สถาบันการเมือง political institutionสภาน ต บ ญญ ต...

32
สถาบันการเมือง Political Institution

Upload: others

Post on 30-Jan-2021

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • สถาบันการเมือง Political Institution

  • Political Institution

    • สถาบันทางการเมือง “สถาบัน” “การเมือง” • สถาบัน หมายถึง บรรทัดฐานของพฤติกรรมที่สังคมสรางขึ้นมา และมีการ ปฏิบัติสืบ

    ทอดกันมาจนกระทั่งเปนที่ยอมรับในสังคม โดยที่พฤติกรรมดังกลาวมีลักษณะของพฤติกรรมท่ีมีโครงสรางแนนอนและสามารถศึกษาได

    • สถาบันทางการเมือง เปนสถาบันที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางการเมืองและ สมาชิกของสังคม และระหวางสมาชิกของสังคมดวยกันเอง มีหนาที่ในการปฏิบัติกิจกรรม ทางการเมืองอยางตอเนื่อง

  • สภานิติบัญญัติ (Parliament) ที่มาของสภานิติบัญญัต ิ• สภานิติบัญญัติเกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษมากกวา 700 ปในสมัย • พระเจาวิลเลี่ยม (ค.ศ. 1066 – 1087) แห่งอักฤษไดจัดตั้งสภาหนึ่งที่เรียกวา Great Council โดยมีสมาชิกประกอบดวย 1. ขุนนางฝายพระ 2. ขุนนางฝายบุคคลธรรมดา 3. ผคูรอบครองที่ดิน รัฐสภาแบบนี้สืบตอกันมา • สมัยพระเจาเฮนรี่ที่ 3 ไดเกิด ความขัดแยงกับขุนนางคนหนึ่ง ขุนนางคนนั้นไดรับชัย

    ชนะจึงเปลี่ยนชื่อจาก GreatCouncil ไปเปน Parliament (รัฐสภา)

  • รัฐสภา (Parliament)

    • รัฐสภา เริ่มแรก เปนเรื่องที่เกี่ยวกับการที่สภาเขาไป มีสวนรวมในการจัดเก็บภาษีอากรและการใชจายเงินของพระมหากษัตริย

    • องคประกอบของสถาบันนิติบัญญัติ ส่วนใหญ่จะเป็นแบบ 2 สภา (Houses, Chambers) ระบบ 2 สภานี้เรียกวา Bicameral

    สภาลาง บุคคลธรรมดา สภาสูง มักมีคุณสมบัติพิเศษบางอยาง สภาสูงเคยมีอํานาจมากในหลาย ๆ ประเทศ

    เพราะมีที่มา จากชนชั้นสูง เชนประเทศอังกฤษ **เดิมสภาทั้งหมดประกอบดวยสภาสูงอยางเดียว แตสภาลางก็คอยๆ พัฒนาอํานาจ

    จนกระทั่งบัดนี้สภาลางถือไดวาชนะสภาสูงอยางเต็มรูปแบบ เพราะสภาลางมาจากการเลือกตั้ง ถือเปนเจตนารมณของประชาชน ในขณะที่สภาสูงมาจากการแตงตั้ง

  • สถาบันนิติบัญญัติ • หนาที่หลักก็คือ การออกกฎหมาย บริหารและปกครองประเทศ • หนาที่รองไดแก การเปนตัวแทนของประชาชน การคุมครองสิทธิเสรีภาพของ

    ประชาชน การแสดงเจตนารมยของประชาชน ประเทศเผด็จการรัฐสภาทําหนาที่เปนสัญลักษณแหงการยอมรับของประชาชน • สถาบันนิติบัญญัติ ควบคุมการทํางานของรัฐบาล

  • สถาบันนิติบัญญัติ

    ระบบรัฐสภา - ใหความเห็นชอบในนโยบาย -พิจารณางบประมาณประจําป - ควบคุมการใชจายเงินต่างๆของรัฐ -พิจารณาเรื่องการเก็บภาษีอากร โดยใชเครื่องมือโดยการตั้งกระทถูาม

