การประกันคุณภาพการศึกษา...

65
การประกันคุณภาพการศกษา มหาวทยาลัยเชยงใหม่ ประจําปการศกษา 2557

Upload: others

Post on 12-Jul-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจําปีการศึกษา 2557

Page 2: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจําปีการศึกษา 2557

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ

1) ระดับหลักสูตร (ใช้เกณฑ์การประเมินของ สกอ.)

2) ระดับคณะ (ใช้เกณฑ์การประเมิน EdPEx ของ มช.)

3) ระดับสถาบัน (ใช้เกณฑ์การประเมิน EdPEx ของ มช.)

Page 3: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

แผนการดําเนินงานดา้นการประกนัคณุภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจําปี 2558

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ

1. การประชุมสร้างความเข้าใจระบบการประกันคณุภาพการศึกษา

แนวทางการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน และแผนการ

ประกันคุณภาพการศึกษา ประจําป ี2558 แก่ทุกส่วนงาน และชี้แจง

รายละเอียดของการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร

16 มกราคม 2558

2. การรวบรวมข้อมูลภาวะการมีงานทําของบัณฑิต (วิจัยสถาบัน) และ

ประมวลผลแยกระดับหลักสูตร

มกราคม 2558

3. QA สัญจร (รองรับการประเมินคุณภาพระดับหลักสูตร) คณะ/

วิทยาลัย และบัณฑิตวิทยาลัย รวม 22 ส่วนงาน

กุมภาพันธ์-เมษายน

2558

Page 4: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

แผนการดําเนินงานดา้นการประกนัคณุภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจําปี 2558

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ

4. ให้ข้อมูลย้อนกลับในส่วน OP ของคณะ/สถาบัน/สํานัก กุมภาพันธ์ 2558

5. การสร้างความเข้าใจ (ข้อกําหนดโดยรวม) หมวด 1-6 และผลลัพธ์

หมวด 7

มีนาคม-มิถุนายน 2558

6. การพัฒนาทีมผู้ให้คําปรึกษา เพื่อประเมินและให้ข้อมูลย้อนกลับในระบบ

CMU-EdPEx

มีนาคม-มิถุนายน 2558

7. จัดทํา QA Guidelines เพื่อรวบรวมและวิเคราะห์องค์ความรู้ด้านระบบ

ประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร และเผยแพร่ให้แก่ส่วนงานต่างๆ

เพื่อนําไปพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของส่วนงานต่อไป

พฤษภาคม-มิถุนายน

2558

Page 5: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

แผนการดําเนินงานดา้นการประกนัคณุภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจําปี 2558

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ

8. สํารวจคุณภาพบัณฑิตตามกรอบ TQF (วิจัยสถาบัน) และประมวลผล

แยกระดับหลักสูตร

มีนาคม-พฤษภาคม

2558

9. จัดกิจกรรม Assessor’s Meeting เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้าง

มาตรฐานการประเมินที่ตรงกันสําหรับผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - ระดับหลักสูตร - ระดับคณะ

มิถุนายน-กรกฎาคม

2558

10. การประชุมเตรียมความพร้อมสําหรับการตรวจประเมินคณะ/วิทยาลัย/

บัณฑิตวิทยาลัย/สถาบัน/สํานัก

กรกฎาคม-สิงหาคม

2558

11. ตรวจสอบประเมินคุณภาพการศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 ระดับ

หลักสูตร

สิงหาคม-กันยายน

2558

Page 6: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

แผนการดําเนินงานดา้นการประกนัคณุภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจําปี 2558

โครงการ/กิจกรรม ระยะเวลาดําเนินการ

12. การประชุมเพื่อพิจารณาภาพรวมของตัวบ่งชี้ระดับหลักสูตรที่พบ

ปัญหาในการตรวจประเมิน ก่อนการตัดสินผลการประเมิน

ตุลาคม 2558

13. ตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557 ระดับส่วน

งานตามแนวทาง CMU-EdPEx

กันยายน-ตุลาคม

2558

14. การตรวจสอบและประเมินระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ระดับมหาวิทยาลัย ตามแนวทาง CMU-EdPEx

พฤศจิกายน 2558

15. การจัดประชุมประเมินผลโครงการตรวจสอบและประเมินระบบประกัน

คุณภาพการศึกษา ประจําปีการศึกษา 2557

ธันวาคม 2558

Page 7: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

1. ใช้เกณฑ์การประเมินของ สกอ. (ประกาศใช้เมื่อวันที่ 22 ธ.ค. 2557)

2. หลักสูตรเตรียมการประเมินตนเองระดับหลักสูตร

3. รายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตร และ มคอ. 7 เป็นรายงานฉบับ

เดียวกัน

4. จัดทํารายงานการประเมินตนเองระดับหลักสูตรผ่านระบบ CHE QA Online

5. จัดส่งรายงานประจําปีผ่านระบบภายใน 120 วันนับจากสิ้นปีการศึกษา

(ภายในเดือนพฤศจิกายนของทุกปี)

6. สกอ. จะติดตามตรวจสอบความก้าวหน้า อย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 3 ปี

การประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร

Page 8: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตร

องค์ประกอบคุณภาพ ตัวบ่งชี้

1. การกํากับมาตรฐาน 1.1 การบริหารจดัการหลกัสตูรตามเกณฑ์มาตรฐานหลกัสตูรที่กําหนดโดย สกอ.

