ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-book/57.pdfส านวน ส...

28
1

Upload: others

Post on 24-Sep-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

1

Page 2: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

2

ขอบเขตเน้ือหา

สวนที่ 1 วิเคราะหและสรุปเหตุผล อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ 6 เง่ือนไขภาษา 34 อุปมาอุปไมย 52 เง่ือนไขสัญลักษณ 60 แนวขอสอบ เง่ือนไขสัญลักษณ 65 แนวขอสอบ เรื่องอนุกรม 121 แนวขอสอบ เรื่องอุปมาอุปไมย 140 คณิตศาสตรทั่วไป 151

สวนที่ 2 วิชาภาษาไทย การใชคํา 201 การใชคําราชาศัพท 204 การสรุปใจความ 214 สํานวน สุภาษิต คําพังเพย 217 การเขียนสะกดการันต 221 ประโยค 222 ลักษณะภาษา 224 การใชภาษา 239 แนวขอสอบภาษาไทย 249

สวนที่ 3 วิชาภาษาอังกฤษ

ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ ลักษณะของคํานาม Determinier คําสรรพนาม คําคุณศัพท

266 269 274 279 295

สวนที่ 4 วิชาความรูทางคอมพิวเตอร ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ระบบเครือขาย อินเตอรเน็ต (Internet) โปรแกรมประยุกตใชงาน การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร ไวรัสคอมพิวเตอร Microsoft Word Microsoft Excel Microsoft Powerpoint แนวขอสอบ คอมพิวเตอร

300 314 317 319 323 324 325 328 329 331

Page 3: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

3

สวนที่ 5 กฎหมายที่ควรรู

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป สรุปสาระสําคัญกฎหมายแพงและพาณิชย สรุปสาระสําคัญกฎหมายรัฐธรรมนูญ สรุปสาระสําคัญหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ด ีสรุปสาระสําคัญ พรบ.ตํารวจ แนวขอสอบกฎหมาย

340 344 350 360 366 384

สวนที่ 6 จริยธรรม จริยธรรมขาราชการพลเรือน ประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณตํารวจ จริยธรรมขาราชการตํารวจ จรรยาบรรณตํารวจ

388 400 400 405

Page 4: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

4

อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ เลขอนุกรม เปนการเรียงตัวเลข ตามกฎเกณฑโดยอาจจะเรียงเพ่ิมข้ึนหรือลดลง หรือ

สลับกันไปก็ได ในการเรียงลําดับน้ันอาจจะเรียงลําดับแบบธรรมดาหลายช้ัน หรือเชิงซอนก็ได

ในที่น้ีพอจะแยกตามวิธีการ บวก ลบ คูณ หาร ไดดังน้ี วิธีบวก จะมีการเพิ่มขึ้นแบบเทากัน แบบเรียงลําดับ หรือมีการเพิ่มแบบสลับซับซอน หรือ

สลับกันไปกับเรียงลําดับ

ตัวอยางท่ี 1 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 10 15 20 ?

วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

พบวา ผลตางมีคาเพ่ิมข้ึนทีละ 5

น่ันคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพ่ิมข้ึนจากเลขกอนหนาทีละ 5

∴ ตัวเลขถัดไป คือ 20 + 5 = 25

ตัวอยางท่ี 2 จงหาตัวเลขถัดไปของ 2 4 6 8 10 ?

วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

พบวา ผลตางมีคาเพ่ิมข้ึนทีละ 2

น่ันคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพ่ิมข้ึนจากเลขกอนหนาทีละ 2

∴ ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 2 = 12

5 10 15 20 ?

+5 +5 +5 +5

2 4 6 8 10 ?

+2 +2 +2 +2 +2

Page 5: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

5

ตัวอยางท่ี 3 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 4 7 10 ?

วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

พบวา ผลตางมีคาเพ่ิมข้ึนทีละ 3

น่ันคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพ่ิมข้ึนจากเลขกอนหนาทีละ 3

∴ ตัวเลขถัดไป คือ 10 + 3 = 13

ตัวอยางท่ี 4 จงหาตัวเลขถัดไปของ 5 7 9 11 ?

วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

พบวา ผลตางมีคาเพ่ิมข้ึนทีละ 2

น่ันคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพ่ิมข้ึนจากเลขกอนหนาทีละ 2

∴ ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 2 = 13

ตัวอยางท่ี 5 จงหาตัวเลขถัดไปของ 1 2 4 7 11 ?

วิธีคิด พิจารณาผลตางของตัวเลขแตละคู

พบวา ผลตางมีคาเพ่ิมข้ึนสะสมทีละ 1

น่ันคือ ตัวเลขถัดไป มีคาเพ่ิมข้ึนสะสมทีละ 1(เพ่ิมข้ึนเทากับ 5)

∴ ตัวเลขถัดไป คือ 11 + 5 = 16

1 4 7 10 ?

+3 +3 +3 +3

5 7 9 11 ?

+2 +2 +2 +2

1 2 4 7 11 ?

+1 +2 +3 +4 +5

Page 6: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

6

เง่ือนไขสัญลักษณ เง่ือนไขสัญลักษณ เงื่อนไขสัญลักษณ ลักษณะของเงื่อนไขจะประกอบดวยสัญลักษณ

ตัวอักษรและเคร่ืองหมายทางคณิตศาสตร แลววิเคราะหสรุปเหตุผลจากเงื่อนไขที่ใหมา เครื่องหมายทางคณิตศาสตร

= หมายถึง เทากับ ≠ หมายถึง ไมเทากับ > หมายถึง มากกวา < หมายถึง นอยกวา > หมายถึง ไมมากกวา < หมายถึง ไมนอยกวา

≥ หมายถึง มากกวาหรือเทากับ ≤ หมายถึง นอยกวาหรือเทากับ

สรุปคุณสมบัติที่ควรทราบกอนการแกปญหาโจทย

1) กฎการสลับที่ A = B แลว B = A

A > B แลว B < A

2) ถา A = B = C แลว A = C

3) ถา A > B = C แลว A > C

4) ถา A > B < C แลวสรุปไมได

5) ถา A > B แลว A + C > B + C

6) ถา A > B และ C > D แลว A + C > B + D

7) ถา A > B > C แลว A2 > B2 และ CA

1

B

1>>

Page 7: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

7

ขั้นตอนการแกปญหา 1) เปล่ียนเคร่ืองหมาย

> เปน ≥

< เปน ≤

2) หาตัวรวม ที่เหมือนกันของเงื่อนไขที่ใหมา 3) หาความสัมพันธตามขอสรุปที่ใหมา

คําชี้แจง

ตอบขอ 1 ถาขอสรุปทั้งสองถูกตองหรือเปนจริงตามเงื่อนไข

ตอบขอ 2 ถาขอสรุปทั้งสองผิดหรือไมเปนจริงตามเงื่อนไข

ตอบขอ 3 ถาขอสรุปทั้งสองไมสามารถสรุปไดแนชัดวาเปนจริงหรือเปนเท็จ

ตอบขอ 4 ถาขอสรุปทั้งสองแตกตางกัน

ตัวอยางท่ี 1

เงื่อนไขที่ 1 A B C > E

เงื่อนไขที่ 2 F < K S > B P

ขอสรุปที่ 1 A > S

ขอสรุปที่ 2 K ≠E

แนวคิด

1) เปล่ียนเคร่ืองหมาย

A≤ B ≥ C > E

F < K ≥ S > B ≥ P

2) ตัวรวมจาก และ คือ B

จาก ขอสรุปท่ี 1 A > S

หาความสัมพันธ B ->A จาก A≤ B ≥ C > E

∴ A≤ B

หาความสัมพันธ B ->S จาก F < K ≥ S > B ≥ P

∴ S > B

จาก A≤ B และ S > B เขียนใหมเปน A ≤ B < S

∴ A < S

< <

> <

Page 8: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

8

แนวขอสอบ เรื่องอุปมาอุปไมย

ขอ 1 กลองใสดินสอ : ปากกา ? : ?

