โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง comparison of treatment...

16
โครงการศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาเกี่ยวกับความรุนแรงของมะเร็งที่ลิ้นในผูปวยอายุนอย เปรียบเทียบกับผูปวยอายุมากที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลราชวิถี Comparison of treatment outcome in younger and elder oral tongue cancer patients in Rajavithi hospital ผูวิจัย พญ. ศุภลักษณ เจนตเจษฎาธรรม แพทยประจําบาน สาขา โสต ศอ นาสิก .. ราชวิถี การวิจัยนี้ถือเปนสวนหนึ่งของการศึกษาและฝกอบรมตามหลักสูตรเพื่อ วุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของแพทยสภา พุทธศักราช 2550 ลิขสิทธิ์ของสถาบันฝกอบรม ศูนยการแพทยเฉพาะทาง โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลราชวิถี

Upload: others

Post on 09-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

โครงการศึกษาวิจยัเรื่อง

การศึกษาเกี่ยวกับความรุนแรงของมะเร็งที่ลิ้นในผูปวยอายุนอยเปรียบเทียบกับผูปวยอายุมากที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลราชวิถี

Comparison of treatment outcome in younger and elder

oral tongue cancer patients in Rajavithi hospital

ผูวิจัย

พญ. ศุภลักษณ เจนตเจษฎาธรรม

แพทยประจําบาน สาขา โสต ศอ นาสิก ร.พ. ราชวิถี

การวิจัยนี้ถือเปนสวนหนึ่งของการศึกษาและฝกอบรมตามหลักสูตรเพื่อวุฒิบัตรแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาโสต ศอ นาสิกวิทยา ของแพทยสภา พุทธศักราช 2550

ลิขสิทธิ์ของสถาบนัฝกอบรม

ศูนยการแพทยเฉพาะทาง โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลราชวิถ ี

Page 2: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

คํารับรองจากศูนยการแพทยเฉพาะทางดาน โสต ศอ นาสิก ร.พ. ราชวิถ ี

ขาพเจาขอรบัรองวา โครงการวิจัยนี้เปนผลงานของ พญ. ศุภลักษณ

เจนตเจษฎาธรรม ที่ไดทําการวิจัยขณะรับการฝกอบรมตามหลักสูตร การอบรมแพทย

ประจําบานสาขา โสต ศอ นาสิก ร.พ.ราชวิถี ระหวางป พ.ศ. 2548-2551 จริง

............................................

นพ.มานัส โพธาภรณ

อาจารยที่ปรึกษา

............................................

นพ. ภักด ีสรรคนิกร

อาจารยที่ปรึกษารวม

............................................

นพ. เกียรติยศ โคมิน

หัวหนาศูนยการแพทยเฉพาะทาง โสต ศอ นาสิก ร.พ. ราชวิถ ี

Page 3: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

บทคัดยอ

มะเร็งที่ล้ินเปนมะเรง็ชองปากทีพ่บไดบอยที่สุด มกัพบในผูปวยชายอายุ 60-70 ป (เฉลี่ย

อายุ 62 ป) ทีม่ีประวัติการดืม่สุราหรือ สูบบุหร่ี แตปจจุบนัพบวาอัตราการเกิดในผูปวยอายุนอยพบ

สูงขึ้น และพบในผูหญงิซึ่งไมเคยสูบบุหรีห่รือด่ืมสุรามากอน ในขณะที่มะเรง็ที่ล้ินในผูปวยอายมุาก

มีอัตราการเกดิคงที ่

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรุนแรงของมะเร็งที่ล้ินในผูปวยอายุนอย(<45 ป)

เทียบกับผูปวยอายุมาก (>45 ป) ในแงของการกลับเปนซ้ําของโรค (recurrence rate) นอกจากนี้

ยังศึกษาถึงปจจัยที่มีผลตอการเกิด recurrence โดยการเก็บรวบรวมขอมูลผูปวยที่ไดรับการ

วินิจฉัยวาเปนมะเร็งที่ล้ิน (squamous cell carcinoma of oral tongue) ซึ่งไดรับการรักษาในศูนย

การแพทยเฉพาะทาง โสต ศอ นาสิก ร.พ.ราชวิถี ตั้งแต ม.ค.2540-มิ.ย.2548 และมีจุดมุงหวังของ