2. บัณฑิต 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

2.2 การได้งานทําหรือผลงานวิจยัของผู้สาํเร็จการศึกษา

3. นักศึกษา 3.1 การรับนักศึกษา

3.2 การส่งเสริมและพฒันานักศึกษา

3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา

4. อาจารย์ 4.1 การบริหารและพฒันาอาจารย์

4.2 คุณภาพอาจารย์

4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมิน

ผู้เรียน

5.1 สาระของรายวิชาในหลักสตูร

5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดัการเรียนการสอน

5.3 การประเมินผู้เรียน

5.4 ผลการดําเนินงานหลักสตูรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

Page 9: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 1 การกํากับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

1. จํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตร √ √ √

2. คุณสมบัติของอาจารย์ประจําหลักสูตร √ √ √

3. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร √ √

4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน √ √

5. คุณสมบัติของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและอาจารย์ที่ปรึกษาการ

ค้นคว้าอิสระ

√ √

6. คุณสมบัติของอาจารย์ทีป่รึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) √ √

7. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ √ √

Page 10: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 1 การกํากับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานของผู้สําเร็จการศึกษา √ √

9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา √ √

10. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษามี

ผลงานวิจัยต่อเนื่องและสม่ําเสมอ

√ √

11. การปรับปรุงหลักสูตรตามรอบระยะเวลาที่กําหนด √ √ √

12. การดําเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผลการดําเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพ

หลักสูตรและการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

√ √ √

Page 11: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมนิ ตรี โท เอก

1. จํานวนอาจารย์ประจํา

หลักสูตร

ไม่น้อยกว่า 5 คน และเป็น

อาจารย์ประจําเกินกว่า 1

หลักสูตรไม่ได้ และประจํา

หลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัด

การศึกษาตามหลักสูตรนั้น

ไม่น้อยกว่า 5 คน และเป็น

อาจารย์ประจําเกินกว่า 1

หลักสูตรไม่ได้ และประจํา

หลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัด

การศึกษาตามหลักสูตรนั้น

ไม่น้อยกว่า 5 คน และเป็น

อาจารย์ประจําเกินกว่า 1

หลักสูตรไม่ได้ และประจํา

หลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัด

การศึกษาตามหลักสูตรนั้น

หมายเหตุอาจารย์ 1 ท่าน สามารถเป็นอาจารย์ประจําหลักสูตรได้มากที่สุดเพียง 2 หลักสูตรเท่านัน้ ดังนี้

- หลักสูตรโท และเอก ในสาขาเดียวกันได้อีก 1 หลักสูตร

- หลักสูตรปกติ + หลักสูตรพหุวิทยาการ ที่ตรงหรือสัมพันธ์กบัหลักสูตรที่ได้ประจําอยู่แล้ว

- อาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาตรี ไม่สามารถข้ามมาเป็นอาจารย์ประจําหลักสูตรบัณฑิตศึกษาได้

* กรณีหลักสูตรปริญญาตรี ที่มีแขนววิชา/กลุ่มวิชาชีพ ต้องมีอาจารย์ประจําหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 คน ให้ครบทุกแขนง โดยมี

คุณวุฒิครอบคลุมแขนงวิชา/กลุ่มวิชาที่เปิดสอน

Page 12: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

2. คุณสมบัติของอาจารย์

ประจําหลักสูตร

คุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือ

เทียบเท่าหรือดํารงตําแหน่งทาง

วิชาการไม่ต่ํากว่า ผศ. ในสาขาวิชา

ที่ตรงหรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาที่

เปิดสอน อย่างน้อย 2 คน

คุณสมบัติเป็นอาจารย์

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือ

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

หรืออาจารย์ผู้สอบวิทยา

นิพันธ์ หรืออาจารย์ผู้สอน

คุณสมบัติเป็นอาจารย์

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือ

อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

หรืออาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์

หรืออาจารย์ผู้สอน

3. คุณสมบัติของอาจารย์

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

- คุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาเอก

หรือเทียบเท่า หรือดํารง

ตําแหน่งรองศาตราจารย์ขึ้น

ไป ในสาขาวิชานั้น หรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กันจํานวน

อย่างน้อย 3 คน

คุณวุฒิไม่ต่ํากว่าปริญญาเอก

หรือเทียบเท่า หรือดํารงตําแหน่ง

ศาตราจารย์ขึ้นไป ในสาขาวิชา

นั้น หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน

จํานวนอย่างน้อย 3 คน

Page 13: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

4. คุณสมบัติของอาจารย์ผู้สอน - 1. อาจารย์ประจําหรือผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิปริญญาโท

หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํา

กว่าผู้ช่วยศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้น

หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์

2. มีประสบการณ์ด้านการสอน

3. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่

ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

1. อาจารย์ประจําหรือผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกสถาบัน มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ

ดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า

รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์

2. มีปรสบการณ์ด้านการสอน

3. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่ส่วน

หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

หมายเหตุ

ให้อาจารย์ที่มีคณุวฒุิ ป.เอก เป็นอาจารย์ผู้สอนในหลกัสตูร ป.โท ได้ แม้จะยงัไมม่ีผลงานวจิยัหลงัจากการสําเร็จการศกึษา ทัง้นี ้ภายใน 2 ปี

นบัจากวนัที่เริ่มสอน จะต้องมีผลงานวจิยั จงึจะเป็นอาจารย์ผู้สอนระดบัปริญญาเอก และเป็นอาจารย์ประจําหลกัสตูร อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

