มูลนิธิการศึกษาไทย (thai education...

9
เอกสารนาเสนอในการประชุมวิชาการเพื่อเตือนภัยสารเคมีกาจัดศัตรูพืช ประจาปี ๒๕๕๗ โดยมูลนิธิการศึกษาไทย มูลนิธิการศึกษาไทย (Thai Education Foundation) ประสบการณ์การแก้ปัญหาสารเคมีกาจัดศัตรูพืชผ่านระบบการศึกษา 1. ความเป็นมาของมูลนิธิการศึกษาไทย ได้พัฒนาโครงการนิเวศเกษตรเพื่อการดารงชีวิตในชนบท Rural Ecological Agriculture for Livelihood(REAL) Project ขึ ้นเมื่อปีพศ. ๒๕๔๓ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างความตระหนักถึงความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพในพื ้นที่การเกษตรต่อการดารงชีวิตของ ชุมชนเกษตรกร เพื่อสร้างความตระหนักถึงผลกระทบจากสารเคมีการเกษตรต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม เพื่อส ่งเสริมให้ชุมชน อนุรักษ์ชนิดพันธุ์ ที่สาคัญต่อการดารงชีวิต การลดการใช้สารเคมีการเกษตรและ การปรับกระบวนการปลูกพืชที่เป็นมิตรต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม กลุ ่มเป้ าหมาย (ปัจจุบัน) กลุ่มเป้าหมาย ผู้สอน/ อบรม หน่วยงาน นักเรียน ครู โรงเรียนชนบท (สพฐ.) นักศึกษา อาจารย์ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี เกษตรกร ครูอาสา ศูนย์การศึกษานอกระบบ (กศน.) 2. ข้อมูลสรุปสถานการณ์การใช้สารเคมีการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555 ข้อมูลการสารวจสารเคมีกาจัดศัตรูพืช จากเกษตรกรจานวน 248 คน จาก 4 อาเภอ คือ อ.สันป่าตอง อ.สันทราย อ.สารภี และ อ.หางดง โดยนักเรียนในโครงการจานวน 6 โรงเรียนและครูอาสาสมัครศูนย์การศึกษานอก โรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 1. ชนิดและประเภทของสารเคมี ทีชื่อการค้า ชื่อสามัญ ระดับความ เป็นพิษ กลุ ่มสารเคมี ประเภท แถบสี 1 อีซี่น๊อก EPN Ia OP กาจัดแมลง แดง 2 มัช C 33 Dicrotophos Ib OP กาจัดแมลง าเงิน 3 แพนแคม Carbofuran Ib C กาจัดแมลง เหลือง 4 เอ็นโดเต็ม Endosulfan II OC กาจัดแมลง เหลือง 5 แลนเนท Methomyl II C กาจัดแมลง เหลือง

Upload: others

Post on 24-Oct-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    มูลนิธิการศึกษาไทย (Thai Education Foundation)

    ประสบการณ์การแก้ปัญหาสารเคมีก าจัดศัตรูพชืผ่านระบบการศึกษา

    1. ความเป็นมาของมูลนิธิการศึกษาไทย

    ไดพ้ฒันาโครงการนิเวศเกษตรเพื่อการด ารงชีวติในชนบท “Rural Ecological Agriculture for Livelihood”

    (REAL) Project ข้ึนเม่ือปีพศ. ๒๕๔๓ โดยมีวตัถุประสงค ์

    เพื่อสร้างความตระหนกัถึงความส าคญัของความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นท่ีการเกษตรต่อการด ารงชีวิตของ

    ชุมชนเกษตรกร

    เพื่อสร้างความตระหนกัถึงผลกระทบจากสารเคมีการเกษตรต่อสุขภาพและส่ิงแวดลอ้ม

    เพื่อส่งเสริมใหชุ้มชน อนุรักษช์นิดพนัธ์ุ ท่ีส าคญัต่อการด ารงชีวติ การลดการใชส้ารเคมีการเกษตรและ

