนิดเหนี่ยวนําหรืออินดักชันมอเตอร เปนมอเตอรท่ีทํางานโดยอาศยัการเหนีย่วนําดวยอํานาจแมเหล็ก การใชงานจะจายไฟใหขดลวดท่ีพนัอยูท่ีสเตเตอร ( Stator ) ซ่ึงเปนตัวท่ีอยูกับท่ี กระแสไฟฟาจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กเหนียวนาํไปท่ีโรเตอร ( Rotor ) ซ่ึงเปนตัวหมุน ท่ีโรเตอรจะมีกระแสไฟฟาไหลและเกดิอํานาจแมเหล็กทําใหหมุนไปได อินดักชันมอเตอรยังแบงออกไดตามชนิดของโรเตอรเปนสไควเรลเคจอินดักชันมอเตอร ( Squirrel Cage Induction Motor ) และเวาดโรเตอรมอเตอร ( Wound Rotor Motor ) 1.1 สไควเรลเคจอินดักชันมอเตอร หรือเรียกวาโรเตอรชนิดกรงกระรอก ท่ี โรเตอรจะฝงตัวนําไฟฟาไวและตัวนํานี้จะถูกลัดวงจรเขาดวยกัน การใชงานทําไดโดยการจายไฟเขาท่ีสเตเตอร 1.2 เวาดโรเตอรมอเตอร ท่ีโรเตอรของมอเตอรชนิดนี้จะมีขดลวดพันอยูดวยและจะมีสายตอออกมาขางนอกโดยผานสลิปริง ( Slip Rings ) เพื่อชวยในการเร่ิมเดิน ในการใชงานจะจายไฟเขาท่ีสเตเตอรเชนเดียวกนั การลดกระแสขณะเร่ิมเดินเคร่ืองทําไดโดยการใสตัวตานทานอนกุรมเขากับขดลวดของโรเตอรมอเตอรชนิดนี้เรียกอีกช่ือหนึ่งไดวาสลิปริงมอเตอร 2. ซิงโครนัสมอเตอร เปนมอเตอรท่ีมีการพันขดลวดท้ังท่ีโรเตอรและสเตเตอรจะจายไฟกระแสสลับและท่ีโรเตอรจะจายไฟกระแสตรงเขาไป และถาจายไฟกระแสตรงเขาท่ีโรเตอรมากเกินไปมอเตอรจะทําหนาท่ีกลับเปนเจนเนอเรเตอรจายไฟฟาเขาระบบในลักษณะกระแสนําหนาแรงดัน เรียกวา ซิงโครนัสคอนเดนเซอรใชแกเพาเวอรแฟกเตอรของระบบไฟฟาได

Page 37: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

37

มอเตอรไฟฟากระแสสลับท่ีนิยมใชกันโดยท่ัวไปมีอยูดวยกัน 2 แบบ คือ 1. มอเตอรไฟฟาเฟสเดยีว ( Single phase motor ) 2. มอเตอรไฟฟาสามเฟส ( Three phase motor ) มอเตอรไฟฟาเฟสเดียว ท่ีใชกันแพรหลายในปจจุบัน เปนมอเตอรขนาดเล็ก มีอยู 5 ชนิด คือ 1. สปลิตเฟสมอเตอร ( Split phase motor ) ไดแก มอเตอรปมลม มอเตอรหินเจียร มีขนาดประมาณ1/20 แรงมา ถึง 1/3 แรงมา 2. คาปาซิเตอรมอเตอร ( Capacitor motor ) ไดแก มอเตอรเคร่ืองกลึง มอเตอรเคร่ืองปรับอากาศ มีขนาดประมาณ 1/4 แรงมา ถึง 1 แรงมา 3. มอเตอรแบบบังข้ัว ( Shaded pole motor ) ไดแก มอเตอรท่ีใชกบัพัดลมต้ังโตะ ต้ังพื้นท่ัวๆไป มีขนาด 1/250 แรงมา ถึง 1/6 แรงมา 4. รีพัลช่ันมอเตอร ( Repulsion motor ) ไดแก มอเตอรขัดพื้น ขัดพรม ขัดหนิ มอเตอรสําหรับเวทีหมุน มีขนาดต้ังแต 1/2 แรงมา ถึง 5 แรงมา 5. ยูนิเวอรแซลมอเตอร ( Universal motor ) ไดแก สวานไฟฟา เคร่ืองเปาผม เคร่ืองดูดฝุน เคร่ืองปนอาหาร เปนตน สามารถใชไดท้ังไฟฟากระแสตรงและกระแสสลับ มีขนาด 1/200 แรงมา ถึง 1/3 แรงมา