และอาจารย์ผู้สอนวิทยานิพนธ์ในระดบัปริญญาโทและเอกได้

Page 14: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

5. คุณสมบัติของอาจารย์ที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักและ

อาจารย์ที่ปรึกษาการค้นคว้า

อิสระ

- 1. เป็นอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญา

เอกหรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํา

กว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้น

หรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ

2. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่

ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

1. เป็นอาจารย์ประจําที่มีคุณวุฒิปริญญา

เอกหรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํา

กว่ารองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ

2. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่ส่วน

หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

กรณี อาจารยเ์กษียณอายงุานหรือลาออกจากราชการหลักสูตร สามารถจ้างอาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรกลับเข้ามาทํางานแบบเต็มเวลาหรือบางเวลาได้

โดยใช้ระบบการจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยคือ มีสัญญาจ้างที่ให้ค่าตแบอทนเป็นรายเดือนและมีการกําหนดภาระงานไว้อย่างชัดเจน

อาจารย์ดังกล่าวสามารถทําหน้าที่เป็นอาจารย์ประจําหลักสูตร อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม

อาจารย์ผ้สอบวิทยานิพนธ์ และอาจารย์ผู้สอนได้

Page 15: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

6. คุณสมบัติของอาจารย์ที่

ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี)

- 1. เป็นอาจารย์ประจําหรือผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือ

ดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารอง

ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ

2. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่

ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

1. เป็นอาจารย์ประจําหรือผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือดํารง

ตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่ารอง

ศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ

2. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่ส่วน

หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

หมายเหตุผู้เชี่ยวชาญเฉพาะที่จะเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจเป็นบุคลากรประจาํในสถาบันหรือผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบันที่มีความรู้

ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สงูในสาขาวิชานั้นๆ เป็นที่ยอมรับในระดับหน่วยงานหรือระดบักระทรวงหรือวงการวิชาชีพด้านนั้น เทียบได้ไม่ต่ํากว่า

ระดับ 9 ขึ้นไป

กรณีหลักสูตร ป.เอก ไม่มี อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม/อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์/อาจารย์ผู้สอน ที่มีคุณวุฒิ ป.เอก หรือตําแหน่ง รศ. ขึ้นไป

สถาบันอาจแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญเป็นกรณีๆ ไป โดยความเห็นชอบของสภาสถาบัน และแจ้งคณะกรรมการการอดุมศึกษาให้รับทราบ

Page 16: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

7. คุณสมบัติของอาจารย์

ผู้สอบวิทยานิพนธ์

- 1. อาจารย์ประจําและผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกสถาบัน ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า

รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ

2. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่

ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

1. อาจารย์ประจําและผู้ทรงคุณวุฒิ

ภายนอกสถาบัน ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

หรือดํารงตําแหน่งทางวิชาการไม่ต่ํากว่า

รองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้นหรือ

สาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน และ

2. มีประสบการณ์ในการทําวิจัยที่ไม่ใช่ส่วน

หนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา

Page 17: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

8. การตีพิมพ์เผยแพร่ผลงาน

ของผู้สําเร็จการศึกษา

- (เฉพาะแผน ก เท่านั้น) ต้องเป็นรายงาน

สืบเนื่องฉบับเต็มในการประชุมทาง

วิชาการ (proceedings) หรือวารสารหรือ

สิ่งพิมพ์วิชาการซึ่งอยู่ในรูปแบบเอกสาร

หรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์

วารสารหรือสิ่งพิมพ์วิชาการที่มีกรรมการ

ภายนอกร่วมกลั่นกรอง (peer review)

ซึ่งอยู่ในรูปแบบเอกสาร หรือ

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

หมายเหตุวิทยานิพนธ์ซึ่งเกี่ยวข้องกบัสิ่งประดิษฐ์ การจดทะเบียนสิทธิบัตร หรือ อนุสิทธิบัตร สามารถทดแทนการตีพิมพ์ในวารสาร

หรือ สิ่งพิมพ์ทางวิชาการได้ โดยพิจารณาจากปีที่ได้รับสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร ไม่ใช่ปีที่ขอจด

Page 18: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

9. ภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ์และการค้นคว้า

อิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

- วิทยานิพนธ์ - อาจารย์ 1 ต่อ นศ. 5 คน

การค้นคว้าอิสระ - อาจารย์ 1 ต่อ นศ. 15 คน

หากเป็นที่ปรึกษาทั้ง 2 ประเภท ให้เทียบ

สัดส่วน นศ. ที่ทําวิทยานิพนธ์ 1 คน

เทียบเท่ากับ นศ. ที่ค้นคว้าอิสระ 3 คน

วิทยานิพนธ์ - อาจารย์ 1 ต่อ นศ. 5 คน

หมายเหตุหากหลักสูตรใดมีอาจารย์ประจําที่มีศักยภาพพร้อมที่จะดูแลนักศึกษาได้มากกว่า 5 คน ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถาบันอุดมศึกษานั้น

แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน 10 คน เพื่อสนับสนุนนกัวิจัยที่มีศักยภาพสูงที่มีความพร้อมทางด้านทุนวิจัยและเครื่องมือวิจัย