    รัฐบาล ซึ่งหากรัฐสภาไมไววาง ใจรัฐบาลก็จะทําใหรัฐบาลตองลาออกไป

    ระบบประธานาธิบดี -รัฐสภามีหนาที่ตรวจสอบถวงดุลการ

    ทํางานของคณะรัฐมนตรีรัฐสภา -มีอํานาจที่จะลงคะแนนเสียงไม

    สนับสนุนนโยบาย - ออกเสียงพิจารณารางงบประมาณที่

    ออก โดยประธานาธิบด ี - Impeachment ในการขับไล

    ประธานาธิบดี ได้อีกดวย

  • โครงสรางและองคประกอบของรัฐสภา ระบบสภาเดียว ระบบนี้ในการปกครองทองถิ่นมากกวา เชน ในการปกครองทองถิ่นของไทย การปกครองระดับแขวงของสหรัฐอเมริกา เปนตน ประเทศในยุโรปที่ใชสภาเดียวคือ นอรเวย สวีเดน เปนตน

  • ระบบสภาเดียว • ข้อดี - ทําใหการดําเนินงานเปนไปอยางรวด

    เร็ว การผานกฎหมายแตละฉบับ ไมลาชา - ไมสิ้นเปลืองงบประมาณ ทั้งสถานที่

    ประชุม รับรองการจัดการเลือกตั้ง และเงิน เดือนของวุฒิสภา

    - ไมปรากฏการขัดแยงระหวางสองสภา - ผูแทนของสภาเดียวจะมีความภูมิใจ วาตัวเองเปนผูแทนของประชาชน

    เพียงองคกรเดียว

    • ข้อเสีย - กฎหมายตางๆ ผานรัฐสภาอยางรวด

    เร็ว จึงอาจจะเกิด ขอบกพรองได - อาจจะทําใหรัฐสภาสามารถออก

    กฎหมายไดตามอําเภอใจ เพราะไมมีสภาอื่นเขามาตรวจสอบถวงดุล

  • ระบบสองสภา • ระบบที่มีสภาหนึ่งเปนสภาที่เปนตัวแทนจากประชาชนทั่วไป สวนอีกสภาหนึ่งเป็น

    สมาชิกที่มีคุณสมบัติพิเศษบางประการ เชน มีอายุสูงกวาสภาประชาชน หรือเปนตัวแทนของคนบางกลุม บางอาชีพ หรือเปนผูแทนของคนในมลรัฐเปนตน

    • ระบบสองสภานี้เกิดขึ้นครั้งแรกในประเทศอังกฤษ และตอมาก็ไดนิยมแพรหลายไปในที่ตางๆระบบนี้แบงสภาเปน 2 ประเภท

  • ระบบสองสภา • สภาสูง (Upper House) พัฒนามาจากสภาขุนนางในประเทศ

    อังกฤษ ตั้ง ขึ้นเพื่อความตองการในการแตงตั้งคนชั้นสูงบางกลุม เชน

    ขุนนาง พระหรือผูดีที่มีเชื้อสาย เขาดํารงตําแหนงที่สําคัญ หรือไปเปนตัวแทนของพวกตัวเอง **สหรัฐอเมริกาจะมีสภาสูงหรือวุฒิสภา

    (Senate) ทําหนาที่เปนตัวแทนของรัฐตาง ๆ

    • สภาลาง (Lower House) ประกอบดวยสมาชิกที่มาจากการใช้

    สิทธิของ ประชาชนธรรมเลือกผู้แทนฯเข้ามาทําหน้าที่แทนตน

    **หนาที่ที่สําคัญก็คือการพิจารณากฎหมายเกี่ยวกับงบประมาณแผนดิน

    **สภาสามัญ (House of Commons) หรือ สภาผแูทนราษฎร (House of Representative)

  • ระบบสองสภา

    • ขอด ี - เปนการเปดโอกาสใหมีตัวแทนจาก กลุมอาชีพเขาไปมีเสียงในสภา - มีสภาสูงคอยทําหนาที่เปนสภาที่ทํา