Page 38: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

38

ตารางท่ี 1 ปญหาและการแกไขมอเตอรสปลิต-เฟส

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข มอเตอร ฟวสขาดหรือเบรกเกอรเปด ตรวจขนาดของฟวสหรือเบรกเกอรตองมีขนาดไมนอย ไมสตารต กวา 125 เปอรเซ็นตของกระแสใชงานเต็มกําลัง โวลตตํ่าหรือไมมีโวลตเลย ตรวจแหลงจายไฟคาโวลตภายใน 10 เปอรเซ็นต ของเนมเพลดหรือไม ถาโวลตตํ่ามอเตอรจะกนิกระแส มากทําใหอุปกรณปองกนัตัดวงจรหรือขดลวดไหมได วงจรสตารตเปด ใชมือหมุนแกนโรเตอร ถาหมุนไดคลองใหตรวจจุด เช่ือมตอตางๆ ตรวจสวิตซสตารต ตรวจหนาคอน- แทกต ตรวจสอบสายไฟวาขาดหรือไม ตรวจอุปกรณ ปองกันมอเตอรไหม เม่ือตรวจส่ิงของตางๆเรียบรอย แลว ถาใชมือหมุนแกนโรเตอรทําใหมอเตอรหมุน ไดท่ีความเร็วตามกําหนด แสดงวาวงจรขดลวด สตารตเปดอยู ตอสายไมถูกตอง ใหตรวจสอบวงจรการตอมอเตอรใหมหมด โหลดมากเกนิไป ถาเอาโหลดออกแลวมอเตอรสตารตได โหลดอาจจะ เกินไป ใหลดโหลดลงโดยใหอยูในขนาดท่ีกําหนด ไวบนเนมเพลต โรเตอรขยับเขาออกได ถามอเตอรหมุนไดเม่ือสตารตดวยมือ ใหตรวจสอบ มากเกินไป ระยะการขยับเขาออกของโรเตอร ถาระยะมากเกินไป ใหเพิ่มแหวนหรือปลอกสวม ตลับลูกปนตาย ( ใหดูท่ีอาการตลับลูกปนรอนเกินไป ) เสียงดังมาก เกิดความไมสมดุล ใหทําการบาลานซโรเตอรหรือพูลเลยใหม แกนเพลาคด ทําแกนใหตรงและบาลานซโรเตอร ช้ินสวนหลวม กวดและขันช้ินสวนตางๆใหแนน ติดต้ังไมไดศูนย ติดต้ังมอเตอรใหมใหไดศูนยกับอุปกรณ ตลับลูกปนสึกหรอ ( ใหดูท่ีอาการตลับลูกปนรอนเกินไป ) ใสน้ํามันหรือ จาระบี ตามเวลาท่ีกําหนดหรือเปล่ียนลูกปนใหม แอรแกปสกปรก ถอดมอเตอรออกแลวทําความสะอาดดวยลมแหง

Page 39: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

39

ตารางท่ี 1 ( ตอ ) ปญหาและการแกไขมอเตอรสปลิด-เฟส

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข แอรแก็ปไมสมํ่าเสมอ ตรวจสอบความคดงอของเพลาหรือการสึกหรอ ลูกปน ถาจําเปนใหกลึงแตงโรเตอรหรือมอรเตอร แตถาแอรแกป็มากเกินไปจาํทําใหมอเตอรรอนจัดได ตลับลูกปน มอเตอรตองการหลอล่ืน หลอล่ืนดวยน้าํมันเกรดดีตามท่ีแนะนําในคูมือ รอนเกินไป น้ํามันหลอล่ืนสกปรก เอาน้ํามันเกาออกใสน้ํามันใหมท่ีคุณภาพด ี น้ํามันไมถึงเพลา ถามอเตอรใชวิค ( Wick ) ใหตรวจสอบวิคและ ทางเดินของน้าํมัน ถามอเตอรเปนแบบวงแหวน ใหแนใจวาวงแหวนดังกลาวหมุน จาระบีมากเกนิไป กรณีนี้เปนชนดิทีใชตลับลูกปนใหเอาจาระบีสวน เกินออก แรงดึงสายพานมากเกินไป ปรับความตึงของสายพานใหม ผิวลูกปนขรุขระ เปล่ียนลูกปนใหมกอนท่ีเพลาจะเสียหาย แกนเพลาคด ( ดูท่ีอาการเสียงดังมาก ) แกนเพลาและลูกปนไมไดศูนย ( ดูหวัขอสาเหตุติดต้ังไมไดศูนย ภายใตอาการไมได ศูนย เสียงดังมาก ) แรงกดปลายเพลามากเกินไป อาจเกิดจากติดต้ังโรเตอรผิดตําแหนงบนแกนเพลา หรือเกิดจากอุปกรณขับเคล่ือน ใหตรวจดมูอเตอร และอุปกรณตางๆ แรงดึงดานขางมากเกินไป ตรวจการตอเช่ือมมอเตอรกับอุปกรณขับเคล่ือน ทําใหแนใจวาสายพานไมตึงจนเกนิไป มอเตอรรอน มีส่ิงกีดขวางทางระบาย มอเตอรไฟฟาตองการการทําความสะอาด เกินไป อากาศ ระยะๆเอาฝุนออกและเอาวตัถุท่ีกีดขวางออก ใชงานเกนิกําลัง ตรวจอุปกรณขับเคล่ือนวาไมฝด ตรวจการใชงาน โดยวดัคาวัตตและแอมปในสภาพการทํางานปกติ โรเตอรแตะกบัสเตเตอร ตรวจความสึกหรอของลูกปนหรือเพลาคด โรเตอรหรือ ลูกปนสึกหรอ ( ดูท่ีอาการตลับลูกปนรอนเกินไป ) สเตเตอร มอเตอรช้ืน ความช้ืนมากเกินไปทําใหฉนวนเส่ือม ช้ินสวนท่ี ไหม เปล่ียนใหมควรจะอาบวานิชแบบพิเศษ

Page 40: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

40

ตารางท่ี 1 ( ตอ ) ปญหาและการแกไขมอเตอรสปลิด-เฟส

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข ถูกกรดหรือดาง อาบวารนิชแบบพิเศษ ฝุนอันตรายสะสมตัว กําจัดฝุนและส่ิงสกปรกท่ีเปนตัวนําออก ใชงานเกนิกําลัง ( ดูท่ีอาการมอเตอรรอนเกินไป ) สวิตซสตารตเสีย สวิตซแรงเหวีย่งไมตัดวงจรสตารตออก ทําใหขดลวด สตารตไหม

