บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2...

47
บทเรียนสําเร็จรูป วิชาวิทยาศาสตร เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช ชั้นมัธยมศึกษาปที1 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชร เขต 1 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ อัจฉรา ไชยโย ครูชํานาญการ โรงเรียนทุงโพธิ์ทะเลพิทยา เลมที1 เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

Upload: others

Post on 15-Feb-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

บทเรียนสําเร็จรูปวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชร เขต 1สํานกังานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พื้นฐาน

กระทรวงศกึษาธกิาร

อัจฉรา ไชยโยครูชํานาญการ

โรงเรยีนทุงโพธ์ิทะเลพิทยา

เลมที่ 1 เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

Page 2: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

บทเรียนสําเร็จรูปวิชาวิทยาศาสตร เร่ือง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชร เขต 1สํานกังานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ฐาน

กระทรวงศกึษาธกิาร

อัจฉรา ไชยโย

เลมที่ 1 เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

ครชูํานาญการ

โรงเรยีนทุงโพธิ์ทะเลพิทยา

Page 3: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

คํานํา

บทเรียนสําเร็จรูป เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล เปนสวนหน่ึงของเนื้อหา

ในวิชาวิทยาศาสตร ตามเนื้อหาในหนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนรูดวยตนเองตามความสามารถและความแตกตาง

ของแตละบุคคล และจะชวยใหนักเรียนเขาใจเนื้อหา เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

ไดดียิ่งขึ้น

บทเรียนสําเร็จรูปที่นักเรียนไดเรียนรูนี้ จะเกิดประโยชนและชวยใหนักเรียนเขาใจ

รายละเอียดในเนื้อหาไดดี นักเรียนตองปฏิบัติตามคําแนะนําในบทเรียนอยางเครงครัด

และมีความซื่อสัตยตอตนเอง

บทเรียนสําเร็จรูปเลมนี้สําเร็จลงดวยดีเพราะไดรับความกรุณาจาก นายไพรัช ภูทอง

ผูอํานวยการโรงเรียนทุงโพธิ์ทะเลพิทยา นางอัมพร กระบวนศรี รองผูอํานวยการ

โรงเรยีนทุงโพธิท์ะเลพทิยา นายปรชัญา กระบวนศร ี ศกึษานเิทศกเชีย่วชาญ สํานกังานเขตพืน้ที่

การศกึษากําแพงเพชร เขต 1 นางทพิวรรณ สวุรรณ ศกึษานเิทศกชาํนาญการพเิศษ สาํนกังานเขตพืน้ที่

การศกึษากาํแพงเพชร เขต 1 นางรุงฤด ี มโนรตัน ครชูาํนาญการพเิศษ โรงเรยีนกาํแพงเพชรพทิยาคม

นางสาววาสนา ธปูบชูา ครชูาํนาญการพเิศษ โรงเรยีนกาํแพงเพชรพทิยาคม นางใกลรุง ธวชัสานนท

ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนทุงโพธิ์ทะเลพิทยา ที่กรุณาใหคําแนะนําตรวจสอบความถูกตอง

ของเน้ือหาและเปนกําลังใจใหตลอดมา ผูจัดทําขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงมา ณ โอกาสนี้

อัจฉรา ไชยโย

ผูจัดทํา

Page 4: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

สารบัญ

เรือ่ง หนา

คํานํา กสารบัญ ขสารบัญภาพ คคําแนะนําการใชบทเรียนสําเรจ็รูป 1ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 2จุดประสงคการเรยีนรู 2บทเรยีนนีม้ีอะไรบาง 3แบบทดสอบกอนเรียน 4กรอบความรูที่ 1 เรื่อง เซลลและการคนพบ 6กรอบคําถามที่ 1 เรื่อง เซลลและการคนพบ 8เฉลยกรอบคําถามที่ 1 เรื่อง เซลลและการคนพบ 9กรอบความรูที่ 2 เรื่อง กลองจุลทรรศน 10กรอบคําถามที่ 2 เรื่อง กลองจุลทรรศน 15เฉลยกรอบคําถามที่ 2 เรื่อง กลองจุลทรรศน 16กรอบความรูที่ 3 เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิต 17กรอบคําถามที่ 3 เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิต 23เฉลยกรอบคําถามที่ 3 เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิต 24กรอบความรูที่ 4 เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว 25กรอบคําถามที่ 4 เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว 29เฉลยกรอบคําถามที่ 4 เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว 30กรอบความรูที่ 5 เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว 31กรอบคําถามที่ 5 เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว 32เฉลยกรอบคําถามที่ 5 เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว 33กรอบสรุป เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล 34แบบทดสอบหลังเรียน 35บรรณานกุรม 37ภาคผนวก 40เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน 41เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 42

Page 5: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

สารบัญภาพ

หนา

ภาพที่ 1 โรเบิรต ฮุก 6

ภาพที่ 2 โครงรางของเซลล 6

ภาพที่ 3 มัตทิอัส ยาคอบ ชไลเดน 7

ภาพที่ 4 เทโอดอร ชวันน 7

ภาพที่ 5 สวนประกอบของกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา 11

ภาพที่ 6 กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ 13

ภาพที่ 7 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน 14

ภาพที่ 8 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด 14

ภาพที่ 9 อะมีบา 17

ภาพที่ 10 พารามีเซียม 17

ภาพที่ 11 ยูกลีนา 18

ภาพที่ 12 เซลลกลามเนื้อเรียบ 18

ภาพที่ 13 เซลลประสาท 19

ภาพที่ 14 เซลลเม็ดเลือดแดง 19

ภาพที่ 15 เซลลอสุจิของคน 20

ภาพที่ 16 เซลลคุมของใบวานกาบหอย 20

ภาพที่ 17 เซลลเยื่อหอม 21

ภาพที่ 18 เซลลสาหรายหางกระรอก 21

ภาพที่ 19 เซลลเยื่อบุขางแกม 21

ภาพที่ 20 เซลลสูระบบอวัยวะ 22

ภาพที่ 21 ผนังเซลลของพืช 25

ภาพที่ 22 สวนประกอบของเซลลพืช 26

ภาพที่ 23 สวนประกอบของเซลลสัตว 27

Page 6: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

คําแนะนําการใชบทเรียนสําเร็จรูป

บทเรียนสําเร็จรูปที่นักเรียนศึกษาอยูนี้ เปนบทเรียนที่นักเรียนใชเรียนดวยความสามารถ

ของตนเอง ขอใหนักเรียนอานคําแนะนําการใชบทเรียนสําเร็จรูป และทําตามคําแนะนําแตละ

ขั้นตอนตั้งแตตนจนจบ แลวนักเรียนจะไดรับความรูอยางครบถวน ขอใหปฏิบัติตามขั้นตอน

ตอไปนี้

1. นักเรียนอานผลการเรียนรูที่คาดหวังและจุดประสงคการเรียนรู

2. นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียน

เพื่อกระตุนใหนักเรียนคนหาคําตอบในระหวางเรียน

3. นักเรียนศึกษาบทเรียนสําเร็จรูป แลวตอบคําถามลงในกระดาษคําตอบ

ตรวจคําตอบจากเฉลย และบันทึกคะแนนที่ไดทันทีโดยทําไปทีละกรอบ

4. ถาตอบถูกใหศึกษากรอบตอไป ถาตอบผิดใหยอนกลับไปอานใหม

5. นักเรียนทําแบบทดสอบหลังเรียน

ตรวจคําตอบกับเฉลย และบันทึกคะแนนระหวางเรียน

6. นักเรียนตองมีความซื่อสัตยตอตนเองในขณะศึกษาบทเรียน โดยไมดูเฉลย

1

Page 7: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. เตรียมสไลดสด เพื่อศึกษาลักษณะและรูปรางของเซลลตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