    หนาที่กลั่นกรองกฎหมายจากสภาลาง - มีการถวงดุลการทํางานของรัฐสภา

    ซึ่งเปนการระวังปญหาที่ อาจจะเกิดขึ้นจากการที่รัฐสภาความเขมแข็งมากเกินไปจนอาจจะออกกฎหมายท่ีมี ลักษณะไมยุติธรรมแกสังคม

    • ข้อเสีย - การพิจารณากฎหมาย ระเบียบต่างๆ

    อาจจะเกิดความล่าช้า มีขั้นตอนและกระบวนการมาก

    - สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย เช่น เบี้ยประชุม การดําเนินการประชุม

    - อาจเกิดความขัดแย้งระหว่างสองสภา

  • สถาบันฝายบริหาร

    สถาบันบริหารในระบบรัฐสภา • ฝายบริหารมีอํานาจใน การบริหารปกครองประเทศ • มีหนาที่ในการนําเอากฎหมายไปบังคับใช • มีหนาที่ในการนิติบัญญัติบางสวน คือพระราชกําหนด เพราะเป็นกฎหมายที่ตอง

    อาศัยการตัดสินใจอยางเรงดวน • ออกกฎหมายที่ พระราชบัญญัติไดกําหนดใหฝายบริหารเปนผูออก ซึ่งสวนมาก

    เปนกฎหมายชั้นรอง หรือ กฎหมายลูก

  • สถาบันฝายบริหาร

    สถาบันบริหารในระบบรัฐสภา ฝายบริหารอาจจะประกอบดวยบุคคลจํานวนมากหรือนอยไมสําคัญ • ประเทศเผด็จการบางประเทศมีฝายบริหารอยทูี่คนๆ เดียว ตัวผู้นําประเทศ • ประเทศที่เปนประชาธิปไตย ฝายบริหารมีอํานาจจํากัด ในระบบรัฐสภา (รัฐบาลตองอยภูายใตการควบคุมของรัฐสภา) • หัวหนารัฐบาล คือ นายกรัฐมนตรี • นายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีถือเปนคณะทํางานเดียวกัน (หากนายกรัฐมนตรีตองหลุดพนจากตําแหนงดวยความไมไววางใจจากรัฐสภา

    รัฐประหาร หรือเสียชีวิตขณะดํารงตําแหน่งคณะรัฐมนตรีจะตองออกจากตําแหนง ดวย)

  • สถาบันฝายบริหาร

    สถาบันบริหารในระบบรัฐสภา • รัฐบาลมีความเขมแข็งและมั่นคง เพื่อใหการบริหารประเทศมีความมั่น คงมากขึ้น

    ระบบรัฐสภาไดวิวัฒนาการใหฝายบริหารมีอํานาจในรัฐสภามาก ** การที่รัฐบาลมีอํานาจมากนั้นสืบเนื่องมาจากการที่พรรคการเมืองมีความเขมแข็ง

    ซึ่งในปจจุบันนี้สมาชิกสภาที่อยูใตสังกัดพรรคการเมืองพรรคหนึ่งพรรคใด จะตองปฏิบัติตามมติของพรรค หรือมิฉะนั้นแลวมีโอกาสในการถูกขับไลออกจากพรรคการเมือง

  • สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี • ประธานาธิบดี คือ หัวหนาฝายบริหาร ซึ่งเปนผูที่ไดรับการเลือกตั้งโดยตรงมา จากประชาชนทั่วประเทศ • ประธานาธิบดีเปนผูเลือกคณะบริหาร ไดแก คณะรัฐมนตรีแต (คณะรัฐมนตรี จะทําหนาที่เสมือน เลขานุการ ของประธานาธิบดีเทานั้น) • อํานาจหนาที่ของประธานาธิบดีนั้นพอสรุปไดดังนี้ - ควบคุม และปฏิบัติตามกฎหมาย - แตงตั้ง ถอดถอน โยกยายขาราชการฝายบริหารทั่วไป (แตบางตําแหนง โดยเฉพาะตําแหนงที่มีความสําคัญระดับนโยบาย เชน รัฐมนตรี

    และเอกอัครราชทูต ตองไดรับ ความเห็นชอบจากวุฒิสภาเสียกอน)

  • สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี อํานาจของประธานาธิบดี • การมีสวนรวมในสถาบันนติิบญัญัติมดีังนี้ 1. ใหความเห็นชอบ หรือยับยั้งกฎหมาย 2. เสนอรางกฎหมาย ถึงแมวาประธานาธิบดีจะไมมสีทิธิในการออกกฎหมาย แต

    ประธานาธิบดีสามารถสงขอความ (Message) ถึงรัฐสภาไดสี่ประการคือ - State of the Union Message คือคําปราศรัยของประธานาธิบดใีนวาระ เปดป

    ระชุมสมัยแรกแหงป - Budgeting Message ขอความถึงรัฐสภาเพื่อช้ีแจงนโยบายและวัตถุ ประสงคของ

    งบประมาณของฝายบริหาร - Economic Report การรายงานภาวะเศรษฐกจิของประเทศในชวงกลางป - Special Message รายงานสภาพการณพเิศษท่ีเกดิขึ้น ทั้งนี้อาจจะเกิดผลกระทบ

    ตอการปฏิบัตหินาที่ของฝายบริหาร ประธานาธิบดีสามารถสงขอความพิเศษนีต้อรัฐสภาเพื่อสรางความเขาใจบางอยางแกกัน

  • สถาบันบริหารในระบบประธานาธิบดี อํานาจของประธานาธิบดี • อํานาจในสถาบันตุลาการ คือประธานาธิบดีมีอํานาจในการลดโทษ หรืออภัย โทษ

    หรือนิรโทษกรรมใหแกผูตองโทษในคดีตางๆ ตามขอจํากัดของรัฐธรรมนูญ • อํานาจหนาที่ในการดําเนินความสัมพันธระหวางประเทศ โดยมีอํานาจแตงตั้ง

    เอกอัครราชทูตโดยผานการเห็นชอบของรัฐสภา หรือการทําสนธิสัญญาที่จะตองผานการ ใหสัตยาบัน (Ratification) จากวุฒิสภาเชนเดียวกัน

    • อํานาจทางการทหาร กลาวคือประธานาธิบดีมีอํานาจตามรัฐธรรมนูญใหเปน ผูบัญชาการทหารสูงสุด (Commander in Chief) คือมีอํานาจสูงสุดในการบังคับบัญชากอง ทัพทั้งหมดของประเทศนั่นเอง

  • สถาบันตุลาการ • มีหนาที่โดยตรงในการคุมครองสิทธิและเสรีภาพตามหลักกฎหมายของประชาชน ** ผพูิพากษา เป็นบุคลากรที่สําคัญในกระบวนการยุติธรรม ผูพิพากษาจะตองมี

    หลักการที่จะปฏิบัติหนาที่ ดวยความซื่อสัตยเปนกลางและปราศจากอคติใดๆ รวมทั้งตองมีความรแูละประสบการณ ทางดานกฎหมายเปนอยางดี • ตุลาการจะตองเปนอิสระตอฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติ สถาบันตุลาการจะตองมี

    ความเปนกลาง ปราศจากความแทรกแซงจากการเมือง • ทั้ง 3 สถาบันจะมีความสัมพันธ แบบคานอํานาจ (Check and Balance) คือเปน ความสัมพันธที่ไมมีฝายใดอยูภายใตฝายใด

