ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ...

24
ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุงโรจน ธรรมรุงเรือง *********************************** โดยปกติถาเราพูดถึงทวารวดีจะนึกถึงบานเมืองหรือวัฒนธรรมที่ในภาคกลางของประเทศไทยจะเปนสมัย ประวัติศาสตรสมัยแรกของประเทศไทยและศูนยกลางอยูที่ภาคกลาง แตการที่พูดถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในชวงระยะเวลานั้นจะนึกถึงเรื่องของวัฒนธรรมที่มาจากวัฒนธรรมกัมพูชาที่เรียกวา “เขมรในประเทศไทย” แต ในความเปนจริงแลวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวงระยะเวลาที่ภาคกลางเกิดวัฒนธรรมทวารวดีขึ้นในชวงทีวัฒนธรรมเขมรแผมาถึงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีกลุมบานเมืองหรือกลุมวัฒนธรรมแบบหนึ่งที่นับถือ พระพุทธศาสนาอยู ซึ่งกลุมนั้นคลายคลึงกับที่พบทางภาคกลางของประเทศไทยเราจึงเรียกกันวา “ทวารวดี” แต เติมคําวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือเขาไปดวย ฉะนั้นเนื้อหาในสวนนี้เราจะพูดถึงเรื่องของกลุมพุทธศาสนากลุมนี้ทีกินอายุชวงเวลาประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๖ ที่อยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนหลัก คําจํากัดความของคําวาทวารวดี คือ ๑. เพื่อสื่อความหมายถึงวัฒนธรรมกลุมหนึ่งที่ปรากฏอยูในดินแดนไทยระหวางพุทธศตวรรษที่ ๑๒ - ๑๖ ถาเปนพ.ศ. ๑๑๐๐ - ๑๗๐๐ ซึ่งวัฒนธรรมกลุมนี้จะพบมากในภาคกลางของประเทศไทย นอกจากนี้คํา วาทวารวดีบางคนอาจสงสัยวาแลวทําไปเราถึงเรียกวาทวารวดี เพราะวาเราไดคนพบเหรียญเงินมีจารึก แปลเปนภาษาไทยวาการบุญหรือการกุศลของผูเปนใหญแหงทวารวดี ๒. เปนชื่อบานเมืองบานเมืองหนึ่งหรือหนวยการเมืองใดการเมืองหนึ่งที่อยูในภาคกลางของประเทศไทย แตเราไมสามารถทราบไดวาลักษณะการเมืองการปกครองอยางละเอียดของเขาเปนอยางไร เชน บาง ทานบอกเปนรัฐ อาณาจักร แวนแควน แตไมวาอยางไรก็ตามในชวงระยะเวลานี้ประมาณ ๑,๑๐๐ - ๑,๗๐๐ พื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่เราเรียกวาทวารวดี บานเมืองที่มีชื่อวาทวารวดี อยู อันนี้คือแนวคิดโดยทั่วไปเกี่ยวกับคําวาทวารวดีที่เราใชกันศูนยกลางอยูที่ไหน ๓. บานเมืองที่มีนามวาทวารวดีคือคงจะอยูแถบ จ.นครปฐม อันนี้คือขอสันนิษฐานที่ไดรับการกลาวถึง มากที่สุดเราบอกไมได ๑๐๐% วาศูนยกลางอยูที่ไหนแนแตที่เหตุที่วา จ.นครปฐม มีเมืองโบราณสมัย ทวารวดีเมืองหนึ่งและมีขนาดใหญที่สุดและมีหลักฐานจึงคิดวาอยูที่ จ.นครปฐมก็ได ปจจุบันก็อยูแถว นครชัยศรี แผนที่ของประเทศไทยที่แสดงใหเห็นถึงการกระจายตัวของเมืองในวัฒนธรรม ทวารวดีไปในที่ตาง ๆ เราจะเห็นไดวาเมืองวัฒนธรรมทวารวดีเปนเมืองที่เปน ภาคกลางของประเทศไทยเยอะดูแลวเปนรอย ๆ เมืองเลยทั้งเมืองเล็กเมืองใหญ ในขณะที่ภูมิภาคอื่น ๆ ก็จะพบไดนอยลงไปตามลําดับ เชน ภาคเหนือก็ยังมี ลักษณะวัฒนธรรมทวารวดีไปปรากฏอยูที่หริภุญชัยก็คือ จ.ลําพูน หริภุญชัย วัฒนธรรมทวารวดีที่ขึ้นไปไดอาจจะมีความเกี่ยวของกับตํานานจามเทวีวงศ คือหริภุญชัยเปนบานเมืองที่สําคัญกอนที่จะเกิดลานนาขึ้น ลานนาเกิด ๑๘๓๙ แตหริภุญชัยเกิดขึ้นกอนหนานั้นและเขามีการเลาวาปฐมกษัตริยของเขาคือพระ

Upload: others

Post on 22-Aug-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย

ผศ.รุงโรจน ธรรมรุงเรือง ***********************************

โดยปกตถิาเราพูดถึงทวารวดีจะนึกถึงบานเมืองหรือวัฒนธรรมท่ีในภาคกลางของประเทศไทยจะเปนสมัยประวัติศาสตรสมัยแรกของประเทศไทยและศูนยกลางอยูท่ีภาคกลาง แตการท่ีพูดถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวงระยะเวลานั้นจะนึกถึงเรื่องของวัฒนธรรมท่ีมาจากวัฒนธรรมกัมพูชาท่ีเรียกวา “เขมรในประเทศไทย” แตในความเปนจริงแลวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือในชวงระยะเวลาท่ีภาคกลางเกิดวัฒนธรรมทวารวดีขึ้นในชวงท่ีวัฒนธรรมเขมรแผมาถึงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือจึงมีกลุมบานเมืองหรือกลุมวัฒนธรรมแบบหนึ่งท่ีนับถือพระพุทธศาสนาอยู ซ่ึงกลุมนั้นคลายคลึงกับท่ีพบทางภาคกลางของประเทศไทยเราจึงเรียกกันวา “ทวารวด”ี แตเติมคําวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือเขาไปดวย ฉะนั้นเนื้อหาในสวนนี้เราจะพูดถึงเรื่องของกลุมพุทธศาสนากลุมนี้ท่ีกินอายุชวงเวลาประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๖ ท่ีอยูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนหลัก

คําจํากัดความของคําวาทวารวด ีคือ ๑. เพ่ือส่ือความหมายถึงวัฒนธรรมกลุมหนึ่งท่ีปรากฏอยูในดินแดนไทยระหวางพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๖

ถาเปนพ.ศ. ๑๑๐๐ - ๑๗๐๐ ซ่ึงวัฒนธรรมกลุมนี้จะพบมากในภาคกลางของประเทศไทย นอกจากนี้คําวาทวารวดีบางคนอาจสงสัยวาแลวทําไปเราถึงเรียกวาทวารวด ี เพราะวาเราไดคนพบเหรียญเงินมีจารึกแปลเปนภาษาไทยวาการบุญหรือการกุศลของผูเปนใหญแหงทวารวดี

๒. เปนช่ือบานเมืองบานเมืองหนึ่งหรือหนวยการเมืองใดการเมืองหนึ่งท่ีอยูในภาคกลางของประเทศไทย แตเราไมสามารถทราบไดวาลักษณะการเมืองการปกครองอยางละเอียดของเขาเปนอยางไร เชน บางทานบอกเปนรัฐ อาณาจักร แวนแควน แตไมวาอยางไรก็ตามในชวงระยะเวลานี้ประมาณ ๑,๑๐๐ - ๑,๗๐๐ พ้ืนท่ีภาคกลางของประเทศไทยมีวัฒนธรรมท่ีเราเรียกวาทวารวดี บานเมืองท่ีมีช่ือวาทวารวดีอยู อันนี้คือแนวคิดโดยท่ัวไปเกี่ยวกับคําวาทวารวดีท่ีเราใชกันศูนยกลางอยูท่ีไหน

๓. บานเมืองท่ีมีนามวาทวารวดีคือคงจะอยูแถบ จ.นครปฐม อันนี้คือขอสันนิษฐานท่ีไดรับการกลาวถึงมากท่ีสุดเราบอกไมได ๑๐๐% วาศูนยกลางอยูท่ีไหนแนแตท่ีเหตุท่ีวา จ.นครปฐม มีเมืองโบราณสมัยทวารวดีเมืองหนึ่งและมีขนาดใหญท่ีสุดและมีหลักฐานจึงคิดวาอยูท่ี จ.นครปฐมก็ได ปจจุบันก็อยูแถว

นครชัยศรี แผนท่ีของประเทศไทยท่ีแสดงใหเห็นถึงการกระจายตัวของเมืองในวฒันธรรมทวารวดีไปในท่ีตาง ๆ เราจะเห็นไดวาเมืองวัฒนธรรมทวารวดีเปนเมืองท่ีเปนภาคกลางของประเทศไทยเยอะดูแลวเปนรอย ๆ เมืองเลยท้ังเมืองเล็กเมืองใหญ ในขณะท่ีภูมิภาคอ่ืน ๆ ก็จะพบไดนอยลงไปตามลําดับ เชน ภาคเหนือก็ยังมีลักษณะวัฒนธรรมทวารวดีไปปรากฏอยูท่ีหริภุญชัยก็คือ จ.ลําพูน หริภุญชัย

วัฒนธรรมทวารวดีท่ีขึ้นไปไดอาจจะมีความเกี่ยวของกับตํานานจามเทวีวงศ คือหริภุญชัยเปนบานเมืองท่ีสําคัญกอนท่ีจะเกิดลานนาขึ้น ลานนาเกิด ๑๘๓๙ แตหริภุญชัยเกิดขึ้นกอนหนานั้นและเขามีการเลาวาปฐมกษัตริยของเขาคือพระ

Page 2: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

นางจามเทวีเปนเจาหญิงจากเมืองละโว (ลพบุร)ี และขึ้นไปครองราชยเปนปฐมกษัตริยของเขา ฉะนั้นเราไมทราบวาพระนางจามเทวีจะมีตัวตนจริงหรือเปลาแตวาในท่ีสุดจากศักราชขจะแสดงใหเห็นถึงวัฒนธรรมจากภาคกลางซ่ึงเปนวัฒนธรรมทางพุทธศาสนาขึ้นไปถึงหริภุญชัย วัฒนธรรมนั้นก็คงจะไดแกวัฒนธรรมทวารวด ี

ภาคใตก็พบหลักฐานรองรอยของทวารวดีอยู เชน ไชยา จ.สุราษฎรธานี เปนท่ีตั้งของพระบรมธาตุไชยา และมีเมืองโบราณยะรังท่ี จ.ปตตานี เราจะเห็นลักษณะวัฒนธรรมแบบนี้เขาไปถึงขางลางเลย