ก. ดินสอ : ยางลบ ข. สมุด : กระดาษ

ค. กระเปาสตางค : เงิน ง. สมุด : กระเปา

ตอบ ค. กระเปาสตางค : เงิน

แนวคิด กลองใสดินสอใสอุปกรณ ปากกา

เชนเดียวกับกระเปาสตางค ใสเงิน

ขอ 2 หองนอน : เตียง ? : ?

ก. เกาอี้ : โตะ ข. มหาสมุทร : แมนํ้า

ค. แจกัน : โตะ ง. ตู : เส้ือผา

ตอบ ง. ตู : เส้ือผา

แนวคิด เตียง วางไวในหองนอน

เส้ือผา ใสไวในตู

ขอ 3 แจกัน : ดอกไม ? : ?

ก. ตูไปรษณีย : จดหมาย ข. เกสร : ผีเส้ือ

ค. ผูหญิง : เส้ือผา ง. ทิชชู : ไมจิ้มฟน

ตอบ ก. ตูไปรษณีย : จดหมาย

แนวคิด ดอกไมใสไวในแจกัน

เชนเดียวกับ จดหมายใสในตูไปรษณีย

ขอ 4 ขวดนํ้า : แกวนํ้า ? : ?

ก. ดอกไม : เกสร ข. หมอขาว : จาน

ค. เส้ือ : สตรี ง. หมี : สวนสัตว

ตอบ ข. หมอขาว : จาน

แนวคิด แกวนํ้าเปนภาชนะใสนํ้า

เชนเดียวกับจานเปนภาชนะใส

ขอ 5 ถุงเทา : รองเทา ? : ?

Page 9: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

9

ก. ชอนสอม : ตะเกียบ ข. ถวย : ชอน

ค. หลอด : แกวนํ้า ง. ที่คาดผม : แวนตา

ตอบ ก. ชอนสอม : ตะเกียบ

แนวคิด ถุงเทา กับรองเทาใชกับสวมใสเทาทั้งคู

ชอนสอม กับตะเกียบ ใชตักและคีบอาหาร

ขอ 6 เทียนไข : ตะเกียง ? : ?

ก. เส้ือผา : ผูหญิง ข. ไฟฉาย : ลูกเสือ

ค. โรงเรียน : มหาวิทยาลัย ง. ประภาคาร : เรือเดินสมุทร

ตอบ ค. โรงเรียน : มหาวิทยาลัย

แนวคิด เทียนไข และตะเกียง ใหแสงสวาง

โรงเรียนและมหาวิทยาลัยใหความรู

ขอ 7 มนุษย : ลําไส ? : ?

ก. ไมโครโฟน : ขาต้ัง ข. โตะ : เกาอี ้

ค. ตนไม : ลําตน ง. คอมพิวเตอร : เมนบอรด

ตอบ ง. คอมพิวเตอร : เมนบอรด

แนวคิด ลําไสเปนสวนหน่ึงของรางกายมนุษย

เมนบอรดเปนสวนหน่ึงของคอมพิวเตอร

ขอ 8 โรงแรม : นักทองเที่ยว ? : ?

ก. เตียง : หองนอน ข. เตน : ลูกเสือ

ค. หุบเขา : ทะเล ง. บาน : วัด

ตอบ ข. เตน : ลูกเสือ

แนวคิด นักทองเที่ยว พักที่โรงแรม

ลูกเสือพักที่เตน

ขอ 9 ตํารวจ : โจร ? : ?

ก. ผูพิพากษา : ศาล ข. ปปส. : ผูรํ่ารวยผิดปกติ

ค. แมว : สุนัข ง. ครู : นักเรียน

ตอบ ข. ปปส. : ผูรํ่ารวยผิดปกติ

แนวคิด ตํารวจทําหนาที่จับโจรผูราย

Page 10: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

10

ความรูพ้ืนฐานทางดานภาษาอังกฤษ

คํานาม (Noun) คือ คําท่ีเปนชื่อของคน สัตว ส่ิงของ สถานท่ีหรือคุณสมบัติ

ประเภทของคํานาม

คํานามในภาษาอังกฤษมีดังน้ี

1. สามานยนาม (Common Noun)

คือ คํานามท่ีเปนชื่อเรียกคน สัตว ส่ิงของ หรือสถานท่ี ซ่ึงไมใชชื่อเฉพาะ เชน

book, snake, pencil ฯลฯ

2. วิสามานยนาม (Proper Noun)

คือคํานามท่ีเปนชื่อเรียกเฉพาะของคน สัตว ส่ิงของหรือสถานท่ี ซ่ึงจะตองเขียน

ขึ้นตนดวยตัวพิมพใหญเสมอเชน Suchada, Bangkok ฯลฯ

คํานามท่ีเปนชื่อเฉพาะของเมือง ประเทศ หรือทวีปตาง ๆ เม่ือใชเปนคําคุณศัพท

จะหมายถึง “ประชากร / ภาษาของเมือง ประเทศ หรือทวีปน้ัน ๆ โดยการเติมปจจัยตาง ๆ ทาย

คํานาม หรือบางคําก็มีการเปล่ียนแปลงรูป ซ่ึงจะเขียนขึ้นตนดวยตัวพิมพเล็กดังน้ี”

1. เติมปจจัย –n.

Africa → African Asia → Asian Cambodia → Cambodian

Alaska → Alaskan Australia → Australian Indonesia → Indonesian

Algeria → Algerian Bolivia → Bolivian Nigeria → Nigerian

Cuba → Cuban Persia → Persian Venezuela → Venezuelan

India → Indian Russia → Russian Panama → Panaman / Panamanian

2. เติมปจจัย –ian

Brazil → Brazilian Ecuador → Ecuadorian Norway → Norwegian

Belgium → Belgian Egypt → Egyptian Peru → Peruvian

Canada → Canadian Iran → Iranian Ukraine → Ukrainian

3. เติมปจจัย –ish

Britain → British Finland → Finnish Spain → Spanish

Denmark → Danish Ireland → Irish Sweden → Swedish

England → English Scotland → Scottish Turkey → Turkish

Page 11: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

11

4. เติมปจจัย –lese, –nese,–ese

Burma → Burmese Congo → Congolese Lebanon → Lebanese

Ceylon → Ceylonese Japan → Japanese Nepal → Nepalese

China → Chinese Java → Javanese Siam → Siamese

Vietnam → Vietnamese

5. เติมปจจัย –i

Bengal → Bengali Israel → Israeli Punjab → Punjabi

Iraq → Iraqi Pakistan → Pakistani Yemen → Yemeni

6. เติมปจจัย –o

The Philippines → Filipino

7. เติมปจจัย –ic

Iceland → Icelandic

8. เปลี่ยนรูปเปนอยางอื่น

Afgh

anist

an

→ Afghan Germany → German Switzerland → Swiss

Argentina → Argentin Greece → Greek The Netherlands/Holland → Dutch

Denmark → Dane/Danish Thailand → Thai

แตคําท่ีเปนชื่อเฉพาะเหลาน้ีอาจใชในความหมายท่ีไมชี้เฉพาะเจาะจง (สา

มานยคุณศัพท) โดยจะขึ้นตนดวยตัวพิมพเล็ก เชน Rome → roman type (ตัวพิมพธรรมดา) China → chinaware (เคร่ืองเคลือบดินเผา)