Page 41: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

41

ตารางท่ี 2 ปญหาและการแกไขมอเตอรคาปาซิเตอร

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข มอเตอร โวลตตํ่าหรือไมมีเลย ตรวจแหลงจายไฟวาโวลตอยูใน 10 เปอรเซ็นต ไมสตารต ของเนมเพลตหรือไม โวลตตํ่าแรงบิดออกตัวตํ่ากนิ กระแสมากทําใหอุปกรณปองกันตัดวงจรหรือขดลวด ไหมได ฟวสขาดหรือเบรกเกอร ตรวจสอบฟวสหรือเบรกเกอรควรมีคาอยางนอย เปดตัดวงจรไฟฟา 125 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มพิกัด วงจรถูกตัดขาด หมุนมอเตอรดวยมือ ถาหมุนไดคลอง ตรวจการตอ เช่ือมวงจรตางๆ ตรวจสวิตซสตารต ตรวจความสะอาด ความแนนของหนาคอนแทกซ ตรวจสายไฟวาขาด หรือไม ถาอุปกรณโอเวอรโหลดตองรีเซตดวยมือให ทําการรีเซต เม่ือทุกอยางไดตรวจและแกไขเรียบรอย แลว ใหหมุนมอเตอรขณะสตารตดวยมือ ถามอเตอร ทํางานแสดงวาวงจรสตารตไมทํางาน ถาคาปาซิเตอร ชอตทําใหแรงบิดออกตํ่าใหเปล่ียนคาปาซิเตอรท่ีเสีย การเช่ือมตอกบัแหลง ตรวจเช็คการตอเช่ือมตามวงจรไฟฟาของมอเตอร จายไฟไมดีพอ โหลดมากเกนิไป ถาปลดโหลดออกแลวมอเตอรทํางานโหลดอาจมาก เกินไป ใชงานผิดประเภท หรืออุปกรณขับเคล่ือนติด หรือฝด ใหลดโหลดลงใหอยูในพกิัดของมอเตอร แรงดึงดานขางมากเกินไป ตรวจการใชงานของมอเตอรกับอุปกรณขับเคล่ือนอยา ใหสายพานตึงเกินไป มอเตอร ( สาเหตุและการแกไขเหมือน รอนจัด ของมอเตอรสปลิต-เฟส ) โรเตอรหรือ ( สาเหตุและการแกไขเหมือน สเตเตอรไหม ของมอเตอรสปลิต-เฟส

Page 42: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

42

ตารางท่ี 2 ( ตอ ) ปญหาและการแกไขมอเตอรคาปาซิเตอร

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข โรเตอรขยับเขาออกได ถามอเตอรทํางานไดตอเม่ือตองสตารตดวยมือเทานั้น มากเกินไป ใหตรวจสอบเพลา ถาระยะโรเตอรขยับเขาออกไดมาก เกินไปใหเพิ่มแหวนบนแกนเพลา ลูกปนตาย ( ดูท่ีอาการลูกปนรอนเกินไป ) เสียงดังมาก ไมบาลานซ ทําการบาลานซโรเตอรหรือพุลเลยใหม เพลาคด ทําใหตรงและบาลานซโรเตอร ช้ินสวนหลวม ตรวจสอบและขันกวดใหแนน ไมไดศูนย ตรวจสอบใหมอเตอรไดศูนยเดยีวกับอุปกรณขับ เคล่ือน ลูกปนสึก ( ดูท่ีอาการลูกปนรอนเกินไป ) หลอล่ืนลูกปนตาม กําหนดเวลา หรือเปล่ียนลูกปนใหม แอรแก็ปสกปรก ถอดมอเตอรออกและเปาดวยลมแหงใหสะอาด แอรแก็ปไมสมํ่าเสมอ ตรวจแกนคดหรือลูกปนสึก ถาจําเปนตองกลึงปาด โรเตอรหรือมอเตอรสเตเตอร ระวังอยาใหมีแอรแก็ป มากเกินไปจะทําใหมอเตอรรอนจัดได ลูกปนรอน มอเตอรตองการหลอล่ืน หลอล่ืนดวยน้าํมันหรือจาระบีท่ีไดคุณภาพตามท่ีผูผลิต เกินไป มอเตอรแนะนาํ น้ํามันไมลงถึงแกนเพลา ถาเปนแบบวิค ตรวจวิคและทางเดินน้ํามัน ถามอเตอร เปนแบบวงแหวนใหแนใจวาวงแหวนหมุนได จาระบีมากเกนิไป ถาจาระบีในตลับลูกปนมากเกินไปใหเอาออกเสียบาน มิฉะนั้นจะทําใหลูกปนรอน แรงดึงสายพานมากเกินไป ปรับความตึงสายพานใหไดคาท่ีเหมาะสม ผิวลูกปนขรุขระ เปล่ียนลูกปนใหมกอนแกนเพลาจะเสีย แกนคด ( ดูท่ีอาการเสียงดังมาก ) เพลาและลูกปนเสียศูนย ( ดูสาเหตุไมไดศูนยในอาการเสียงดังมาก ) แรงกดปลายเพลามากไป ซ่ึงอาจทําใหโรเตอรอยูผิดตําแหนงหรือเปนสาเหตุ จากอุปกรณขับเคล่ือน ใหตรวจสอบมอเตอรและ การใชงาน