  • บทบาทอื่นๆ ของฝายตุลาการ • การตีความรัฐธรรมนูญ การตีความนั้นหากทําโดยศาลจะมีผลคือทําใหทุกคนตองยอมรับ ตองปฏิบัติตาม

    เหมือนเปนกฎหมายประเภทหนึ่งนั้นเอง • การตีความกฎหมาย บางครั้งมีขอความที่ไมชัดเจน ในทางกฎหมายจึงเปนหนาที่ของศาลใน การตีความ

    กฎหมายใหเขากับเจตนารมณของตัวบทกฎหมาย • กําหนดกฎเกณฑในกระบวนการยุติธรรม บทบาทสําคัญในการกําหนดกระบวนการในการให ความยุติธรรมนั้น เชน กําหนด

    วิธีพิจารณากฎหมาย กําหนดวิธีพิจารณาพิพากษาคดี กําหนดวิธีการฟองรอง

  • บทบาทอื่นๆ ของฝายตุลาการ • การสรางขนบประเพณี วิธีของศาล หรือการที่ศาลยอมรับ หลักการใด ๆ มักจะกลายเปนหลักที่มัน่คงถาวร หรือ

    เรียกวาขนบประเพณีแหงศาล ซึ่งมีผล เสมือนนโยบายหรือกฎหมาย และจะเปนแบบแผนการตดัสินคดคีวามตอๆ ไป

    • การใหคําแนะนําของศาล ในกรณีที่เกดิปญหาบางอยางในแงกฎหมาย และไม สามารถหาบทสรุปได จําเปนตองขอ

    คําแนะนําหรือการตีความจากศาล เพราะเชื่อกันวา ศาลเปนผูชํานาญการในกฎหมายนาจะมีความเขาใจและมปีระสบการณดานนี้มากกวาหนวยงานอื่นๆ

    • เปนกระบวนการสุดทายในการสรางความม่ันคงและผดุงไวซึ่งความยุติธรรม หากสถาบันนี้ไมสามารถปฏิบตัิหนาทีไ่ดอยางเปนอสิระและเที่ยงธรรมแลว สังคมก็เหมือน กับไมมีหลัก และจะประสบกับความวนุวาย

    ***ประเทศท่ีเป็นเผด็จการ ศาลยุติธรรมเปนเพียงเครื่องมอืของรัฐในการสรางความชอบธรรมของตัวเองเทานั้น

  • การแตงตั้งและเลือกตั้งผูพิพากษา การแตงตั้ง บางระบบการเมือง มีระบบการเขาสูตําแหนงของผูพิพากษาเปนแบบการแตงตั้ง • ประเทศไทยมีคณะกรรมการตุลาการ (ก.ต.) เปนผูพิจารณาคัดเลือกและแตงตั้ง ผพูิพากษา • สหรัฐอเมริกา ผูที่แตงตั้งผูพิพากษาศาลสหพันธคือ ประธานาธิบดี ทั้งนี้โดยผานการรับรองจากวุฒิสภา

  • การแตงตั้งและเลือกตั้งผูพิพากษา เลือกต้ัง สําหรับบางประเทศใหประชาชนเปนผูเลือกตั้งผูพิพากษาเองในบางระดับ เชน ในประเทศสหรัฐอเมริกาใหประชาชนในมลรัฐเปนผูเลือกตั้งผูพิพากษาของศาล

    บางประเภทในมลรัฐ ซึ่งทําใหผูพิพากษาไดรับความภาคภูมิใจวาเปนตัวแทนของประชาชน

  • พรรคการเมือง (Political Party)

    • มีรากศัพทมาจากภาษาลาตินวา Par ซึ่งแปลวา “สวน” • พรรคการเมืองจึง หมายถึง สวนของประชากรภายในประเทศ หมายถึงการที่แยก