สวนภาคตะวันออกเฉียงเหนือท่ีจะเปนจุดท่ีเราพูดถึงกันเยอะในครั้งนี้เราก็พบวามีเมืองในลักษณะทํานองแบบนี้กระจาย ตั้งแตบริเวณท่ีเปนนครราชสีมาหรืออีสานตอนกลาง จริง ๆ แลวทางตอนเหนือก็พบ จริง ๆ แลวเจอท่ัวท้ังประเทศ กระจายท้ังภาคอีสาน นี่ก็เปนลุมแมน้ําชีเปนอีสานตอนกลางเปนหลัก ภาพเมืองทวารวดีในภาคอีสานตอนลางของประเทศไทย จะพบไดวาตรงสวนท่ีแรเงาคือทองทะเลในอดีต ในขณะท่ีสีทึบ ๆ ไมไดแรเงาคือพ้ืนแผนดินเราจะเห็นไดวาเม่ือ ๑,๕๐๐ ปท่ีแลวโดยประมาณเวลาท่ีทวารวดีรุงเรืองฝงมหาสมุทร หรือฝงอาวไทยไมไดอยูในตําแหนงดั้งเดิมท่ีเราเห็นในปจจุบัน แตกินเขามาในพ้ืนท่ีของภาคกลางตอนลางบริเวณกรุงเทพและปริมณฑลท้ัง ๓ สมุทร คือ สมุทรปราการ สมุทรสาครและสมุทรสงคราม นนทบุรี ปทุมธานี หรือแมแตอยุธยา ในชวง ๑,๕๐๐ ปท่ีแลว ก็คือจะเปนลักษณะท่ีมีน้ําขึ้นน้ําลงหรืออยูในทะเลไมไดเปนผืนแผนดิน ดวยเหตนุี้ชายฝงทะเลจึงกินเขามา

ตอนในมาก เชน ตัวเมืองราชบุรี ตัวเมืองนครปฐม สวนหนึ่งของกาญจนบุรีเขาไปสุพรรณบุรี เชน ท่ี อ.อูทองหรือ อ.เมือง เขาไปถึงลพบุรี สระบุรี นครนายก ดวยเหตุนี้เมืองในวัฒนธรรมทวารวดีเราจึงไมพบในบริเวณกรุงเทพและปริมณฑล แมวาเราจะเจอโบราณวัตถุ เชน ท่ีกรุงศรีอยุธยาจะมีพระพุทธรูปหรือโบราณวัตถุในสมัยทวารวดีอยูแตอันนั้นเกิดจากการเคล่ือนยายในสมัยหลัง เรายังไมเจอเมืองในสมัยทวารวดีท่ีอยูบริเวณภาคกลางตอนลางมาก ๆ เลยเพราะครั้งหนึ่งอยูใตพ้ืนทองทะเล ดวยเหตุนี้เมืองทวารวดใีนอดีตจึงเจอแถบ จ.ลพบุรี สุพรรณบุรี กาญจนบุรี นครปฐม นครนายก สระบุรีและเรื่อยเขาไปตอนใน

ตัวอยางของลักษณะเมืองท่ีบอกวาเปนเมืองแบบทวารวด ี คือมีรูปทรงของเมืองท่ี

ไมไดอยูในรูปทรงเรขาคณิตเขาเรียกวา “รูปทรงแบบไมสมํ่าเสมอ” เชน เมืองนครปฐมโบราณแถว ๆ นครชัยศรีจริง ๆ ก็คาบเกี่ยวกับ อ.เมือง ลักษณะน้ําจะมีคูน้ําคันดินท่ีรูปทรงไมสมํ่าเสมอ ไมอยูในรูปทรง

เรขาคณิตและมักจะมีลําน้ําสายใดสายหนึ่งไหลผานกลางเมือง เชนกรณีนครปฐมจะใชลําน้ําบางแกวไหลเขาสูกลางเมืองเพ่ือ เปน

ระบบการชลประทานอะไรตาง ๆ ตอไป

Page 3: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

วัฒนธรรมทวารวดีนั้นเปนวัฒนธรรมท่ีพัฒนาแลวคือศาสนาท่ีมาจากอินเดียท้ังพุทธและพราหมณ ดวยเหตุนี้เมืองโบราณในสมัยทวารวดีและฐานกระจายตัวท้ังในเมือง

และนอกเมือง และท่ีเราเห็นไดชัดซ่ึงจะสืบเนื่องกลายเปนคติของวัดมหาธาตุกลางเมืองก็คือการมีศาสนสถานกลาง

เมืองอยู อยางกรณีของ จ.นครปฐม เมืองนครปฐมโบราณเขาใชวัดพระประโทนเปนศูนยกลางของเมืองอยูบริเวณใจ

กลางเมือง เราจึงเห็นไดวาคติศาสนสถานกลางเมืองหรือท่ีจะกลายมาเปนมหาธาตุกลางเมืองในสมัยทวารวดีเขารูจักกันแลว

เมืองโบราณคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี อันนี้ก็คือลักษณะกําแพงเมืองคอนขางท่ีจะเปนส่ีเหล่ียม และเปนลําหวยชินสีหท่ีไหลผานเขามาภายในเมืองจากทิศตะวันตกสูทิศตะวันออก เปนการใชระบบชลประทานขณะนั้นใชระบบชักน้ําสูกลางเมืองไปตามคูเมือง

สวนกลางเมืองก็มีวัดโขงสุวรรณคีรีทําใหเห็นคติของศาสน

สถานกลางเมืองวัดโขงสุวรรณคีรีหันหนาไปทางทิศตะวันออกพอดีได

ลองใชเข็มทิศวัดก็ปรากฏวาเปนทิศตะวันออกจริง ๆ ดวยเหตุนี้คติท่ีชุมชนตาง ๆ ท่ีสืบเนื่องมาจนถึงสมัยอยุธยาท่ีหันหนาทางทิศตะวันออกเปนคติท่ีมีมาแลวเปนพัน ๆ ป

และท่ีใกล ๆ คือท่ีถํ้าเขางู จะมีศาสนสถานอยูแสดงใหเห็นวา

ปริมณฑลของเมืองกระจายอยูในพ้ืนท่ีโดยรอบไมไดกระจุกตัวอยูบริเวณคูน้ําคันดินเทานั้น อยางกรณีของเขางูเปนท่ีตั้งของถํ้าอะไรตาง ๆ ก็อยูหางจากตัวเมืองคูบัวประมาณ ๑๐ กวากิโลเมตร

วัฒนธรรมทวารวดีท่ีเราเรียกกันนอกจากลักษณะหนาตาของบานเมืองแลว ลักษณะหนึ่งคือเรื่องของศาสนาและความเช่ือท่ีเปนสมัยกอนประวัติศาสตร ความเช่ือของเขาเราไมสามารถจะสืบไดอยางชัดเจนวามีความเช่ืออะไรบาง อยางนอยท่ีสุดเรื่องความเช่ือหลังความตายก็คงจะมีอยูแตวาพอถึงสมัยทวารวดีซ่ึงเราถือวาเปนสมัยประวัติศาสตรสมัยแรกของประเทศไทยจะเห็นไดวามีศาสนาและความเช่ือท่ีเปล่ียนไปจากเดิม คือมีพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณอันเปนของท่ีนําเขาจากอินเดียมาเปนความเช่ือหลักของบานเมืองของวัฒนธรรม ศาสนาหลักของทวารวดีภาคกลางเราจะพบวาโดยสวนใหญแลวถาเทียบเปนเปอรเซ็นตคราว ๆ ประมาณ ๘๐% จะเปนพุทธศาสนาโดยเฉพาะอยางยิ่งพุทธศาสนาเถรวาทในภาษาบาลีเหมือนในปจจุบันมีการนิยมชมชอบไดรับการเล่ือมใสมากท่ีสุด ไมไดหมายความวาศาสนาพุทธนิกายอ่ืนไมมี มหายานหรือนิกายอ่ืน ๆ ท่ีปจจุบันประเทศไทยไมนิยมแลวก็จะมีอยูในสมัยทวารวดีดวยในแบบเถรวาทนั้นจะมีปริมาณท่ีเยอะกวา ศาสนา

Page 4: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

พราหมณก็มีการนับถืออยู บางทีการนับถือพุทธกับพราหมณพรอม ๆ กันเพียงแตโดยสวนใหญแลวพุทธจะพบเยอะกวายกเวนในเมืองบางเมือง มีการคนพบวาศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธไดรับการนับถือเล่ือมใสอยางพรอม ๆ กัน คือปริมาณโบราณวัตถุ ศาสนสถานท่ีพบพอ ๆ กัน เชน เมืองศรีเทพ ท่ี อ.ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ เมืองศรีมโหสถ อ.โคกปบ จ.ปราจีนบุรี หรือเมืองโบราณอูทองท่ี จ.สุพรรณบุรีก็จะมีศาสนาพราหมณและศาสนาพุทธไปพรอม ๆ กัน อยางไรก็ตามแมวาประชากรคนทวารวดีในสมัยนั้นจะนําเอาความเช่ือใหมเขามา แตความเช่ือท่ีเราเห็นแลววานาจะเปนความเช่ือพ้ืนเมืองดั้งเดิมท่ีสืบเนื่องมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาตรยังนาจะยังคงมีสืบเนื่องตอกันมาและปรากฏอยูในรูปของโบราณวัตถุใหเราเห็น ความเช่ือตาง ๆ ท่ีเปนความเช่ือทองถ่ินจริง ๆ แลวนาจะเปนความเช่ือของผูคนในดินแดนก็วาได หลัก ๆ จะมีอยู ๓ เรื่อง คือ

๑. เรื่องการสะเดาะเคราะห ๒.ความเช่ือเกี่ยวกับการบูชาตนไมใหญเพราะถือวาเปนท่ีสิงสถิตของผูพิทักษรักษาท่ีสามารถใหคุณให

โทษแกมนุษยได ๓. ความเช่ือเกี่ยวกับโชคลางความม่ังมีศรีสุขจะมีเปนลักษณะความเช่ือท่ีรวมกันของมนุษยหลาย ๆ ภูมิภาค

และคนในสมัยทวารวดีจากโบราณวัตถุท่ีเราพบพอบอกไดวาคงมีความเช่ือทํานองแบบนี้อยูเหมือนกัน ทําไมเราถึงบอกวาทวารวดีนั้นนับถือพุทธเปนศาสนาหลัก มีตัวอยางเรื่อง

ของศิลาจารึกท่ีมีตัวอักษรเปนภาษาบาลีอันเปนภาษาท่ีใชอยูในพระไตรปฎกหรือคัมภีรทางศาสนาเถรวาท

หรือการทําภาพเลาเรื่องพุทธประวัติ เปนพุทธประวัติตอนท่ีพระพุทธองคทรงปราบเดียรถีย

คือพวกนอกศาสนาเรียกวา “ยมกปาฏิหาริย” จริง ๆ แลวยมกปาฏิหาริยเปนพุทธประวัติของพระพุทธเจาท่ีปรากฏอยูในทุกลัทธิศาสนา มหายานก็มี เพียงแต