Page 43: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

43

ตารางท่ี 3 ปญหาและการแกไขมอเตอรแบบรีพัลชัน

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข มอเตอร ฟวสขาดหรือเบรกเกอรเปด เหมือนของมอเตอรสปลิต-เฟส ไมสตารต โวลตตํ่าหรือไมมีเลย ตรวจแหลงจายไฟใหโวลตอยูใน 10 เปอรเซ็นต ของเนมเพลต วงจรถูกตัดขาด หมุนมอเตอรดวยมือ ถาหมุนคลองใหตรวจจุด เช่ือมตอตางๆ ตรวจหนาคอนแทกตวาสะอาดและ แนน ตรวจขดลวดวาขาดหรือไม ถาวงจรขาดอาจ มีประกายไฟมากเกินไปท่ีแปรงถานดูสวิตซสตารต วาตอกันหรือไม ถาใชตัวควบคุมความเร็วใหแนใจ วาอยูในตําแหนงปดเม่ือมอเตอรหยุดทํางาน ตอสายไฟไมถูกตอง ใหตรวจวงจรการตอมอเตอรใหม โหลดมากเกนิไป เหมือนของมอเตอรคาปาซิเตอร แปรงถานสึก หรือติด เปล่ียนแปรงถานท่ีสึก ถาแปรงถานติดขัดในชอง ใสแปรงถาน สปริงอาจจะออนหรือคอมมิวเทเตอร สกปรก หรือไมกาอยูสูงเกนิไป ใหทําความสะอาด คอมมิวเทเตอรดวยกระดาษทรายเบอรละเอียด เทานั้นหามใชกากเพชร ต้ังแปรงถานผิด ต้ังใหแปรงถานอยูในระยะหางท่ีถูกตองจากจุดสะเทิน ปลายเพลาขยบัเขาออกได ถาออกสตารตไดดวยมือหมุน ใหตรวจระยะหาง มากเกินไป หางปลายเพลา ถามากไปใหเติมแหวนบนเพลา ลูกปนตาย ดูท่ีอาการลูกปนรอนเกินไป เสียงดังมาก ( สาเหตุและการแกไขเหมือน ของมอเตอรสปลิต-เฟส ) ตลับลูกปน ( สาเหตุและการแกไขเหมือน รอนเกินไป ของมอเตอรสปลิต-เฟส ) แปรงถานสึก คอมมิวเทเตอรสกปรก ทําความสะอาดดวยกระดาษทรายชนิดละเอียด มากเกินไป เทานั้น

Page 44: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

44

ตารางท่ี 3 ( ตอ ) ปญหาและการแกไขมอเตอรแบบรีพลัชัน

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข สัมผัสกับคอมมิวเทเตอร อาจเกิดจากสปริงแปรงถานออน หรือไมกาอยูสูง ไมถูกตอง เกินไป โหลดมากเกนิไป ดูท่ีอาการมอเตอรไมสตารต น้ําหนกัถวงทํางานผิดปกติ ดูอาการน้ําหนกัถวงทํางานผิดปกติ ไมกาอยูสูงเกนิไป แตงหนาคอมมิวเทเตอรกนิบางๆ หนาคอมมิวเทเตอรหยาบ แตงหนาคอมมิวเทเตอรกนิบางๆ มอเตอรรอน ( สาเหตุและการแกไขเหมือน เกินไป ของมอเตอรสปลิต-เฟส ) คอมมิวเทเตอร

ลูกปนลึก ดูท่ีอาการตลับลูกปนรอนเกนิไป

หรือ สเตเตอร ความช้ืน ช้ินสวนท่ีเปล่ียนใหมตองเคลือบวารนิชชนิดพิเศษ ไหม กรดหรือดาง อาจตองใชเคลือบวารนิชชนดิพิเศษ ฝุนอันตรายสะสมตัว ฝุนหรือความสกปรกท่ีเปนตัวนําจะทําลายฉนวน ใชงานเกนิกําลัง ดูท่ีอาการมอเตอรรอนเกินไป คอมพิวเทเตอรสกปรก ทําความสะอาดดวยกระดาษทรายละเอียดเทานั้น หามใชกากเพชร น้ําหนกัถวง กลไกติดขัด ลองขยับน้ําหนักถวง ( governor ) ดวยมือ เปล่ียน ทํางานผิด ช้ินสวนท่ีเสีย ปกติ แปรงถานสึกหรือติดขัด ดูท่ีอาการมอเตอรไมสตารต ความถ่ีของแหลงจายไฟตํ่า ตรวจสอบความถ่ีของแหลงจายไฟ โวลตตํ่า ดูท่ีอาการมอเตอรไมสตารต ตอวงจรไมถูกตอง ตรวจสอบวงจรมอเตอร ต้ังแปรงถานไมถูกตอง ตรวจระยะหางจากจุดสะเทินแข็ง โหลดมากเกนิไป ดูท่ีอาการมอเตอรไมสตารต แรงดึงสปริงไมถูกตอง ต้ังแรงดึงหรือเปล่ียนสปริงใหม

Page 45: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

45

การตรวจสอบมอเตอรไฟฟาเฟสดียว

การตรวจซอมมอเตอรไฟฟาเฟสเดียว 1. วัดคาความเปนฉนวนของขดลวดชุดรันและชุดสตารต โดยใช MEGGER ทําการวัดคาความเปนฉนวนระหวางขดลวดกับเฟรม และวัดคาความเปนฉนวนระหวางขดลวดชุดรันกับชุดสตารท ตองอานคาไดไมนอยกวา 1 เมกกะโอหม 2. ตรวจสอบขดลวดชุดรัน, ชุดสตารทวาขาดหรือไมโดยใชมัลติมิเตอร หากเปนมอเตอรชนิดท่ีมีชุดฟลดคอยลก็ใหทําการตรวจสอบดวย 3. ตรวจสอบแปรงถาน 4. ตรวจสอบคอนเดนเซอรวาชํารุดหรือไม 5. ตรวจสอบตัวทุนอารเมเจอรวาชํารุดหรือไมโดยใชกราวเลอร(GROWLER) 6. ตรวจสอบลูกปนและบูช วาลูกปนชํารุด บูชหลวมหรือไม 7. ตรวจสอบฝาขาง ( HOUSING ) และเพลาดวยวาหลวมหรือไม 8. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาท่ีจายใหกับมอเตอรวามีหรือไม มอเตอรไฟฟาเหนีย่วนําสามเฟส เปนมอเตอรท่ีนิยมใชกันท่ัวไป มีขอดี คือ ไมมีแปรงถานทําใหการสูญเสียเนื่องจากความฝดมีคานอย มีตัวประกอบกําลังสูงการบํารุงรักษานอย เร่ิมหมุนไดงายโดยเฉพาะชนิดกรงกระรอก สรางงาย ทนทาน ราคาถูก ไมเสียหายงายและมีประสิทธิภาพสูง มีขอเสียอยูบาง คือ การปรับความเร็วรอบของมอเตอรทําไดยาก เนื่องจากความเร็วรอบจะแปรผันตรงกับภาระ แรงบิดเร่ิมหมุนคอนขางตํ่ากวาแรงบิดเร่ิมหมุนของมอเตอรไฟฟา กระแส ตรงแบบชันต ปจจุบันนีไ้ดมีการพัฒนามอเตอรชนิดนี้ใหมีประสิทธิภาพสูงข้ึนจนเปนท่ียอมรับกันในวงการอุตสาหกรรมท่ัวไป กรมชลประทานมีสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา อยูหลายแหง มีความแตกตางของในแตละภาคของประเทศ ซ่ึงวิศวกรเคร่ืองกลของสํานักเคร่ืองจักรกล จะตองออกแบบขนาดปม ทอสงน้ํา ขนาดมอเตอรไฟฟา ใหเปนไปตามลักษณะใชงานแลวแตพื้นท่ีในสวนมอเตอรไฟฟาท่ีใชงานเทาท่ีพบเห็นในกรมชลประทานจะใชมอเตอรไฟฟาหลายขนาดและใชแรงดันไฟฟาตางๆ กัน เชน 380 โวลต 3300 โวลต 6600 หรือ 6900 โวลต เชน สถานีสูบน้ํานิคมหนองปลิง โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาน้ําอูน จ.สกลนคร ใชแรงดันไฟฟากับมอเตอรเปน 380 โวลต สถานีสูบน้ําแปลงอพยพ โครงการสงน้ําและบํารุงรักษามูลบน จ.นครราชสีมา 3300 โวลต