รวมทั้งผู้ที่ดําเนินโครงการวิจัยขนาดใหญ่อย่างต่อเนือ่งในการผลิตผลงาน

Page 19: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

10. อาจารย์ที่ปรึกษา

วิทยานิพนธ์และการค้นคว้า

อิสระ ในระดับบัณฑิตศึกษา

มีผลงานวิจัยอย่างต่อเนือ่ง

และสม่ําเสมอ

- อย่างน้อย 1 เรื่องในรอบ 5 ป ี โดยนับ

รวมปีที่ประเมิน

อย่างน้อย 1 เรื่องในรอบ 5 ป ีโดยนับรวมปี

ที่ประเมิน

Page 20: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

11. การปรับปรุงหลักสูตร

ตามรอบระยะเวลาที่

กําหนด

ต้องไม่เกิน 5 ป ี(จะต้องปรับปรุงให้

เสร็จและอนุมัติ/ให้ความเห็นชอบ

โดยสภามหาวิทยาลัย/สถาบัน

เพื่อให้หลักสูตรใช้งานในปีที่ 6)

หมายเหตุ สําหรับหลักสูตร 5 ป ี

ประกาศใช้ในปีที่ 7 หรือหลักสูตร 6

ป ีประกาศใช้ในปีที่ 8

ต้องไม่เกิน 5 ป ี(จะต้อง

ปรับปรุงให้เสร็จและอนุมัติ/

ให้ความเห็นชอบโดยสภา

มหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อให้

หลักสูตรใช้งานในปีที่ 6)

ต้องไม่เกิน 5 ป ี(จะต้อง

ปรับปรุงให้เสร็จและอนุมัติ/

ให้ความเห็นชอบโดยสภา

มหาวิทยาลัย/สถาบัน เพื่อให้

หลักสูตรใช้งานในปีที่ 6)

Page 21: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรทีก่ําหนดโดย สกอ.

เกณฑ์การประเมิน ตรี โท เอก

12. การดําเนินงานให้เป็นไปตามตวับ่งชี้ผลการดําเนินงานเพื่อ

การประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนตามกรอบ

มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1-5

ต้องดําเนินการทุกตัว

ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1-5

ต้องดําเนินการทุกตัว

ตัวบ่งชี้ TQF ข้อ 1-5

ต้องดําเนินการทุกตัว

สรุปการดําเนินงานตัวบ่งชี้ 1.1

หลักสูตร ประเด็นการประเมิน

หลักสูตรปริญญาตรี ประเมิน 4 ประเด็น (1,2,11 และ12)

หลักสูตรบัณฑิตศึกษา ประเมิน 12 ประเด็น (1-12)

เกณฑ์การประเมิน คือ ผ่าน และไม่ผ่านถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดขอ้หนึ่ง ถือว่าหลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน (ไม่ผ่าน คะแนนเป็นศูนย์)

Page 22: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

ตัวบ่งชี้ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

เกณฑ์การประเมินใช้ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมินบัณฑิต (คะแนนเต็ม 5) จากมุมมองของผู้ใช้บัณฑิต

สูตรคํานวณ

คะแนนที่ได้ = ผลรวมของคา่คะแนนที่ได้จากการประเมินบณัฑิต

จํานวนบณัฑิตที่ได้รับการประเมินทัง้หมด

ข้อมูลประกอบจํานวนบัณฑิตที่รับการประเมินจากผู้ใช้บัณฑิตจะต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของจํานวนบัณฑิต

ที่สําเร็จการศึกษา

Page 23: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

เกณฑ์การประเมินโดยการแปลงค่าร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีทีไ่ด้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ป ี

เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 กําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100

ค่าร้อยละ = ผลรวมของคา่คะแนนที่ได้จากการประเมินบณัฑิต

จํานวนบณัฑิตที่ได้รับการประเมินทัง้หมดx 100

สูตรการคํานวณ

คะแนนที่ได้ = คา่ร้อยละของบณัฑิตที่ได้งานทําหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน ปี

x 5

หมายเหตุ ไม่นําบัณฑิตที่ศึกษาต่อ เกณฑ์ทหาร อุปสมบท และบัณฑิตที่มีงานทําแล้วแต่ไม่ได้เปลี่ยนงาน มาพิจารณา

ทั้งนี้ บัณฑิตที่ตอบแบบสํารวจต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของจํานวนบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษา

Page 24: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิตตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาโท) ผลงานของนักศึกษาและผู้สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

เกณฑ์การประเมินโดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่ต่อผู้สําเร็จการศึกษา

เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 กําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ

ค่าร้อยละ = ผลรวมถ่วงนํา้หนกัของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนกัศกึษาและผู้ สําเร็จการศกึษาระดบัป.โท

จํานวนผู้ สําเร็จการศกึษาระดบัป.โททัง้หมดx 100

คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงนํา้หนกัของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ตอ่ผู้ สําเร็จการศกึษา

x 5

หมายเหตุ ผลงานวิจัยที่มีชื่อนักศึกษาและอาจารย์ร่วมกัน สามารถนับในตัวบ่งชี้ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ได้

Page 25: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.10 • บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง

0.20 • บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

0.40 • บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ

ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา

วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบัน

นําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้

กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ

• ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร

0.60 • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2

ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ บทความต้องเป็น Full Paper

Page 26: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.80 • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ

ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา

วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบัน

นําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้

กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือ

ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1

1.00 • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับ

นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย

หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรบัการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

พ.ศ. 2556

• ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร

บทความต้องเป็น Full Paper

Page 27: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์ online

0.40 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน

0.60 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ

0.80 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ

1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ

หมายเหตุ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการทีม่ีองค์ประกอบไม่

น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

Page 28: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิตตัวบ่งชี้ 2.2 (ปริญญาเอก) ผลงานของนักศึกษาและผู้สําเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่

เกณฑ์การประเมินโดยการแปลงค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ต่อผู้สําเร็จการศึกษา