วาในคัมภีรภาษาบาลีของพวกฝายเถรวาทท่ีระบุอยางชัดเจนวา พระพุทธเจาทรงแสดงยมกปาฏิหาริยใตตนมะมวง อยูท่ีพิพิธภัณฑพระนคร การทํายมกปาฏิหาริยใตตนมะมวงตอนนี้จะเปนเรื่องท่ีอยูในคัมภีรของเถรวาท ดวยเหตุนี้เราจึงเช่ือวาพุทธศาสนาในทวารวดีมีเถรวาทเปนสวนมาก แตรองรอยอ่ืน ๆ ก็ยังมีพุทธศาสนาฝายอ่ืน ๆ

มีพุทธศาสนาแบบหนึ่งท่ีเราเรียกวา “มหายาน” หรือ “มหายานตันตระ” คือเปนพุทธศาสนาท่ีมีเรื่องของการใหความสําคัญตอเวทมนตคาถา หรือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีดูแลวอาจจะไมเหมือนกับพุทธศาสนาแบบท่ีคนไทยรูจัก เชน ในธิเบตหรือเนปาล จะมีพระพุทธเจาและมีสตรีนั่งอยูบนตักของพระพุทธเจา เปนตน ในความเช่ือของพุทธมหายานตันตระ

เขาเช่ือวาดวยพลังอํานาจของฝายชายอยางเดียวไมเพียงพอจะตองมีอํานาจของทางฝายหญิงเขามาชวยดวย ดวยเหตุนี้พระพุทธเจาจึงตองมีชายาและทําทานั่งอยูบนตักเปนตน ซ่ึงคตินี้ในสมัยหลังเราไมเห็น แลวทวารวดีมีอยางนั้นไหม เราก็ไมพบซะทีเดียวแตเราพบอยูรูปหนึ่งท่ีสันนิษฐานวาเกี่ยวของกับพุทธมหายานตันตระ คือมีพระพุทธเจาอยูซ่ึงทานี้เรียกวาการแสดงธรรม แลวแสดงธรรมแกใคร

Page 5: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

คนนี้มี ๔ กร มือหนึ่งถือจักร มือหนึ่งถือสังขและทําทามือไขวกันท่ีหนาอกเปนทาของการแสดงการเคารพ มีรูปพระวิษณุ รูปนี้ซ่ึงนั่งอยูใกลกับพระพุทธเจาในมือถือพวงลูกประคําอยูดวยเหตุนี้องคนี้คงเปนพระศิวะ หมายความวาพระพุทธเจาแสดงพระธรรมใหแกพระศิวะและพระวิษณุฟง แนวความคิดในการทําพระพุทธเจาแสดงวาศาสนาพุทธอยูเหนือศาสนาพราหมณ นักวิชาการบางทานบอกวาเปนโลกทัศนหรือมุมมองของมหายานตันตระ ถาเราเช่ือตามนี้ก็มีตัวอยางของถํ้าพระโพธิสัตวท่ี อ.แกงคอย จ.สระบุรี ก็แสดงความเช่ือของมหายานตันตระท่ีอยูในผืนแผนดินไทยในชวงสมัยทวารวดีได

นอกจากนี้ก็ยังเจอรูปเคารพของเทพเจาในศาสนาพราหมณ โดยสวนใหญเมืองพวกนี้เปนพุทธแตในบางเมือง เชน เมืองศรีเทพ พบรูปเคารพในศาสนาพราหมณพอ ๆ กับรูปเคารพของศาสนาพุทธเสมอ องคซายเปนรูปพระวิษณุส่ีกร ท่ีรูวาเปนทานก็เพราะวาสวมหมวกทรงกระบอก และองคซายเปน

รูปพระสุริยะเทพท่ีรูเพราะมีประภามณฑลกลมอยูดานหลังและสวมเครื่องทรงคลาย ๆ ชุดแซคของผูหญิงตั้งแตหัวไหลยาวจนถึงหัวเขา ตรงนี้จึงบอก

ไดวาความเช่ือสมัยทวารวดีก็มีเรื่องศิลปะ สวนนี้เปนความเช่ือทองถ่ินหรือความเช่ือพ้ืนเมืองท่ีเกี่ยวของกับการ

สะเดาะเคราะหเพราะมีการคนพบรูปประติมากรรมขนาดเล็ก ๆ ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตรโดยเฉล่ียจะประมาณนี้ มีจํานวนมากพอใชและเกือบท้ังหมดจะทําจากดินเผา จึงเกิดการสันนิษฐานกันวาตุกตาดินเผาขนาดเล็กพวกนี้ใชทําอะไร ความเห็นแรกก็มีคนเสนอวาอาจจะเปนเครื่องใชหรือของเลนของเด็ก แตมีหลายท่ีท่ีพบก็คงไมใชของเลนท่ัว ๆ ไปคงมีมิติทางดานความเช่ือดวยก็เลยคิดกันวาตุกตาพวกนี้คงเปนการเกี่ยวของกับการสะเดาะเคราะห คือความเช่ือของคนในอดีต หรือของคนปจจุบันในบางทองท่ีเม่ือมีการเจ็บไขไดปวยขึ้นถารักษาไมหายเปนหนักก็คิดวาเปนเรื่องของผี ส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีมาทําใหมีการเจ็บไขไดปวย จะเอาชีวิตของบุคคลนั้นไป ดวยเหตุนี้ก็เลยตองมีการปนตุกตาขึ้นมาเพ่ือแทนตัวบุคคลท่ีเปนคนปวยคนนั้นและเอาตุกตาตัวนั้นทําพิธีสงมอบใหกับผีหรือวิญญาณช่ัวรายทําใหผีหรือวิญญาณช่ัวรายเขาใจวาไดชีวิตของคนนั้นไปจริง ๆ คือเปนการสะเดาะเคราะหไมใหส่ิงเลวรายเกิดกับบุคคลนั้น

นอกจากนี้จะมีเรื่องอ่ืน ๆ อีก เชน ประเพณีการเคารพบูชาตนไม ปจจุบันก็ยังมีทํากันอยูเชนใกลหวยออกก็จะมีการขูดหวยกนัหรือตามวัดวาตาง ๆเพราะเหมือนเปนความเช่ือของมนุษยอยูแลวท่ีเช่ือในเรื่องของส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีสิงสถิตอยูตามธรรมชาติหรือแผนดินมีแมพระธรณี ผืนแผนน้ํามีแมพระคงคา ในตนไมโดยเฉพาะตนไมใหญก็เปนท่ีประทับหรือสิงสถิตของรุกขเทวดา ผีสางนางไมตาง ๆ ความเช่ือนั้นยังสืบเนือ่งมาถึงปจจุบันแมวาจะมีเรื่องราวความเช่ืออะไรตาง ๆ มากมายแตความเช่ือแบบนี้ไมเคยหายไปจากสังคมมนุษย ในกรณีของทวารวดีเรารูไดอยางไรวาคนสมัยนั้นมีเรื่องการบูชาตนไมใหญดวย

Page 6: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

อันนี้คือตัวอยางของตนไมท่ีพบท่ีถํ้าเขางู จ.ราชบุรี ตามพุทธประวัติตอนท่ีพระพุทธเจาปรินิพพานใตตนสาละ ท่ีเบ้ืองพระบาทกับเบ้ืองพระเศียรพบไดวา

ตรงลําตนจะมีสายสรอยและผาคลองเอาไวถาจินตนาการก็อาจจะเปนผาขาวหรือคลาย ๆ ผาสามสีในปจจุบัน และมีหวงรัดเอาไวเปนเครื่องท่ีคนในสมัยนั้นอุทิศถวายใหกับส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีอยูในตนไม

คลายกับปจจุบันท่ีเราจุดธูป เทียน เอาพวงมาลัยหรือเอาผาสามสีผูกให ก็เปน

ตัวอยางรองรอยท่ีแสดงใหเห็นวาในทวารวดีมีประเพณีการบูชาตนไมอยูเพราะความเช่ือเกี่ยวกับตนไมใหญ

เปนท่ีสิงสถิตของส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในพุทธศาสนาไมไดปฏิเสธเรื่องนี้เลย เชน มีเรื่องสิกขาบทของพระภิกษุเชนไมใหพระภิกษุไปตัดตนไม

เพราะในนิทานท่ีเปนตนสิกขาบทเพราะครั้งหนึ่งภิกษุไปตัดตนไมและทําใหแขนของรุกขเทวดาขาด ฉะนั้นพุทธศาสนาไมไดปฏิเสธเรื่องนี้ การประดับกิ่งกานดวยวงแหวนก็คงเลียนแบบจากเครื่องประดับจริง ๆ ในสมัยนั้น หรือตนมะมวงจะมีกิ่งกานท่ีมีการ

ประดับดวยผา สายสรอย พวงมาลัย สวนความเช่ือเรื่องโชคลางเปนของคู

กับมนุษยอยูแลวเพราะอยากม่ังมีศรีสุขกันทุกยุคทุกสมัย ดังนั้นความเช่ือเกี่ยวกับเรื่องโชคลางเรายังพบไดในปจจุบัน ในอดีตของคนทวารวดีเราก็พบรองรอยอันนี้เปนเครื่องรางท่ีทําใหเกิดความม่ังคั่งร่ํารวยโดยเราพบเปนแผนดินเผา ดานหนึ่งทําเปนรูปผูชายมีพุงซ่ึงเปนสัญลักษณของความอุดมสมบูรณ ความมีอันจะกิน ดานหลังของผูชายคนนี้มีไห ซ่ึงเปนสัญลักษณของไหบรรจุเงิน ทอง สมบัติท้ังหลาย ทาวกุเวรซ่ึงตามคติท่ีมาจากอินเดียถือวาทานเปนเทพเจาแหงความม่ังคั่ง ความร่ํารวย ท่ีพบรวมกันกับรูปทาวกุเวรคือสตรีมีหนาอกถือดอกบัวดวยมือขางละดอก จากลักษณะตรงนี้จะมีชางขนาบท้ัง ๒ ขางและชูงวง ในงวงของชางมีหมอน้ําอยู คือชางกําลังสรงน้ําใหกับผูหญิงคนนี้อยู เราเรียกรูปนี้วา “คชลักษมี” หรือ “อภิเษกศร”ี ลักษมีคือช่ือของผูหญิงท่ีอยูตรงกลางเปนช่ือของชายาพระวิษณุเทพเจาในศาสนาพราหมณ คชก็คือชาง ศรีก็คือช่ือของผูหญิงคนนี้เชนกันเรียกไดท้ังลักษมีหรือศรี อภิเษกก็คือการสรงน้ํา ฉะนั้น “คชลักษมี” หรือ “อภิเษกศร”ี ก็คือเปนสัญลักษณอยางหนึ่งของความอุดมสมบูรณ ดวยเหตุนี้การท่ีเราคนพบรูปแบบนี้ในประเทศไทย ก็คาดไดวาคนในสมัยนั้นคงมีความเช่ือเกี่ยวกับเรื่องของโชคลาง เร่ืองของความม่ังมีศรีสุขดวยเหมือนกัน