Italy → italic type (ตัวพิมพที่เปนตัวเอน) Japan → japan tray (ถาดเคร่ืองเขิน)

Congo → congo snake (งูชนิดหน่ึง) Titan → titanic person (ผูทรงพลัง, คนรางใหญ)

แตมีสามานยคุณศัพทบางคําท่ีเขียนขึ้นตนดวยตัวพิมพใหญ ไดแก

Manila → Manila paper (กระดาษสีนํ้าตาล) India → India / Indian ink (หมึกชนิดหน่ึง)

3. สมุหนาม (Collective Noun)

คือ คํานามท่ีมีความหมายแสดงกลุม หมู หรือพวก สมุหนามบางคําจะตองเลือกใช

คําใหถูกตองเหมาะสมกับความหมายแสดงความเฉพาะเจาะจงวาเปนกลุมของคนหรือสัตวหรือ

ส่ิงของประเภทใด เชน

Page 12: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

12

ระบบเครือขาย

หมายถึง ระบบการส่ือสารขอมูลท่ีประกอบดวยผูสง ผูรับ และตัวกลางในการสง

สําหรับระบบเครือขายพ้ืนฐานจะประกอบดวยผูสงและผูรับอยางละ 1 แตสําหรับระบบเครือขาย

ขอมูลขนาดใหญขึ้นไปจะมีผูรับและผูสงมากขึ้น และระยะทางการส่ือสารขอมูลก็อ าจไกลกันมาก

เชน การส่ือสารขอมูลขามประเทศ หรือขามทวีปเปนตน เครือขายจะมีอยูดวยกันหลายประเภท

ดังน้ี

1. เครือขายระยะไกล (WAN : Wide Area Network) เปนเครือขายท่ีมีขนาด

ใหญท่ีมีขอบเขตกวางไกลครอบคลุมท่ัวประเทศและระหวางประเทศ ซ่ึงเครือขายน้ี อาจ

ประกอบดวยเครือขายยอย เชนLAN หรือ MAN ตอรวมกันเปนเครือขาย โดยปกติมีอัตราการ

สงขอมูลตํ่า และมีความผิดพลาดในการสงขอมูลสูง การสงขอมูลอาจใชอุปกรณพวกโมเด็มมา

ชวย

2. เครือขายระดับเมือง (MAN : Metropolitan Area Network) เปนเครือขาย

ท่ีครอบคลุม ท้ังตัวเมือง เชน การแพรขอมูลภาพดวยระบบเคเบิลทีวี หรือการสงขอมูลดวย

คล่ืนวิทยุ

3. เครือขายทองถ่ิน (LAN : Local Area Network) เปนเครือขายเฉพาะท่ี

ครอบคลุมเขตไมกวางนัก (ไมกี่กิโลเมตร ) เชน เครือขายภายในอาคารหน่ึง ๆ LAN น้ันจะสง

ขอมูลดวยความเร็วสูง (หลาย ๆ Mbps) และอัตราความผิดพลาดของขอมูลตํ่า

อุปกรณคอมพิวเตอรในระบบเครือขาย

1. Modem ยอมาจาก MOdulate/DEModulate คือ อุปกรณท่ีเปล่ียน

สัญญาณดิจิตอลเปนสัญญาณอนาลอก (Modulation) หรือเปล่ียนสัญญาณอนาลอกเปนสัญญาณ

ดิจิตอล (Demodulate)

อัตราการสงขอมูลของ Modem มีหนวยวัดเปน BPS (Bits Per Second)

และมีการสงแบบอนุกรม (Serial Transmission) คือ จะสงขอมูลทีละบิตในหน่ึงเวลา

โมเด็มแบงออกเปน 3 ประเภท คือ

1) Acoustic Coupler Modem เปนโมเด็มท่ีใชรวมกับเคร่ืองรับ

โทรศัพท โดยใชหูโทรศัพทวางบนโมเด็ม มีขอดี คือ สามารถตอกับเคร่ืองรับโทรศัพทไดทุก

เคร่ือง

2) Direct Connect Modem เปนโมเด็มท่ีสามารถเคล่ือนยายไปใช

กับคอมพิวเตอร เคร่ืองอ่ืน ๆ ได โดยตองต อสายโดยตรงเขากับสายโทรศัพท โมเด็มประเภทน้ี

อาจติดต้ังอยูภายในเคร่ืองคอมพิวเตอรเลยก็ได ซ่ึงเรียกวา Internal Modem

3) Smart Modem เปนโมเด็มท่ีใชกันอยูในปจจุบัน เปนโมเด็มแบบ

Direct Connect Modem แตมีตัวไมโครโพรเซสเซอรติดอยูดวย ทําใหมีความสามารถพิเศษ

Page 13: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

13

ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word)

โปรแกรม Microsoft Word เปนโปรแกรมสําเร็จรูปท่ีเหมาะกับ งานเอกสาร สามารถแกไข

ลบตัวอักษร จัดรูปแบบตัวอักษรไดงายกวามาก ดังน้ัน ในปจจุบัน โปรแกรม Microsoft Word จึง

เปนโปรแกรมท่ีแทนเคร่ืองพิมพดีดในปจจุบัน

การเขาสูโปรแกรม Microsoft Word

คลิกเลือก Start -> Programs -> Microsoft Word หรือคลิกท่ี icon ของ Microsoft Word

หนาจอของ Microsoft Word

Title Bar Menu Bar

Standard ToolBar

Ruler Line

Status Bar

Page 14: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

14

Title bar แสดงชื่อโปรแกรมและชื่อเอกสารท่ีเปดอยู

Menu bar หัวขอเมนูการใชงาน

Toolbars เปนแถบเคร่ืองมือท่ีมีรูปภาพเล็ก ๆ เปนตัวแทนของคําส่ังตาง ๆ

ประโยชนเพ่ือทําใหใชคําส่ังไดสะดวกขึ้น

- Standard Toolbar เปนคําส่ังท่ีถูกใชงานบอย ๆ

- Formatting Toolbar เปนคําส่ังเกี่ยวกับการจัดรูปแบบตาง ๆ เชน

รูปแบบอักษร, ตําแหนงขอความ

- Drawing Toolbar เปนคําส่ังท่ีเกี่ยวกับการแทรกรูปภาพ ตาง ๆ เชน

รูปวงกลม, รูปส่ีเหล่ียม, รูปภาพจากไฟล

- Status bar แสดงขอมูลของเอกสารท่ีกําลังทํางาน

การสรางเอกสารใหม

เลือก

คลิกที่นี ่

Page 15: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

15

แนวขอสอบ 1. คอมพิวเตอรกระเปาหิ้ว แบบพกกาได (Portable Computer) เปนคอมพิวเตอรขนาดใด