เป็นคะแนนระหว่าง 0-5 กําหนดให้เป็นคะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 80 ขึ้นไป

สูตรการคํานวณ

ค่าร้อยละ = ผลรวมถ่วงนํา้หนกัของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ของนกัศกึษาและผู้ สําเร็จการศกึษาระดบัป.เอก

จํานวนผู้ สําเร็จการศกึษาระดบัป.เอกทัง้หมดx 100

คะแนนที่ได้ = ร้อยละของผลรวมถ่วงนํา้หนกัของผลงานที่ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ตอ่ผู้ สําเร็จการศกึษา

x 5

Page 29: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ บทความต้องเป็น Full Paper

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 • บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

0.40 • บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับ

นานาชาติ หรือในวารสารทางวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ

ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา

วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบัน

นําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้

กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ

• ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร

0.60 • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฎในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 2

Page 30: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพผลงานวิชาการ บทความต้องเป็น Full Paper

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.80 • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ

ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา

วารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบัน

นําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้

กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือ

ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1

1.00 • บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับ

นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการอุดมศึกษาว่าด้วย

หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรบัการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

พ.ศ. 2556

• ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร

Page 31: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์ online

0.40 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน

0.60 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ

0.80 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ

1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ

หมายเหตุ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการทีม่ีองค์ประกอบไม่

น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

Page 32: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา

ตัวบ่งชี้ 3.2 กาส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกบันกัศึกษา

Page 33: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 3.1 การรับนักศึกษา

การรับนักศึกษา

เช่น เกณฑ์การรับสมคัร คุณสมบัติ ขั้นตอนการรบัสมัคร แผนและ เป้าหมายการรบันกัศึกษา เป็นต้น

การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา

เช่น กระบวนการ ขั้นตอนต่างๆ ที่เตรียมความพร้อมแก่นักศึกษาก่อนเข้าศึกษา เป็นต้น

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็น

ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

Page 34: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 3.2 กาส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา

การควบคุม การดูแล การให้คําปรึกษาวิชาการ และแนะแนวแก่

นักศึกษาปริญญาตรี

การควบคุม ดูแล การให้คําปรึกษาวิทยานิพนธ์แก่บณัฑิตศึกษา

การพัฒนาศักยภาพนักศึกษา และการสริมสร้างทักษะการเรียนรู้

ในศตวรรษที ่21

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง

ดังนี้

Page 35: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ 3.1 และ 3.2

0 1 2 3 4 5● ไม่มีระบบ

● ไม่มีกลไก

● ไม่มีแนวคิด

ในการกํากับ

ติดตามและ

ปรับปรุง

● ไม่มีข้อมูล

● มีระบบ มีกลไก

● ไม่มีการนํา

ระบบกลไกลไปสู่

การปฏิบัติ/

ดําเนินการ

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกล

ไกลไปสู่การปฏิบัติ/

ดําเนินการ

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● ไม่มีการปรับปรุง/

พัฒนา/บูรณาการ

กระบวนการ

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบ

กลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● มีการปรับปรุง/

พัฒนา/บูรณาการ

กระบวนการจาก

ผลการประเมิน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่

การปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พฒันา/

บูรณาการกระบวนการจาก

ผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการ

ตามวงจร PDCA มากกว่าหนึ่ง

รอบหรือมีการจดัการความรู้

ในกระบวนการดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พฒันา/บูรณาการ

กระบวนการจากผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการตาม

วงจร PDCA มากกว่าหนึ่งรอบหรือมี

การจัดการความรู้ในกระบวนการ

ดําเนินงาน

● มีการแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีการ

เทียบเคียงกับหลักสูตรเดียวกันใน

กลุ่มสถาบันเดียวกันที่เหมาะสมหรือ

ได้รับรางวลัระดบัชาติหรือนานาชาติ

Page 36: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 3.3 ผลที่เกิดกบันกัศึกษา

การคงอยู่ของนักศึกษาในหลักสูตร

การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร

ความพึงพอใจต่อหลักสูตร และผลการจัดการข้อร้องเรียน

ของนักศึกษา

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง

ดังนี้

Page 37: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ 3.3

0 1 2 3 4 5● ไม่มีการรายงานผลการ

ดําเนินงาน

● มีการรายงานผลการ

ดําเนินงานใน

บางเรื่อง

● มีการรายงานผลกาดําเนินงาน

ครบทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัว

บ่งชี้

● มีการรายงานผลการดําเนินงานครบ

ทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัวบ่งชี้

● มีแนวโน้มผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นใน

บางเรื่อง

● มีการรายงานผลการดําเนินงานครบ

ทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัวบ่งชี้

● มีแนวโน้มผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นใน

ทุกเรื่อง

● มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัวบ่งชี้

● มีแนวโน้มผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง

● มีผลการดําเนินงานที่เป็นเลิศ/โดเด่น โดยเทียบเคียงกับ

หลักสูตรนั้นในสถาบันกลุ่ม

เดียวกันที่เหมาะสม

หรือได้รับรางวัลระดับชาติ

หรือนานาชาติ

Page 38: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์

ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์

ตัวบ่งชี้ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์

Page 39: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 4.1 การบริหารและพฒันาอาจารย์

ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจําหลักสูตร

ระบบการบริหารอาจารย์

ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

Page 40: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ 4.10 1 2 3 4 5

● ไม่มีระบบ

● ไม่มีกลไก

● ไม่มีแนวคิด

ในการกํากับ

ติดตามและ

ปรับปรุง

● ไม่มีข้อมูล

หลักฐาน

● มีระบบ มีกลไก

● ไม่มีการนํา

ระบบกลไกลไปสู่

การปฏิบัติ/

ดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบ

กลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินงาน

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● ไม่มีการ

ปรับปรุง/พัฒนา/

บูรณาการ

กระบวนการ

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบ

กลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● มีการปรับปรุง/

พัฒนา/บูรณาการ

กระบวนการจาก

ผลการประเมิน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่

การปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พฒันา/

บูรณาการกระบวนการจาก

ผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการ

ตามวงจร PDCA มากกว่าหนึ่ง

รอบหรือมีการจดัการความรู้

ในกระบวนการดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พฒันา/บูรณาการ

กระบวนการจากผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการตาม

วงจร PDCA มากกว่าหนึ่งรอบหรือ

มีการจัดการความรู้ในกระบวนการ

ดําเนินงาน

● มีการแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมี

การเทียบเคียงกับหลักสูตรเดียวกัน

ในกลุ่มสถาบันเดียวกันที่เหมาะสม

หรือได้รับรางวลัระดบัชาติหรือ

นานาชาติ

Page 41: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ 4.2 คุณภาพอาจารย์

ร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่ดํารงตําแหน่งทางวิชาการ

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร

จํานวนบทความของอาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับ การอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจํานวนอาจารย์ประจํา

หลักสูตร

ประเด็นในการพิจารณาตัวบ่งชี้นี้ ประกอบด้วย

Page 42: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

ระดับ

ร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตร

ที่มีคุณวุฒิปริญญาเอกที่กําหนดให้คะแนนเต็ม 5

หลักสูตรระดับปริญญาตรี ร้อยละ 20 ขึ้นไป

หลักสูตรระดับปริญญาโท ร้อยละ 60 ขึ้นไป

หลักสูตรระดับปริญญาเอก ร้อยละ 100

Page 43: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตรที่ดํารงตาํแหน่งทางวิชาการ

ระดับ

ร้อยละของอาจารย์ประจําหลักสูตร

ที่ดํารงตําแหน่ง ผศ. รศ. และ ศ. รวมกันที่กําหนดให้คะแนนเต็ม 5

หลักสูตรระดับปริญญาตรี ร้อยละ 60 ขึ้นไป

หลักสูตรระดับปริญญาโท ร้อยละ 80 ขึ้นไป

หลักสูตรระดับปริญญาเอก ร้อยละ 100

Page 44: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร

ระดับร้อยละของผลรวมถ่วงน้ําหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจําหลักสูตร

ที่กําหนดให้คะแนนเต็ม 5

หลักสูตรระดับปริญญาตรี ร้อยละ 20 ขึ้นไป

หลักสูตรระดับปริญญาโท ร้อยละ 40 ขึ้นไป

หลักสูตรระดับปริญญาเอก ร้อยละ 60

Page 45: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 • บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจาก

การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

0.40 • บทความฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนานาชาติ

หรือวารสารทางวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือ

ระเบียบคณะกรรมการอุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง

วิชาการ พ.ศ.2556 แต่สถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติและจัดทําเป็นประกาศให้

ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วันที่ออก

ประกาศ

• ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร

บทความต้องเป็น full paper

Page 46: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.60 • บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

ที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2

0.80 • บทความวิจัยหรือบทความวิชาการที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ

ที่ไม่อยุ่ในฐานข้อมูลตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ

อุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการ

เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่ สถาบันนําเสนอสภาสถาบันอนุมัติ

และจัดทําเป็นประกาศให้ทราบเป็นการทั่วไป และแจ้งให้ กพอ./กกอ. ทราบ

ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์

ในวารสารวิชาการที่ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1

บทความต้องเป็น full paper

Page 47: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพผลงานทางวิชาการ

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

1.00 • บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ

นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับนานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ

คณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วยหลักเกณฑ์พิจารณาวารสารทางการศึกษา

สําหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. 2556

• ผลงานที่ได้รับการจดสิทธิบัตร

• ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ผ่านการประเมินตําแหน่งทางวิชาการแล้ว

• ผลงานวิจัยที่หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติว่าจ้างให้ดําเนินการ

• ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ที่ค้นพบใหม่และได้รับการจดทะเบียน

• ตําราหรือหนังสือที่ผ่านการประเมินตําแหน่งทางวิชาการแล้ว

• ตําราหนังสือที่ผ่านการพิจารณาตํามหลักเกณฑ์การประเมินตําแหน่งทางวิชาการ

แต่ไม่ได้นํามาขอรับการประเมินตําแหน่งทางวิชาการ

บทความต้องเป็น full paper

Page 48: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ระดับคุณภาพงานสร้างสรรค์

หมายเหตุ ผลงานสร้างสรรค์ทุกชิ้นต้องผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการที่มีองค์ประกอบไม่น้อยกว่า 3 คน โดยมีบุคคลภายนอกสถาบันร่วมพิจารณาด้วย

ค่าน้ําหนัก ระดับคุณภาพ

0.20 งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะในลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือผ่านสื่อ

อิเล็กทรอนิกส์

0.40 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับสถาบัน

0.60 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ

0.80 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับความร่วมมือระหว่างประเทศ

1.00 งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับภูมิภาคอาเซียน / นานาชาติ

Page 49: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

จํานวนบทความของอาจารย์ประจําหลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงในฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่อจํานวนอาจารย์อาจารย์ประจําหลักสูตร