Page 7: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

เอกลักษณทางศิลปกรรม เวลาท่ีเราไปตามพิพิธภัณฑ หรือเมืองโบราณสมัยทวารวดีเราจะรูไดอยางไรวาเมืองนั้นเปนเมืองทวารวดี หรือวัตถุรูปนั้นเปนสมัยทวารวดี ในกรณีของพระพุทธรูปมักจะแสดงดวยการยืนหรือนั่ง ถาหากยืนแลวจะแสดงมือแบบแสดงธรรม ๒ พระหัตถ ไมเหมือนสมัยหลังท่ีจะทํามือแบบปางประทานอภัย และเวลาจวีรตกลงมาจะทําจีวรเปนรูปวงโคงอยางสวยงาม รูปแบบนี้ก็บอกไดวาเปนสมัยทวารวดีและจะทําจากหินเปนหลัก

อีกรูปแบบหนึ่งคือการทําพระพุทธรูปแบบนั่งหอยพระบาทและมือแสดงธรรม ท่ีวัดหนา

พระเมรมีุองคหนึ่งท่ีเปนหินสีเขียวอยูในวิหารหลังนอย ดั้งเดิมเปนพระพุทธรูปทวารวดีและมาปฏิสังขรณ

อีกอันหนึ่งท่ีเปนสัญลักษณของทวารวดีภาคกลาง คือการคนพบรูปธรรมจักร มักจะอยูรวมกันกับกวางหมอบ ความหมายของธรรมจักรและกวางหมอบ คือ สัญลักษณของพระธรรมคําสอนและเปนเรื่องราวของการปฐมเทศนาขององคพระสัมมาสัมพุทธเจา เพราะพระพุทธเจาทรงเทศนาท่ีปาอิสิปตนมฤคทายวันก็คือปากวาง ฉะนั้นกวางก็คือสัญลักษณของสถานท่ี สวนตัวจักร

คือสัญลักษณของพระธรรมคําสอนท่ีพระพุทธเจาทรงแผหรือทรงหมุนไปตั้งแตครั้งปฐมเทศนา คนทวารวดีนิยมทํามากเปนหินลอยตัวขนาดคอนขางใหญ ในขณะท่ีสมัยอ่ืน ๆ ไมเปนท่ีนยิมเทา

หรือพระพุทธรูปประทับเหนือพนัสบด ี คือพระพุทธเจาประทับยืนอยูบนพาหนะและขนาบขางดวยบริวาร บางคนบอกวาเปนรองรอยของพุทธมหายานตันตระ บางคนบอกเปนพุทธสุขาวดี ประเด็นตรงนี้เราจะไมพูดถึงรายละเอียดแตจะบอกวาลักษณะแบบนี้เปนลักษณะเอกลักษณของทวารวดีทางภาคกลาง มีความเช่ือแบบหนึ่งท่ีไมเหมือนกับพุทธศาสนาสมัยอ่ืน ๆ

การเส่ือมสลายของวัฒนธรรมทวารวดีเกิดขึ้นไดอยางไร ทวารวดีนั้นท่ีเห็นกระจายไปในแตละภูมิภาคอาจจะเส่ือมสลายลงไมพรอมกันและสาเหตุการเส่ือมอาจจะไมเหมือนกันดวยก็ได เชน เกิดความเช่ือแบบใหมขึ้นหรือไปติดตอสัมพันธกับดินแดนอ่ืน แตถาพูดถึงเฉพาะภาคกลางของประเทศไทยเราพอบอกไดวาทวารวดีในภาคกลางคอย ๆ หายไปเพราะอํานาจทางการเมืองและอํานาจทางวัฒนธรรมของกัมพูชาท่ีเขามาตั้งแตอยางนอยคือสมัยของพระเจาสุริยวรมันท่ี ๑ เม่ือทานขึ้นครองราชยทานก็ขยายพระราชอํานาจของทาน เราไดคนพบศิลาจารึกท่ีเอยถึงพระนามของทานท่ี จ.ลพบุรี ดวยเหตุนี้เราจึงบอกไดวาวัฒนธรรมทวารวดีท่ี จ.ลพบุร ี พอมาถึง พ.ศ. ๑๕๕๐ คอย ๆ ถูกแทนท่ีโดยวัฒนธรรมจากกัมพูชาและหลังจากนั้นคงคอย ๆ แผไปยังเมืองอ่ืน ๆ ทางภาคกลางและทําใหทวารวดีคอย ๆ หายไป คือพูดงาย ๆ วาคนหันกลับไปหาความเช่ือหรือวัฒนธรรมแบบใหมคือวัฒนธรรมแบบเขมร

Page 8: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนอยางไร คําจํากัดความ “ทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” หมายถึง กลุมวัฒนธรรมหรือกลุมงานศิลปกรรมกลุมหนึ่งท่ีพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๖ คืออยูในชวงระยะเวลาเดียวกันกับทวารวดีในภาคกลางของประเทศไทย โดยกลุมนี้ท่ีพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีรูปแบบและคติการสรางตางไปจากศิลปะลพบุรี คือในชวงพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ เปนตนมาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนชวงเวลาท่ีมีวัฒนธรรมจากประเทศกัมพูชาเขามามากมายมีการสรางปราสาทหิน แตวาในกระแสธารของวัฒนธรรมจากกัมพูชาในบางพ้ืนท่ีไมไดรับวัฒนธรรมกัมพูชาดวย แตมีลักษณะเฉพาะของตัวเองท่ีตางไปจากกัมพูชาหรือตางไปจากศิลปะลพบุรี ศิลปะเขมร และในความตางนั้นบังเอิญวามีรูปแบบและคติคลายคลึงกับทวารวดีในภาคกลาง คือสรางขึ้นในพุทธศาสนาเหมือนกันดวยเหตุนี้เราจึงอนุโลมเรียกวัฒนธรรมกลุมนี้วาทวารวดีตามไปดวย เราจึงสมมติเรียกทวารวดีเหมือนกันดวย แตอาจจะเกี่ยวของกับทวารวดีท่ีอยูภาคกลางจริงหรือไมเกี่ยวของกันเลยก็ได แบบนี้หมายความวาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือกวางใหญมาก บานเมืองท่ีมีนามวาทวารวดีท่ีอยูทางภาคกลางคงไมไดมีอํานาจทางการเมืองหรือวัฒนธรรมอยางเบ็ดเสร็จอยางในภาคอีสาน แตคงมีแรงบันดาลใจเล็ก ๆ นอย ๆ และคนในพ้ืนแผนดินภาคอีสานในสมัยนั้นก็คงจะไปปรับปรุงใหเปนลักษณะท่ีเปนของตัวเอง ท้ังหมดอาจจะเกี่ยวกับทวารวดีภาคกลางเพียงบางสวน แตอีกหลาย ๆ สวนก็เปนของเขาเอง

ทวารวดีท่ีอยูในภาคอีสานมีลักษณะพ้ืนเมืองหลายประการท่ีตางไปจากภาคกลาง ของท่ีนิยมในภาคกลาง เชน ธรรมจักร กวางหมอบ หรือพระพุทธรูปประทับเหนือพนัสบดีจะไมนิยมในภาคอีสาน แตในทางตรงกันขามภาคอีสานกลับนิยมอะไรบางอยางท่ีภาคกลางไมนิยม ท่ีเห็นอยางชัดเจนและเราอาจกลาวไดวาเปนเอกลักษณของทวารวดีอีสานก็คือ “การทําหินตั้ง” หรือ “ใบเสมา” อยานึกถึงใบเสมาท่ีปกรอบโบสถในปจจุบันท่ีมีขนาดเล็ก “หินตั้ง” หรือ “ใบเสมา” ในภาคอีสานใหญสุดท่ีเห็นคือสูงประมาณ ๓ เมตรกวา และพบเยอะมาก บางแหงเปนรูปเคารพในตัวของเขาเอง เรื่องประเพณีการปลงศพ ประเพณีการปลงศพท่ีเขามาพรอมกับวัฒนธรรมจากอินเดียท่ีเขามาพรอมกับพุทธศาสนาก็คือ “การเผา” ท่ีเราทําตามพระพุทธเจาท่ีทรงระบุไวในมหาปรินิพพานสูตรวาใหเผาและบรรจุอยูในสถูปแตประเพณีการปลงศพดั้งเดิมของพ้ืนท่ีประเทศไทยท้ังภาคกลางและภาคอีสานก็คือ “การฝง” ฉะนั้นในสมัยกอนประวัติศาสตรพบโครงกระดูกเยอะแยะไปหมด หรือถาไมฝงก็คืออาจจะเอาหลังจากท่ีฝงไปแลวก็คืออาจจะมีการขุดแลวเอาเนื้อหนังมังสาท่ีเปอยยุยไปแลวไปฝงอยูในภาชนะอีกทีหนึ่ง ลักษณะอยางนี้เรียกวา “การฝงกลบครั้งท่ี ๒” ฉะนั้นประเพณีการปลงศพฝงเหยียดยาวอยูในหลุมหรือฝงอยูในไหโดยไมมีการเผาเปนประเพณีดั้งเดิม แตพอพุทธศาสนาเขามาเปล่ียนมาเปนการเผา แตภาคอีสานในชวงท่ีทวารวดีแผเขาไปถึงวัฒนธรรมพุทธศาสนาแผเขาไปถึงประเพณีการปลงศพท่ีสืบเนื่องมาตั้งแตกอนประวัติศาสตรไมหายไปเขายังคงทําอยู ดวยเหตุนี้เราจึงอาจกลาวไดวาความเกี่ยวของสัมพันธระหวางทวารวดีท่ีอยูภาคกลางกับทวารวดีท่ีอยูในภาคอีสานคงเกี่ยวของกันทางวัฒนธรรมมากกวาอํานาจทางการเมืองท่ีใชทหารไปรุกราน คือเปนเรื่องของการสมัครใจท่ีจะรับวัฒนธรรมความเช่ือจากภาคกลางไปปรุงแตงใหกลายเปนตัวของตัวเอง