และสิ่งมีชีวิตหลายเซลลภายใตกลองจุลทรรศน

2. อธิบาย และเขียนแผนภาพแสดงสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

จากการสังเกตภายใตกลองจุลทรรศน

3. สืบคนขอมูล และอธิบายหนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

1. อธิบายความหมายของเซลลได

2. อธิบายประเภทของกลองจุลทรรศน สวนประกอบ และวิธีการใชกลองจุลทรรศนได

3. อธิบายลักษณะและรูปรางของเซลลตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและสิ่งมีชีวิต

หลายเซลลได

4. อธิบายสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตวได

5. อธิบายหนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตวได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

จุดประสงคการเรียนรู

2

Page 8: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

กรอบความรูที่ 1

เรื่อง เซลลและการคนพบ กรอบความรูที่ 2 เรื่อง กลองจุลทรรศน กรอบความรูที่ 3 เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลล

สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว และสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

กรอบความรูที่ 4 เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช และเซลลสัตว กรอบความรูที่ 5 เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญ

ของเซลลพืชและเซลลสัตว

บทเรียนนีม้ีอะไรบาง

3

Page 9: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

*********************************************************************************

แบบทดสอบกอนเรียน

เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

คําชี้แจง1. ขอสอบเปนแบบปรนัย จํานวน 10 ขอ คะแนนเต็ม 10 คะแนน2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบ ก , ข , ค หรือ ง ที่เห็นวาถูกตองและเหมาะสมที่สุด

เพียงคําตอบเดียว แลวใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท ( ) ลงในกระดาษคําตอบ

1. สวนประกอบของเซลลพืชสวนใดที่ทําหนาที่เปรียบเสมือนยามประจําหมูบาน

ก. นิวเคลียส

ข. ผนังเซลล

ค. ไซโทพลาซึม

ง. เยื่อหุมเซลล

2. สวนประกอบใดของเซลลพืชที่มีความสําคัญมากที่สุดตอกระบวนการสรางอาหารของพืช

ก. คลอโรพลาสต

ข. ไมโทคอนเดรีย

ค. นิวเคลียส

ง. เยื่อหุมเซลล

3. หมายเลข 4 ในภาพคืออะไร

4

13

2 ก. ไมโทคอนเดรีย

ข. นิวเคลียส

ค. คลอโรพลาสต

ง. เยื่อหุมเซลล

4. ผนังเซลลทําหนาที่อะไร

ก. ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ข. เพิ่มความแข็งแรงใหกับเซลลพืช

ค. หอหุมเซลลใหคงรูปราง

ง. สรางพลังงานใหกับเซลล

4

Page 10: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

5. เซลลหมายถึงขอใด

ก. หนวยที่เล็ก ๆ ของพืช

ข. สารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตค. หนวยที่เล็ก ๆ ของสัตว

ง. หนวยที่เล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวิต

6. นิวเคลียสทําหนาที่อยางไรก. ควบคุมการผานเขาออกของสาร

ข. สะสมอาหารและสังเคราะหดวยแสง

ค. ควบคุมการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ง. เปนแหลงสังเคราะหดวยแสง7. กลองจุลทรรศนที่ใชในการศึกษาหนวยของสิ่งมีชีวิต เมื่อตองการปรับภาพใหละเอียด

มองเห็นชัดมากขึ้นควรทําอยางไร

ก. หมุนปุมปรับภาพหยาบข. เปลี่ยนเลนสใกลตา

ค. เลื่อนแทนวางสไลดข้ึน

ง. หมุนปุมปรับภาพละเอียด8. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปรางรียาว มีแฟลกเจลลา (แส) อยูดานบน มีประโยชนใชในการเคลื่อนที่

ก. ยูกลีนา

ข. พารามีเซียม

ค. ไฮดราง. อะมีบา

9. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวกับสิ่งมีชีวิตหลายเซลลแตกตางกันอยางไร

ก. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีรูปรางเซลลที่เหมือนกัน สวนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลมีรูปรางเซลล ที่แตกตางกัน

ข. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีความแข็งของเซลลมากกวาสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

ค. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีเพียงเซลลเดียวก็ดํารงชีวิตอยูได แตสิ่งมีชีวิตหลายเซลลตองมีเซลล มารวมกลุมกันจึงจะดํารงชีวิตอยูได

ง. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีสวนประกอบพื้นฐานของเซลลที่แตกตางจากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

10. สวนประกอบของเซลลในขอใดที่พบในเซลลพืชแตไมพบในเซลลสัตว

ก. ไซโทพลาซึมและผนังเซลลข. ผนังเซลลและคลอโรพลาสต

ค. นิวเคลียสและไซโทพลาซึม

ง. คลอโรพลาสตและนิวเคลียส

5

Page 11: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดไมวาจะมีขนาดเล็กหรือใหญก็ตาม จะประกอบดวย หนวยที่เล็กที่สุด

แตมีความสําคัญตอชีวิตมากที่สุด เรียกวา เซลล (Cell) ภายในเซลลจะมีสวนประกอบตาง ๆ

หลายชนิด สวนประกอบเหลานี้จะมีโครงสรางและหนาที่แตกตางกัน และมีกระบวนการตาง ๆ

ที่ทําใหเซลลมีชีวิตอยูได

เซลล คือ หนวยที่เล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งเปนสวนประกอบพื้นฐานที่สําคัญของสิ่งมีชีวิต

เซลลของสิง่มชีวีติอาจมรีปูรางและสวนประกอบทีแ่ตกตางกนั เพือ่ใหเหมาะสมกับหนาทีก่ารทํางาน

ผูคนพบเซลลบุคคลแรก คือ โรเบิรต ฮุก (Robert Hooke) นักวิทยาศาสตรชาวอังกฤษ

เมื่อป พ.ศ. 2208 เขาไดศึกษาชิ้นไมคอรก โดยใชกลองจุลทรรศน พบวา ไมคอรกประกอบดวย

โครงรางสี่เหลี่ยมเชื่อมตอกันเปนจํานวนมาก เขาจึงใหชื่อสี่เหลี่ยมเหลานี้วา เซลล

กรอบความรูที่ 1เรื่อง เซลลและการคนพบ

เซลลและการคนพบ

ภาพที่ 2 โครงรางของเซลล

ที่มา : http://www.rmutphysics.com/

charud/scibook/bio1/Chapter3/Part1_1.html

ภาพที่ 1 โรเบิรต ฮุกที่มา : http://www.evbg.de/de/ags/

7b_2009/1/Rob...ooke.jpg

6

Page 12: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

ตอมาในป พ.ศ. 2381 มตัทอิสั ยาคอบ ชไลเดน (Matthias Jakob Schleiden) นกัพฤกษศาสตรชาวเยอรมันไดคนพบวา พืชทั้งหลายตางเปนสิ่งมีชีวิตที่มีหลายเซลล และในปถัดมา พ.ศ. 2382เทโอดอร ชวันน (Theoder Schwann) นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน ไดประกาศวาสัตวทั้งหลายตางก็มีเซลลเปนองคประกอบ นักวิทยาศาสตรทั้ง 2 คน จึงไดรวมกันต้ังทฤษฏีเซลล (Cell Theory) ซึ่งมีใจความวา “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบดวยเซลล และเซลลคือหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด”

ภาพที่ 3 มัตทิอัส ยาคอบ ชไลเดนที่มา : http://www.math.uni-hamburg.de/spag/ign...leid.jpg

ภาพที่ 4 เทโอดอร ชวันนที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/con...wann.jpg

7

Page 13: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. หนวยเล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวิต คือ...................................................................................................