Page 46: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

46

โครงสรางของมอเตอรเหนีย่วนาํ ประกอบดวยสวนใหญ 2 สวน ดวยกัน คือ 1. สวนท่ีอยูกบัท่ี ( Stator ) สวนท่ีอยูกับของมอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ทํามาจากแผนเหล็กบางๆอัดซอนกันและทําเปนชองสลอตไวบรรจุขดลวด ความเร็วรอบของมอเตอรจะแปรผันตรงตามจํานวนข้ัวแมเหล็ก เม่ือจายไฟฟากระแสสลับใหกับขดลวดสวนท่ีอยูกับท่ี จะทําใหเกิดสนามแมเหล็ก คาคง

ตัวคาหนึ่ง ซ่ึงหมุนดวยความเร็วซิงโครนัส Ns ( โดยท่ี NS = 120 ƒ ) สนามแมเหล็กหมุนจะ

P

เหนีย่วนําแรงเคล่ือนไฟฟาข้ึนในตัวหมุนโดยเปนไปตามกฎของการเหน่ียวนํา 2. ตัวหมุน ( Rotor ) ตัวหมุนของมอเตอรเหนีย่วนํา 3 เฟส แบงออกเปน 2 ชนิด คือ 2.1 ตัวหมุนแบบวาวดหรือเฟสวาวด ( wound rotor phase wound rotor ) เรียกมอเตอรชนิดนีว้ามอเตอรเหนี่ยวนําแบบเฟสวาวดมอเตอร หรือ สลิปริงมอเตอร พบมากในมอเตอรเหนีย่วนํา 3 เฟส การพันขดลวดจะเปนแบบสองช้ันเหมือนกับขดลวดท่ีใชในเคร่ืองกําเนิดไฟฟากระแสสลับ ภายในตัวหมุนจะถูกตอแบบสตาร มีปลายสายออกมา 3 เสน ตอเขากับสลิปริงท่ีติดกับเพลาของตัวหมุน เราสามารถนําความตานทานที่ตอแบบสตารมาตอเขากับสลิปริงท่ีตอมาจากขดลวดในตัวหมุนแบบวาวด เพื่อเพิ่มแรงบิดเร่ิมหมุน เม่ือมอเตอรหมุนเขาสูความเร็วปรกติ สลิปริงจะถูกลัดวงจร ทําใหตัวหมุนทํางานแบบกรงกระรอก 2.2 ตัวหมุนแบบกรงกระรอก ( Squirrel Cage Rotor Motor ) มอเตอรท่ีใชตัวหมุนชนดินี้เรียกวา มอเตอรเหนีย่วนําแบบกรงกระรอก มีประมาณ 90% ของมอเตอรเหนีย่วนํา ท้ังนี้เนื่องจากทําไดงายและทนทาน โดยประกอบดวยแผนเหล็กบางๆ อัดซอนกันเปนรูปทรงกระบอก และถูกทําใหเปนชองสล็อตขนานกันเพื่อบรรจุตัวนําของตัวหมุน ลงในชองสล็อตนั้น ตัวนําท่ีฝงจะเปนแทงทองแดงอะลูมินั่ม หรือ อัลลอย โดยในหนึ่งสล็อตจะบรรจุตัวนําเพยีง 1 แทง เทานั้น ปลายสุดของแทงตัวนําท้ัง 2 ดาน ถูกลัดวงจรเขาดวยกนัโดยการบัดกรี หรือ เช่ือมดวยไฟอยางถาวรจึงไมสามารถท่ีจะนําความตานทานจากภายนอกมาตออนุกรมเขากับวงจรตัวหมุนเพื่อชวยในการเร่ิมหมุนได สล็อตของตัวหมุนจะวางใหมีลักษณะท่ีไมขนานกับเพลา โดยเฉียงเล็กนอย เพื่อชวยใหมอเตอรหมุนไดเร็ว ดวยการลดการฮัมของเสนแรงแมเหล็ก ( magnetic hum ) และชวยในการลดการเกิดการ ล็อกของตัวหมุนอันเนื่องมาจากสนามแมเหล็กตกคางอยูท่ีฟน ( teeth ) ของตัวท่ีอยูกับท่ี กับตัวหมุน สวนตัวหมุนแบบอ่ืนๆ ก็มีลักษณะคลายกนักับตัวหมุนแบบกรงกระรอก โดยประกอบดวยแทงเหล็กทรงกระบอกตัน มอเตอรจะหมุนไดข้ึนอยูกับผลของการเกิดกระแสไหลวนในแทงเหล็กของตัวหมุน