การรักษาคือ การหายจากโรค ( aim curative) มีผูปวยที่สามารถนําขอมูลมาวิจัยได 68 ราย

แบงเปนผูปวยอายุ <45 ป 36 ราย และ >45 ป 32 ราย เปนผูชาย44 ราย ผูหญิง 26 ราย อายุ

เฉลี่ยของผูปวยในกลุมผูปวยอายุนอยคือ 37.2 ป กลุมอายุมาก 58.9 ป ผูปวยทั้งสองกลุมสวน

ใหญไดรับการรักษาดวยการผาตัดและตามดวยการฉายแสง ผลการรักษาพบวาผูปวยทั้งสองกลุม

ไมพบการกลับเปนซ้ําของโรคในระยะเวลา 2ป รอยละ 55.6 ในกลุมผูปวยอายุนอยและ 56.3 ใน

กลุมอายุมาก แตในผูปวยกลุมอายุนอยพบการกลับเปนซ้ําของโรคภายในระยะเวลา 6 เดือน

มากกวากลุมอายุมากประมาณ 7 เทา ซึ่งอาจจะสรุปไดวาในกลุมในผูปวยอายุนอยมีแนวโนมที่จะ

มีความยากในการรักษามากกวากลุมผูปวยอายุมากดังนั้นควรไดรับการรักษาแบบเต็มที่

(Aggressive treatment) และติดตามผูปวยอยางใกลชิดเพื่อติดตามการเกิดการกลับเปนซ้ําใน

ระยะแรกหลังการรักษา

คําสําคํญ : มะเร็งที่ล้ิน, ผูปวยอายุนอย, อัตราการเกิดเปนซ้ํา

Page 4: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

1. หัวของานวิจัย: การศึกษาเกีย่วกับความรุนแรงของมะเร็งที่ล้ินในผูปวยอายุนอยเปรียบเทียบ

กับผูปวยอายมุากที่มารับการรักษาในโรงพยาบาลราชวถิี 2. Background

Anatomy:

Oral tongue คือ สวนที่ปกคลุมดวย non-keratinized squamous cell แยกจากสวนของ

oropharynx โดย circumvallate papillae กลามเนื้อของลิ้น แบงเปน intrinsic muscle และ

extrinsic muscle ซึ่งเลี้ยงโดย hypoglossal nerve และ pharyngeal branch of vagus nerve

การรับรสผานทาง lingual และ chorda tympani nerve การกระจายของมะเร็งสามารถผานทาง

lymphatic drainage pathway ไปยังตอมน้ําเหลือง level I-III ซึ่งมีการศึกษาพบวา 15.8 % ของ

ผูปวยมกีารกระจายไป level IV ได[24] ในผูปวยกลุมนี้จะมีพยากรณโรคที่แยกวา

รหัส International Classification of Disease, 10 th (ICD 10) สําหรบั oral tongue

carcinoma คือ C 023

Etiology:

ส่ิงแวดลอมและปจจัยทางพันธกุรรมเชื่อวาเปนสาเหตขุองมะเร็งที่ล้ิน โดย

ปจจัยสิ่งแวดลอม ไดแก

การสูบบุหรี่, การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล, การเคี้ยวหมาก, การติดเชื้อไวรัสบาง

ชนิด เชน HPV type 16, 18 [14-17,23]

ปจจัยทางพันธุกรรม ไดแก

Loss of heterozygosity at 3p, 4q and 11q13 [14,19,20]

Epidemiology:

มะเร็งที่ล้ินเปนมะเรง็ชองปากทีพ่บไดบอยที่สุด มกัพบในผูปวยอาย ุ60-70 ป (เฉล่ีย อายุ

62 ป) ,พบในผูชายมากกวาผูหญิง( 3-4:1) [1-3,17,23] และมีประวัติการดื่มสุราหรือ สูบบุหร่ี

อัตราการเกิดในผูปวยอายนุอย (นอยกวา 30,40,45 ป) พบประมาณ 4-6% แตปจจุบัน

พบวาอัตราการเกิดในคนอายุนอยพบไดสูงขึ้น ผูชายมากกวาผูหญงิ( 2-2.5:1) [2,17,23] โดยเฉพาะ

ในผูหญงิซึ่งไมเคยสูบบุหร่ีหรือด่ืมสุรามากอน

Diagnosis:

แผลเร้ือรังบริเวณลิ้นซึง่ผลการตรวจทางพยาธวิิทยา พบ squamous cell carcinoma

Page 5: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

Staging and management:

Clinical Staging with the TNM system. (AJCC 2002)

T = Tumor size(cm); T1 <2, T2 2-4, T3 >4 and T4 invaded adjacent structure

N = Cervical lymph node status(cm); N0=no palpable lymph node, N1<3,

N2a 3-6 one lymph node, N2b 3-6 more than one node, N2c 3-6 two sides, N3>6

M = Distant Metastasis; M0=no distant metastasis, M1=with distant metastasis

Treatment option for tongue cancer Stage I * Tumor depth <4mm= Wide excision or

* Tumor depth >4mm= Wide excision with selective neck

dissection

Stage II * Wide excision with post-operative radiation at tongue

or

* With unilateral selective neck dissection level I-IV combine post-

operative radiation if pathological node positive

Stage III * Surgery with post-operative radiation at tongue and

both sides of neck

Stage IV * Surgery with post-operative radiation at tongue and

both sides of neck

*All cases with tumor margin positive(less than one centimeter margin) will be received

post-operative radiation.

*All recurred cases will be received radical excision combine post-operative radiation at

primary site and neck

Page 6: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

3. Literature review: มะเร็งที่ล้ินในผูปวยอายุนอยในชวง 20ป ที่ผานมาพบวามีอัตราการเกิดโรคเพิ่มข้ึน

(non-linear growing rate ) ในขณะที่มะเร็งที่ล้ินในผูปวยอายุมาก มีอัตราการเกิดคงที่[1-14] จาก

การศึกษาที่ผานมาพบวายังมีความขัดแยงกันในเรื่องของพยากรณโรคระหวางกลุมผูปวยอายุมาก

กับกลุมอายุนอย ซึ่งบางการศึกษาพบวาพยากรณโรคในกลุมอายุนอยแยกวา [1-5] แตบาง

การศึกษา พบวาทั้งสองกลุมมีพยากรณโรคไมแตกตางกัน[2-5] เกี่ยวกับปจจัยการเกิด โรคมะเร็ง

บริเวณศีรษะและลําคอ พบวาไมแตกตางกัน[1-14,23]แตความรุนแรงของโรคและอัตราการเกิดเปน

ซ้ําหลังการรักษาพบวา เกี่ยวของกับการกระจายของมะเร็งไปยังตอมน้ําเหลืองบริเวณคอ[1-8]

โดยทั่วไปพบวาอัตราเฉลี่ยการอยูรอด 5ป (5-yrs. Survival rate) ประมาณ 44-48%[2,4,10]

อัตราการเกิดโรคซ้ําหลังการรักษา 2 ป ( recurrence rate- 2 yrs.) ประมาณ 78%

4. Objective of the study: เพื่อศึกษาความรุนแรงของมะเร็งที่ล้ินในผูปวยอายุนอย(<45 ป) เทียบกับผูปวยอายุมาก

(>45 ป) ในแงของการกลับเปนซ้ําของโรค (recurrence rate) นอกจากนี้ยังศึกษาถึงปจจัยที่มีผล

ตอการเกิด recurrence ในแตละกลุมอายุ เชน เพศ, ถิ่นที่อยูอาศัย, ปจจัยเสี่ยงจากการสูบบุหร่ี

และด่ืมสุรา, ระยะของโรค (Staging), ผลทางพยาธิวิทยา และวิธีการรักษา 5. Research question: ผูปวยมะเร็งที่ล้ิน กลุมอายนุอย (นอยกวา 45ป ) มี recurrence rate แตกตางจาก

กลุมผูปวยอายุมากหรือไม 6. Hypothesis: ผูปวยมะเร็งที่ล้ินกลุมอายุนอยกวา 45ป มี recurrence rate มากกวา และมี

outcome ที่แยกวากลุมผูปวยอายุมาก

7. Research design: Study design: retrospective cohort study

Setting ศูนยการแพทยเฉพาะทาง โสต ศอ นาสิก ร.พ.ราชวิถี

Population ผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนมะเร็งที่ล้ิน (squamous cell carcinoma

of oral tongue) ซึ่งไดรับการรักษาในร.พ.ราชวิถี ตั้งแต ม.ค.2540-มิ.ย.