ก. Mainframe Computer ข. Supercomputer

ค. Microcomputer ง. Minicomputer

ตอบ ค. Microcomputer

Microcomputer หรือคอมพิวเตอรแบบต้ังโตะ เปนคอมพิวเตอรขนาดเล็ก ซ่ึงแบงออกได

เปน 2 ประเภท คือ

1. Personal Computers (PCs) เปนคอมพิวเตอรต้ังโตะท่ีเคล่ือนยายไดสะดวก เหมาะกับ

การใชในสํานักงานหรือใชงานคนเดียว เชน Notebook Computer, Pocketbook Computer, Portable

Computer เปนตน

2. Workstations เปนคอมพิวเตอรต้ังโตะท่ีมีประสิทธิภาพสูง และราคาแพง สวนมากจะ

นํามาใชในงานท่ีมีความยุงยากซับซอน เชน งานวิศวกรรมศาสตร วิทยาศาสตร เปนตน

2.คอมพิวเตอรขนาดใดตอไปน้ีท่ีเหมาะสําหรับงานคาดคะเนอากาศ งานสํารวจอวกาศ งาน

ทางดานวิจัยท่ีตองการความเร็วสูงมาก

ก. Mainframe Computer ข. Supercomputer

ค. Microcomputer ง. Minicomputer

ตอบ ข. Supercomputer

Supercomputer เปนคอมพิวเตอรขนาดใหญท่ีสามารถจุขอมูลไดเปนจํานวนมากและ มี

ความเร็วในการประมวลผลสูงมาก ซ่ึงเหมาะสําหรับงานออกแบบขนาดใหญและซับซอนโดยเฉพาะ

งานวิจัยทางวิทยาศาสตร เชน การพยากรณอากาศ การสํารวจอวกาศ เปนตน

3. สวนใดตอไปน้ีในระบบคอมพิวเตอรท่ีเปรียบเสมือนสมองของเคร่ืองคอมพิวเตอร มีความ

สามารถในการจดจําขอมูล และสามารถคํานวณและเปรียบเทียบได

ก. Input Unit ข. Output Unit

ค. Processor ง. Secondary Storage

ตอบ ค. Processor

ตัวประมวลผล (The Processor) หรืออาจเรียกอีกอยางหน่ึงวา หนวยประมวลผลกลาง หรือ

ซีพียู (CPU) หมายถึง สมองของระบบคอมพิวเตอร ซ่ึงมีหนาท่ีควบคุมและจัดการขอมูล (Data)

ท่ีปอนเขามาใหเปนสารสนเทศ (Information)

Page 16: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

16

สรุปสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550

บทท่ัวไป

ประเทศไทยเปนราชอาณาจักรอันหน่ึงอันเดียว จะแบงแยกมิได

ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลยอมไดรับความ

คุมครอง

ประชาชนชาวไทยไมวาเหลากําเนิด เพศ หรือศาสนาใด ยอมอยูในความคุมครองแหง

รัฐธรรมนูญน้ีเสมอกัน

รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมายกฎหรือ

ขอบังคับ ขัดหรือแยงตอรัฐธรรมนูญน้ี บทบัญญัติน้ันเปนอันใชบังคับมิได

พระมหากษัตริย องคพระมหากษัตริยทรงดํารงอยูในฐานะอันเปนท่ีเคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได

ผูใดจะกลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใด ๆ มิได

พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ และทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก

พระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงจอมทัพไทย

พระมหากษัตริยทรงเลือกและทรงแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนประธานองคมนตรีคน

หนึ่งและองคมนตรีอื่นอีกไมเกินสิบแปดคน ประกอบเปนคณะองคมนตรีคณะองคมนตรีมี

หนาท่ีถวายความเห็นตอพระมหากษัตริยในพระราชกรณียกิจท้ังปวงท่ีพระมหากษัตริยทรง

ปรึกษา และมีหนาท่ีอ่ืนตามท่ีบัญญัติในรัฐธรรมนูญน้ี

สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย

บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของ ตนไดเทาท่ีไม

ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอ่ืน ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญ หรือไมขัดตอศีลธรรมอันดี

ของประชาชน

บุคคลซ่ึงถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพท่ีรัฐธรรมนูญน้ีรับรองไว สามารถยกบทบัญญัติ

แหงรัฐธรรมนูญน้ีเพ่ือใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอตอสูคดีในศาลได

ความเสมอภาค

บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียมกัน

ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน

Page 17: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

17

การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเร่ืองถิ่น

กําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ

ทาง เศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอัน

ไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได

สิทธิและเสรีภาพสวนบุคคล

บุคคลยอมมีสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและรางกาย

การทรมาน ทารุณกรรม หรือการลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม จะ

กระทํามิได แตการลงโทษตามคําพิพากษาของศาลหรือตามท่ีกฎหมายบัญญัติไมถือวาเปนการ

ลงโทษดวยวิธีการโหดรายหรือไรมนุษยธรรม

บุคคลยอมมีเสรีภาพในเคหสถาน

การเขาไปในเคหสถานโดยปราศจากความยินยอมของผูครอบครอง หรือการตรวจคน

เคหสถานหรือในท่ีรโหฐาน จะกระทํามิได เวนแตมีคําส่ังหรือหมายของศาลหรือมีเหตุอยางอ่ืน

ตามท่ีกฎหมายบัญญัติ

สิทธิพิทักษรัฐธรรมนูญ

บุคคลจะใชสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเพ่ือลมลางการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญน้ี หรือเพ่ือใหไดมาซ่ึงอํานาจใน

การปกครองประเทศโดยวิธีการซ่ึงมิไดเปนไปตามวิถีทางท่ีบัญญัติไวในรัฐธรรมนูญน้ี มิได

หนาท่ีของชนชาวไทย

บุคคลมีหนาท่ีพิทักษรักษาไวซ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย และการปกครองระบอบ

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขตามรัฐธรรมนูญน้ี

บุคคลมีหนาท่ีปองกันประเทศ รักษาผลประโยชนของชาติ และปฏิบัติตามกฎหมาย

บุคคลมีหนาท่ีไปใชสิทธิเลือกต้ัง

แนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน

รัฐตองดําเนินการตามแนวนโยบายดานการบริหารราชการแผนดิน ดังตอไปน้ี

(1) บริหารราชการแผนดินใหเปนไปเพ่ือการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และ

ความม่ันคงของประเทศอยางยั่งยืน โดยตองสงเสริมการดําเนินการตามปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียงและคํานึงถึงผลประโยชนของประเทศชาติในภาพรวมเปนสําคัญ