..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

2. เซลลของสิ่งมีชีวิตอาจมีรูปรางและสวนประกอบที่แตกตางกันเพื่ออะไร.................................

..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

3. นักวิทยาศาสตรทานใดที่ศึกษาชิ้นไมคอรกจากกลองจุลทรรศน...............................................

..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

4. ไมคอรกที่ศึกษาดวยกลองจุลทรรศน มีลักษณะอยางไร..........................................................

..................................................................................................................................................

..................................................................................................................................................

5. ทฤษฎีเซลล มีใจความวาอยางไร.............................................................................................

..................................................................................................................................................

.................................................................................................................................................

กรอบคําถามที่ 1เรื่อง เซลลและการคนพบ

8

Page 14: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เฉลยกรอบคําถามที่ 1เรื่อง เซลลและการคนพบ

1. หนวยเล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวิต คือ

ตอบ เซลล

2. เซลลของสิ่งมีชีวิตอาจมีรูปรางและสวนประกอบที่แตกตางกันเพื่ออะไร

ตอบ เพื่อใหเหมาะสมกบัหนาที่การทํางาน

3. นักวิทยาศาสตรทานใดที่ศึกษาชิ้นไมคอรกจากกลองจุลทรรศน

ตอบ โรเบิรต ฮุก

4. ไมคอรกที่ศึกษาดวยกลองจุลทรรศน มีลักษณะอยางไร

ตอบ โครงรางสีเ่หลี่ยมเชื่อมตอกันเปนจํานวนมาก

5. ทฤษฎีเซลล มีใจความวาอยางไร

ตอบ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบดวยเซลลและเซลลคือหนวยพื้นฐาน

ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด

9

Page 15: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

กรอบความรูที่ 2เรื่อง กลองจุลทรรศน

การศึกษาโครงสรางตาง ๆ ของเซลลสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมาก จนไมสามารถมองเห็น

ดวยตาเปลาไดน้ัน จําเปนตองใชอุปกรณขยายขนาดของเซลลใหชัดเจนยิ่งขึ้น ดังนั้นการศึกษา

สวนประกอบของเซลลจึงตองใชอุปกรณชวยขยายขนาดของเซลล ไดแก กลองจุลทรรศน

กลองจุลทรรศนที่นักวิทยาศาสตรใชอยูมี 2 ประเภท คือ กลองจุลทรรศนแบบใชแสง

และกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน

1. กลองจุลทรรศนแบบใชแสง (Light Microscope) เปนอุปกรณที่ใชสําหรับ

สองดูวัตถุที่มีขนาดเล็ก ไมสามารถมองเห็นรายละเอียดดวยตาเปลาได ในปจจุบันกลองจุลทรรศน

แบบใชแสงไดรับการพัฒนาใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นกวาในอดีต กลองจุลทรรศนที่ใชแสงที่ดีที่สุด

ในปจจุบัน มีกําลังขยายประมาณ 2,000 เทา กลองจุลทรรศนแบบใชแสง มี 2 ชนิด คือ

กลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา และกลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ

1.1 กลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา เปนกลองจุลทรรศนเชิงประกอบ

ซึ่งประกอบดวยเลนส 2 ชุด คือ

1) เลนสใกลวัตถุ เปนเลนสนูน มีกําลังขยายขนาดตาง ๆ กัน คือ

4X 10X 40X และ 100X ตามปกติการเพิ่มกําลังขยายของเลนส มักเริ่มจากการใชเลนสใกลวัตถุ

ที่มีกําลังขยายต่ํากอน แลวจึงเปลี่ยนเปนกําลังขยายกลางและกําลังขยายสูงไปตามลําดับ

2) เลนสใกลตา เปนเลนสนูน กําลังขยายเปน 10X 15X และ

25X เลนสใกลตาเหลานี้สามารถเลือกใชไดตามที่ตองการ โดยการถอดขนาดที่ไมตองการออก

แลวนําขนาดที่ตองการมาสวมสวนบนของลํากลอง

กลองจุลทรรศน

10

Page 16: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

นอกจากน้ีกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา มีสวนประกอบอื่น ๆ อีกดังภาพ

สวนประกอบของกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา มีสวนประกอบดังนี้

ภาพที่ 5 สวนประกอบของกลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดาที่มา : http://www.weerasak.net/ch_1.html

การหากําลังขยายของภาพสามารถหาไดจาก กําลังขยายของเลนสใกลตาคูณกับกําลังขยายของเลนสใกลวัตถุ ซึ่งอาจเขียนเปนสมการไดดังนี้

กําลังขยายของภาพ = กําลังขยายของเลนสใกลตา กําลังขยายของเลนสใกลวัตถุ

13. ปุมปรับภาพละเอียด

12. ปุมปรับภาพหยาบ

11. แทนวางสไลด

2. จานหมุนเลนส

14. ฐานกลอง

9. เลนสใกลตา

10. แขนกลอง

1. ลํากลอง

8. หลอดไฟ

4. เลนสใกลวัตถุ 40X

3. เลนสใกลวัตถุ 10X

7. คอนเดนเซอร

6. ที่หนีบสไลด

5. เลนสใกลวัตถุ 100X

11

Page 17: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. การวางกลอง ตําแหนงที่วางกลองควรเปนพื้นที่เรียบ มีแสงสวางเพียงพอ

2. การวางสไลด นําสไลดที่เตรียมไววางบนแทนวางสไลด และจัดตําแหนงของวัตถุ

ที่จะดูใหอยูตรงกับชองรับแสง แลวปรับกระจกใตกลอง เพื่อรับแสงสวางผานเขาสูชองรับแสง

ใหพอเหมาะ

3. การหาภาพ

3.1 หมุนเลนสใกลวัตถุกําลังขยายต่ําสุดมาไวตรงตําแหนงวัตถุที่จะดู

3.2 หมนุปุมปรบัภาพหยาบ เพือ่เลือ่นเลนสใกลวตัถใุหลงไปอยูในตาํแหนงต่าํสดุกอน

3.3 ลืมตาขณะดูที่เลนสใกลตา แลวคอย ๆ หมุนปุมปรับภาพหยาบโดยเลื่อนขึ้น

ชา ๆ จนเห็นภาพ หมุนปุมปรับภาพละเอียดเพื่อใหเห็นชัดเจนข้ึน

3.4 ถาภาพยังมีขนาดเล็ก ใหหมุนเลนสใกลวัตถุที่มีกําลังขยายสูงเขามาแทน

เลนสใกลวัตถุอันเดิม แลวคอย ๆ หมุนปุมปรับภาพละเอียดเพื่อใหภาพชัดเจนข้ึน

4. ลักษณะภาพที่มองเห็นจากกลองจุลทรรศน เปนภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ ดังนั้น

ถาตองการเลื่อนภาพขึ้นดานบนจะตองเลื่อนสไลดลงดานลาง และเมื่อตองการเลื่อนภาพไปทางขวา