การคํานวณตัวบ่งชี้นี้ เปรียบเทียบจํานวนบทความทีได้รับการอ้างอิง (Citation)

ตั้งแต่หนึ่งครั้งขึ้นไป (รวมทั้งการอ้างอิงตนเอง) ที่เป็นผลงานของอาจารย์ประจําหลักสูตร

ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติ หรือนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจําหลักสูตร

ปริญญาเอก โดยนําเสนอในรูปสัดส่วน ทั้งนี้พิจารณาผลการดําเนินงาน 5 ปีย้อนหลัง

ตามปีปฏิทิน ซึ่งนับรวมปีที่ประเมิน

จํานวนบทความทีได้รับการอ้างอิงต่อจํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตร

= จํานวนบทความที่ได้รับการอ้างอิงอย่างน้อย 1 ครั้ง

จํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตร

Page 50: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน (เฉพาะหลักสูตร ป.เอก)

กลุ่มสาขา

จํานวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงต่อจํานวนอาจารย์ประจําหลักสูตร

ที่กําหนดให้คะแนนเต็ม 5

กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.5 ขึ้นไป

กลุ่มสาขาวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ 3.0 ขึ้นไป

กลุ่มสาขาวิชา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 0.25 ขึ้นไป

Page 51: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกบัอาจารย์

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง

ดังนี้

การคงอยู่ของอาจารย์

ความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตร

Page 52: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ 4.3

0 1 2 3 4 5

● ไม่มีการรายงานผล

การดําเนินงาน

● มีการรายงานผล

การดําเนินงาน

ในบางเรื่อง

● มีการรายงานผลการ

ดําเนินงานครบ

ทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัว

บ่งชี้

● มีการรายงานผลการดําเนินงาน

ครบทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัวบ่งชี้

● มีแนวโน้มผลการดําเนินงานที่

ดีขึ้นในบางเรื่อง

● มีการรายงานผลการดําเนินงานครบ

ทุกเรื่องตาม

คําอธิบายในตัวบ่งชี้

● มีแนวโน้มผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นใน

ทุกเรื่อง

● มีการรายงานผลการดําเนินงานครบทุกเรื่อง

ตามคําอธิบายในตัวบ่งชี้

● มีแนวโน้มผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในทุกเรื่อง

● มีผลการดําเนินงานที่เป็นเลิศ/โดดเด่น โดย

เทียบเคียงกับหลักสูตรนั้น

ในสถาบันกลุ่มเดียวกันที่

เหมาะสม หรือได้รับรางวัล

ระดับชาติ หรือนานาชาติ

Page 53: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การะประเมินผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจดัการเรียนการสอน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดําเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

Page 54: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

หลักคิดในการออกแบบหลักสูตร ข้อมูลที่ใช้ในการพัฒนาหลักสูตร

และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

การปรับปรุงหลักสูตรให้ทนัสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้นๆ

การพิจารณาอนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับ

บัณฑิตศึกษา

Page 55: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการ จัดการเรียนการสอน

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

การพิจารณากําหนดผู้สอน กํากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทํา มคอ.3 และ มคอ.4 การแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับ

บัณฑิตศึกษา การกํากับกระบวนการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนที่มีการฝึกปฏิบัติในระดับปริญญาตรี การบูรณาการพันธกิจต่างๆ กับการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี การช่วยเหลือ กํากับ ติดตามในการทําวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระและการตีพิมพ์

ผลงานในระดับบัณฑิตศึกษา

Page 56: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF

การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา

การกํากับการประเมินการจดัการเรียนการสอนและการประเมิน หลักสูตร (มคอ. 5 มคอ. 6 และ มคอ. 7)

การประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา

Page 57: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ 5.1,5.2 และ 5.3

0 1 2 3 4 5

● ไม่มีระบบ

● ไม่มีกลไก

● ไม่มีแนวคิดในการกํากับ

ติดตามและ

ปรับปรุง

● ไม่มีข้อมูลหลักฐาน

● มีระบบ มีกลไก

● ไม่มีการนําระบบกลไกลไปสู่

การปฏิบัติ/

ดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● ไม่มีการปรับปรุง/พัฒนา/

บูรณาการ

กระบวนการ

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการ

กระบวนการจาก

ผลการประเมิน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการกระบวนการจากผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการตามวงจร PDCA มากกว่าหนึ่งรอบหรือ

มีการจัดการความรู้ในกระบวนการ

ดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พัฒนา/บูรณาการกระบวนการจากผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการตามวงจร PDCA มากกว่าหนึ่งรอบหรือมีการจัดการ

ความรู้ในกระบวนการดําเนินงาน

● มีการแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีการเทียบเคียงกับหลักสูตรเดียวกันในกลุ่ม

สถาบันเดียวกันที่เหมาะสมหรือได้รับ

รางวัลระดับชาติหรือนานาชาติ

Page 58: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดําเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

ผลการดําเนินงานของหลักสูตร หมายถึง ร้อยละของผลการดําเนินงานตามกรอบ TQF ที่ปรากฏในหลักสูตร (มคอ.2) หมวดที่ 7 ข้อ 7 ที่หลักสูตรแต่ละ

หลักสูตรดําเนินงานได้ในแต่ละปีการศึกษา อาจารย์ประจําหลักสูตรเป็นผู้รายงาน

ผลการดําเนินงานประจําปีในแบบรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร (มคอ. 7)