2548 โดยจุดมุงหวังของการรักษาคือ การหายจากโรค ( aim curative)

Page 7: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

Subject 185 คน

Inclusion criteria

-ผูปวยที่ไดรับการวนิิจฉัยวาเปนมะเร็งที่ล้ินซึ่งไดรับการรักษาใน ร.พ.ราชวิถ ีตั้งแต

ม.ค.2540-มิ.ย.2548 และไดรับการรักษาดวยการผาตัดรวมกับฉายแสงหรืออยางใดอยาง

หนึง่ โดยจุดมุงหวังของการรกัษาคือ การหายจากโรค ( aim curative)

-ผูปวยที่ไดรับการตรวจติดตามหลงัไดรับการรักษาในระยะเวลาตั้งแต 6 เดือนถงึ 8 ป

Exclusion criteria

-ผูปวยที่ไมไดรับการรักษาตาม protocol (ไมไดรับการผาตัดหรือฉายแสง)

-ผูปวยที่ไดรับการรักษาแบบประคับประคอง ( aim palliative)

-ผูปวยที่ไมไดมารับการตรวจหลังการรักษา และไมสามารถติดตามผลการรักษาไดทั้งโดย

วิธีการโทรศัพทและการสงจดหมาย

การเก็บรวบรวมขอมูล

1.ทบทวนเวชระเบียนตั้งแต เดือน ม.ค.2540-มิ.ย.2548

2.คดัเลือกผูปวยตาม inclusion และ exclusion criteria

3.แบงผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปน oral tongue carcinoma (ICD 10 – C 023) จาก

ผลช้ินเนื้อที่ไดรับการตรวจทางพยาธิวิทยา ออกเปน 2 กลุม ตามอายุ คือ นอยกวา หรือ

เทากับ 45ป และ มากกวา 45ป

การจัดกลุมมะเร็ง Tumor staging ใชการจัดกลุมตาม Practice guidelines in

oncology ของ NCCN system version 1.2006 (TMN staging AJCC 2002)

4.เก็บรวบรวมขอมูลการตรวจติดตามหลังการรักษาจากเวชระเบียนรวมถึงการโทรศัพท

และจดหมายติดตาม การวิเคราะหขอมูล วิเคราะหขอมูลโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร SPSS version 13 (LEAD technologies,

USA)

Page 8: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

ผลการวิจัย จากการเก็บขอมูลในชวง ม.ค.2540-มิ.ย.2548 พบวามีผูปวยไดรับการวินิจฉัยวาเปน

มะเร็งที่ล้ิน (squamous cell carcinoma of oral tongue) ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลราชวิถ ี

โดยจุดมุงหวงัของการรักษาคือ การหายจากโรค ( aim curative) เปนจํานวน ทัง้สิน้ 185 ราย ซึง่มี

ทั้งผูปวยที่ไดรับการวนิิจฉัยจากโรงพยาบาลอี่นแลวสงตวัมารับการรักษาตอหรือไดรับการวนิิจฉัย

คร้ังแรก แตเนือ่งจากการทบทวนเวชระเบยีนในชวงเวลาดังกลาวไมสามารถเก็บขอมูลไดทั้งหมด

และผูปวยบางรายไมไดรับการรักษาตอเนื่อง จึงตัดออกจากการวจิัยนี้ (exclusion criteria) เหลือ

ผูปวยที่สามารถนําขอมูลมาวิจยัได 68 ราย แบงเปนผูปวยอายุ <45 ป 36 ราย และ >45 ป 32

ราย โดยเปนผูชายมากกวาผูหญิง (ชาย 44 ราย หญงิ 26 ราย) ตามตารางที ่1 ตารางที่ 1: แสดงลกัษณะโดยทั่วไป, ปจจัยเสี่ยง, และภูมลิําเนา แบงตามกลุมอาย ุ

Age group Characteristic

< 45 years (n=36) > 45 years (n=32)

Sex n(%)

Male 20 (61.1%) 22 (62.5%)

Female 12 (38.9%) 14 (37.5%)

Age

mean age (ranging) 37.2 (21-45) 58.9 (49-85)

Smoking 14 (38.9%) 21 (65.6%)

Alcohol Drinking 17 (47.2%) 16 (50%)