จะตองเลื่อนสไลดไปทางซาย

5. การเก็บรักษากลองจุลทรรศนหลังการใช ควรปฏิบัติดังนี้

5.1 เก็บกระจกสไลด

5.2 เช็ดแทนวางกระจกสไลดใหสะอาด

5.3 ปรับเลนสใกลวัตถุกําลังขยายต่ําสุดลงมาไวดานลาง

5.4 หมุนปุมปรับภาพหยาบเพื่อใหลํากลองลงมาต่ําสุด

5.5 หมุนกระจกรับแสงใตกลองใหตั้งฉากกับพื้น

5.6 ถาจะเช็ดเลนสตองใชกระดาษสําหรับเช็ดเลนสโดยเฉพาะเทานั้น

วิธีการใชกลองจุลทรรศนแบบใชแสง

12

Page 18: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1.2 กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ (Stereoscopic Microscope)

เปนกลองชนิดเลนสประกอบที่ทําใหเกิดภาพ 3 มิติ ใชศึกษาวัตถุที่มีขนาดใหญ ซึ่งไมสามารถ

แยกรายละเอียดดวยตาเปลา กลองชนิดน้ีแตกตางจากกลองจุลทรรศนใชแสงที่มีกําลังขยายสูงทั่วไป

ดังน้ี

1) ภาพที่เห็นเปนภาพ 3 มิติ มีความชัดลึกมากและเปน

ภาพเสมือน

2) เลนสใกลวัตถุมีกําลังขยายนอยกวา 10X

3) ระยะหางจากเลนสใกลวัตถุไปยังวัตถุอยูในชวง 63-225

มิลลเิมตร

4) ใชศึกษาไดทั้งวัตถุทึบแสงและโปรงแสง

ภาพที่ 6 กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอที่มา : http://www.stereomicroscopes.manufac...cope.htm

13

Page 19: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

2. กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน เปนกลองที่ใชอิเล็กตรอนความถี่สูงในการทํางาน

แทนแสง สามารถขยายไดถึง 500,000 เทา ในป พ.ศ.2474 เอินสต รุสกา (Ernst Ruska) และคณะ

สามารถสรางกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน (Transmission Electron Microscope)

เรียกยอวา TEM ไดเปนเครื่องแรกของโลก ตอมาในป พ.ศ. 2481 เอ็ม วอน เอนเดนนี (M. Von

Andenne) ไดสรางกลองจุลทรรศนแบบสองกราด (Scanning Electron Microscope) เรียกยอวา

SEM เปนผลสําเร็จ กลองทั้ง 2 แบบใชศึกษาโครงสรางระดับโมเลกุลได

หลักการทํางานของกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนเหมือนกับกลองที่ใชแสง แตเลนสของ

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนเกิดจากแมเหล็กไฟฟา ทําใหกําลังขยายสูง สามารถสองดูวัตถุที่มี

ขนาดเล็กไดถึงประมาณ 0.5 นาโนเมตร ภาพที่เกิดขึ้นเปนภาพเสมือน ปรากฏบนจอที่ฉาบดวย

สารเรอืงแสงเชนเดียวกับจอรับภาพโทรทัศน

ภาพที่ 7 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน

ที่มา : http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=437

นักชีววิทยาใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน เมื่อตองการศึกษาสวนประกอบภายในของวัตถุ และใชกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด เมื่อตองการศึกษาโครงสรางดานนอกของวัตถุ

ภาพที่ 8 กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด

ที่มา : http://webdb.dmsc.moph.go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=437

14

Page 20: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. กลองจุลทรรศนที่นักวิทยาศาสตรใชอยูในปจจุบันมีกี่ประเภท.................................................

อะไรบาง....................................................................................................................................

2. กลองจุลทรรศน เปนอุปกรณที่ใชสําหรับสองดูอะไร..............................................................

..................................................................................................................................................

3. ถาตองการใหภาพมีความคมชัดยิ่งขึ้น ตองหมุนที่ปุมใด..........................................................

..................................................................................................................................................

4. กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ตางจากกลองจุลทรรศนแบบใชแสงอยางไร................................

..................................................................................................................................................

5. ลักษณะภาพที่มองเห็นจากกลองจุลทรรศนมีลักษณะอยางไร..................................................

..................................................................................................................................................

กรอบคําถามที่ 2เรื่อง กลองจุลทรรศน

15

Page 21: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เฉลยกรอบคําถามที่ 2เรื่อง กลองจุลทรรศน

1. กลองจุลทรรศนที่นักวิทยาศาสตรใชอยูในปจจุบันมีกี่ประเภท อะไรบาง

ตอบ 2 ประเภท

คือ กลองจุลทรรศนแบบใชแสง และกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน

2. กลองจุลทรรศน เปนอุปกรณที่ใชสําหรับสองดูอะไร

ตอบ สองดูวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก ไมสามารถมองเห็นรายละเอียดดวยตาเปลาได

3. ถาตองการใหภาพมีความคมชัดยิ่งขึ้น ตองหมุนที่ปุมใด

ตอบ ปุมปรับภาพละเอียด

4. กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน ตางจากกลองจุลทรรศนแบบใชแสงอยางไร

ตอบ กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน เปนกลองที่ใชอิเล็กตรอนความถี่สูงในการทํางาน

แทนแสง

5. ลักษณะภาพที่มองเห็นจากกลองจุลทรรศนมีลักษณะอยางไร

ตอบ เปนภาพเสมือนหัวกลับกับวัตถุ

16

Page 22: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

ขนไซโทพลาซึม

นวิเคลยีส

ไซโทพลาซึม

นวิเคลยีส

สิ่งมีชีวิตตางก็ประกอบดวยเซลล ภายในเซลลจะมีกระบวนการตาง ๆ ที่ทําใหเซลลมีชีวิต

อยูได และในเซลลของสิ่งมีชีวิตเหลานี้จะมีโครงสรางบางอยางที่เหมือนและแตกตางกัน เซลลของ

สิ่งมีชีวิตตางชนิดกันจะมีลักษณะรูปรางที่แตกตางกันออกไป

กรอบความรูที่ 3เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิต

พารามเีซยีม มรีปูรางเรยีวยาวคลายรองเทาแตะ มซีเิลยี (ขน) รอบ ๆ ตวั และใชในการเคลือ่นที่

ภาพที่ 9 อะมีบาที่มา : http://www.biologycorner.com/gallery.php

ภาพที่ 10 พารามีเซียมที่มา : http://www.biologycorner.com/gallery.php

ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว คือ สิ่งมีชีวิตที่ประกอบดวยเซลลเพียงเซลลเดียว สิ่งมีชีวิตเหลานี้

มีขนาดเล็กมาก มองดวยตาเปลาไมเห็น การศึกษาตองใชกลองจุลทรรศนสองดู ไดแก อะมีบา

พารามีเซียม ยูกลีนา เปนตน

อะมีบา มีรูปรางไมแนนอน เคลื่อนที่โดยใชขาเทียม

อาหาร

ขาเทียม

17

Page 23: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

ยูกลีนา มีรูปรางรียาว มีแฟลกเจลลา (แส) อยูบริเวณดานบนและใชในการเคลื่อนที่

ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

แฟลกเจลลาไซโทพลาซึม

นวิเคลยีส

ภาพที่ 11 ยูกลีนาที่มา : http://www.biologycorner.com/gallery.php

สิ่งมีชีวิตหลายเซลล คือ สิ่งมีชีวิตที่ประกอบดวยเซลลหลายเซลลมารวมกันเปนรูปราง

โดยแตละเซลลจะมีรูปรางและหนาที่แตกตางกัน เซลลที่ประกอบกันเปนรูปรางจะมีหนาที่เฉพาะ

และมีขนาดเล็กมาก มองดวยตาเปลาไมเห็น เซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ไดแก เซลลกลามเนื้อ