    การปรับกระบวนการปลูกพืชท่ีเป็นมิตรต่อสุขภาพและส่ิงแวดลอ้ม

    กลุ่มเป้าหมาย (ปัจจุบัน)

    กลุ่มเป้าหมาย ผูส้อน/ อบรม หน่วยงาน นกัเรียน ครู โรงเรียนชนบท (สพฐ.) นกัศึกษา อาจารย ์ วทิยาลยัเกษตรและเทคโนโลยี เกษตรกร ครูอาสา ศูนยก์ารศึกษานอกระบบ (กศน.)

    2. ข้อมูลสรุปสถานการณ์การใช้สารเคมีการเกษตรของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2555

    ขอ้มูลการส ารวจสารเคมีก าจดัศตัรูพืช จากเกษตรกรจ านวน 248 คน จาก 4 อ าเภอ คือ อ.สันป่าตอง

    อ.สันทราย อ.สารภี และ อ.หางดง โดยนกัเรียนในโครงการจ านวน 6 โรงเรียนและครูอาสาสมคัรศูนยก์ารศึกษานอก

    โรงเรียนและการศึกษาตามอธัยาศยัอ าเภอสันทราย จงัหวดัเชียงใหม่

    1. ชนิดและประเภทของสารเคมี

    ที่ ช่ือการค้า ช่ือสามัญ ระดับความเป็นพษิ

    กลุ่มสารเคมี ประเภท แถบสี

    1 อีซ่ีน๊อก EPN Ia OP ก าจดัแมลง แดง 2 มชั C 33 Dicrotophos Ib OP ก าจดัแมลง น ้าเงิน 3 แพนแคม Carbofuran Ib C ก าจดัแมลง เหลือง 4 เอน็โดเตม็ Endosulfan II OC ก าจดัแมลง เหลือง 5 แลนเนท Methomyl II C ก าจดัแมลง เหลือง

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    ที่ ช่ือการค้า ช่ือสามัญ ระดับความเป็นพษิ

    กลุ่มสารเคมี ประเภท แถบสี

    6 โคเรส Fenobucarb II C ก าจดัแมลง เหลือง 7 คอมเอต Dimethoate II OP ก าจดัแมลง เหลือง 8 วาเลนเชีย Cypermethrin II PY ก าจดัแมลง เหลือง 9 มอเตอร์เว Chlorphirfos II OP ก าจดัแมลง เหลือง

    10 ซนัเมดทริค Deltamethrin II PY ก าจดัแมลง เหลือง 11 กาลิปเอสพี Cartap II - ก าจดัแมลง เหลือง 12 เดทมีล 5 Metaldehyde II - ก าจดัแมลง เหลือง 13 โพลิเทค Beta-cyfluthrin II PY ก าจดัแมลง น ้าเงิน 14 เกาโซ 70 Imidacloprid II Neonicotinoid ก าจดัแมลง น ้าเงิน 15 ทาลสตาร์ Bifenthrin II PY ก าจดัแมลง น ้าเงิน 16 มอนเต ้6.8 จี 2,4-D II PAA ก าจดัวชัพืช เหลือง 17 กรัมมอ๊กโซน Paraquat II BP ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 18 ไอพน่ Cyhalothrin II PY ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 19 มาแชล 5 จี Carbosulfan II C ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 20 กาลแล็นท ์ Haloxifop II - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 21 ซนัไรซ์ Lethoxysulforonl II - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 22 แลสโซ่ Alachor II - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 23 เพนเทอร่า Quizalofop- p –tefuryl II - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 24 อาทาบรอน Chlorfluazuron II - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 25 อะมูเร่