Page 18: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

18

สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกา

วาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีด ีพ.ศ. 2546

การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี การบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี ไดแกการบริหารราชการเพ่ือบรรลุเปาหมายดังตอไปน้ี

(1) เกิดประโยชนสุขของประชาชน

(2) เกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ

(3) มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ

(4) ไมมีขั้นตอนการปฏิบัติงานเกินความจําเปน

(5) มีการปรับปรุงภารกิจของสวนราชการใหทันตอสถานการณ

(6) ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวกและไดรับการตอบสนองความตองการ

(7) มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการอยางสมํ่าเสมอ

การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน

การบริหารราชการเพ่ือประโยชนสุขของประชาชน หมายถึง การปฏิบัติราชการท่ี

มีเปาหมายเพ่ือใหเกิดความผาสุกและความเปนอยูท่ีดีของประชาชน ความสงบและปลอดภัยของ

สังคมสวนรวม ตลอดจนประโยชนสูงสุดของประเทศ

ในการบริหารราชการเพ่ือประโยชนสุขของประชาชน สวนราชการจะตองดําเนินการ

โดยถือวาประชาชนเปนศูนยกลางท่ีจะไดรับการบริการจากรัฐ และจะตองมีแนวทางการบริหาร

ราชการดังตอไปน้ี

(1) การกําหนดภารกิจของรัฐและสวนราชการตองเปนไปเพ่ือวัตถุประสงคและ สอดคลอง

กับแนวนโยบายแหงรัฐและนโยบายของคณะรัฐมนตรีที่แถลงตอรัฐสภา

(2) การปฏิบัติภารกิจของสวนราชการตองเปนไปโดยซ่ือสัตยสุจริต สามารถตรวจสอบ

ไดและมุงใหเกิดประโยชนสุขแกประชาชนท้ังในระดับประเทศและทองถิ่น

(3) กอนเริ่มดําเนินการ ตองวิเคราะหผลดีและผลเสียใหครบถวนทุกดาน กําหนด

ขั้นตอนการดําเนินการที่โปรงใส มีกลไกตรวจสอบ

(4) รับฟงความคิดเห็นและความพึงพอใจ ของสังคมโดยรวมและประชาชนผูรับบริการ

เพ่ือปรับปรุงหรือเสนอแนะตอผูบังคับบัญชา

(5) ในกรณีท่ีเกิดปญหาและอุปสรรคจากการดําเนินการ ใหรีบแกไขปญหาและอุปสรรคน้ัน

โดยเร็ว

Page 19: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

19

การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน

ในการปฏิบัติราชการท่ีเกี่ยวของกับการบริการประชาชนหรือติดตอประสานงาน

ระหวางสวนราชการดวยกัน ใหสวนราชการกําหนดระยะเวลาแลวเสร็จของงานแตละงานและ

ประกาศใหประชาชนและขาราชการทราบเปนการท่ัวไป

เม่ือสวนราชการใดไดรับการติดตอสอบถามเปนหนังสือจากประชาชน หรือจากสวน

ราชการดวยกันเกี่ยวกับงานท่ีอยูในอํานาจหนาท่ีของสวนราชการน้ันใหเปนหนาท่ีของสวน

ราชการน้ันท่ีจะตองตอบคําถามหรือแจงการดําเนินการใหทราบ ภายในสิบหาวันหรือภายใน

กําหนดเวลาที่กําหนดไว

ใหสวนราชการจัดใหมีระบบเครือขายสารสนเทศของสวนราชการเพ่ืออํานวยความ

สะดวกใหแกประชาชนท่ีจะสามารถติดตอสอบถามหรือขอขอมูลหรือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ

การปฏิ บัติราชการของสวนราชการ และตองจัดทําในระบบเดียวกับท่ี กระทรวงเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารจัดใหมีขึ้น

เพ่ืออํานวยความสะดวกและความรวดเร็ว แกประชาชนในการติดตอกับสวน

ราชการทุกแหง ใหกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร จัดใหมีระบบเครือขาย

สารสนเทศกลาง ขึ้น ในกรณีท่ีสวนราชการใดไมอาจจัดใหมีระบบเครือขายสารสนเทศของสวน

ราชการไดอาจรองขอใหกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารดําเนินการจัดทําระบบ

เครือขายสารสนเทศของสวนราชการดังกลาวก็ไดในการน้ีกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการ

ส่ือสารจะขอใหสวนราชการใหความชวยเหลือดานบุคลากร คาใชจาย และขอมูลในการดําเนินการ

ก็ได

การประเมินผลการปฏิบัติราชการ

นอกจากการจัดใหมีการประเมินผลแลว ใหสวนราชการจัดใหมี คณะผูประเมินอิสระ

ดําเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชของสวนราชการเกี่ยวกับ ผลสัมฤทธิ์ของภารกิจ คุณภาพ

การใหบริการ ความพึงพอใจของประชาชนผูรับบริการ ความคุมคาในภารกิจ ท้ังน้ีตาม

หลักเกณฑวิธีการ และระยะเวลาท่ี ก.พ.ร.กําหนด

สวนราชการอาจจัดใหมีการประเมินภาพรวมของผูบังคับบัญชาแตละระดับหรือ

หนวยงานในสวนราชการก็ได ท้ังน้ี การประเมินดังกลาว ตองกระทําเปนความลับและเปนไป

เพ่ือประโยชนแหงความสามัคคีของขาราชการ

ในการประเมินผลการปฏิบัติงานของขาราชการเพ่ือประโยชนในการบริหารงานบุคคล

ใหสวนราชการประเมินโดยคํานึงถึงผลการปฏิบัติงานเฉพาะตัวของขาราชการผูน้ันใน

Page 20: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

20

สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติตํารวจแหงชาติ พ.ศ.2547

และแกไขเพ่ิมเติม

พระราชบัญญัติน้ีมีผลบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา

“ขาราชการตํารวจ ” หมายความวา บุคคลซ่ึงไดรับการบรรจุและแตงต้ังตาม

พระราชบัญญัติน้ีโดยไดรับเงินเดือน จากเงินงบประมาณหมวดเงินเดือนในสํานักงานตํารวจ

แหงชาติ และใหหมายความรวมถึงขาราชการในสํานักงานตํารวจแหงชาติซ่ึงสํานักงานตํารวจ

แหงชาติแตงต้ังหรือส่ังใหปฏิบัติหนาท่ีราชการตํารวจโดยไดรับเงินเดือน จากสวนราชการ

รัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอ่ืนของรัฐดวย

“ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ

“กรรมการ” หมายความวา กรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ

“กองทุน” หมายความวา กองทุนเพ่ือการสืบสวนและสอบสวนคดีอาญา

“กองบัญชาการ ” หมายความรวมถึง สวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนท่ีมีฐานะเทียบ

กองบัญชาการดวย

“กองบังคับการ” หมายความรวมถึง สวนราชการท่ีเรียกชื่ออยางอ่ื นท่ีมีฐานะเทียบกอง

บังคับการดวย

นายกรัฐมนตรีรักษาการตามพระราชบัญญัติน้ี

กฎกระทรวงน้ัน เม่ือประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได

คณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติ

คณะกรรมการนโยบายตํารวจแหงชาติคณะหน่ึง เรียกโดยยอวา “ก.ต.ช.” มีอํานาจ

หนาท่ีในการกําหนดนโยบายการบริหารราชการตํารวจ และกํากับดูแลสํานักงานตํารวจแหงชาติ

ใหปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบแบบแผน มติคณะรัฐมนตรี และกฎหมาย