1) ร้อยละของผลการดําเนินงานตามตัวบ่งชี้การดําเนินงานตามกรอบ TQF

จํานวนตวับง่ชีผ้ลการดําเนินงานหลกัสตูรตามกรอบ ที่ดําเนินการได้จริง

จํานวนตวับง่ชีผ้ลการดําเนินงานหลกัสตูรตามกรอบ ที่ต้องดําเนินงานในปีการศกึษานัน้ๆx 100

Page 59: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดําเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

2) นําร้อยละที่คํานวณได้จากข้อ 1 มาคํานวณคะแนน ดังนี้

ร้อยละที่คํานวณได้ คะแนน

ร้อยละ 100 5

ร้อยละ 80 1

ไม่เกินร้อยละ 80 0

ค่าร้อยละที่มากกว่า 80 และไม่เกินร้อยละ 100 ให้คิดคะแนนดังนี้

คะแนนที่ได้ = 1+0.2 (ค่าร้อยละที่คาํนวณได้ - 80)

หมายเหตุ 0.2 หมายถึง สัดส่วนของคะแนน 4 โดยคิดจากร้อยละระหว่าง 80 ถึง 100

Page 60: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนนุการเรียนรู้

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

Page 61: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนนุการเรียนรู้

ให้อธิบายกระบวนการ หรือแสดงผลการดําเนินงานในประเด็นที่เกี่ยวข้อง ดังนี้

ระบบการดําเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบัน โดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ ประจําหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

จํานวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียน การสอน

กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและ อาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

Page 62: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้ 6.1

0 1 2 3 4 5

● ไม่มีระบบ

● ไม่มีกลไก

● ไม่มีแนวคิดใน

การกํากับติดตาม

และปรับปรุง

● ไม่มีข้อมูล

หลักฐาน

● มีระบบ มีกลไก

● ไม่มีการนํา

ระบบกลไกลไปสู่

การปฏิบัติ/

ดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกล

ไกลไปสู่การปฏิบัติ/

ดําเนินการ

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● ไม่มีการปรับปรุง/

พัฒนา/บูรณาการ

กระบวนการ

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกล

ไกลไปสู่การปฏิบัติ/

ดําเนินการ

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● มีการปรับปรุง/

พัฒนา/บูรณาการ

กระบวนการจาก

ผลการประเมิน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกล

ไปสู่การปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมิน

กระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พฒันา/

บูรณาการกระบวนการ

จากผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดย

ดําเนินการตามวงจร

PDCA มากกว่าหนึ่งรอบ

หรือมีการจดัการความรู้ใน

กระบวนการดําเนินงาน

● มีระบบ มีกลไก

● มีการนําระบบกลไกลไปสู่การ

ปฏิบัติ/ดําเนินการ

● มีการประเมินกระบวนการ

● มีการปรับปรุง/พฒันา/บูรณาการ

กระบวนการจากผลการประเมิน

● มีการเรียนรู้โดยดําเนินการตาม

วงจร PDCA มากกว่าหนึ่งรอบหรือ

มีการจัดการความรู้ในกระบวนการ

ดําเนินงาน

● มีการแนวทางปฏิบัติที่ดีโดยมีการ

เทียบเคียงกับหลักสูตรเดียวกันใน

กลุ่มสถาบันเดียวกันที่เหมาะสมหรือ

ได้รับรางวลัระดบัชาติ หรือ

นานาชาติ

Page 63: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

แนวทางการวิเคราะห ์และสรุปผลระดับหลักสูตร

คะแนน ระดับคุณภาพ

0.01 – 2.00 น้อย

2.01 – 3.00 ปานกลาง

3.01 – 4.00 ดี

4.01 – 5.00 ดีมาก

ผ่าน

องค์ประกอบที่ 1ไม่ผ่าน

องค์ประกอบที่ 1

คะแนนระดับหลักสูตร = 0

หลกัสตูรไมไ่ด้มาตรฐาน

ประเมินองค์ประกอบที่ 2-6

คะแนนระดับหลักสูตรเป็นคะแนนเฉลี่ย

ของตัวบ่งชี้ในองค์ประกอบที่ 2 – 6

(13 ตัวบ่งชี้)

ผลการประเมิน

Page 64: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

การประกันคุณภาพการศึกษาระดบัวิทยาลัย

ใช้ระบบการพัฒนาคุณภาพมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามแนวทางเกณฑ์คุณภาพการศึกษา

เพื่อการดําเนินงานที่เป็นเลิศ (CMU-EdPEx)

เนื้อหาของเกณฑ์ EdPEx ประกอบด้วย • โครงร่างองค์กร

• หมวด 1 การนําองค์กร

• หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ์

• หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า

• หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้

• หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร

• หมวด 6 การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ

• หมวด 7 ผลลัพธ์

Page 65: การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม ่ ประจําปี ... · การประกันคุณภาพการศึกษา

CMU-EdPEx Road Map

ปี 2556

โครงร่างองค์กร

+

ผลลัพธ์หมวด 7

(ไม่เกิน 5 หน้า)

ปี 2557-2558โครงร่างองค์กร

+

ข้อกําหนดโดยรวม

หมวด 1-6 และ

ผลลัพธ์

ปี 2559โครงร่างองค์กร

+

ข้อกําหนดโดยรวม

และข้อกําหนดในแต่

ละประเด็นพิจารณา

หมวด 1-6 และ

ผลลัพธ์พัฒนาทีมผู้ให้คําปรึกษาสร้างความเข้าใจในการประเมินตนเอง