    Propiconazole II - ก าจดัโรคพืช

    น ้าเงิน

    26 Difenoconazole III - 27 แอค็โซมาเนบ 80 Maneb III TC ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 28 ฟังกรูาน Copper hydroxide III CU ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 29 เมท็กรีน Metalaxyl III ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 30 สกอร์ Difenoconazole III - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 31 ไตรนิฟอน Triadimefon III - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 32 ฟูจีวนั Isoprothiolane III - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 33 โอไมล์ Propargite III - ก าจดัแมลง น ้าเงิน 34 รัชโก Prochloraz III ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    ที่ ช่ือการค้า ช่ือสามัญ ระดับความเป็นพษิ

    กลุ่มสารเคมี ประเภท แถบสี

    35 อีซี-ไมล ์ Amitraz III - ก าจดัแมลง น ้าเงิน 36 แพนเทอร่า Quizalofop III - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 37 เซพวนิ Carbaryl IV C ก าจดัแมลง เหลือง 38 กากชา Saponin IV - ก าจดัแมลง เหลือง 39 อะบาเมค็ติน Abamectin IV - ก าจดัแมลง เหลือง 40 จินกุน Benomyl IV - ก าจดัแมลง เหลือง 41 เจอพั 48 Glyfosate IV - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 42 อลัมิคส์ Metsulfuron IV - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 43 ดาราทอ๊ก Methyldymron IV - ก าจดัวชัพืช

    น ้าเงิน

    44 Buttachlor IV - 45 แพนแทบ Cartap IV - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 46 Dithane LF Mancozeb IV TC ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 47 แอนทราโคล Propineb IV TC ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 48 อาทราซีน Atrazine IV T ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 49 โคแมก Zineb IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 50 โตร่า 2 อี Oxyfluorfen IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 51 อมิสตา Azoxystrobine IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 52 โลซาน Carbendazim IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 53 ราไฟท ์ Metalaxyl IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 54 ไอตาแลกซ์ Carboxin IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 55 คาซูแรน Kasugamycin IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 56 พรีวเิคอร์เอ็น Propamocarb –

    hydrochloride IV - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน

    57 วปิ 75 Fenazaflor O - ก าจดัวชัพืช น ้าเงิน 58 ทอ๊ปซิน-เอม็ Thiophanate methyl O - ก าจดัโรคพืช น ้าเงิน 59 โมคาป Acetamiprid - Neonicotinoid ก าจดัแมลง น ้าเงิน

    พบสารเคมีจ านวน 539 ตวัอยา่ง มีช่ือสามญัเพียง 59 ชนิด มีช่ือการคา้ท่ีแตกต่างกนั ในขณะท่ีมีช่ือสามญัเป็นช่ือ

    เดียวกนั และ มีสารเคมีบางตวัอยา่ง มีช่ือสามญั 2 ช่ือปรากฏอยูด่ว้ยกนั เช่น ช่ือการคา้ อามูเล่ เป็นสารก าจดัโรคพืช มีช่ือ

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    สามญั 2 ช่ือ คือ Propiconazole (II) + Difenoconazole (III) นอกจากน้ียงัพบสาร Endosulfan (II) ซ่ึงหา้มจ าหน่าย หา้มใช้

    และหา้มมีไวใ้นครอบครอง รวมทั้งสารเคมีท่ีอยูใ่นรายการเสนอใหย้กเลิก 4 ชนิด คือ EPN , Dicrotophos, Carbofuran และ

    Methomyl และ มีสารเคมีบางชนิดท่ีมีการเร่ิมใชใ้นพื้นท่ีในระยะ 1-2 ปีท่ีผา่นมา คือ Imidacloprid และ Acetamiprid ซ่ึงเป็น