ในชวงระยะเวลาเดียวกันในภาคอีสานสายหนึ่งไดจากทวารวดีภาคกลาง แตอีกสายหนึ่งไดจากเขมร ดวยเหตุนี้บางครัง้หรือบางเมืองมีอิทธิพลจากกัมพูชาเขามาผสมผสานจนบางทีนักวิชาการก็เรียกสับสนกันไปบางทีก็เรียกทวารวดี บางทีก็เรียกวาเขมร แตไมใชเหมือนเขมรแท ๆ การปะปนมีท้ังระดับของเมืองและระดับของศิลปะ ความเช่ือ รองรอยหลักฐานทางวัฒนธรรมของทวารวดีอีสานบอกใหเห็นไดวาคนในสมัยนั้นคงมีความเช่ือเกี่ยวกับพุทธศาสนาเถรวาทเปนหลัก มหายานคงมีบางแตนอย สวนศาสนาพราหมณแทบจะไมเห็นเลย จะตางออกไปจาก

Page 9: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

วัฒนธรรมกัมพูชาท่ีเขามาในอีสานในสมัยนั้นเพราะวัฒนธรรมจากกัมพูชาท่ีเขามาในสมัยนั้นประมาณรอยละ ๙๕ เปนศาสนาพราหมณ พุทธมหายานจะมีประมาณ ๕% แตเถรวาทมีไมถึง ๑% ก็คือความแตกตาง

รูปรางของเมืองแบบทวารวดีท่ีเราพบในภาคอีสาน เชน “ฟาแดดสงยาง” คือกําแพงเมืองทําเปนกําแพงดินมีคูน้ําอยูรูปทรงไมสมํ่าเสมอ สวนชุมชนจะกระจายตัวอยูตามเนินดินและนอกเมืองบางสวนคงเปนท่ีอยูของคนดวย และหลัก ๆ ก็ไวปลูกขาว เมือง “จําปาศร”ี อ.นาดูน จ.มหาสารคาม

ก็คงเปนลักษณะคลาย ๆ ภาคกลางมีการขุดคูน้ําคันดิน ในรูปทรงเปนแบบเรขาคณิตและมีการขุดคูน้ําไวในเมืองดวย ตําแหนงของโบราณสถานตาง ๆ มีท้ังในเมืองและนอกเมือง เมืองท่ีอยูในวัฒนธรรมเขมรคือท่ีอยูในวัฒนธรรมอีสานจริง ๆ แลวหลาย ๆ เมืองถูกลืม ถูกแทนท่ีโดยวัฒนธรรมจากกัมพูชาคลาย ๆ กับภาคกลาง

ท่ี จ.อํานาจเจริญ อาจจะไมตองมีการขุดคูน้ําแตจะใชลักษณะของการตั้งบานเมืองอยูบนโคก

ลักษณะชุมชนอีกแบบหนึ่ง ถาดูจากภาพถายทางอากาศจะเห็นไดชัดวาเมืองมีหลายขนาด เชน อ.เมือง จ.สุรินทร เดิมที

เปนเมืองในวัฒนธรรมเขมรดั้งเดิมมากอนแต

ใกล ๆ กันจะมีเมืองเล็ก ๆ อยู จะแสดงใหเห็นถึงเรื่องของขอบขายของเมืองตาง ๆ ได คือขนาดเมืองจะไมเทากันจะมีเมืองใหญประจําภูมิภาคและเมืองขนาดเล็ก ๆ ตัวอยางเมืองสําคัญท่ีอยากใหรูจักในวัฒนธรรมทวารวดีมีอยูคอนขางหลายเมือง เชน

เมืองเสมา อ.สูงเนิน จ.นครราชสีมา จากการขุดคนลงไปในพ้ืนดินสามารถแบงการตั้งถ่ินฐานหรือการอยูอาศัยของมนุษยในเมือง ๆ นี้ได ๓ ชวง ชวงแรกคือสมัยแรกเริ่มประวัติศาสตรประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๐ ชวงท่ี ๒. คือรับวัฒนธรรมจากทวารวดีภาคกลางลงมาหรือท่ีเราเรียกกันวา “ชวงทวารวดีอีสาน” อยูประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๔ เปนชวงเวลาท่ีพุทธศาสนาเปนศาสนาหลักและหลังจากนั้นก็คือรับวัฒนธรรมเขมรเขามา แตไมไดวาเขามาแทนท่ีอยางเบ็ดเสร็จ พุทธศาสนาก็ยังคงนับถือ วัฒนธรรมเขมรท่ีเขามาพรอมกับศาสนาพราหมณก็อยูรวมกันไป ฉะนั้นตัวอยางของเมืองเสมาจึงเปนอีกตัวอยางหนึ่งท่ีแสดงใหเห็นถึงการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหวางทวารวดีอีสานกับเขมรได ท่ีสําคัญท่ีทําใหเมืองนี้เปนเมืองท่ีนาสนใจก็เพราะวาพบจารึกภาษาสันสกฤตและภาษาเขมรโบราณท่ีเอยถึงช่ือของอาณาจักรท่ีมีนามวา “จนาศะปุระ” หรือ “ศรีจนาศะ” คือจริง ๆ แลวจารึกท่ีกลาวถึงเมือง ๆ นี้เปนจารึกแรกคือมาพบท่ีอยุธยาท่ีบริเวณท่ีเปนโบสถพราหมณแตก็พอเดาไดวาศรีจนาศะท่ีพบท่ีอยุธยาคงถูกเคล่ือนยายมาจากท่ีใดท่ีหนึ่งแตตอนนั้นเรายังไมทราบวาท่ีไหน แตในท่ีสุดเราไปเจอจารึกท่ีเมืองเสมา

Page 10: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

นี้และเอยถึงช่ือเมืองศรีจนาศะอีกครั้งหนึ่งก็เลยทําใหนักวิชาการสวนหนึ่งเช่ือวาเมืองเสมาอาจจะมีช่ือวาศรีจนาศะก็ไดโดยมีความรุงเรืองตั้งแตประมาณพุทธศตวรรษท่ี ๑๓ - ๑๔ เรือ่ยมาถึงพุทธศตวรรษท่ี ๑๖ และคอย ๆ เส่ือมสลายหายไป

เมืองทวารวดีท่ีเมืองเสมา จะมีคูน้ําคันดินจะมีรูปทรงท่ีไม

สมํ่าเสมอ สภาพปจจุบันก็จะแหง ๆ

สมัยนั้นยังไมมีการใชกําแพงกออิฐ ๆ เปนในช้ันหลัง ในสมัยนั้นเปนกําแพงดิน จะมีไมปกเอาไวก็ไดแตไมมีหลักฐาน

และตัวอยางท่ีพบท่ีแสดงใหเห็นรองรอยของทวารวดีท่ีแผมาจาก

ภาคกลางคือการคนพบธรรมจักร และท่ีสําคัญท่ีนี่ก็คือคนพบพระนอนดวยถือวาเปนพระนอนลอยตัวองคใหญท่ีสุด

ในสมัยทวารวดี ยาวประมาณ ๑๔ เมตร แสดงใหเห็นความม่ังคั่งของพุทธศาสนาของคนทวารวดี หินตั้งหรือใบเสมาจะเปนสัญลักษณของคนอีสานเลยเพราะภาคกลางไมทํา หรือวัฒนธรรมเขมรก็ไมทํา

ในขณะท่ีมีเรื่องของพุทธศาสนา ศาสนากลางเมืองก็เหลือเทานี้แตเทานี้ก็เพียงพอบอกไดวา

เปนศาสนสถานเนื่องในศาสนาพราหมณ ตาม วัฒนธรรมเขมร

เมืองฟาแดดสงยาง อ.กมลาไสย จ.กาฬสินธุ เมืองเปนรูปส่ีเหล่ียมผืนผา และมีความใหญมาก กวาง ๑,๐๐๐ เมตร ยาว ๑,๘๐๐ เมตร และมีคูน้ําคันดินภายในเมืองมากมายเต็มไปหมด ขอใหสังเกตวาเมืองในสมัยทวารวดีอีสานหลาย ๆ เมืองเม่ือขุดลงไปในพ้ืนดินจะพบรองรอยการอยูอาศัยท่ีสืบเนื่องมาตั้งแตสมัยกอนประวัติศาสตร หมายความวาคนท่ีเคยอยูตรงนั้นก็อยูกันมาสืบลูกสืบหลานแตมาถึงจุดชวงระยะเวลาหนึ่งเขาเอาวัฒนธรรมพุทธศาสนามาเปนความเช่ือหลัก มีการสรางพระพุทธรูป สรางศาสนสถานตามแบบพุทธศาสนาซ่ึงในชวงนี้เราเรียกกันวาทวารวดี แตมาถึงจุดหนึ่งคอย ๆ เปล่ียน คอย ๆ หายไปเพราะการแทนท่ีโดยเขมร ความเช่ือหรือวิถีชีวิตแบบท่ีเกี่ยวของกับประเทศกัมพูชา หลาย ๆ เมืองจะเปนแบบนี้ ๓ ขั้นตอน หลัก คือ

๑.กอนประวัติศาสตร ๒.เปนพุทธศาสนาแบบทวารวดีอีสาน ๓.ถูกแทนท่ีโดยความเช่ือหรือวัฒนธรรมจากกัมพูชา

ท่ีสําคัญท่ีทําใหเมืองฟาแดดสงยางเปนเมืองท่ีมีช่ือเสียง ก็เพราะวามีการคนพบใบเสมาหรือหินตั้งจํานวนมาก อาจเรียกไดวามากกวาเมืองโบราณอ่ืน ๆ ท่ีรวมสมัยกัน

Page 11: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

สวนท่ีเปนศาสนสถานหลังเดียวท่ีใหญท่ีสุด จริง ๆ แลวมีหลังนอย ๆ ดวยคือ “พระธาตุยาค”ู ตัวพระธาตุท่ีอยูขางบนเปนสมัยหลัง ฐานลางเปนสมัยทวารวดีและมีการปกใบเสมา หรือแผนหินตั้งอยูจะสลักเปนรูปตาง ๆ จุดเดนใบเสมาท่ี

เมืองฟาแดดสงยางคือการทําเปนภาพเลาเรื่องถือวาเดนท่ีสุด เม่ือเขาใจคําจํากัดความและลักษณะเมืองหรือตัวอยางของเมือง

บางตัวอยางแลวในสวนตอไปจะลงในรายละเอียดใหดูเล็กนอยวาแตละอยาง ๆ เม่ือเราเดินทางไปท่ีอีสานหรือเราไปดูโบราณวัตถุในพิพิธภัณฑเราจะรูไดอยางไรวาส่ิงไหนคือตัวแทนของทวารวดีอีสาน

อยางแรกสุดก็คือการทําใบเสมาขนาดใหญหรือหินตั้ง จริง ๆ แลวถาเราเรียกใบเสมาคนปจจุบันมักจะสับสนวาลอมรอบอุโบสถและมีขนาดไมคอยใหญ แตโดยความหมายของอันนี้