อายุเฉลี่ยของผูปวยในกลุมผูปวยอายุนอยคือ 37.2 ป ต่ําที่สุด 21 ป สูงที่สุดคือ 45 ป

สําหรับกลุมอายุมากอายุเฉล่ียอยูที่ 58.9 ป ต่ําที่สุด 46 ปสูงที่สุดคือ 85 ป ขอมูลในดานปจจัยที่ทํา

ใหเกิดโรค (Risk factor) คือ การสูบบุหร่ีและการดื่มสุรา พบวาในกลุมผูปวยอายุมากกวา 45 ป มี

การสูบบุหร่ีมากกวากลุมผูปวยอายุนอย คือ 65.6% และ 38.9% แตมีความใกลเคียงกันในสวน

ของการดื่มสุรา คือในกลุมผูปวยอายุมากมีการดื่มสุราอยูที่ 50% กลุมผูปวยอายุนอยอยูที่ 47.2%

ตามลําดับ (ตารางที่ 1)

Page 9: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

ตารางที่ 2: ตารางแสดงระยะของโรคตาม TNM staging Age group

Characteristic < 45 years (N=36) > 45 years (N=32)

Stage

Stage I 10 (27.8%) 5 (15.6%)

Stage II 6 (16.7%) 4 (12.5%)

Stage III 10 (27.8%) 12 (37.5%)

Stage IV 10 (27.8%) 11 (34.4%)

Pathologic Grading

Well differentiation 23 (63.9%) 16 (50%)

Moderate differentiation 12 (33.3%) 16 (50%)

Poorly differentiation 1 (2.8%) -

สําหรับขอมูลจากการรายงานผลทางพยาธิวิทยา(ตารางที่ 2) พบวาในกลุมผูปวยอายนุอย

จัดอยูใน stage I, III และ IV เทาๆกัน และลักษณะทางพยาธิวิทยา (Pathologic grading) พบวา

สวนมากเปน Well differentiation รองลงมาคือ Moderate differentiation พบนอยที่สุดคือ Poor

differentiation คิดเปน 2.8%

ในสวนของกลุมผูปวยอายุมากกวา 45 ปพบวาเปนกลุม Late stage มากกวา คือ พบ

stage III 37.5% และ stage IV 34.4% ลักษณะทางพยาธิวิทยา (Pathologic grading) พบวา

เปน Well differentiation เทากับ Moderate differentiation ไมพบวามีกลุม Poorly

differentiation เลย (ตารางที่ 2) ตารางที่ 3: ตารางแสดงวธิีการรักษาผูปวย

Age group Treatment

< 45 years (n=36) > 45 years (n=32)

Surgery alone 6 (16.7%) 3 (9.4%)

Surgery + RT 30 (83.3%) 29 (90.6%)

ผูปวยทั้งสองกลุมสวนใหญไดรับการรักษาดวยการผาตดัและตามดวยการฉายแสงคิดเปนรอยละ

83.3 และ 90.6 ในกลุมผูปวยอายนุอยและอายุมากตามลําดับ (ตารางที่ 3)

Page 10: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

ตารางที่ 4: ตารางแสดงการติดตามโรคหลังใหการรักษา

Age group Follow Up

< 45 years (n=36) > 45 years (n=32)

NED* 20 (55.6) 18 (56.3)

Local recurrent 6 (16.7) 12 (37.5)

Persistent 8 (22.2) 1 (3.1)

Metastasis 2 (5.6) 1 (3.1)

* NED = No evidence of disease

การเก็บขอมูลเกี่ยวกับผลของการรักษาโดยติดตามผูปวยเปนระยะเวลา 2 ปหลังจาก

ไดรับการผาตัดแบงผูปวยเปน 4 กลุมคือ

1. NED = No evidence of disease คอืไมพบการกลับมาของโรคในระยะเวลา 2 ป

หลังทําการผาตัด

2. Local recurrent คือพบวามีการกลับมาของโรคหลังจาก 6 เดือนหลงัไดรับการ

ผาตัด

3. Persistent คือ พบวามกีารกลับเปนซ้าํของโรคภายใน 6 เดือนหลังไดรับการ

ผาตัด

4. Metastasis คือ พบ distance metastasis ไปยังอวยัวะอื่นๆไดแก ตับ หรือ ปอด

ภายใน 2 ปหลังไดรับการผาตัด

พบวาผูปวยทั้งสองกลุมจัดอยูใน NED มากที่สุด คือรอยละ 55.6 และ 56.3 ตามลําดับแต

ในกลุม Local recurrent พบมากในผูปวยอายุมาก มากกวากลุมอายุนอยเกือบ 2 เทา (ตารางที่