    สารเคมีในกลุ่มนีโอนิโคตินอยด ์(Neonicotinoid) ท่ีเป็นพิษต่อ ผึ้ง อยา่งรุนแรง

    1.1 กราฟแสดงประเภทของสารเคมี จากการส ารวจพบ

    ตวัอยา่ง 539 ตวัอยา่ง ซ่ึงแบ่งตามประเภทการใชง้าน

    ได ้3 กลุ่ม คือ สารเคมีก าจดัแมลง 45 % สารเคมี

    ก าจดัวชัพืช 44 % และ สารเคมีก าจดัโรคพืช 11 %

    1.2 กราฟแสดงสารเคมีก าจัดวชัพืช พบตวัอยา่ง 235

    ตวัอยา่ง และมีช่ือสามญัท่ีปรากฏซ ้ าเป็นจ านวนคร้ังมาก

    ท่ีสุดจากตวัอยา่งท่ีพบจากการส ารวจ คือ ไกลโฟเซต พา

    ราควอต อะลาคลอร์ บิวทาคลอร์ 2-4, D และช่ือสามญั

    อ่ืนๆ

    1.3 กราฟแสดงสารเคมีก าจัดแมลง พบตวัอยา่ง 242 ตวัอยา่ง และมีช่ือสามญัท่ีปรากฏซ ้ าเป็นจ านวนคร้ังมากท่ีสุดจากตวัอยา่งท่ีพบจากการส ารวจ คือ อะบาเมค็ติน ไซเพอร์เมธริน เมโทมิล ฟิโนบูคาร์บ คาร์บาริล และ ช่ือสามญัอ่ืนๆ

    1.4 กราฟแสดงประเภทของสารเคมี ก าจัดโรคพชื พบตวัอยา่ง 62 ตวัอยา่ง และมีช่ือสามญัท่ีปรากฏซ ้ าเป็นจ านวนคร้ังมากท่ีสุดจากตวัอยา่งท่ีพบจากการส ารวจ คือ คาร์เบนดาซิม แมนโคเซบ มาเนบ โพรพิโคนาโซล ไดฟิโนโคนาโซล และ ช่ือสามญัอ่ืนๆ

    44% 45%

    11% สารก าจัดวัชพืช

    สารก าจัดแมลง

    สารก าจัดโรคพืช

    41 % 35%

    6 % 5 % 3 % 10 %

    26 %

    13 % 12 % 12 % 5 %

    32

    16 % 8 % 8 % 7 % 7 %

    54%

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    1.5 กราฟแสดงระดับความเป็นพษิของ

    สารเคมี จากการส ารวจพบวา่ สารเคมีท่ี

    เกษตรกรใช ้สามารถแยก ตามระดบัความ

    เป็นพิษต่างๆได ้คือ ระดบัความเป็นพิษ

    ร้ายแรงยิง่ (Ia) 1 % ระดบัความเป็นพิษ

    ร้ายแรง (Ib) 3 % ซ่ึงสารเคมีท่ีพบจากการ

    ส ารวจ อยูใ่นระดบัความเป็นพิษทั้ง Ia และ

    Ib เป็นสารเคมีท่ีถูกจดัให้อยูใ่นการเฝ้าระวงั คือ EPN (Ia), Dicrotophos (Ib), Carbofuran (Ib) ส่วนสารเคมีท่ีอยูใ่น

    ระดบัความเป็นพิษปานกลาง (II) พบสูงถึง 48% (พบสารเคมีท่ีหา้มใช ้หา้มจ าหน่าย ห้ามมีไวใ้นครอบครอง คือ

    Endosulfan ) สารเคมีท่ีจดัอยูใ่น ระดบัความเป็นพิษนอ้ย (III ) 4% และ ระดบัความเป็นพิษนอ้ยท่ีสุด (IV) 43 %