เซลลประสาท เซลลเม็ดเลือดแดง เซลลคุมในพืช เปนตน เซลลตาง ๆ เหลานี้จะมีรูปรางลักษณะ

ที่แตกตางกัน ดังน้ี

เซลลกลามเน้ือ พบในสวนตางๆ ของรางกาย มีลักษณะเปนเสนยาวไปทางปลายทั้งสอง

หัวทายแหลมและมีนิวเคลียสอยูตรงกลาง ทั้งนี้เพื่อใหเซลลมีการยืดหดตัวไดงาย เชน

เซลลกลามเนื้อเรียบ เซลลกลามเนื้อหัวใจ

ภาพที่ 12 เซลลกลามเนื้อเรียบที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/...t/m6.PNG

18

Page 24: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

นวิเคลยีส

ตัวเซลลประสาท

ปลายประสาท

เซลลประสาท ลักษณะทั่วไปของเซลลประสาท จะประกอบดวยเซลลที่มีลักษณะ

คอนขางกลม และมีสวนที่เปนแขนยื่นออกมาจากตัวเซลล สําหรับทําหนาที่รับและสงกระแส

ความรูสึก จากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหนึ่งของระบบประสาท

เซลลเม็ดเลือดแดง ในสัตวเล้ียงลูกดวยน้ํานม เซลลเม็ดเลือดแดงจะมีลักษณะกลมแบนและตรงกลางมีสวนเวาลงเล็กนอย ไมมีนิวเคลียส ทําหนาที่นําแกสออกซิเจนจากปอดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะตาง ๆ ทั่วรางกาย รวมทั้งนําแกสคารบอนไดออกไซดกลับไปยังปอดดวย

ภาพที่ 13 เซลลประสาทที่มา : http://www.education.vetmed.vt.edu/curriculum/vm8054/Labs/Lab10/lab10.html

ภาพที่ 14 เซลลเม็ดเลือดแดงที่มา : http://www.herbs-hands-healing.co.uk/pi...ells.jpg

19

Page 25: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

หัว

หาง

ลําตัว

เซลลอสุจิ ประกอบดวย 3 สวน คือ สวนหัว ลําตัว และหาง โดยหางเปนโครงสราง

ที่ใชในการเคลื่อนที่

เซลลคุม มีอยูในพืชทุกชนิด แตพืชที่อยูใตนํ้าจะไมมีเซลลคุม เมื่อมีแสงสวางมาก

และพืชสังเคราะหดวยแสง ปากใบ (Stoma) ที่อยูในเซลลคุมจะเปดเพื่อคายน้ําและแกสออกซิเจน

ภาพที่ 16 เซลลคุมของใบวานกาบหอยที่มา : http://www.ipst.ac.th/biology/PicGaller...ell2.jpg

ภาพที่ 15 เซลลอสุจิของคนที่มา : http://www.babble.com/CS/blogs/stroller...onor.jpg

20

Page 26: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เซลลของสิ่งมีชีวิตตางชนิดกัน จะมีโครงสรางและรูปรางตางกัน โครงสรางเหลานี้จะมี

หนาที่แตกตางกัน เซลลพืชสวนใหญจะมีลักษณะเปนรูปสี่เหลี่ยม สวนเซลลสัตวจะมีลักษณะ

คอนขางกลม

ภาพที่ 17 เซลลเยื่อหอมที่มา : http://www.vcharkarn.com/uploads/45/45164.jpg

ภาพที่ 18 เซลลสาหรายหางกระรอกที่มา : http://www.acr.ac.th/acr/

ACR_CAI/Junjir...e139.jpg

ภาพที่ 19 เซลลเยื่อบุขางแกมที่มา : http://www.vcharkarn.com/

uploads/45/45165.jpg

สิ่งมีชีวิตหลายเซลล จะมีเซลลที่ทําหนาที่เฉพาะจํานวนมากมายมาประกอบกันเปนรูปราง

เชน คน จะมีเซลลที่ทําหนาที่เฉพาะมาประกอบกันเปนสมอง หัวใจ กระเพาะอาหาร ฯลฯ

และประกอบกันเปนรางกาย พืชก็เชนกัน พืชจะมีเซลลที่ทําหนาที่เฉพาะมาประกอบกันเปนราก

ลําตน ใบ ดอก และประกอบกันเปนตนพืช

การจัดระบบของเซลลในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

21

Page 27: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

การจัดระบบของเซลลในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล สามารถแสดงไดดังแผนภาพตอไปนี้

ภาพที่ 20 เซลลสูระบบอวัยวะที่มา : สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2548, หนา 51

เซลล เนื้อเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ รางกาย

เซลลของสิง่มชีวีติหลายเซลลเหลานีจ้ะมกีารจดัระบบของเซลล โดยเริม่จากเซลลหลายเซลล

เหมือนกันมารวมกลุมกันเปนเน้ือเยื่อ กลุมของเนื้อเยื่อที่ทําหนาที่เหมือนกันมารวมกันเปนอวัยวะ

อวัยวะหลาย ๆ อวัยวะทําหนาที่รวมกันเปนระบบ การทํางานของระบบที่สัมพันธกันนี้ทําให

สิ่งมีชีวิตดํารงชีวติอยูไดอยางปกติ

เซลล

อวยัวะ

เนื้อเยื่อ

ระบบยอยอาหาร

22

Page 28: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. เซลลที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ไดแกภาพใด..........................................................................

....................................................................................................................................................

2. เซลลที่พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ไดแกภาพใด........................................................................

....................................................................................................................................................

3. ภาพ ข คือเซลลชนิดใด.............................................................................................................

....................................................................................................................................................

4. เซลลประสาทของคนมีลักษณะเปนเสนยาวและมีเสนใยประสาทเปนกิ่งแขนงมากมาย

ทั้งยาวและสั้นเพื่อประโยชนอยางไร............................................................................................

....................................................................................................................................................

5. กลุมของเนื้อเยื่อที่ทําหนาที่เหมือนกันมารวมกันเปนอะไร..........................................................

....................................................................................................................................................

กรอบคําถามที่ 3เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิต

ศึกษาภาพตอไปนี้ แลวตอบคําถาม ขอ 1 - 3

ภาพ ก

ภาพ ง

ภาพ ข

ภาพ ค

23

Page 29: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เฉลยกรอบคําถามที่ 3เรื่อง ลักษณะและรูปรางของเซลลสิ่งมีชีวิต

1. เซลลที่พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว ไดแกภาพใด

ตอบ ภาพ ง

2. เซลลที่พบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ไดแกภาพใด

ตอบ ภาพ ก , ภาพ ข , ภาพ ค

3. ภาพ ข คือเซลลชนิดใด

ตอบ เซลลเม็ดเลือดแดง

4. เซลลประสาทของคนมีลักษณะเปนเสนยาว และมีเสนใยประสาทเปนกิ่งแขนงมากมาย

ทั้งยาวและสั้น เพื่อประโยชนอยางไร

ตอบ รับและสงกระแสความรูสึกจากจุดหนึง่ไปยังอีกจุดหนึ่งของระบบประสาท

5. กลุมของเนื้อเยื่อที่ทําหนาที่เหมือนกันมารวมกันเปนอะไร

ตอบ อวัยวะ

24

Page 30: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เซลลพืชมีสวนประกอบที่สําคัญ ดังน้ี1. ผนังเซลล (Cell Wall) เปนผนังแข็งอยูชั้นนอกสุดของเซลลพืช สวนใหญ