4) นอกจากนี้ในกลุม Persistent จะพบวาเกิดในกลุมอายุนอย มากกวากลุมอายุมากประมาณ 7

เทา คือรอยละ 22.2 ตอรอยละ 3.1

Page 11: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

ตารางที่ 5: ตารางแสดงความสัมพันธระหวางการเกิด Recurrent และปจจัยตางๆ Significant (P value)

Age < 45 years Age >45 years

Sex .08 .477

Smoking .081 .749

Alcohol drinking .076 .506

Staging .011 .13

Pathologic grading .105 .528

ตารางที่ 6: ตารางแสดง Local recurrent และ Persistent เทียบกบั early และ late stage Local recurrent Persistent

Staging Treatment < 45 years n (%)

> 45 years n (%)

< 45 years n (%)

> 45 years n (%)

Sx - - - - Early stage

(Stage I+II) Sx + RT - - 1 (2.8) -

Sx - - - - Late stage

(Stage III+IV) Sx + RT 6 (16.7) 12 (37.5) 7 (19.4) 1 (3.1)

Page 12: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

บทวิจารณ วัตถุประสงคหลักของงานวิจัยนี้คือเปรียบเทียบผลการรักษาผูปวยมะเร็งที่ล้ินในกลุม

ผูปวยที่มีอายุนอยกวาหรือเทากับ 45 ป กับผูปวยที่มีอายุมากกวา 45 ปที่มารับการรักษาในศูนย

การแพทยเฉพาะทาง โสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลราชวิถี เฉพาะกลุมมุงหวังถึงการหายจากโรค

(aim curative) โดยทําการเก็บขอมูลต้ังแต ม.ค.2540-มิ.ย.2548 ไดขอมูลที่สามารถนํามาใชเก็บ

ขอมูลได ทั้งหมด 68 ราย ซึ่งในกลุมผูปวยอายุนอยพบอุบัติการการเกิดโรคในผูชายมากกวาผูหญงิ

ประมาณ 1.6:1 ซึ่งนอยกวาอุบัติการณของโรคที่พบในการศึกษาอื่นๆ [1-3,17,23] ที่พบวาการเกิด

โรคพบในผูชายมากกวาผูหญิงประมาณ 4:1

จากขอมูลที่ไดเมื่อนําผูปวยที่มี Local recurrence มาจัดเปนกลุม early stage (stage

I+II) และ late stage (Stage III+IV) ตามตารางที่ 6 พบวาผูปวยทั้งสองกลุมที่มาในระยะ early

stage และไดรับการรักษาดวยการผาตัดอยางเดียวหรือรวมกับการฉายแสง พบวาไมมี Local

recurrent เกิดขึ้นเลย (แตมีผูปวย 1 รายในกลุมอายุนอยที่มี persistent of disease ซึ่งพบวา

tumor margin not free)

ในกลุม Late stage พบวา Local recurrence พบมากในกลุมผูปวยที่มีอายุมาก มากกวา

กลุมผูปวยที่มีอายุนอยประมาณ 2 เทาถาดูขอมูลเกี่ยวกับ persistent พบวา ผูปวยอายุนอยมี

มากกวาในกลุมผูปวยอายุมาก ประมาณ 7 เทาแมวาจะไดรับการรักษาอยางเต็มที่ก็ตาม ดังนั้น

สามารถสรุปไดวา ผูปวยที่มีอายุนอยที่มาดวย late stage มีโอกาสเกิด persistent of tumor

(recurrence ภายใน 6 เดือน) มากกวากลุมผูปวยที่มีอายุมาก

กลุมตัวอยางของผูปวยที่มีอายุนอยมีมากกวากลุมอายุมากเล็กนอยทั้งนี้เนื่องจากการ

ติดตามขอมูลของผูปวยกลุมอายุมากไมสามารถทําไดอยางสมบูรณ เชน การขาดการติดตามการ

รักษา อาจเนื่องจากไมสะดวกในการเดินทางมาตรวจ, เวชระเบียนถูกทําลายเนื่องจากผูปวย

เสียชีวิต จึงทําใหไดขอมูลในกลุมที่มาอายุมากกวา 45 ปนอยกวาความเปนจริง ซึ่งเปนจุดดอยของ