ก.ต.ช. ประกอบดวย

(1) นายกรัฐมนตรีเปนประธานกรรมการ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลัดกระทรวงยุติธรรม เลขาธิการสภา

ความม่ันคงแหงชาติและผูบัญชาการตํารวจแหงชาติเปนกรรมการโดยตําแหนง

(2) กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสี่คน ซ่ึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงต้ัง

จากบุคคลซ่ึงไดรับการสรรหาโดยกรรมการ

ก.ต.ช. มีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้

Page 21: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

21

ยศตํารวจและชั้นขาราชการตํารวจ

ยศตํารวจมีตามลําดับดังตอไปน้ี

พลตํารวจเอก

พลตํารวจโท

พลตํารวจตรี

พันตํารวจเอก

พันตํารวจโท

พันตํารวจตรี

รอยตํารวจเอก

รอยตํารวจโท

รอยตํารวจตรี

ดาบตํารวจ

จาสิบตํารวจ

สิบตํารวจเอก

สิบตํารวจโท

สิบตํารวจตรี

วาท่ียศใดใหถือเสมือนมียศน้ัน ถาผูซ่ึงมียศตํารวจเปนหญิง ใหเติมคําวา “หญิง”

ทายยศตํารวจน้ันดวย

ชั้นขาราชการตํารวจมีดังตอไปนี้

(1) ชั้นสัญญาบัตร ไดแก ผูมียศต้ังแตรอยตํารวจตรีขึ้นไป

(2) ชั้นประทวน ไดแก ผูมียศสิบตํารวจตรี สิบตํารวจโท สิบตํารวจเอก จาสิบ

ตํารวจ และดาบตํารวจ

(3) ชั้นพลตํารวจ ไดแก พลตํารวจสํารอง

พลตํารวจสํารอง คือ ผูท่ีไดรับการบรรจุเปนขาราชการตํารวจ โดยไดรับการ

คัดเลือกหรือสอบแขงขันเขารับการศึกษาอบรมในสถานศึกษาของสํานักงานตํารวจแหงชาติ

คณะกรรมการขาราชการตํารวจ

คณะกรรมการขาราชการตํารวจคณะหน่ึง เรียกโดยยอวา “ก.ตร.” ประกอบดวย

Page 22: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

22

ระเบียบขาราชการตํารวจ

ตําแหนงและการกําหนดตําแหนง

ตําแหนงขาราชการตํารวจมีดังตอไปน้ี

(1) ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ

(2) จเรตํารวจแหงชาติ และรองผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ

(3) ผูชวยผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ

(4) ผูบัญชาการ

(5) รองผูบัญชาการ

(6) ผูบังคับการ และพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญพิเศษ

(7) รองผูบังคับการ และพนักงานสอบสวนผูเชี่ยวชาญ

(8) ผูกํากับการ และพนักงานสอบสวนผูทรงคุณวุฒิ

(9) รองผูกํากับการ และพนักงานสอบสวนผูชํานาญการพิเศษ

(10) สารวัตร และพนักงานสอบสวนผูชํานาญการ

(11) รองสารวัตร และพนักงานสอบสวน

(12) ผูบังคับหมู

(13) รองผูบังคับหมู

ก.ตร. จะกําหนดใหมีตําแหนงท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืน โดยจะใหมีชื่อตําแหนงใดเทียบกับ

ตําแหนงก็ได โดยใหกําหนดไวในกฎ ก .ตร. และการกําหนดตําแ หนงท่ีเรียกชื่ออยางอ่ืนใหมี

เฉพาะท่ีจําเปนเพ่ือประโยชนในการบริหารงานของสํานักงานตํารวจ แหงชาติ ใหเกิด

ประสิทธิภาพและประหยัด และเม่ือหมดความจําเปนตามท่ีกําหนดไวในกฎ ก .ตร. แลว ใหยุบ

ตําแหนงน้ัน

โทษทางวินัยมี 7 สถาน ดังตอไปนี ้

(1) ภาคทัณฑ

(2) ทัณฑกรรม

(3) กักยาม

(4) กักขัง

(5) ตัดเงินเดือน

(6) ปลดออก

(7) ไลออก

การลงโทษภาคทัณฑ ไดแก การลงโทษแกผูกระทําผิดอันควรตองรับโทษสถานหน่ึง

สถานใด แตมีเหตุอันควรปรานีจึงเพียงแคแสดงความผิดผูน้ันใหปรากฏไว

Page 23: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

23

จริยธรรม

จริยธรรมขาราชการพลเรือน

โดยท่ีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 กําหนดให

มาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการ หรือเจาหนาท่ีของรัฐแตละ

ประเภทใหเปนไปตามประมวลจริยธรรมท่ีกําหนดขึ้น โดยจะตองมีกลไกและระบบในการ

ดําเนินงาน เพ่ือใหการบังคับใชเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ รวมท้ังกําหนดขั้นตอนการลงโทษตาม

ความรายแรงแหงการกระทํา การฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรม ใหถือวาเปน

การกระทําผิดทางวินัย

ก.พ.ในฐานะองคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการพลเรือนไดพิจารณาโดยถี่ถวน

แลวเห็นวา ตําแหนงขาราชการพลเรือนทุกตําแหนงมีหนาท่ีท่ีตองปฏิบัติเพ่ือใหราชการแผนดินใน

สวนท่ีตนรับผิดชอบเกิดประโยชนสูงสุดแกสังคม ดังน้ัน การใชอํานาจเพ่ือใหหนาท่ีท่ีตนรับผิดชอบ

ลุลวงขาราชการพลเรือนท้ังปวงจึงตองมีคุณธรรม ซ่ึงเปนการอันพึงทํา เพราะนําประโยชนใหเกิด

แกสวนรวมและตนเอง และศีลธรรมซ่ึงเปนการอันพึงเวน เพราะเปนโทษแกสวนรวมและตนเอง

ประกอบกันขึ้นเปนจริยธรรมขาราชการพลเรือนอันเปนความประพฤติท่ีดีงาม สมกับความเปน

ขาราชการ

อน่ึง มาตรา 280 ใหผูตรวจการแผนดินมีอํานาจหนาท่ีเสนอแนะหรือใหคําแนะนําในการ

จัดทําหรือปรับปรุงประมวลจริยธรรมตามมาตรา 279 และสงเสริมใหผูดํารงตําแหนงทางการเมือง

ขาราชการและเจาหนาท่ีของรัฐ มีจิตสํานึกในดานจริยธรรม รวมท้ังมีหนาท่ีรายงานการกระทําท่ีมี