สรางจากสารเซลลูโลส เปนสวนที่ไมมีชีวิต ทําใหเซลลทนทาน แขง็แรง ผนังเซลลมชีองเล็ก ๆใหสารตาง ๆ ผานเขาออกจากเซลลได

สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช

กรอบความรูที่ 4เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

2. เย่ือหุมเซลล (Cell Membrane) เยื่อหุมเซลลสวนใหญประกอบดวยโมเลกุล

ของโปรตีนและไขมัน มีลักษณะเปนเยื่อบาง ๆ เหนียว มีความยืดหยุนได และมีรูเล็ก ๆ สามารถ

จํากัดขนาดของสารที่ผานเขาออกได จึงมีสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน คือ ยอมใหโมเลกุลของสารขนาดเลก็ผานได เชน น้ํา แกสออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด สวนสารขนาดใหญผานไมได

เชน โปรตีน

3. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเปนของเหลวภายในเซลลที่อยูรอบ ๆนิวเคลียส มีสารอาหารตาง ๆ อยู เชน น้ําตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน แรธาตุและของเสีย

นอกจากนีย้งัมโีครงสรางทีม่รีปูรางลกัษณะและหนาทีแ่ตกตางกนั เชน แวควิโอล (Vacuole) เปนถงุใส

สําหรับเก็บอาหารและของเสียกอนถูกขับออกจากเซลล ไรโบโซม (Ribosome) เปนแหลงสราง

หรือสังเคราะหโปรตีน ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เปนแหลงสรางพลังงานใหแกเซลล

ภาพที่ 21 ผนังเซลลของพืชที่มา : สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, 2548, หนา 94

25

Page 31: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

4. นวิเคลยีส (Nucleus) เปนสวนประกอบทีส่าํคญัของเซลล มลีกัษณะคอนขางกลมมเียือ่หุม 2 ชัน้ มรีเูลก็ ๆ เปนเยือ่เลอืกผาน ซึง่เปนทางผานของสารตาง ๆ เขาและออกจากนวิเคลยีสภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหนวยพันธุกรรมหรือยีนอยู

5. คลอโรพลาสต (Chloroplast) พบในไซโทพลาซึมของเซลลพืชบางชนิดมีลักษณะเปนเม็ดสีเขียว มีเยื่อหุม 2 ชั้น โดยเยื่อชั้นนอกทําหนาที่ควบคุมโมเลกุลของสารที่ผานเขาออกชัน้ในมสีารสเีขยีวทีเ่รยีกวา คลอโรฟลล (Chlorophyll) ซึง่เกีย่วของกบัการดูดกลนืพลงังานแสงจากดวงอาทติย และมขีองเหลวทีป่ระกอบดวยเอนไซมหลายชนดิทีใ่ชในการสรางอาหารของพชื

ภาพที่ 22 สวนประกอบของเซลลพืชที่มา : http://www.thaiblogonline.com/student.blog?PostID=3218

1. เยื่อหุมเซลล (Cell Membrane) เยื่อหุมเซลลสวนใหญประกอบดวยโมเลกุลของโปรตีนและไขมัน มีลักษณะเปนเยื่อบาง ๆ เหนียว มีความยืดหยุนได และมีรูเล็ก ๆ สามารถจํากัดขนาดของสารที่ผานเขาออกได จึงมีสมบัติเปนเยื่อเลือกผาน คือ ยอมใหโมเลกุลของสารขนาดเล็กผานไดเชน น้ํา แกสออกซิเจน แกสคารบอนไดออกไซด สวนสารขนาดใหญผานไมได เชน โปรตีน

สวนประกอบที่สําคัญของเซลลสัตว

ไมโทคอนเดรีย

คลอโรพลาสต

ไรโบโซม

ผนังเซลล

ไซโทพลาซึม

นวิเคลยีส

เยื่อหุมเซลล

แวคิวโอล

26

Page 32: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

ไรโบโซม

เยื่อหุมเซลล

ไซโทพลาซึม

นวิเคลยีส

ไมโทคอนเดรีย

2. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเปนของเหลวภายในเซลลที่อยูรอบ ๆ นิวเคลียส

มีสารอาหารตาง ๆ อยู เชน น้ําตาล กรดอะมิโน โปรตีน ไขมัน แรธาตุและของเสีย นอกจากนี้

ยังมีโครงสรางที่มีรูปรางลักษณะและหนาที่แตกตางกัน เชน แวคิวโอล (Vacuole) เปนถุงใส

สําหรับเก็บอาหารและของเสียกอนถูกขับออกจากเซลล ไรโบโซม (Ribosome) เปนแหลงสราง

หรือสังเคราะหโปรตีน ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) เปนแหลงสรางพลังงานใหแกเซลล

3. นิวเคลียส (Nucleus) เปนสวนประกอบที่สําคัญของเซลล มีลักษณะคอนขางกลม

มีเยื่อหุม 2 ชั้น มีรูเล็ก ๆ เปนเยื่อเลือกผาน ซึ่งเปนทางผานของสารตาง ๆ เขาและออกจากนิวเคลียส

ภายในมีโครโมโซม บนโครโมโซมมีหนวยพันธุกรรมหรือยีนอยู

ภาพที่ 23 สวนประกอบของเซลลสัตวที่มา : http://www.thaiblogonline.com/student.blog?PostID=3218

27

Page 33: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

จากการศึกษาสวนประกอบของเซลล พบวา เซลลพืชและเซลลสัตวมีสวนประกอบ

ภายในเซลลแตกตางกัน ซึ่งสามารถสรุปสวนประกอบภายในเซลลไดดังนี้

การเปรียบเทียบสวนประกอบของเซลลพืชและเซลลสัตว

1. ผนังเซลล มี ไมมี

2. เยื่อหุมเซลล มี มี

3. นิวเคลียส มี มี

4. ไซโทพลาซึม มี มี

5. คลอโรพลาสต มี ไมมี

6. รูปรางของเซลล รูปเหลี่ยม คอนขางกลม

7. ความแข็งของเซลล แข็ง คงรูปไดนาน ออนนุม

รายการ เซลลพืช เซลลสัตว

28

Page 34: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. สวนประกอบใดของเซลลพืชที่สรางจากสารเซลลูโลส.............................................................

....................................................................................................................................................

2. สวนประกอบของเซลลที่มีลักษณะเปนเม็ดสีเขียว คือ..............................................................

....................................................................................................................................................

3. เซลลพืชและเซลลสัตวมีสวนประกอบใดที่เหมือนกัน...............................................................

....................................................................................................................................................

4. เซลลพืชและเซลลสัตวมีสวนประกอบใดที่ตางกัน....................................................................

....................................................................................................................................................

5. เซลลพืชถาขาดสวนประกอบใดจะไมสามารถสรางอาหารได...................................................

....................................................................................................................................................