คือหมายความถึงแผนหินหรือแทงหินท่ีคนสมัยนั้นเขาทําบางแผนอาจจะปกลอมรอบพ้ืนท่ี

ศักดิ์สิทธ์ิคลายกับใบเสมาปจจุบันก็ได แตบางใบเปนส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในตัวเอง ดวยเหตุนี้ในท่ีนี้จึงเรียกวาใบเสมาหรอืหินตั้ง เราถือวาเปน

เอกลักษณของทวารวดีอีสานเพราะไมนิยมในวัฒนธรรมอ่ืน ๆ ท่ีรวมสมัย

วัฒนธรรมนี้เกิดขึ้นไดอยางไร การทําใบเสมาหรือหินตั้งแบบนี้นักวิชาการบางทานตั้งขอสังเกตวานาจะพัฒนามากจากประเพณีการปกหินตั้งสมัยกอนประวัติศาสตร หินตั้งสมัยกอนประวัติศาสตรในประเทศไทยเรายังไมพบตัวอยางชัดเจนแตในประเทศเพ่ือนบานเราหรือหินตั้งสมัยกอนประวัติศาสตรท่ีคนท่ัวโลกรูจักกันดี เชน สโตนเฮนจ เปนตน คือการเอาหินมาปกลอมรอบส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ ประเพณีการทําหินตั้งขนาดใหญนักวิชาการหลายทานเช่ือวาเปนประเพณีดั้งเดิมของคนสมัยกอนประวัติศาสตรซ่ึงการทําหินตั้งของคนสมัยกอนประวัติศาสตรมักจะทํากับพ้ืนท่ีท่ีเกี่ยวของกับพิธีกรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งพิธีกรรมท่ีเกี่ยวกับการฝงศพ เนินดินฝงศพพวกนี้จะมีพวกนี้อยู แตในขอโตแยงของแนวความคิดนี้ คือ ประเพณีหินตัง้ในสมัยกอนประวัติศาสตรของไทยในไทยเรายังพบไมชัดเจน อยางไรก็ตามเม่ือสมัยทวารวดีอีสานหรือรับพุทธศาสนาเขามาประเพณีการปกหินท่ีสัมพันธกับเรื่องพิธีกรรมฝงศพไดปรับความเช่ือพ้ืนเมืองใหเขากับศาสนาใหมโดยบางใบอาจจะกลายเปนใบเสมาท่ีลอมรอบพุทธสถาน ลอมรอบปูชนียสถานก็ได หรือเอาพุทธประวัติหรือชาดกเขาไปสลักบนใบเสมาหรือแผนหินเหลานี้ก็ได หนาท่ีการใชประโยชนของหินตั้งเหลานี้ในวัฒนธรรมทวารวดีอีสาน คือ

ความเช่ือท่ี ๑ แสดงเขตศักดิ์สิทธ์ิทางศาสนา แตเขตศักดิ์สิทธ์ิทางศาสนานี้ไมใชอุโบสถเหมือนในปจจุบัน เชน อยุธยา แตมีหลายตัวอยางวาอาจจะลอมรอบตัวสถูป อาจจะลอมรอบเขตทําสังฆกรรมของสงฆคืออุโบสถ หรือปกเปนเครื่องหมายของเขตศักดิ์สิทธ์ิของชุมชนตรงนั้นก็ได เชน เขตฝงศพ

Page 12: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ความเช่ือท่ี ๒. ในการสรางคือ “สรางเพ่ือเปนกุศล” คือเหมือนปจจุบันก็สรางพระพุทธรูป สรางเจดียอุทิศใหกับวัด ใหกับผูลวงลับไปแลวในทํานองเดียวกันยังเช่ือกันวาคนในสมัยนั้นมีการสรางแผนหินหรอืใบเสมาเหลานี้เพ่ือเปนกุศล ท้ังกุศลตอตัวของคนท่ีสรางและอุทิศสวนกุศลใหกับผูลวงลับไปแลวเพราะแผนหินเหลานี้หลาย ๆ แผนมีขนาดใหญมากบางทีมีการสลักพระพุทธรูปหรือชาดกลงไปในเนื้อหินเหลานั้น ดวยเหตุนี้นัยหนึ่งการสรางแผนหินเหลานี้คงเปนเรื่องของบุญกุศลของผูสรางดวยและอาจจะรวมไปถึงการอุทิศสวนกุศลใหกับผูท่ีลวงลับไปแลว พอสรางเสร็จเขาตองมีพ้ืนท่ีหนึ่งท่ีเอาไปปกไวรวมกันท่ีเรียกงาย ๆ วาเขตศักดิ์สิทธ์ิประจําชุมชนตรงนั้น ดวยเหตุนี้ใบเสมาท่ีเราพบในบางเมืองจึงปกอยางไมเปนระเบียบ คอนขางเกะกะเพราะวาแตละใบ ๆ มาไมพรอมกัน คนมากอนจะปกมุมหนึ่ง คนมาทีหลังก็ปกอีกมุมหนึ่งจึงดูไมคอยเปนระเบียบ เสมาบางแผนท่ีมีขนาดใหญ เชน ๒ - ๓ เมตรโดยนัยแลวก็คือส่ิงศักดิ์สิทธ์ิในตัวเองทําหนาท่ีเชนเดียวกับสถูป, พระพุทธรูป เพราะพวกนี้หลาย ๆ ใบมีการสลักเปนพระพุทธรูป

ลักษณะและรูปรางของใบเสมาเหลานี้อาจแบงไดเปน ๓ ประเภท คือ ๑. ธรรมชาติ คือแทบจะไมไดมีการสลักตกแตงเลย รปูทรงไมคอยแนนอน ๒. เปนแผนหินแบน ๆ แตยังอยูในทรงส่ีเหล่ียมผืนผาซ่ึงมีการสลักเปนรูปทรงท่ีแนนอน ๓. เปนแทงหินคลายเสาหิน เปนส่ีเหล่ียมดานเทา เปนลักษณะของเสาหิน อาจะเปนรูปส่ีเหล่ียม หรือหก

เหล่ียมก็ได สวนการประดับตกแตงมีท้ังกานขด กอนเมฆ ลายพรรณพฤกษา และรูปท่ีเช่ือวาเปนรูปเครื่องบวงสรวง

หรืออาจะทําเปนรูปสันนูนธรรมดาก็ได และท่ีสําคัญท่ีคนมักจะพูดถึงและถือวาเปนเอกลักษณและเปนส่ิงท่ีนาชมก็คือ “การทําเปนภาพเลาเรื่อง” ภาพเลาเรื่องแบงไดเปน ๒ แบบ คือ ๑. แบบพุทธประวัติ ๒. ชาดก

ตัวอยางจากกลุมใบเสมาท่ีเราพบท่ีวัดหนองสระ

พัง อ.ชุมแพ จ.ขอนแกน เปนตัวอยางของตําแหนงการปกท่ีดั้งเดิม ใบเสมาพวกนี้โดยท่ัวไปแลวถูกเคล่ือนยายฉะนั้นการหาตําแหนงดั้งเดิมจริง ๆ แลวหายากมากยกเวน

กลุมนี้สอบถามจากผูเฒาผูแกบอกวาตั้งแตเปนเด็กก็เห็นแบบนี้แลว เรายังเห็นไดถึงลักษณะการปกคือปกเปน

วงกลมลอมรอบพ้ืนท่ีตรงกลางซ่ึงเปดโลงไมใชเปน

อาคารท่ีเปนถาวร สวนในอดีตอาจจะมีอาคารเครื่องไมก็ไดแตไมใชอาคารถาวรเหมือนอุโบสถในปจจุบันแน ๆ และลักษณะส่ีเหล่ียม แตในกรณีนี้คือปกเปนวงกลม และขอใหสังเกตวาในแตละตําแหนงจะปกเปนคู ไมรูวาเกี่ยวของกับคติการทําใบเสมาคูอยางในอยุธยาหรือรัตนโกสินทรหรือเปลาเปนส่ิงท่ีนาคนควาตอไป รูปทรงก็ไมคอยจะเปนระเบียบเรียบรอยเทาไหร สองอันท่ีปกอยูดวยกันก็มีขนาดท่ีไมไปดวยกัน ไมเทากัน รูปลางของลวดลายสลักจะมีเปนธรรมจักร

Page 13: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

และ ท่ี จ.รอยเอ็ด พบวาตัวเนินดินศาสนสถานพบวัชพืชและไมยืนตน ตองเปนปูชนียวัตถุท่ีศักดิ์สิทธ์ิแน ๆ เพราะโดยรอบมีเสมาปกอยู จะเห็นลักษณะการปกคือปกลอมรอบพ้ืนท่ีศักดิ์สิทธ์ิ

หรือบางทีของพระธาตุยาคูท่ีฟาแดดสงยาง อ.กมลาไสย

ก็เอาใบเสมาหรือแผนหินมาปกลอมรอบสถูป

หรือท่ีภูพระบาท อ.บานผือ จ.อุดรธานี ท่ีบนภูพระบาทจะมีโขดหินธรรมชาติ คือในอดีตเม่ือประมาณหม่ืนปท่ีแลวเปนยุคท่ีธาร

น้ําแข็งละลาย ตัวธารน้ําแข็งก็กัดเซาะพ้ืนผิวหินใหกลายเปนแทงเสาและธารน้ําแข็งท่ีละลายนั้นก็พัดพาเอากอนหินใหญกอนหนึ่งมาคางแหมะไวขางบน มีเปนสิบ ๆ โขดหินเลย คนในสมัยนั้นเห็นแลวก็รูสึกวาเปนส่ิงประหลาดเขาก็เลยเอาใบเสมาหรือแผนหินมาปกลอมรอบเอาไวเพ่ือกันใหพ้ืนท่ีนี้เปนพ้ืนท่ีศักดิ์สิทธ์ิ พ้ืนท่ีในพิธีกรรมนั้น หนาท่ีการใชประโยชนคือปกเพ่ือบอกขอบเขตศักดิสิ์ทธ์ิแตในอีกกรณีหนึ่ง

ท่ีบานเปอยหัวดง อ.ลือ

อํานาจ จ.อํานาจเจริญ ปกแบบระเกะระกะเลยไมมีทิศทางท่ี

แนนอน เปนตัวอยางของพ้ืนท่ีท่ีเปนพ้ืนท่ีศักดิ์สิทธ์ิของชุมชนในอดีตมาแตดั้งเดิม เปนการสราง

เพ่ือเปนการอุทิศสวนกุศลใหกับผูวายชนม ใบเสมาก็เปนส่ืออยางหนึ่งท่ีคนสมัยนั้นเขาทําและเอามาปกเอาไว จะเห็นวา

มีใบเสมาเยอะมากมีทิศทางท่ี

ไมแนนอน ดวยเหตุนี้จึงมาไม

พรอมกัน

Page 14: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ท่ี ดงเมืองเตย อ.คําเขื่อนแกว จ.ยโสธร ใบเสมาของทวารวดีอีสานจะพบวาปกอยูกับเทวาลัยในศาสนาของวัฒนธรรมเขมร เปน