    อีกทั้งยงัพบสารเคมีท่ีไม่สามารถจ าแนกระดบัความเป็นพิษได ้ 1 %

    1.6 กราฟแสดงกลุ่มสารเคมี พบสารเคมีอยูใ่นกลุ่มสารเคมี ต่างๆ คือกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟส (OP) ท่ีมีผลขดัขวางการท างานของระบบประสาทรอบนอก (เกิดระยะยาว) 4 % กลุ่มออร์แกนโนคลอรีน (OC) มีผลขดัขวางการท างานของระบบประสาทส่วนกลาง (เกิดระยะยาว) 1% กลุ่มคาร์บาเมต (C) ท่ีมีผลขดัขวางระบบประสาทรอบนอก (เกิดระยะสั้น) 16 % กลุ่มไธโอคาร์บาเมต (TC) ผลกระทบสร้างความระคายเคืองต่อตา ผวิหนงั และทางเดินหายใจ พบ 2 % กลุ่มไพรีทรอยด ์(PY) มีผลกระทบสร้างความระคายเคืองต่อตา ผวิหนงั และ ทางเดินหายใจ พบ 8 % กลุ่มพาราควอท (P) เป็นพิษอยา่งมากต่อผวิหนงัและเยือ่บุท่ีอยูใ่นปาก จมูกและตา รวมทั้งทางเดินหายใจส่วนบน ถา้สามารถเขา้ไปในกระแสเลือด (ผา่นทางผวิหนงั หรือ โดยการกินเขา้ไป) ท าใหป้อดและไตลม้เหลวได ้พบ 15% และเป็นกลุ่มอ่ืนๆ 1 % จากขอ้มูลพบวา่มีสารเคมีท่ีไม่สามารถจ าแนกกลุ่มไดถึ้ง 53%

    Ia1%

    Ib 3%

    II 48%

    III 4%

    IV 43%

    ไม่สามารถ

    จ าแนกได้1% Ia (ความเป็นพษิร้ายแรงยิ่ง)

    Ib (ความเป็นพษิร้ายแรง)

    II (ความเป็นพษิปานกลาง)

    III (ความเป็นพษิน้อย)

    IV (ความเป็นพษิน้อยที่สุด)

    ไม่สามารถจ าแนกระดับได้

    OP 4% OC 1%

    C 16% PY 8%

    TC 2%

    P 15%

    อ่ืนๆ 1%

    ไมส่ามารถจ าแนก

    กลุม่ได้53%

    OP – ออแกนโนฟอสเฟส

    OC – ออแกนโนคลอรีน

    C – คาร์บาเมต

    PY – ไพรีทรอยด์

    TC-ไธโอคาร์บาเมต

    P - พาราควท

    กลุม่อ่ืนๆ

    ไมส่ามารถจ าแนกกลุม่ได้

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    1.7 กราฟแสดงแถบสี ความหมายของ แถบสีเพื่อแสดงระดบัความเป็นพิษของสารเคมี คือ แถบสีแดง หมายถึง (Ia, Ib) ระดบัความเป็นพิษสูง แถบเหลือง หมายถึง (II) ระดบัความเป็นพิษปานกลาง และแถบสีน ้าเงิน หมายถึง (III, IV) ระดบัความเป็นพิษนอ้ย จากการส ารวจ พบวา่ Dicrotophos (Ib ใชแ้ถบสีน ้าเงิน) และ Carbofuran (Ib ใชแ้ถบสีเหลือง) นอกจากน้ียงัพบสารเคมีท่ีอยูใ่นระดบัความเป็นพิษปานกลาง (II) แต่ใชแ้ถบสีน ้าเงินถึง 12 ชนิด จาก 22 ชนิด ซ่ึงควรจะแถบเป็นสีเหลือง หากพิจารณาจากการเทียบแถบสี กบัระดบัความเป็นพิษดงักล่าวในขา้งตน้ (สันนิษฐานวา่ การแสดงถึงสูตรผสม formulation และ percentage ของ สารออกฤทธ์ิต่างๆ ในสูตรผสม อาจจะเป็นตวัช้ีวดั หรือ ตวัก าหนด ในการใชแ้ถบสี color code บนฉลากบนภาชนะบรรจุ )