งานวิจัยนี้

ในแงของระยะของโรค (Staging) พบวาผูปวยอายุนอยที่มารับการรักษาไมแตกตางกันใน

แตละ stage แตในผูปวยที่อายุมาก พบวาสวนมากเปน stage III และ IV คือ 37.5% และ 34.4%

ตามลําดับ (ตารางที่ 2) ซึ่งจากขอมูลที่ไดสามารถสรุปไดวาผูปวยที่อายุมากกวา 45 ป มีการ

ดําเนินของโรคขณะที่เร่ิมรักษามากกวาผูปวยที่มีอายุนอยกวา 45 ป ซึ่งอาจเนื่องมาจากการขาด

ความรูดานสุขภาพ,การดูแลของญาติ และการเดินทาง

อายุเฉลี่ยในผูปวยอายุนอยอยูที่ 37.2 ป พบวาใกลเคียงกับการศึกษาอื่นเชนจาก

การศึกษาของ Popovtzer A.et al.[10] ที่พบอายุเฉลี่ย 36.7 ป สวนในกลุมอายุมากพบวามี

อุบัติการณการเกิดโรคนอยกวาการศึกษาอื่นเล็กนอย คือ 58.9% ตอ 64.5% .[10]

Page 13: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

ขอมูลในดานความเสี่ยงของการเกิดโรคไดแกการสูบบุหร่ีและการดื่มสุรา พบวาผูปวยที่มี

อายุมากมีอัตราการดื่มสุราและสูบบุหร่ีมากกวากลุมผูปวยอายุนอย แตพบวาไมมีความสัมพันธ

ทางสถิติกับผลการรักษา (P > 0.05) ในทั้งสองกลุมอายุ ซึ่งตรงกับผลการศึกษาของ Popovtzer

A.et al.[10] และอาจมีปจจัยอื่นๆอีกที่ทําใหเกิด persistent of disease เชน ปจจัยทางพันธุกรรม

หรือ HPV infection

สําหรับ Pathological grading ไมพบวามีความสัมพันธกับการเกิด recurrent อยางมี

นัยสําคัญทางสถิติในทั้งสองกลุมตัวอยาง

งานวิจัยนี้ขอมูลที่ไดมีขนาดที่นอยกวาความเปนจริง (ผูปวย 185 ราย เก็บขอมูลได 68

ราย) จึงไมไดเปนตัวแทนของผูปวยมะเร็งที่ล้ินทั้งหมด ที่มารักษาในโรงพยาบาลราชวิถี ดังนั้นคาที่

ไดอาจเกิดความคลาดเคลื่อนทางสถิติ นอกจากนี้การศึกษานี้ยังไมไดครอบคลุมถึงปจจัยอ่ืนๆที่มี

ผลตอการพยากรณโรคเชน พันธุกรรม, tumor margin และระยะเวลาที่เร่ิมฉายแสงหลังการผาตัด

ซึ่งเปนขอมูลที่สําคัญตอการเกิด recurrent ของโรค การวิจัยนี้จะสมบูรณมากขึ้นถามีการศึกษาถึง

ปจจัยเหลานี้ดวย

Page 14: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

สรุปผลการวจิัย ผูปวยมะเร็งที่ล้ินที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลราชวิถีที่เปนผูปวยอายุนอยกวาหรือ

เทากับ 45 ป มีระยะของโรค (Staging) ที่เร่ิมทําการรักษานอยกวากลุมผูปวยที่มีอายุมากกวา 45

ป แตมีโอกาสเกิด recurrence ภายใน 6 เดือน (persistent of tumor) หลังทําการรักษามากกวา

กลุมที่อายุมากประมาณ 7 เทา โดยเฉพาะใน stage III และ IV

ดังนั้นในผูปวยอายุนอยมีแนวโนมที่จะมีความยากในการรักษามากกวากลุมผูปวยอายุ

มากจึงควรไดรับการรักษาแบบเต็มที่ (Aggressive treatment) และติดตามผูปวยอยางใกลชิดเพื่อ

ติดตามการเกิดเปนซ้ําของโรคในระยะแรกหลังการรักษา

Page 15: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

เอกสารอางอิง 1) Liao CT. Higher distant failure in young aged tongue cancer patients. Oral Oncol.