    ประชากรออกเปนสวนๆ ตามความคิดเห็นและประโยชนไดเสียทางการเมือง พรรคการ เมือง ถือวาเปนสถาบันทางการเมืองที่มีบทบาทสําคัญในระบบการเมือง

    • พรรคการเมืองเปนสื่อกลางที่จะเชื่อมโยงระหวางประชาชนกับรัฐบาล ถือวา เครื่องมือที่สําคัญที่จะชักนําใหประชาชนเขามามีสวนรวมทางการเมือง

    • พรรคการเมืองเปนผูรวบรวมผลประโยชนของประชาชนมาเขียนไวในนโยบายของ พรรคตน

  • พรรคการเมือง (Political Party)

    • พรรคการเมืองที่ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนจะทําหนาที่เปนตัวแทนของ

    ประชาชนในรัฐสภา • บทบาทของพรรคการเมือง บางกรณีไมไดทําหนาที่รวบรวมผลประโยชนจาก

    ประชาชน แตพรรคการเมืองหลายๆ พรรคเปนการรวมกลุมของผูมีอํานาจ

  • หนาที่ของพรรคการเมือง

    พรรคการเมืองเปนองคกรกลางที่เชื่อมโยงระหวางเจตนารมยของประชาชนเขาดวยกัน การเลือกตั้งพรรคการเมืองที่มีนโยบายตรงกับความตองการของ ประชาชน ทําใหเกิดผลดังนี้

    1. ประกาศหรือแถลงนโยบายหลักของพรรคการเมือง เพื่อที่ประชาชนจะไดนําไป ศึกษา พิจารณาเพื่อตัดสินใจเลือกพรรคการเมืองพรรคใดพรรคหนึ่ง

    2. ปลุกเราและแสดงความคิดเห็นทางการเมือง ในชวงการหาเสียงเลือกตั้งพรรค การเมืองมีบทบาทสําคัญ ในการสรางหรือปลุกเราความคิดความเห็นทางการเมืองของ ประชาชน

    3. สงผูแทนเขาสมัครรับเลือกตั้งผูแทนราษฎรในการเลือกตั้งแตละครั้ง

  • หนาที่ของพรรคการเมือง

    4. จัดตั้งรัฐบาล หากไดรับเสียงขางมากในรัฐสภา และปฏิบัติภาระกิจตาม นโยบายที่ไดวางไว

    5. ควบคุมรัฐบาล กรณีที่เปนพรรคฝายคาน คอยควบคุมการทํางานของรัฐบาล โดยการตั้งกระทูถามหรือเสนอญัตติไมไววางใจรัฐมนตรีผูรับผิดชอบเปนรายกระทรวงหรือคณะ นอกจากนี้ยังสามารถ วิจารณการทํางานของรัฐบาลผานทางสื่อมวลชน การประชุมสัมมนา และชองทางอื่นๆ เพื่อควบคุมมิใหรัฐบาลใชอํานาจตามอําเภอใจ

    6. ประสานระหวางกลุมผลประโยชนกับรัฐบาล โดยการพยายามเสนอขอเสนอ ของกลุมผลประโยชนของตัวเอง และไกลเกลี่ยผลประโยชนใหไดเพื่อผลประโยชนของชาติ และในขณะเดียวกันตองไมขัดกับผลประโยชนของกลุมตัวเองใหไดมากที่สุด

  • ระบบพรรคการเมือง

    • ระบบพรรคเดียว (Single Party System) พบในประเทศเผด็จการทั้งแบบ เบ็ดเสร็จนิยม และ อํานาจนิยม เชน พรรคคอมมิวนิสตในประเทศจีน พรรคฟาสซิสตของอิตาลี พรรคนาซีของเยอรมันนี

    ซึ่งรัฐ ธรรมนูญในประเทศเหลานี้มักจะเขียนไววาอนุญาตใหมีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว ดวยเหตุนี้จึงไมสามารถตั้งพรรคการเมืองขึ้นมาแขงขันอีก