การฝาฝนประมวลจริยธรรมเพ่ือใหผูท่ีรับผิดชอบในการบังคับการใหเปนไปตามประมวลจริยธรรม

ดําเนินการบังคับใหเปนไปตามประมวลจริยธรรมตามมาตรา 279

ดังน้ัน บุคคลผูดํารงตําแหนงขาราชการพลเรือนทุกตําแหนงจึงมีหนาท่ีดําเนินการให

เปนไปตามกฎหมายเพ่ือรักษาประโยชนสวนรวมและประเทศชาติ มีความเปนกลางทางการเมือง

อํานวยความสะดวก และใหบริการแกประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล โดยจะตองยึดม่ันในคานิยม

หลักของมาตรฐานจริยธรรมสําหรับผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและเจาหนาท่ีของรัฐ 9 ประการ

ของสํานักงานผูตรวจการแผนดิน ดังน้ี

(1) การยึดม่ันในคุณธรรมและจริยธรรม

(2) การมีจิตสํานึกท่ีดี ซ่ือสัตย สุจริต และรับผิดชอบ

(3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตนและไมมีผลประโยชน

ทับซอน

(4) การยืนหยัดทําในส่ิงท่ีถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย

(5) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไมเลือกปฏิบัติ

Page 24: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

24

จริยธรรมของขาราชการตํารวจ

คุณธรรม คานิยมหลัก และอุดมคติของตํารวจ ขาราชการตํารวจตองยึดถือคุณธรรมส่ีประการตามพระบรมราโชวาทเปนเคร่ืองเหน่ียวร้ัง

ในการประพฤติตนและปฏิบัติหนาท่ี ดังน้ี

(1) การรักษาความสัจ ความจริงใจตอตัวเองท่ีจะประพฤติปฏิบัติแตส่ิงท่ีเปน

ประโยชน และเปนธรรม

(2) การรูจักขมใจตนเอง ฝกตนเองใหประพฤติปฏิบัติอยูในความสัจ ความดีเทาน้ัน

(3) การอดทน อดกล้ัน และอดออม ท่ีจะไมประพฤติลวงความสัจสุจริต ไมวาดวย

เหตุประการใด

(4) การรูจักละวา งความชั่ว ความทุจริต และรูจักสละประโยชนสวนนอยของตน

เพ่ือประโยชนสวนใหญของบานเมือง

ขาราชการตํารวจตองปฏิบัติตามคานิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรมสําหรับ

เจาหนาที่ของรัฐ ตามที่ผูตรวจการแผนดินกําหนด ดังนี้

(1) การยึดม่ันในคุณธรรมและจริยธรรม

(2) การมีจิตสํานึกท่ีดี ซ่ือสัตย สุจริต และรับผิดชอบ

(3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตน และไมมี

ผลประโยชนทับซอน

(4) การยืนหยัดทําในส่ิงท่ีถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย

(5) การใหบริการแกประชาชนดวยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไมเลือกปฏิบัติ

(6) การใหขอมูลขาวสารแกประชาชนอยางครบถวน ถูกตอง และไมบิดเบือน

ขอเท็จจริง

(7) การมุงผลสัมฤทธ์ิของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปรงใส และตรวจสอบได

(8) การยึดม่ันในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

(9) การยึดม่ันในหลักจรรยาวชิาชีพขององคการ

ขาราชการตํารวจตองยึดถืออุดมคติของตํารวจ 9 ประการ เปนแนวทางชี้นําการ

ประพฤติตนและปฏิบัติหนาที่เพ่ือบรรลุถึงปณิธานของการเปนผูพิทักษสันติราษฎร ดังนี้

(1) เคารพเอ้ือเฟอตอหนาท่ี

(2) กรุณาปราณีตอประชาชน

(3) อดทนตอความเจ็บใจ

(4) ไมหวั่นไหวตอความยากลําบาก

Page 25: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

25

(5) ไมมักมากในลาภผล

(6) มุงบําเพ็ญตนใหเปนประโยชนแกประชาชน

(7) ดํารงตนในยุติธรรม

(8) กระทําการดวยปญญา

(9) รักษาความไมประมาทเสมอชีวิต

จริยธรรมของตํารวจ ขาราชการตํารวจตองเคารพ ศรัทธา และยึดม่ันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี

พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ซ่ึงตองประพฤติปฏิบัติ ดังน้ี

(1) จงรักภักดีและเทิดทูนพระมหากษัตริย พระราชินี และพระรัชทายาท และไม

ยอมใหผูใดลวงละเมิด

(2) สนับสนุนการเมืองประชาธิปไตยดวยศรัทธา มีความเปนกลางทางการเมืองไม

เปนผูบริหารหรือกรรมการพรรคการเมือง และไมกระทําการใด ๆ อันเปนคุณหรือเปนโทษแกพรรค

การเมือง หรือผูสมัครรับเลือกต้ังท้ังในระดับชาติและทองถิ่น

ขาราชการตํารวจตองเคารพสิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ

และตามกฎหมายอ่ืนโดยเครงครัด โดยไมเลือกปฏิบัติ

ขาราชการตํารวจตองปฏิบัติหนาท่ีอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและเกิดประโยชนสูงสุด

โดยคํานึงถึงประโยชนของทางราชการ ประชาชน ชุมชน และประเทศชาติ เปนสําคัญ ซ่ึงตอง

ประพฤติปฏิบัติ ดังน้ี

(1) ปฏิบัติหนาท่ีดวยความรวดเร็ว กระตือรือรน รอบคอบ โ ปรงใส ตรวจสอบได

และเปนธรรม

(2) ปฏิบัติหนาท่ีดวยความวิริยะอุตสาหะ ขยันหม่ันเพียร เสียสละ ใชปฏิภาณไหว

พริบ กลาหาญและอดทน

(3) ปฏิบัติหนาท่ีดวยความรับผิดชอบ ความเต็มใจ ไมละท้ิงหนาท่ี ไมหลีกเล่ียง

หรือปดความรับผิดชอบ

(4) ดูแลรักษาและใชทรัพยสินของทางราชการอยางประหยัดคุมคา โดยระมัดระวัง

มิใหเสียหายหรือส้ินเปลืองเยี่ยงวิญูชนจะพึงปฏิบัติตอทรัพยสินของตนเอง

(5) รักษาความลับของทางราชการ และความลับท่ีไดมาจากการปฏิบัติหนาท่ี หรือ

จากประชาชนผูมาติดตอราชการ เวนแตเปนการเปดเผยเพ่ือประโยชนในกระบวนการยุติธรรม หรือ

การตรวจสอบตามท่ีกฎหมาย กฎ ขอบังคับ กําหนด

Page 26: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

26

จรรยาบรรณของตํารวจ

ขาราชการตํารวจจะตองสํานึกในการใหบริการประชาชนดานอํานวยความยุติธรรม และ

ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน ใหสอดคลองกับรัฐธรรมนูญและสิทธิมนุษยชน เพ่ือให

ประชาชนมีความเล่ือมใส เชื่อม่ันและศรัทธา ซ่ึงตองประพฤติปฏิบัติ ดังน้ี

(1) อํานวยความสะดวกแกประชาชนในการองทุกข กลาวโทษ ขออนุญาต ขอ

ขอมูลขาวสาร หรือติดตอราชการอ่ืน ดวยความเต็มใจ เปนมิตร ไมเลือกปฏิบัติ และรวดเร็ว เพ่ือ