Page 47: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

47

หลักการเกิดสนามแมเหล็กหมุนในมอเตอรเหนี่ยวนํา เม่ือจายกระแสไฟฟาระบบ 3 เฟส ใหกบัชุดขดลวดของมอเตอรเหนี่ยวนํา 3 เฟส ทําใหเกิดสนามแมเหล็กหมุนในมอเตอร โดยจะหมุนตัดกับตัวนําในตัวหมุนทําใหเกิดกระแสไฟฟาเหนีย่วนําในตัวนําท่ีฝงอยูในตัวหมุนและเกดิสนามแตเหล็กในตัวหมุน เพราะท่ีตัวหมุนมีกระแสไฟฟาเหนีย่วนําอยู จะทําใหเกดิสนามแมเหล็กเปนข้ัวเหนือและข้ัวใตเชนเดยีวกับท่ีสวนท่ีอยูกับท่ี สนามแมเหล็กหมุนท่ีสวนท่ีอยูกับท่ีจะเกดิการผลักและดดูกับข้ัวแมเหล็กท่ีเกิดท่ีตัวหมุนทําใหเกิดแรงบิดข้ึนทําใหโรเตอรหมุน

Page 48: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

48

ตารางท่ี 4 ปญหาและการแกไขของมอเตอรสามเฟส

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข มอเตอร ฟวสขาดหรือ ตรวจขนาดฟวสหรือเบรกเกอรอยางนอยตองมีขนาด เบรกเกอรตัด 125 เปอรเซ็นตของกระแสเต็มกําลัง ถาฟวสยังขาด อีกใหตรวจหาการลัดวงจร แรงดันไฟตํ่าหรือไมมี ตรวจสอบอุปกรณควบคุม ตรวจแหลงจายไฟวาโวลต ตองอยูใน 10 เปอรเซ็นตของคาท่ีเนมเพลต ลูกปนตาย ตรวจลูกปนท่ีตาย เปล่ียนใหมและหลอล่ืนลูกปน โหลดไมขยับ ตรวจดวูาโหลดหมุนไดคลองหรือไม ขดลวดสเตเตอรขาดหรือ ตรวจหาการขาด การลัดวงจร หรือร่ัวลงดิน ถาพบ ลัดวงจร ใหพันหรือเปลี่ยนใหม มอเตอรแบบซิงโครนัส เอ็กไซเตอรเสีย ตรวจการจายไฟตรงของเอ็กไซเตอรโดยหมุนโรเตอร ดวยมือ ไมมีไฟกระแสตรง ตรวจแหลงจายไฟตรงวาฟวสขาดหรืออุปกรณควบคุม คุมตัด ตรวจขดลวดของวาริแอก มอเตอรแบบกรงกระรอก แอรแก็ปสกปรก ตรวจและทําความสะอาด ใชกระดาษทรายขัด โรเตอรถาจําเปน แลวเปาส่ิงสกปรกออก มอเตอรแบบโรเตอรพัน ขดลวด วงแหวนล่ืนแตก ถาตรวจพบใหเปล่ียนใหม อุปกรณควบคุมตัด ตรวจขดลวดความตานทาน เปล่ียนใหมถาจําเปน ความเร็วไม โวลตไฟสลับตํ่า ตรวจสอบแหลงจายไฟสลับ ไดตามท่ี โหลดติดขัด ทําใหโหลดเปนอิสระ กําหนด ลูกปนติดขัด ตรวจลูกปน ทําความสะอาด และหลอล่ืนใหม หลอล่ืนไมเพยีงพอ หลอล่ืนตามท่ีผูผลิตแนะนํา ความถ่ีของแหลงจายไฟตํ่า ตรวจสอบความถ่ี

Page 49: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

49

ตารางท่ี 4 ( ตอ ) ปญหาและการแกไขของมอเตอรสามเฟส

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข มอเตอรแบบซิงโคนัส เอ็กไซเตอรจายไฟตํ่า ตรวจวาริแอกของเอ็กไซเตอรวาต้ังคาถูกตองหรือ ลัดวงจรหรือไม ถาเสียใหเปลี่ยนใหม มอเตอรแบบโรเตอรพัน ขดลวด วงแหวนลื่นสกปรก ตรวจและทําความสะอาดตามท่ีจําเปน แปรงถานแตกหรือบ่ิน เปลี่ยนแปรงถานหรือแตงใหพอดีกับวงแหวนลื่น หนาสัมผัสแปรงถานไมสนิท ตรวจสปริงของแปรงถานและปรับหรือเปลี่ยนใหม ต้ังวาริแอกไมถกูตอง ปรับคาต้ังวาริแอกใหมใหไดคาท่ีตองการ เสียงดังเกิน ไมสมดุล บาลานซโรเตอรใหม ไป แกนคด ทําแกนใหตรงและตรวจการบาลานซของมอเตอร ช้ินสวนหลวม ตรวจช้ินสวนและขันกวดใหแนน ต้ังไมไดศูนย ต้ังมอเตอรและอุปกรณขับเคลื่อนใหไดศูนยกัน ลูกปนสึก ( ดูท่ีอาการลูกปนรอนเกินไป ) ลูกปนท่ีแหงหรือสึก ทําใหเกิดเสียงดัง หลอลื่นลูกปนใหสมํ่าเสมอตาม ตองการ หรอืสับเปลี่ยนใหม แอรแกปสกปรก ถอดมอเตอรและทําความสะอาดดวยลมแหง แอรแกปไมสมํ่าเสมอ ตรวจหาแกนคดหรือลูกปนสึก ถาจําเปนใหกลึง แตงเสนผาศูนยกลางของโรเตอรหรือทําการบอร- สเตเตอร ถาแอรแก็ปหางเกินไปจะทําใหมอเตอร รอนจัดจนเกินไป ลูกปนรอน มอเตอรขาดการหลอลื่น หลอลื่นดวยผลติภัณฑชนิดดีตามท่ีผูผลิตแนะนํา เกินไป สารหลอลื่นสกปรก ลางเอาของเกาออกแลวเปลี่ยนดวยของเกรดท่ีดี น้ํามันไมถึงแกนเพลา ถาใชแบบวิค ตรวจวิคและทางผานของวิคถึงแกน ถามอเตอรใชวงแหวนตรวจใหแนใจวาวงแหวนหมุน จาระบีมากเกินไป ถาเปนตลับลูกปน จาระบีท่ีมากเกินไปจะทําให เกิดความรอนจดัได ใหเอาจาระบีสวนท่ีเกินออก