    2. ปริมาณการใช้สารเคมี

    จากการส ารวจปริมาณการใชส้ารเคมีของเกษตรกรในพื้นท่ี 4 อ าเภอ ในจงัหวดัเชียงใหม่ โดยสัมภาษณ์ เกษตรกร

    248 ครัวเรือน ปลูกพืชชนิดต่างๆ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ พืชไร่ ไดแ้ก่ ขา้วและขา้วโพด มีพื้นท่ีปลูกพืช 2 ชนิดน้ีรวมกนั 2,228

    ไร่ ใชส้ารเคมี 114,990 ลิตรต่อปี พืชกลุ่มท่ี 2 พืชผกัและดอกไม ้ไดแ้ก่ กะหล ่าปลี ผกักาดขาว ถัว่ฝักยาว แตงกวา ดอก

    เบญจมาศฯ พื้นท่ีปลูกรวม 155 ไร่ ใชส้ารเคมี 117,511 ลิตรต่อปี และ กลุ่มไมผ้ล ไดแ้ก่ ล้ินจ่ี ล าไย มะม่วง พื้นท่ีปลูก 136

    ไร่ ใชส้ารเคมี 30,365 ลิตร ต่อปี กราฟที ่2 แสดงปริมาณการใช้สารเคมี ในพชืแต่ละชนิดในพืน้ที ่1 ไร่

    ข้าว

    กะหล ่าปลี

    ล าไย

    ข้าวโพด

    ถัว่ฝักยาว

    ผกักาดขาว

    ดอกไม้ เบญจมาศ

    มะเขือเจ้าพระยา

    ฟักทอง

    มะเขือยาว

    ชะอม

    หอมใหญ่

    พริก

    แตงกวา

    บล็อกคลอลี ่

    ลิน้จี่

    มนัเทศ

    บวบ

    ผกัแวน่

    มะมว่ง

    82

    895

    223 193

    1,230

    1,830

    540

    1,120

    340 468

    176

    480

    136 252

    60 20

    400

    160 27 60

    ปริมาณการใช้สารเคมีที่ผสมแล้วในพืน้ที่ 1 ไร่ของเกษตรกรในแต่ละชนิดพืช

    ปริมาณการใช้สารเคมีท่ีผสมแล้ว(ลิตร:ไร่)

    2%

    37%

    61%

    แถบสีแดง

    แถบสีเหลือง

    แถบสีน า้เงิน

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    3. พฤติกรรมการเกบ็และการทิง้ภาชนะสารเคมี