กรอบคําถามที่ 4เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

29

Page 35: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เฉลยกรอบคําถามที่ 4เรื่อง สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

1. สวนประกอบใดของเซลลพืชที่สรางจากสารเซลลูโลส

ตอบ ผนังเซลล

2. สวนประกอบของเซลลที่มีลักษณะเปนเม็ดสีเขียว คือ

ตอบ คลอโรพลาสต

3. เซลลพืชและเซลลสัตวมีสวนประกอบใดที่เหมือนกัน

ตอบ เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม นิวเคลียส

4. เซลลพืชและเซลลสัตวมีสวนประกอบใดที่ตางกัน

ตอบ ผนังเซลล คลอโรพลาสต

5. เซลลพืชถาขาดสวนประกอบใดจะไมสามารถสรางอาหารได

ตอบ คลอโรพลาสต

30

Page 36: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

กรอบความรูที่ 5เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

1. ผนังเซลล (Cell Wall) ทําหนาที่ เพิ่มความแข็งแรงและปองกันอันตรายใหกับเซลลพืช

2. เย่ือหุมเซลล (Cell Membrane) ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมปริมาณและชนิดของ

สารบางอยางที่ผานเขาออกจากเซลล เชน น้ํา อาหาร อากาศ และสารละลายตาง ๆ

3. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) ภายในประกอบดวยออรแกเนลลตาง ๆ เชน

3.1 แวคิวโอล (Vacuole) ทําหนาที่ เปนถุงสําหรับเก็บอาหารและของเสีย

3.2 ไรโบโซม (Ribosome) ทําหนาที่ สรางหรือสังเคราะหโปรตีน

3.3 ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) ทําหนาที่ เปนแหลงสรางพลังงานใหเซลล

4. นิวเคลียส (Nucleus) ทําหนาที่ ควบคุมการทํางานของเซลล การเจริญเติบโต

และควบคุมการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

5. คลอโรพลาสต (Chloroplast) ภายในมีสารสีเขียว เรียกวา คลอโรฟลล (Chlorophyll)

ทําหนาที่ดูดกลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตย เพื่อใชในกระบวนการสรางอาหารของพืช

หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว

31

Page 37: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. ผนังเซลล ทําหนาที่อะไร...........................................................................................................

....................................................................................................................................................

2. ผูที่ทําหนาที่เปน ร.ป.ภ. หรือยามประจําหมูบาน เปรียบเสมือนโครงสรางใดของเซลล...........

....................................................................................................................................................

3. ไรโบโซม ทําหนาที่อะไร..........................................................................................................

....................................................................................................................................................

4. สวนประกอบใดของเซลลที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเซลล การเจริญเติบโต

และควบคุมการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต...................................................

.....................................................................................................................................................

5. คลอโรฟลล ทําหนาที่อะไร...................................................................................................

....................................................................................................................................................

กรอบคําถามที่ 5เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญ

ของเซลลพืชและเซลลสัตว

32

Page 38: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เฉลยกรอบคําถามที่ 5เรื่อง หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญ

ของเซลลพืชและเซลลสัตว

1. ผนังเซลล ทําหนาที่อะไร

ตอบ เพิ่มความแขง็แรงและปองกันอันตรายใหกับเซลลพืช

2. ผูที่ทําหนาที่เปน ร.ป.ภ. หรือยามประจําหมูบาน เปรียบเสมือนโครงสรางใดของเซลล

ตอบ เยื่อหุมเซลล

3. ไรโบโซม ทําหนาที่อะไร

ตอบ สรางหรือสังเคราะหโปรตีน

4. สวนประกอบใดของเซลลที่ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเซลล การเจริญเติบโต

และควบคุมการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

ตอบ นิวเคลียส

5. คลอโรฟลล ทําหนาที่อะไร

ตอบ ดูดกลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตย

33

Page 39: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

เซลล คือ หนวยที่เล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวิตกลองจุลทรรศน เปนอุปกรณที่ใชสําหรับสองดูวัตถุที่มีขนาดเล็กมาก ไมสามารถ

มองเห็นรายละเอียดดวยตาเปลาได กลองจุลทรรศนที่นักวิทยาศาสตรใชอยู มี 2 ประเภทคือ กลองจุลทรรศนแบบใชแสง และกลองจุลทรรศนอิเล็กตรอน

สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว คือ สิ่งมีชีวิตที่ประกอบดวยเซลลเพียงเซลลเดียว สิ่งมีชีวิตเหลานี้มีขนาดเล็กมาก มองดวยตาเปลาไมเห็น การศึกษาตองใชกลองจุลทรรศนสองดูไดแก อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา เปนตน

สิ่งมีชีวิตหลายเซลล คือ สิ่งมีชีวิตที่ประกอบดวยเซลลหลายเซลลมารวมกันเปนรูปราง โดยแตละเซลลจะมีรูปรางและหนาที่แตกตางกัน เซลลที่ประกอบกันเปนรูปรางจะมีหนาที่เฉพาะและมีขนาดเล็กมาก มองดวยตาเปลาไมเห็น เซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลลไดแก เซลลกลามเนื้อ เซลลประสาท เซลลเม็ดเลือดแดง เซลลคุมในพืช เปนตน

สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช ไดแก ผนังเซลล เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึมนิวเคลียส และคลอโรพลาสต

สวนประกอบที่สําคัญของเซลลสัตว ไดแก เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึมและนิวเคลียส ผนังเซลลและคลอโรพลาสตพบในเซลลพืชเทานั้น ในเซลลสัตวไมมี

หนาที่ของสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืชและเซลลสัตว1. ผนังเซลล ทําหนาที่ เพิ่มความแข็งแรงและปองกันอันตรายใหกับ

เซลลพืช2. เยื่อหุมเซลล ทําหนาที่ หอหุมเซลลและควบคุมปริมาณและชนิดของ

สารบางอยางที่ผานเขาออกจากเซลล เชน น้ํา อาหาร อากาศ3. นิวเคลียส ทําหนาที่ ควบคุมการทํางานของเซลล การเจริญเติบโต

และควบคุมการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต4. คลอโรพลาสต ภายในมีสารสีเขียว เรียกวา คลอโรฟลล

ทําหนาที่ดูดกลืนพลังงานแสงจากดวงอาทิตย

กรอบสรปุเรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

34

Page 40: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. เซลลหมายถึงขอใด

ก. หนวยที่เล็ก ๆ ของพืช

ข. หนวยที่เล็ก ๆ ของสัตว

ค. หนวยที่เล็ก ๆ ของสิ่งมีชีวิต

ง. สารพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต

2. กลองจุลทรรศนที่ใชในการศึกษาหนวยของสิ่งมีชีวิต เมื่อตองการปรับภาพใหละเอียด

มองเห็นชัดมากขึ้นควรทําอยางไร

ก. หมุนปุมปรับภาพหยาบ

ข. หมุนปุมปรับภาพละเอียด

ค. เลื่อนแทนวางสไลดข้ึน

ง. เปลี่ยนเลนสใกลตา

3. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวกับสิ่งมีชีวิตหลายเซลลแตกตางกันอยางไร

ก. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีความแข็งของเซลลมากกวาสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

ข. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีสวนประกอบพื้นฐานของเซลลที่แตกตางจากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

ค. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีรูปรางเซลลที่เหมือนกัน สวนสิ่งมีชีวิตหลายเซลลมีรูปรางเซลล

ที่แตกตางกัน

ง. สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีเพียงเซลลเดียวก็ดํารงชีวิตอยูได แตสิ่งมีชีวิตหลายเซลลตองมีเซลล

มารวมกลุมกันจึงจะดํารงชีวิตอยูได

4. สิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีรูปรางรียาว มีแฟลกเจลลา (แส) อยูดานบน มีประโยชนใชในการเคลื่อนที่

ก. ไฮดรา

ข. ยูกลีนา

ค. อะมีบา

ง. พารามีเซียม

*********************************************************************************

คําชี้แจง1. ขอสอบเปนแบบปรนัย จํานวน 10 ขอ คะแนนเต็ม 10 คะแนน2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบ ก , ข , ค หรือ ง ที่เห็นวาถูกตองและเหมาะสมที่สุด