  • ระบบพรรคการเมือง

    • ระบบสองพรรค (Two Party System) มีเพียงพรรคการเมืองที่แขงขันกันเปนผูบริหารประเทศเสมอเพียงสองพรรค เทานั้น ส่วนพรรคการเมืองอื่นๆ ไมมีความสําคัญในทางการเมือง ขอดี ทําใหรัฐบาลมีเสถียรภาพ และมี ความมั่นคง เพราะจะมีพรรคการเมืองเพียง

    พรรคเดียวทําหนาที่รัฐบาลหรือผูบริหารประเทศ สวนอีกพรรคที่ไดรับคะแนนเสียง นอยกวาจะเปนผูตรวจสอบถวงดุล (ฝ่ายค้าน)

  • ระบบพรรคการเมือง

    • ระบบหลายพรรค (Multi Party System) จะมีพรรคการเมืองที่โดดเดนและมีอิทธิพลในรัฐสภาอยหูลายพรรค จุดเดน ก็คือไมมีพรรคการเมืองใดสามารถครองเสียงขางมากในรัฐสภาอยางเพียงพอ

    ที่จะจัดตั้งรัฐบาลได ระบบพรรคการเมืองแบบนี้มีในประเทศกลุมสแกนดิเนเวีย เนเธอร แลนดรวมทั้งประเทศไทย เยอรมัน อิตาลีเบลเยี่ยม สวิสเซอรแลนดและประเทศอินโดนีเซียในปจจุบัน เปนตน

  • กลุมผลประโยชน การรวมตัวกันของผูมีผลประโยชนรวมกัน สังคมปจจุบัน มีความซับซอน

    หลากหลายมากกวาสังคมดั้งเดิมมาก เกิดอาชีพ หลายอาชีพ เกิดตําแหนง หนาที่ ความรับผิดชอบ บทบาท สถานภาพที่แตกตางกัน คนที่ อยใูนสังคมที่มีความหลากหลายเหลานี้จึงเขามารวมตัวกัน เพื่อสรางความมั่นคงในอาชีพการงาน เพื่อรักษาและเสาะหาผลประโยชนทางเศรษฐกิจ หรือการเมืองก็ไดการ

    รวมตัวกันของผูที่เห็นประโยชนรวมกันผลประโยชนดังกลาวจึงเปนชองทางในการมีสวนรวมทางการเมือง กลุมผลประโยชนเปนสะพานเชื่อมความ ตองการของบุคคลในการเรียกรอง

    ความสนใจจากรัฐบาล

  • บทบาทของกลมุผลประโยชน • ทําใหนโยบายของชาติเปนของประชาชนอยางแทจริง การเรียกรองของกลุมผลประโยชน และการประนีประนอมผลประโยชนระหวางกัน

    เพื่อใหนโยบายของรัฐเปนสิ่งที่เกิดขึ้นจากการเจรจาตอรองระหวางกลุมตางๆ และขอความรวมมือกลมุตางๆ

    • กลุมผลประโยชนพยายามมีอิทธิพลในทางการเมือง ไมวาจะเปนเจาหนาที่ของ รัฐ สมาชิกสภา รัฐบาล และฝายตุลาการ โดยผานการ

    เลือกตั้ง และผานพรรคการเมืองที่มี อิทธิพลในสภา

  • บทบาทของกลมุผลประโยชน • พยายามเขาถึงองคกรที่กําหนดนโยบายของชาติ • ติดตามและประเมินผลงานบทบาทของรัฐบาล โดยเฉพาะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อตองการจํากัดอํานาจรัฐบาล ตองการใหรัฐบาล

    สนับสนุนวัตถุประสงคของกลุม และไมปรารถนาใหกลุมที่มีผลประโยชนฝ่ายตรงขาม เขามาแขงขันได