2006 Aug;42(7): 718-72

2) Veness MJ, ANZ J. Surg.Anterior tongue cancer: age is not a predictor of outcome

and should not alter treatment. 2003 Nov;73(11): 899-904

3) Karen T. Pitman. Cancer of the tongue in patients less than forty. Head & Neck 2000

May;297-302

4) S. Manuel, Int. J. Survival in patients under 45 years with squamous cell carcinoma of

the oral tongue. Oral Maxillofac. Surg. 2003; 167-173

5) DM Hyam. Tongue cancer: Do patients younger than 40 do worse?. Australian Dental

Journal 2003;48:1 50-54

6) Hannah Vargas. More aggressive behavior of squamous cell carcinoma of the

anterior tongue in young women. Laryngoscope 2000 Oct;110: 1623-1626

7) Sarkaria JN. Oral tongue cancer in young adults less than 40 years of age: rationale

for aggressive therapy. Head & Neck 1994;16:107-111

8) Masaru Tateda,Tohoku J. A clinical study of oral tongue cancer. Exp.

Med.2000;192:49-59

9) Elango JK, Asian Pac K. Trends of head and neck cancers in urban and rural India.

Cancer Prev. 2006 Jan-Mar;7(1):108-112

10) Popovtzer A. Squamous cell carcinoma of the oral tongue in young patients.

Laryngoscope. 2004 May;114(5):915-917

11) Annertz K. Incidence and survival of squamous cell carcinoma of the tongue in

Scandinavia, with special reference to young adults. Int J Cancer. 2002 Sep;101(1):95-

99

12) Mathew Iype E. Squamous cell carcinoma of the tongue among young Undian

adults. Neoplasia. 2001 Jul-Aug;3(4):273-277

13) Myers JN. Squamous cell carcinoma of the tongue in young adults: increasing

incidence and factors that predict treatment outcomes. Otolaryngol Head Neck Surg.

2000 Jan;122(1):44-51

14) Atula S. Cancer of the tongue in patients younger than 40 years. A distinct entity?.

Arch Otolayngol Head Neck Surg. 1996 Dec;122(12): 1313-1319

Page 16: โครงการศึกษาวิจัยเรื่ อง Comparison of treatment outcome ... · การศึกษาเกี่ัยวกบความรุนแรงของมะเร็งที่ลิู้

15) B.S.M.S. Siriwardena. Demographic, aetiological and survival differences of oral

squamous cell carcinoma in the young and the old in Sri Lanka. Oral Oncol. 2006

Sep;42(8):831-6. Epub 2006 Mar 9

16) Imjai Chitapanarux. Oral cavity cancers at a young age: Analysis of patient, tumor

and treatment characteristics in Chiang Mai University Hospital. Oral Oncology 2006

Jun; 42: 83–88

17) A. Iamaroon. Analysis of 587 cases of oral squamous cell carcinoma in northern

Thailand with a focus on young people. Int. J. Oral Maxillofac. Surg. 2004; 33: 84–88

18) Singh B, BhayaM, Zimbler M, et al. Impact of comorbidity on outcome of young

patients with head and neck squamous cell carcinoma. Head Neck 1998;20:1–7.

19) Smith EM, Hoffman HT, Sumemrsgill KS, et al. Laryngoscope 1998;108:1098–1103.

20) McKaig RG, Baric RS, Alshan AF. Human papillomavirus and head and neck

cancer: Epidemiology and molecular biology. Head Neck 1998;20:250–265.

21) Mork J, Lie AK, Glattre E, et al. Human papillomavirus infection as a risk factor for

squamous cell carcinoma of the head and neck. N Engl J Med 2001;344:1125–31.

22) Schwartz S, Daling J, Doody D, et al. Oral cancer risk in relation to sexual history

and evidence of human papillomavirus infection. J Natl Cancer Inst 1998;90:1626–36.

23)John D.An overview of epidemiology and common risk factor for oral SCCA.

Otolaryngol clin N Am 2006;39:277-294.

24)Richard O,Randal S. Malignant neoplasm of oral cavity. Cummings otolaryngology

Head & Neck surgery forth edition;1596-99.