ตัวอยางท่ีแสดงใหเห็นวาบางพ้ืนท่ีวัฒนธรรมทวารวดีอีสานกับวัฒนธรรมเขมรอยูดวยกัน

นอกจากนี้ ยังมีใบเสมาปกอยูตามศาสน

สถานของวัฒนธรรมเขมร ตัวอยางของพระธาตุกลองขาวนอย คือพระธาตุกลองขาวนอยท่ีไปสราง

ตรงนั้น เพราะพ้ืนท่ีนั้นเปนพ้ืนท่ีพิธีกรรมของชุมชนตรงนั้นเปนพัน ๆ ปกอนหนานั้นเพราะเจอใบเสมาเปนหลักอยู

ลวดลายหรือเรื่องราวท่ีปรากฏอยูบนใบเสมาหรือแผนหินเหลานี้มีความสําคัญ ถาหากเราลองประมวลเรื่องราวท่ีส่ือออกมาแลวเราแบงไดเปนประเภทกวาง ๆ ก็คือ ๑.พุทธประวัติ ๒.ชาดก ๓.รูปเครื่องบวงสรวง สําหรับเรื่องพุทธประวัติ เชน มหาวิเนษกรมณหรือออกบวช คือเจาชายสิทธัตถะประทับอยูตรงกลาง ดานขวาคือมากัณฑกะ สวนดานซายคือนายฉันนะซ่ึงทําทาเหมือนอิริยาบถของผูท่ีมาเคารพหรือบุคคลช้ันรองคือการประสานหรือไขวมือบริเวณหนาอก

ภาพนี้อยูท่ีพิพิธภัณฑ

ขอนแกน ภาพดานซายมืออยูในเปนตอนท่ีพระพุทธเจาไปหาพระราหุล คือไปหาพระนางสิริมหามายาแตพระราหุลอยูท่ีนั่นดวยก็เลยบอกวาใหไปหาพระบิดาเพ่ือไปขอสมบัติ บางทานก็เลยสันนิษฐานวาดานขวามือซ่ึงเปนรปูบุคคลตัวเล็กกวา อาจจะหมายถึงพระราหุลซ่ึงอาจจะทูลขอราชสมบัติจากพระพุทธเจาก็ได สวนดานขวามือคงเปนพุทธประวัติตอนหนึ่งเปน

พราหมณมาถวายฟอนหญาใหพระพุทธเจาประทับนั่งแตดานขวาก็สงสัยอยู จะเห็นไดวาลักษณะหนึ่งของแผนหินตั้งหรือใบเสมาคือการทําเปนภาพพุทธประวัติ ดวยเหตุนี้หากพูดใหเห็นภาพคือการทําพุทธประวัติลงบนแผนหินยอมเปนงานบุญเหมือนกับคนในสมัยหลังเขียนภาพวาดพระบฏอุทิศใหกับวัดทํานองนั้น หรือเขียนจิตรกรรมฝา

Page 15: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ผนังในอุโบสถ วิหาร ดวยเหตุนี้แผนหินเหลานี้โดยตัวเองจึงไมใชแคตัวประกอบแตตองเปนตัวท่ีเดนในศาสนสถาน หนาท่ีการใชงานของใบเสมาทวารวดีอีสานจึงไมใชการปกลอมรอบอุโบสถเทานั้นตองมีนัยทางความเช่ืออ่ืน ๆ ดวย

แถบ จ.ยโสธร เปนพระพุทธเจาตอนหลังจากตรัสรูแลวในสัปดาหท่ี ๒ รําพึงวาตรัสรูโดยอาศัยรมเงาใตตนโพธ์ิจึงเพงตนโพธ์ิหรือถวายเนตรทําการสักการะตนโพธ์ิ เรียกไดวาเปนการแสดงความเคารพโดยไมกะพริบตาตลอด ๗ วันเรียกวา “การถวายเนตร” หรือการเพงจองตนโพธ์ิ ขอใหสังเกตวาพระพุทธเจาประทับยืน

อยูในทาท่ีแสดงความเคารพเพราะโดยท่ัวไปถาเปนบุคคลช้ันรองลงมาเวลาแสดงความเคารพผูสูงศักดิ์กวาจะพนมมือไหว แตพระพุทธเจานั้นเราถือวาอยูสูงสุดแลว

ฉะนั้นเวลาท่ีทําความเคารพวิธีการแสดงออกจะทําสวัสดิกะมุทราคือเปนทาท่ีเอามือมาไขวท่ีหนาอกซ่ึงถือเปนทาแสดงปางสมาธิไดดวย ทําใหนึกถึงภาพถํ้าพระ

โพธิสัตวท่ีพระวิษณุทํามือแบบนี้เพราะพระวิษณุเปนเทพผูสูงศักดิ์เหมือนกันเวลาท่ีทําการสักการะพระพุทธเจาก็จะไมพนมมือไหวแตจะทํามือไขว

พุทธประวัติใบเสมาตอนท่ีมีช่ือเสียงท่ีสุดเพราะมีความงดงามท่ีสุดใบหนึ่งและมีรายละเอียดท่ีดีมาก คือ ใบเสมาหินจาก จ.กาฬสินธุ เมืองฟาแดดสงยาง ปจจุบันจัดแสดงอยูท่ีพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ ขอนแกน จะสังเกตไดวาเปนพุทธประวัติตอนท่ีพระพุทธเจาทรงเสด็จจากกรุงกบิลพัสดุไปโปรดพุทธบิดาหลังจากนั้นจึงเสด็จไปท่ีประทับของพระนางสิริมหามายา จะเห็นไดถึงฉากเหตุการณคือพระพุทธเจาประทับนั่งอยูบนบัลลังกท่ีนั่งและฉากดานหลังท่ีเราเห็นเปนอาคารเครื่องไมคือเปนหนาตาของอาคารสมัยนั้นท่ีปจจุบันเราไมเห็นแลวเพราะเปนไมก็คงพังไปหมด อันนี้เปนตัวอยางของอาคารรูปรางหนาตาสมัยทวารวดีท่ีเหลือใหเห็นอยูในแงสถาปตยกรรมคือทําเปนหลังคาทรงจั่วเหมือนท่ีนิยมในเอเชียตะวันออกเฉียงใตท่ัวไป ถัดลงมาจะเห็นพระนางสิริมหามายา ตามคัมภีรพุทธประวัติจะบอกวาพระนางสิริมหามายาหรือนางพิมพามาสยายผมเกลือกกล้ิงอยูท่ีพระบาท แตพอเวลาทําเปนงานศิลปกรรมแสดงใหเห็นถึงการบูชาสูงสุดของคนในสมัยนั้น บูชาสุดชีวิตจติใจคือการสยายผมเช็ดพระบาทท้ัง ๆ ท่ีในคัมภีรบอกเพียงแควารองไหและเกลือกกล้ิงท่ีพระบาทแตไมไดบอกสยายผมและเช็ด แตเวลาทํารูปนางพิมพาเปนการสยายผมเช็ดพระบาทอันเปนประเพณี จะเห็นทางดานหลังของพระนางสิริมหามายาจะมีผูหญิงอุมเด็กเล็กอยู และเด็กคนนั้นคงจะเปนพระราหุลนั่นเอง เราสังเกตวาพระราหุลเปนเช้ือกษัตริย เปนพระโอรสของพระพุทธเจาดวยเหตุนี้จึงมีเครื่องสูงท่ีอยูเหนือเศียรของพระราหุล จะมีฉัตรอยู ๑ อันและคลาย ๆ เปนแส แสดงใหเห็นถึงคติการทําเครื่องสูง การท่ีบุคคลท่ีมีฐานันดรศักดิ์ในสังคมจะมีเครื่องใชท่ีเปนเครื่องสูงเหมือนปจจุบันพระมหากษัตริยหรือพระบรมวงศจะมีเครื่องสูงประจําพระองค ถัดลงมาจะเห็นผูชายนั่ง

Page 16: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ชันเขาก็คือ “พระเจาสุทโธทนะ” และมีผูติดตามและพระเจาสุทโธทนะเปนผูท่ีมีฐานันดรศักดิ์สูงกวาพระราหุลดวยเหตุนี้เครื่องสูงจึงมีจํานวนมากกวา มีท้ังฉัตร แสท่ีมี ๒ อันในขณะท่ีราหุลมีอันเดียว มีกลม ๆ คลายตาลปตร หรือเปนพวกแสงศูรในปจจุบันก็ได เปนภาพประวัติศาสตรท่ีบอกเลาประเพณีหลาย ๆ อยางของคนสมัยกอนไดท้ังประเพณีการเคารพบูชาบุคคลอันสูงศักดิ์ ท้ังเรื่องของเครื่องสูงซ่ึงแสดงใหเห็นฐานันดรศักดิ์ของคนในสังคมนั้น ฉัตรก็จะตางกัน หนาตาอาคารดวย

ฉากดานในเปนท่ีประทับของพระนางพิมพา ในขณะท่ีดานหนาเปนฉากของกําแพงอาจจะเปนกําแพงเมืองก็ได ขอใหสังเกตวาประตูเมืองจะทําเปนช้ัน ๆ ซอนกันขึ้นไป ทําใหรูวาประเพณีการทําประตูซอนช้ันเหมือนกับท่ีวัดพระแกว พระบรมมหาราชวังท่ีทําประตูและมีเรือนซอนกันเปนช้ัน ๆ เปนประเพณีดั้งเดิมท่ีมีมาแลวนับเปนพันป สวนดานหนาก็เปนพวกทหาร องครักษ

นอกจากพุทธประวัติแลวบนหินตั้งหรือใบเสมาจะมีเรื่องของชาดก คือเรื่องราวของพระพุทธเจาในอดีตชาติกอนท่ีจะเสวยพระชาติเปนเจาชายสิทธัตถะมีมากมายเปนหลายรอยชาตท่ีิเราเรียกวา “พระเจาหารอยชาต”ิ จะเห็นไดจากสถิติวาเวลาท่ีเขาเอามาเลาเขาจะเนนท่ี ๑๐ ชาติสุดทายเปนหลัก คือทศชาติ อยางอ่ืนก็มีบางแตไมเยอะเทา เชน

ตอนเตมียใบ จากฟาแดดสงยาง หากนึกถึงเรื่องเตมียใบในสมัยอยุธยาหรือรัตนโกสินทรจะนึกถึงตอนท่ี

ทานยกราชรถ แกลงทําตัวเปนคนงอยเปล้ียเสียขาเปนใบเพราะไมอยากเปนกษัตริย เปนกษัตริยตองทําบาป ตองลงโทษนักโทษ ตองส่ังประหารชีวิต ทานก็เลยแกลงทําเปนคนไมมีแรงงอยเปล้ียเสียขา จนในท่ีสุดสมัยอยุธยาก็ถูกลองกําลังโดยการยกราชรถขึ้น แตสมัยทวารวดีอีสานจะนิยมฉากเหตุการณหลังจากนั้นเปนตอนพระเตมียเทศนาส่ัง