    3.1 กราฟแสดงการเกบ็สารเคมี จากการส ารวจบา้น

    เกษตรกร 248 หลงัคาเรือน พบ มีการจดัเก็บ

    สารเคมี ในห้องเก็บอุปกรณ์ 36 % เก็บบริเวณใตถุ้น

    บา้น 24 % ในกระท่อมบริเวณนาและสวน 17%

    ในแปลงเกษตร 15 % ตน้ไมใ้นเขตพื้นท่ีรอบๆบา้น

    4 % และ หอ้งน ้า หรือหอ้งอ่ืนๆภายในบา้น 1%

    ริมร้ัว 1% ยุง้ฉางขา้ว 1% ใกลแ้หล่งน ้า 1 %

    3.2 กราฟแสดง การทิง้ภาชนะทีบ่รรจุสารเคมี จากการ

    ส ารวจเกษตรกร 248 หลงัคาเรือน พบวา่เกษตรกรใช้

    วธีิต่างๆ ในการทิ้งภาชนะบรรจุสารเคมี เช่น ฝังมาก

    ท่ีสุดถึง 25% ทิ้งในถงัขยะ 20% ทิ้งตามพุม่ไมแ้ละใต้

    ตน้ไม ้13% ขายใหร้ถของเก่า 12% ทิ้งใกลแ้หล่งน ้า

    10% ในพื้นท่ีนา 9% ริมร้ัว 9% และเผา 2 %

    ผลกระทบต่อ

    การเกบ็สารเคมี การทิง้สารเคมี

    ปลอดภัย ไม่ปลอดภัย ปลอดภัย ไม่ปลอดภัย

    เด็ก 25% 75% - 100%

    อาหาร - 100% - 100%

    น า้ - 100% - 100%

    สัตว์เลีย้ง - 100% - 100%

    สรุปข้อมูลความเส่ียงในการเกบ็สารเคมแีละทิง้ภาชนะบรรจุสารเคมีเกษตรกร

    36%

    24%

    17%

    15%

    4%

    1% 1% 1% 1%

    การเก็บภาชนะบรรจุสารเคมี

    ในหอ้งเกบ็ของ

    ใตถุ้นบา้น

    กระท่อมบริเวณนาและสวน

    ในแปลงนา/พื้นท่ีสวน

    ใตต้น้ไมร้อบๆบริเวณในเขตพื้นท่ีรอบๆบา้น

    ยุง้ฉางขา้ว

    ในบริเวณหอ้งน ้า/หอ้งครัว/หอ้งนอน

    ริมร่ัว

    ใกลแ้หล่งน ้า

    25%

    20% 13%

    12%

    10%

    9%

    9% 2%

    การทิง้ภาชนะบรรจุสารเคมี

    ฝังไว้ในพืน้ท่ีนา

    ในถงัขยะ

    ใต้ต้นไม้ใหญ่

    ขายให้รถรับซือ้ของเก่า

    ทิง้ใกล้แหลง่น า้

    ริมร่ัว

    พืน้ท่ีนาและริมร่ัว

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    4. พฤติกรรมการฉีดพ่นสารเคมีและการใช้อุปกรณ์ป้องกันของเกษตรกร

    จากการส ารวจ เกษตรกร 248 ราย พบวา่ ใน ระหวา่งผสมสารเคมี เกษตรกรเกิน50 % มีการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกนัตวัเอง เช่น ถุงมือ หนา้กาก และ การอ่านฉลากสารเคมีก่อนผสม และอ่ืนๆ เช่น ใชส้ารเคมีมากกวา่ 2 ชนิดข้ึนไปผสมในการฉีดพน่ ใชมื้อเปล่าสัมผสั ผสมสารเคมี มีเด็กเล็กอยูใ่กล ้รวมถึงการผสมสารเคมีใกลแ้หล่งน ้าท่ีใชส้ าหรับการอุปโภคและบริโภค

    ดงัแสดงในกราฟ

    ส่วนพฤติกรรมในระหวา่งฉีดพน่สารเคมี จะ

    พบวา่เกษตรกร เกิน 50 % สวมใส่อุปกรณ์ป้องกนัตวัเอง

    เช่น หนา้กาก รองเทา้บูท เส้ือแขนยาว และ กางเกงขายาว

    การค านึงถึงทิศทางลม สวมแวน่ตา การสวมถุงมือ แต่ยงั

    มีพฤติกรรมท่ีเส่ียงในขณะการฉีดพน่สารเคมีของ

    เกษตรกร เช่นการสูบบุหร่ี การด่ืมกินน ้าและอาหาร การ

    ขยี้ตาและสัมผสัร่างกายขณะฉีดพน่สารเคมี ดงัแสดงใน

    กราฟ

    นอกจากน้ี พบวา่หลงัฉีดพน่สารเคมี เกษตรกร

    เกิน 50 % อาบน ้าช าระร่างกายและซกัเส้ือผา้ทนัที แต่มี

    เกษตรกรบางคน หลงัการฉีดพน่สารเคมี ลา้งอุปกรณ์ใน

    แหล่งน ้า และด่ืมน ้าและกินอาหารทนัท่ีหลงัฉีดพน่

    สารเคมี โดยท่ียงัไม่มีการช าระร่างกาย ดงัแสดงในกราฟ

    5. อาการทีเ่กดิขึน้ในเกษตรกรเน่ืองจากการรับพษิสารเคมี

    การแบ่งระดบัความรุนแรงของอาการ ออกเป็น 3 ระดบั คือ ระดบัอาการเล็กนอ้ย (เช่น ปวดศรีษะ ไอ วงิเวยีน/หนา้