Page 50: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

50

ตารางท่ี 4 ( ตอ ) ปญหาและการแกไขของมอเตอรสามเฟส

อาการ สาเหตุท่ีเปนไปได การแกไข ผิวลูกปนขรุขระและแกนคด เปลี่ยนลูกปนใหมกอนแกนเพลาเสียหาย ( ดูท่ีอาการ เสียงดังเกินไป ) เพลาและลูกปนไมไดศูนย ดูท่ีสาเหตุต้ังไมไดศูนยในอาการเสียงดังเกินไป แรงดันปลายแกนมากเกินไป อาจเกิดจากโรเตอรอยูผิดตําแหนงบนแกนหรือ อุปกรณขับเคลื่อน ตรวจมอเตอรและการใชงาน แรงดึงดานขางมากเกินไป ตรวจการใชงานของมอเตอรกบัอุปกรณขับเคลื่อน มอเตอรรอน ระบบระบายอากาศอุดตัน ใหตรวจสอบเปนระยะๆ เอาฝุนออกและทําความ เกินไป สะอาดทางระบายอากาศ โหลดมากเกินไป ตรวจอุปกรณขับเคลื่อนวาไมติดขัด ตรวจการใช งาน โดยการวดัวัตตและแอมปในสภาพการทํางาน ปกติ โรเตอรหรือ ลูกปนสึก ดูท่ีอาการลูกปนรอนเกินไป สเตเตอรไหม ความช้ืน ช้ินสวนท่ีเปลี่ยนใกหมควรอาบวานิชชนิดพิเศษ กรดหรอืดาง อาบดวยวารนิชชนิดพิเศษ ฝุนอันตรายสะสมตัว ฝุนและสิ่งสกปรกท่ีเปนตัวนําสูงทําใหฉนวนทะลุได โหลดมากเกินไป ดูท่ีอาการมอเตอรรอนเกินไป

Page 51: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

51

การตรวจสอบมอเตอรไฟฟาสามเฟส ( THREE PHASE MOTOR ) การตรวจซอมมอเตอรไฟฟาสามเฟส ควรปฏิบัติดังนี ้ 1. ทดสอบคาความเปนฉนวนขดลวดสเตเตอร โดยใช MEGGER วัดขดลวดแตละชุดโดยทําการวัดคาความเปนฉนวนระหวางขดลวดกับเฟรม และคาวัดคาความเปนฉนวนระหวางขดลวด ตองอานคาไดไมนอนกวา 1 เมกกะโอหม หากมอเตอรเปนแบบ WOUND ROTOR ก็ทําการวัดคาฉนวนของขดลวดโรเตอรกับเฟรม และวัดคาความเปนฉนวนระหวางขดลวดกับขดลวดดวย 2. ตรวจสอบขดลวดท้ัง 3 ชุด วาขาดหรือไมโดยใช MULTI METER ( วัดชุด U กับ X ชุด V กับ Y และ W กบั Z ) 3. ตรวจสอบลูกปนและบูซ วาลูกปนชํารุด บูซหลวมหรือไม 4. ตรวจสอบฝาขาง ( HOUSING ) และเพลาดวยหลวมหรือไม 5. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาท่ีจายใหกับมอเตอรวาครบทุกเฟสหรือมีแรงดันไฟฟาตกหรือไม การบํารุงรักษามอเตอรไฟฟา การบํารุงรักษามอเตอรไฟฟาท้ัง 2 แบบ จะมีลักษณะท่ีคลายคลึงกัน ซ่ึงจะเปนการบํารุงรักษามอเตอรไฟฟาในเชิงปองกัน การบํารุงรักษาในลักษณะนี้จะทําการต้ังระยะช่ัวโมงการทํางานของมอเตอรเพื่อปองกันการเสียหายของขดลวด ลูกปน และแปรงถาน โดยมีวิธีปฏิบัติดังตอไปนี ้ 1. การอัดจารบีทําทุกๆ 1,000 ช่ัวโมง หรือตามระยะเวลที่คูมือกําหนด 2. การเปล่ียนตลับลูกปน ทําทุกๆ 1,000 ช่ัวโมง หรือตามระยะเวลาท่ีคูมือกําหนด 3. ถอดลางทําความสะอาด และอาบวารนชิใหมทําทุกๆ 20,000 ช่ัวโมง 4. การเปล่ียนแปรงถาน ทําทุกๆ 2,000 ช่ัวโมง 5. ตรวจสอบระดับน้ําท่ีใชหลอล่ืนลูกปนอยาใหตํ่ากวาระดับท่ีกําหนด การใชงาน การบํารุงรักษา ระบบควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟา ระบบควบคุมท่ีจะกลาวถึงตอไปนี้ สวนมากใชควบคุมมอเตอร แบงลักษณะการควบคุม เปน 2 แบบ ใหญ ๆ