ไมใหประชาชนเสียสิทธิหรือเสรีภาพตามกฎหมาย

(2) สุภาพ ออนนอม และใหเกียรติประชาชนเพ่ือใหเกิดความนาเคารพยําเกรง ไม

ใชถอยคํา กริยา หรือทาทาง ท่ีมีลักษณะหยาบคาย ดูหม่ิน หรือเหยียดหยามประชาชน

(3) ขณะท่ีอยูในเคร่ืองแบบหรือนอกเคร่ืองแบบ ตองดํารงตนใหอยูในสภาพท่ี

พรอมและเหมาะสมแกการปฏิบัติหนาท่ีดวยความนาเชื่อถือและนาไววางใจ

(4) พกพาอาวุธตามระเบียบแบบแผน ไมจับหรือถืออาวุธ หรือเล็งอาวุธไปยัง

บุคคลโดยปราศจากเหตุอันสมควร

(5) พกพาเอกสารหรือตราประจําตัว และแสดงเอกสารหรือตราประจําตัวเม่ือมี

บุคคลรองขอ

เมื่อเขาจับกุมหรือระงับการกระทําผิด ขาราชการตํารวจตองยึดถือและปฏิบัติตาม

รัฐธรรมนูญและกฎหมายอยางเครงครัด ซ่ึงตองประพฤติปฏิบัติดังนี้

(1) แสดงถึงการอุทิศตนและจิตใจใหแกการปฏิบัติหนาท่ีอยางกลาหาญและมี

สติปญญา

(2) ยืนหยัดเจตนารมณในการรั กษากฎหมายใหถึงท่ีสุด ไมประนีประนอม ผอน

ปรน หรือละเลยการดําเนินการตามกฎหมายตอผูกระทําความผิด ท้ังน้ีใหระลึกเสมอวาการใช

กฎหมายจะตองคํานึงถึงหลักมนุษยธรรมดวย

(3) ไมใชมาตรการรุนแรง เวนแตการใชมาตรการปกติแลว ไมเพียงพอท่ีจะหยุดยั้ง

ผูกระทําความผิดหรือผูตองสงสัยได

ขาราชการตํารวจตองตระหนักวา การใชอาวุธ กําลัง หรือความรุนแรง เปนมาตรการท่ี

รุนแรงท่ีสุด ขาราชการตํารวจอาจใชอาวุธ กําลัง หรือความรุนแรง ไดตอเม่ือมีความจําเปนภายใต

กรอบของกฎหมายและระเบียบแบบแผน หรือเม่ือผูกระทําความผิดหรือผูตองสงสัยใชอ าวุธตอสู

ขัดขวางการจับกุม หรือเพ่ือชวยบุคคลอ่ืนท่ีอยูในอันตรายตอชีวิต

เม่ือมีการใชอาวุธ กําลัง หรือความรุนแรง ไมวาจะมีผูบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตหรือไม

ขาราชการตํารวจตองรายงานเปนหนังสือตอผูบังคับบัญชาตามระเบียบแบบแผนทันที

Page 27: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

27

ตัวอยางแนวขอสอบ กฎหมาย

1.รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยประกาศใชเม่ือใด

ก. 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550 ข. 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550

ค. 24 กันยายน พ.ศ. 2550 ง. 24 ตุลาคม พ.ศ. 2550

ตอบ ข. 24 สิงหาคม พ.ศ. 2550 2.อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชนชาวไทย มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ทรงใชอํานาจผาน

ทางองคกรใด ก. รัฐสภา ข. คณะรัฐมนตรี

ค. ศาล ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ

3.การปฏิบัติหนาท่ีของรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและศาล รวมท้ังองคกรของรัฐธรรมนูญและหนวยงาน

ของรัฐ ตองเปนไปตามหลักใด ก. หลักทศพิธราชธรรม ข. หลักนิติธรรม

ค. หลักอิทธิบาท 4 ง. หลักนิติรัฐ

ตอบ ข. หลักนิติธรรม

4.ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ

ก. ประชาชนชาวไทยไมวาจะมีแหลงกําเนิด เพศหรือศาสนาใด ยอมอยูในความคุมครอง

แหงรัฐธรรมนูญเสมอกัน

ข. รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ

ค. เม่ือไมมีบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญน้ีบังคับแกกรณีใด ใหวินิจฉัยกรณีน้ันไปตาม

ประเพณี การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ 5. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับพระมหากษัตริย

ก. องคพระมหากษัตริย ผูใดจะละเมิดมิได

ข. พระมหากษัตริยทรงเปนอัครศาสนูปถัมภก

ค. พระมหากษัตริยทรงดํารงตําแหนงเปนจอมทัพไทย

ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ

Page 28: ขอบเขตเนื้อหาsheetram.com/upload/e-Book/57.pdfส านวน ส ภาษ ต ค าพ งเพย 217 การเข ยนสะกดการ นต

28

6.พระมหากษัตริยทรงเลือกและทรงแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนประธานองคมนตรีคนหน่ึง และ

องคมนตรีอ่ืนอีกไมเกินกี่คนประกอบเปนคณะองคมนตรี

ก. ไมเกิน 16 คน ข. ไมเกิน 17 คน

ค. ไมเกิน 18 คน ง. ไมเกิน 19 คน

ตอบ ค. ไมเกิน 18 คน 7.ผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังประธานองคมนตรีหรือใหประธานองคมนตรีพน

จากตําแหนงคือใคร ก. ประธานองคมนตรี ข. ประธานรัฐสภา

ค. ประธานสภาผูแทนราษฎร ง. ศาลรัฐธรรมนูญ

ตอบ ข. ประธานรัฐสภา

8.ผูลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแตงต้ังองคมนตรีอ่ืนหรือใหองคมนตรีอ่ืนพนจากตําแหนง

ก. ประธานองคมนตรี ข. ประธานรัฐสภา ค. ประธานสภาผูแทนราษฎร ง. ศาลรัฐธรรมนูญ

ตอบ ก. ประธานองคมนตร ี

9. บุคคลใดไมสามารถดํารงตําแหนงองคมนตรีได

ก. สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ข. พนักงานรัฐวิสาหกิจ

ค. เจาหนาท่ีนักการเมือง ง. ถูกทุกขอ

ตอบ ง. ถูกทุกขอ

10. กอนเขารับหนาท่ีขององคมนตรีน้ันจะตองกระทําการส่ิงใด

ก. กลาวรายงานตนตอพระมหากษัตริย ข. แถลงการณจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย

ค. ถวายสัตยปฎิญาณตอพระมหากษัตริย

ง. ทําหนังสือแสดงตน ตอบ ค. ถวายสัตยปฎิญาณตอพระมหากษัตริย

18. การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลท่ีรัฐธรรมนูญรับรองไว จะกระทําไดหรือไม

ก. ทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

ข. ทําไดเฉพาะท่ีรัฐธรรมนูญกําหนดไวและเทาท่ีจําเปน

ค. ไมได ง. ถูกท้ังขอ ก. และ ขอ ข. ตอบ ง. ถูกทั้งขอ ก. และ ขอ ข.

******************************************************************