เพียงคําตอบเดียว แลวใหนักเรียนทําเครื่องหมายกากบาท ( ) ลงในกระดาษคําตอบ

แบบทดสอบหลังเรียน

เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

35

Page 41: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

5. สวนประกอบของเซลลในขอใดที่พบในเซลลพืชแตไมพบในเซลลสัตว

ก. นิวเคลียสและไซโทพลาซึม

ข. ไซโทพลาซึมและผนังเซลล

ค. ผนังเซลลและคลอโรพลาสต

ง. คลอโรพลาสตและนิวเคลียส

6. หมายเลข 4 ในภาพคืออะไร

7. สวนประกอบใดของเซลลพืชที่มีความสําคัญมากที่สุดตอกระบวนการสรางอาหารของพืช

ก. นิวเคลียส

ข. เยื่อหุมเซลล

ค. คลอโรพลาสต

ง. ไมโทคอนเดรีย

8. สวนประกอบของเซลลพืชสวนใดที่ทําหนาที่เปรียบเสมือนยามประจําหมูบาน

ก. ผนังเซลล

ข. เยื่อหุมเซลล

ค. นิวเคลียส

ง. ไซโทพลาซึม

9. ผนังเซลลทําหนาที่อะไร

ก. เพิ่มความแข็งแรงใหกับเซลลพืช

ข. สรางพลังงานใหกับเซลล

ค. ถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ง. หอหุมเซลลใหคงรูปราง

10. นิวเคลียสทําหนาที่อยางไร

ก. เปนแหลงสังเคราะหดวยแสง

ข. สะสมอาหารและสังเคราะหดวยแสง

ค. ควบคุมการผานเขาออกของสาร

ง. ควบคุมการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

4

13

2 ก. นิวเคลียส

ข. ไมโทคอนเดรีย

ค. เยื่อหุมเซลล

ง. คลอโรพลาสต

36

Page 42: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

บรรณานุกรม

ถนัด ศรีบุญเรือง. (2548). สื่อสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร

สัมฤทธิ์มาตรฐานวิทยาศาสตร ม.1 เลม 1. (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน.

บัญชา แสนทวี และคณะ. (2550). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานวิทยาศาสตร เลม 1

ชวงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.

ประดับ นาคแกว และคณะ. (2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร ชั้น ม.1. กรุงเทพฯ : แม็ค.

ยุพา วรยศ และคณะ. (2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรู

วิทยาศาสตร ม. 1 ชวงชั้นที่ 3. (พิมพครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน.

ศรีลักษณ ผลวัฒนะ และคณะ. (2545). สื่อการเรียนรูและเสริมสรางทักษะตามมาตรฐานการเรียนรู

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: นิยมวิทยา.

สงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี, สถาบัน. (2541). หนังสือเรียนวิทยาศาสตร ว 102.

(พิมพครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

________ . (2545). หนังสือเรียนชีววิทยา เลม 1 ว 441. (พิมพครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ :

โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

________ . (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานชีวิตกับสิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตกับ

กระบวนการดํารงชีวิต. (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

________ . (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เลม 1

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

________ . (2548). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานและเพิ่มเติมชีววิทยา เลม 3

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5. (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว.

กลองจุลทรรศนใชแสงแบบธรรมดา. (2549). [On-line]. Available : http://www.weerasak.net/

ch_1.html. [2549, กุมภาพันธ 5].

กลองจุลทรรศนใชแสงแบบสเตอริโอ. (2549). [On-line]. Available : http://www.stereomicroscopes.

manufac...cope.htm. [2549, กุมภาพันธ 5].

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองกราด. (2549). [On-line]. Available : http://webdb.dmsc.moph.

go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=437. [2549, กุมภาพันธ 5].

กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบสองผาน. (2549). [On-line]. Available : http://webdb.dmsc.moph.

go.th/ifc_nih/a_nih_1_001c.asp?info_id=437. [2549, กุมภาพันธ 5].

37

Page 43: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

บรรณานุกรม (ตอ)

โครงรางของเซลล. (2549). [On-line]. Available : http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/

bio1/Chapter3/Part1_1.html. [2549, กุมภาพันธ 5].

เซลลกลามเน้ือเรียบ. (2549). [On-line]. Available : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/...t/

m6.PNG. [2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลคุมของใบวานกาบหอย. (2549). [On-line]. Available : http://www.ipst.ac.th/biology/

PicGaller...ell2.jpg. [2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลประสาท. (2549). [On-line]. Available : http://www.education.vetmed.vt.edu/curriculum/

vm8054/Labs/Lab10/lab10.html. [2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลเม็ดเลือดแดง. (2549). [On-line]. Available : http://www.herbs-hands-healing.co.uk/

pi...ells.jpg. [2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลเย่ือหอม. (2549). [On-line]. Available : http://www.vcharkarn.com/uploads/45/45164.jpg.

[2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลเย่ือบุขางแกม. (2549). [On-line]. Available : http://www.vcharkarn.com/uploads/45/45165.jpg.

[2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลอสุจิของคน. (2549). [On-line]. Available : http://www.babble.com/CS/blogs/stroller...

onor.jpg. [2549, กุมภาพันธ 10].

เซลลสาหรายหางกระรอก. (2549). [On-line]. Available : http://www.acr.ac.th/acr/ACR_CAI/

Junjir...e139.jpg. [2549, กุมภาพันธ 10].

เทโอดอร ชวันน. (2549). [On-line]. Available : http://www.thaigoodview.com/library/

con...wann.jpg. [2549, กุมภาพันธ 12].

พารามีเซียม. (2549). [On-line]. Available : http://www.biologycorner.com/gallery.php .

[2549, กุมภาพันธ 20].

มัตทิอัส ยาคอบ ชไลเดน. (2549). [On-line]. Available : http://www.math.uni-hamburg.de/spag/

ign...leid.jpg. [2549, กุมภาพันธ 12].

ยูกลีนา. (2549). [On-line]. Available : http://www.biologycorner.com/gallery.php .

[2549, กุมภาพันธ 20].

โรเบิรต ฮุก. (2549). [On-line]. Available : http://www.evbg.de/de/ags/7b_2009/1/Rob...ooke.jpg.

[2549, กุมภาพันธ 20].

38

Page 44: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

บรรณานุกรม (ตอ)

สวนประกอบของเซลลพืช. (2549). [On-line]. Available : http://www.thaiblogonline.com/

student.blog?PostID=3218. [2549, กุมภาพันธ 20].

สวนประกอบของเซลลสัตว. (2549). [On-line]. Available : http://www.thaiblogonline.com/

student.blog?PostID=3218. [2549, กุมภาพันธ 20].

อะมีบา. (2549). [On-line]. Available : http://www.biologycorner.com/gallery.php .

[2549, กุมภาพันธ 20].

39

Page 45: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

ภาคผนวก

Page 46: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. ง

2. ก

3. ค

4. ข

5. ง

6. ค

7. ง

8. ก

9. ค

10. ข

เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน

เรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

41

Page 47: บทเรียนสําเร็จรูป · 2010-05-18 · ภาพที่ 2 โครงร างของเซลล 6 ภาพที่ 3 มัตทิอัส

1. ค

2. ข

3. ง

4. ข

5. ค

6. ง

7. ค

8. ข

9. ก

10. ง

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียนเรื่อง โครงสรางและหนาที่ของเซลล

42