1. ควบคุมกระแส ขณะเร่ิมสตารท สตารท แบบ Star – Delta สตารท แบบ Start direct on line สตารท แบบควบคุมดวยระบบอิเล็คทรอนิคส ( Soft start )

2. ควบคุมทิศ – ทางการหมุน ( Reverse – Forward )

Page 52: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

52

การใชงาน การบํารุงรักษา ระบบควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟา ชนิด Star – Delta Reverse – Forward และ Direct Online ( แบบ Magnetic Contactor ) การติดต้ังใชงาน และบํารุงรักษา ตองดําเนินการโดยชางท่ีมีความชํานาญงานและมีประสบการณในงานนั้น ๆ เพื่อเกดิประสิทธิภาพและความปลอดภยั ของอุปกรณและผูปฏิบัติงานโดยมีแนวทางในการตรวจสอบ และบํารุงรักษา ดังตอไปนี้ การตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบควบคมุเคร่ืองจักรกลไฟฟา ชนิด star- delta

1. ตรวจสอบแรงดันไฟฟาและระบบปองกันแรงดนัไฟฟาตก-เกิน 2. ปลดระบบไฟฟากําลังออกจากชุดควบคุม 3. ตรวจสอบอุปกรณทุกช้ินภายในระบบ 4. ทดสอบการทํางานของอุปกรณแตละช้ิน 5. ตรวจสอบวิเคราะหหาจดุบกพรอง 6. เปล่ียนอุปกรณช้ินท่ีชํารุดเสียหายพรอมปรับต้ัง 7. ทดสอบการทํางานของระบบควบคุม และระบบปองกัน 8. ติดระบบไฟฟากําลัง ทดสอบใชงานระบบ การบํารุงรักษาควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟา ชนิด star-delta 1. ตรวจสอบสภาพ ทําควาสะอาด สวิตซหนาสัมผัส 2. ตรวจสอบทําความสะอาดเคร่ืองวัดตางๆ 3. ตรวจสอบความแนนของจดุสัมผัสตางๆทางไฟฟา ใหแนน 4. ตรวจสอบความเปนฉนวนไฟฟาของระบบ 5. ตรวจสอบระบบสายดิน เพือ่ปองกันความปลอดภัยใหผูปฏิบัติงาน 6. ตรวจสอบรอยร่ัว ขอบยางตางๆ เพื่อปองกันน้ําซึมเขาระบบ การใชงาน การบํารุงรักษา ระบบควบคุมเคร่ืองจักรกลไฟฟา ชนิด อิเล็กทรอนิกส

เชน PLC , SOFT START การติดต้ังใชงาน และการบํารุงรักษา ตองดําเนินการโดยชางท่ีมีความชํานาญงาน

และมีประสบการณในงานนั้นๆ เพื่อเกิดประสิทธิภาพและความปลอดภัย ของอุปกรณและผูปฏิบัติงานโดยมีแนวทางในการตรวจสอบ และบํารุงรักษา ดังตอไปนี้

การตรวจสอบและบํารุงรักษาระบบควบคมุเคร่ืองจักรกลไฟฟา ชนดิ ควบคุมดวยอิเล็คทรอนิกส

1. ตรวจสอบแรงดันไฟฟา และระบบปองกนัแรงดันไฟฟาตก-เกิน 2. ปลดระบบไฟฟากําลังออกจากชุดควบคุม

Page 53: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

53

3. ตรวจสอบอุปกรณทุกช้ินภายในระบบ 4. ตรวจสอบทดลองการทํางานของระบบระบายความรอน 5. ทดสอบการทํางานของอุปกรณแตละช้ิน 6. ตรวจสอบวิเคราะหหาจุดบกพรอง 7. เปล่ียนอุปกรณช้ินสวนท่ีชํารุดเสียหายพรอมปรับต้ัง 8. ทดสอบการทํางานของระบบควบคุม และระบบปองกนั 9. ติดต้ังระบบไฟฟากําลัง ทดลองใชงานระบบ การบํารุงรักษาระบบควบคมุเคร่ืองจักรกลไฟฟา ชนิด ควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกส 1. ตรวจสอบสภาพทําความสะอาดระบบ 2. ตรวจสอบทําความสะอาดเคร่ืองวัดตางๆ 3. ตรวจสอบความแนนของจดุสัมผัสตางๆทางไฟฟา ใหแนน 4. ตรวจสอบความเปนฉนวนไฟฟาของระบบ 5. ตรวจสอบระบบสายดิน เพือ่ปองกันน้ําซึมเขาระบบ 6. ทดสอบฟงชันการทํางานและระบบปองกนั

Page 54: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

54

ตัวอยาง วงจรสตาทรมอเตอร แบบตางๆ ท่ีใชงาน

ใน กรมชลประทาน

Page 55: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

55

Page 56: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

56

Page 57: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

57

Page 58: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

58

Page 59: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

59

Page 60: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

60

Page 61: การดูแลและบ ํารุงรักษาเคร ื่อง ...kmcenter.rid.go.th/kcome/manual_equipment_ee.pdf · 2009-06-29 · หลอด sl แบบขั้วเกลียว

61

เอกสารอางอิง

การออกแบบและติดต้ังระบบไฟฟา โดย ลือชัย ทองนิล สํานักพิมพ ส.ส.ท. เคร่ืองกลไฟฟากระแสสลับ โดย ดร. ปญญา ยอดโอวาท สํานักพิมพ ส.ส.ท. เอกสารประกอบการบรรยาย เร่ือง มอเตอรไฟฟา นายกิตติ อัตตโนรักษ สํานักเคร่ืองจกัรกล กรมชลประทาน คูมือการใชหมอแปลงไฟฟา โดยบริษัทถิรไทย จํากัด MAN AL BOOK MAXWELL GENERATING SET BY PILLER (THAILAND)CO ;LTD.