    มืด/ ตาลาย คอแหง้ คนัผิวหนงั) ระดบัอาการปานกลาง (เช่น มือสั่น นอนไม่หลบั ตาพร่ามวั ปวดเกร็งทอ้ง คล่ืนใส้

    อาเจียน ) ระดบัอาการรุนแรง ( เช่น ลมชกั วบูหมดสติ ไม่รู้สึกตวั )

    213 188 221 114

    2 5 45

    พฤตกิรรมของเกษตรกรระหว่างผสมสารเคมี (จ านวน 248 ราย )

    204 221 221

    176

    124

    77

    25 20 42

    พฤติกรรมของเกษตรกรระหว่างการฉีดพ่นสารเคมี (จ านวน 248 ราย )

    226 203

    7 64

    พฤติกรรมของเกษตรกรหลังการฉีดพ่นสารเคมี (จ านวน 248 ราย)

  • เอกสารน าเสนอในการประชมุวชิาการเพื่อเตือนภยัสารเคมีก าจดัศตัรูพืช ประจ าปี ๒๕๕๗ โดยมลูนิธิการศกึษาไทย

    จากการส ารวจเกษตรกร 248 คน พบวา่ เกษตรกร เคยมีอาการท่ีเกิดข้ึนเน่ือง จากการไดรั้บพิษสารเคมีต่างๆ ซ่ึงสามารถประเมินแบ่งตามระดบัความรุนแรงของอาการ ไดด้งัต่อไปน้ี คือ ระดบัความรุนแรงของอาการปานกลาง พบ 51% (ซ่ึงอาการท่ีพบมาก คือ มือสั่น นอนไม่หลบั ตาพร่ามวั และ เจบ็แน่นหนา้อก) ส่วน ระดบัความรุนแรงอาการเล็กนอ้ย มี 48% ( เช่น คนัผวิหนงั หมดแรง คอแหง้ ไอ แสบจมูกและแสบตา) และ ระดบัอาการรุนแรง พบ 1 % (เช่น ลมชกั วบูหมดสติ และไม่รู้สึกตวั) ดงัแสดงในกราฟ

    3. โครงการต่างๆ

    จากขอ้มูลสารสถาณการณ์การใชส้ารเคมีขา้งตน้ ไดมี้การน าเสนอต่อชุมชนเพื่อวเิคราะห์และจดัท าแผนลดการใช้

    สารเคมีชุมชนโดยใชข้อ้มูลเป็นตวัช้ีวดัในการก าหนดเป้าหมายและติดตามผลการด าเนินโครงการต่างๆเช่น

    • การอบรมการจดัการศตัรูพืชโดยวธีิผสมผสาน IPM

    • การผลิตปุ๋ยและการใชส้ารทดแทน

    • การอนุรักษแ์ละการพฒันาพนัธ์ุ

    • การตลาด

    • การแลกเปล่ียนและถ่ายทอดองคค์วามรู้ใหแ้ก่นกัเรียน เวทีแลกเปล่ียนความรู้ระดบัชุมชน ประเทศ

    และระดบัภูมิภาค

    • นิทรรศการ

    • การสร้างเครือข่าย

    ปัจจุบนัไดมี้การขยายโครงการ REAL Project สู่ประเทศ กมัพชูา จีน ลาว เวยีดนาม ฟิลลิปปินส์ และเมียนม่าห์โดย

    การสนบัสนุนจาก Kemi/ Sida (Sweden).

    1%

    51% 48%

    เปรียบเทียบอาการที่พบในแต่ละระดับ

    อาการรุนแรง

    อาการปานกลาง

    อาการเล็กน้อย