สอนธรรมใหแกสารถีท่ีขับรถมา เรื่องสุวรรณสาม คือพอกับแมตาบอดสุวรรณสาม

ตองหาเล้ียง วันหนึ่งสุวรรณสามก็ไปตักน้ําตามปกติปรากฏวากษัตริยมาเห็นสุวรรณสามถูกหอมลอมโดยสัตวตาง ๆ ก็แผลงศรไปตองถูกหนาอกสุวรรณสาม

หรือเปนตอนท่ีพระโพธิสัตวหรือพระพุทธเจาของเราเสวยพระชาติเปนนาคช่ือ “ภูริทัต” มีพราหมณคนหนึ่งมีเวทมนตในการจับนาคเลยจับพระภูริทัตไป

Page 17: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ชาดกอีกเรื่องหนึ่งท่ีเวลาเรานึกถึงพระพรหมเราจะนึกถึงพรหมส่ีหนาแตจริง ๆ แลวคติพรหมส่ีหนาเปนคติของพระพรหมในศาสนาพราหมณท่ีเขามาในประเทศไทยแตจริง ๆ แลวในพุทธศาสนาไมเคยระบุวาพระพรหมตองมี ๔ หนา ดวยเหตุนี้ผูท่ีบําเพ็ญฌานบารมีจนเปนพรหมไดจึงเปนนักบวชหรือพระภิกษุเปนหลัก พระพรหมในพุทธศาสนาดั้งเดิมเชนสมัยทวารวดีจะแสดงออกโดยการเปนนกับวช ตองผมยาวเกลาเปนมวยเหมือนโยคีท้ังหลาย ไมสวมเครื่องประดับอาจสวมตางหูเล็กนอย

และเรื่องท่ีเปนพระชาติสุดทายท่ีบําเพ็ญ

บารมีมากท่ีสุดทานบารมีคือเวสสันดรชาดก ท่ีรูเพราะมีชายและหญิง และมีบุคคลท่ีเล็กกวา ๒ คนดวยเหตุนี้ก็คงเปน พระเวสสันดร พระนางมัทรี กัณหาและชาลี จะเห็นไดวาชาดกถูกเลาโดยสถิติทศชาติหรือพระชาติท้ังสิบจะไดรับการนิยมและมาเลามากท่ีสุด

บนใบเสมายังมีภาพสลักท่ีเปนสัญลักษณ เชน คชลักษมีหรืออภิเษกศรีซ่ึงอินเดียใชกันทุกศาสนาถือวาใช

ในสัญลักษณของความอุดมสมบูรณ ความม่ังมีศรีสุขหรือโชคลาภตาง ๆ พอเกิดพุทธศาสนาขึ้นไดเอา

สัญลักษณนี้มาใชเปนปางประสูติของพระพุทธเจา พุทธศาสนาเม่ือประมาณ ๒,๐๐๐ ปท่ีแลวคือหลังจากพระเจาอโศกเล็กนอยไดใชรูปคชลักษมีหรืออภิเษกศรีเปนสัญลักษณแทนการประสูติของพระพุทธเจาซ่ึงถือ

เปนความดีงามของโลก นอกจากนี้ในคราวท่ีพระพุทธเจาประสูติในพุทธประวัติก็ระบุวามีสายน้ํา

ท้ังสองขาง ก็คือมีชางเทน้ําท้ังสองขาง ดวยเหตุนี้การท่ีปรากฏภาพนางคชลักษมีอาจแปลความไดท้ังเปน

ภาพเลาเรื่องตอนประสูติหรืออาจเปนสัญลักษณมงคลท่ีแสดงถึงความอุดมสมบูรณตาง ๆ ก็ได นอกจากนี้ก็ไดถายมาใหดูสเกลกับตัวคน ในบางพ้ืนท่ีจะพบไดวาแผนหินหรือใบเสมาเหลานี้จะสลักภาพธรรมจักรอยูดวยกลม ๆ ตรงกลาง ธรรมจักรนั้นเราถือเปนปูชนียวัตถุท่ีสําคัญในพุทธศาสนา ดวยเหตุนี้ธรรมจักรปรากฏอยูบนใบเสมากอ็าจเปนไปไดวาพุทธศาสนิกชนท่ีอีสานในสมัยนั้นเอาแนวความเช่ือมาจากภาคกลางและมาปรับโดยใหเปนภาพสลักบนใบเสมา จึงทําใหเสมาเปนปูชนียวัตถุในการกราบไหวบูชา จะเห็นไดวาการใชประโยชนคอนขางหลากหลาย

Page 18: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ท่ีพบเยอะมากคือรูปหมอท่ีตอกัน มีหมอ ปากหมอท่ีทําเปนกรวยมาวางไว นักวิชาการหลายทานเรียกรูป

ทํานองนี้วา “สถูปทรงหมอน้ํา” เพราะกรวยเหมือนกรวยแหวนของชาวอีสานและตัวองคระฆังอาจจะแทนดวยหมอน้ําก็ได จะเปนหมอน้ําและมีคลาย ๆ กรวยขึ้นไปและมีการสลักเปนปากเอาไวทําเปนซอนช้ันกันขึ้นไป

การเช่ือมโยงกับบายศรีท่ีไวสําหรับสังเวย บวงสรวงหรือบูชาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิได ถาดูบายศรีท่ีเราใชโดย

ความหมายของเขาก็คือภาชนะท่ีทําดวยใบตองเปนกระทงตกแตงใหสวยงามแตหนาท่ีการใชประโยชนใชบูชา ขางในก็มีขาว ไขตม ขนมตาง ๆ ในบางพิธีก็มีเครื่องสังเวยอ่ืน ๆ ท่ีเปนของคาวหวาน ภาชนะบายศรีท่ีใชก็คือสําหรับใสอาหารคาวหวานเพ่ือบวงสรวง นอกจากหนาท่ีแลวก็ตองทําความเขาใจหนาตาดวย จะมีบายศรีปากชามท่ีทําช้ันเดียว สวนบายศรีตนคือทําหลาย ๆ ใบซอนกันซ่ึงท้ังสองอันเช่ือวามีตนแบบคือภาพสลักของใบเสมา บายศรีปากชามก็คือหมอใบเดียว บายศรีตนก็ทําเปนกระทงซอนกัน การทําหมอซอนเปนช้ัน ๆ ไมไดเพ่ิงเกิดในเมืองไทยจริง ๆ แลวบายศรีของอินเดียทําเปนหมอซอนช้ันเหมือนกัน ท่ีสําคัญในปจจุบันพบวาบายศรีในปจจุบันเปรียบไดกับดอกไมบูชาบวงสรวง สวนกรวยท่ีใชคูกันกับบายศรีในหลาย ๆ พิธี คือภาชนะสําหรับครอบเครื่องบวงสรวงท่ีอยูในกรวยคือขาวตอกดอกไม ฉะนั้นหนาตารวมถึงหนาท่ีใชประโยชนจึงใชในการบูชาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิท่ีไมตางจากภาพ

ท่ีเห็นจากใบเสมา การท่ีเครื่องบวงสรวงมีอาหารรายรอบและมีหมากพลู ขนมตาง ๆ ช้ันท่ี ๓ ทําเปนบายศรี จะเห็นไดวาบายศรีคือเครื่องบวงสรวงสํารับอาหาร ซ่ึงใชเชนเดียวกับในสมัยกอนประวัติศาสตรท่ีพบวาภาชนะใสอาหารจะมีกระดูกสัตว ภาชนะหลายใบไมมีฝาเหลือเหลืออยูดวยเหตุนี้ภาชนะท่ีอยูในหลุมฝงศพก็จะเนาสลายคลาย ๆ กรวยท่ีเปนอินทรียวัตถุ ดวย

เหตุนี้ท้ังรูปแบบและหนาท่ีสังเกตจากเครื่องเซนในหลุมฝงศพท่ีทําเปนหมอใสอาหารหรือเครื่องเซนเพ่ือบูชาและครอบดวยอินทรียวัตถุ ดวยเหตุนี้จึงเช่ือวารูปภาพสลักบนใบเสมาท่ีเปนรูปหมอคือเครื่องบวงสรวงท่ีรูจักในปจจุบันคือบายศรี เพียงแตภาพสลักบนใบเสมาคงมีมิติท่ีหลากหลายกวา

Page 19: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

การเชื่อมโยงบาศรี-กรวย เขากับเคร่ืองเซนในหลุมฝงศพ หนาท่ีบายศรี – กรวย ไมตางไปจากภาชนะใสเครื่องเซนศพท่ีพบในหลุม ภาชนะหลายใบไมมีฝาเหลืออยู อาจเปนไปไดท่ีจะครอบอินทรียวัตถุ ท้ังรูปแบบและหนาท่ีจึงโยงเขาไดกับบายศรีและกรวย เครื่องเซนในหลุมศพเช่ือมโยงเขากับภาพหมอตอดวยกรวยบนใบเสมาได การเชื่อมโยงบายศรี – กรวย – เคร่ืองเซนในหลุมศพเขากับภาพสลักบนใบเสมา รูปลักษณของหมอ-หมอซอนช้ันตอดวยกรวยบนภาพสลัก คือรูปลักษณเดียวกันกับภาชนะใส

เครื่องเซนในหลุมศพ-บายศรีของอินเดีย หมอใบเดียวคือ บายศรีปากชาม หมอซอนกันคือบายศรีตน หนาท่ีการใชงานเปนเชนเดียวกันกับบายศรี – กรวย – ภาชนะใสเครื่องเซนในหลุมศพ คือ เปนเครื่อง

บวงสรวงสังเวย สรุปภาพสลักเหลานี้คือ เครื่องบวงสรวงสังเวยในสมัยทวารวด ี

ขอสรุปวาการเช่ือมโยงท่ีเปนรูปบายศรีเครื่องสังเวยหรือเครื่องเซนเขากับใบเสมาคือรูปแบบของหมอท่ี

ซอนช้ันแลวตอดวยกรวยท่ีเห็นในใบเสมาคือรูปลักษณภาชนะท่ีใสเครื่องเซนในหลุมฝงศพหรือบายศรี ท่ีคนสมัยทวารวดีใชก็คือบายศรีปากชามท่ีเรารูจักหรือหมอซอนช้ันก็คือบายศรีตนในปจจุบัน คือไมใชอันเดียวกนั ๑๐๐% แตวาพอท่ีจะสืบกันได ดวยเหตุนี้จึงมีหนาท่ีการใชงานเชนเดียวกับบายศรีกรวย ภาชนะท่ีเปนเครื่องเซนในหลุมศพท่ีพบในสมัยกอนประวัติศาสตร แลวถามวาคนทวารวดีบวงสรวงอะไรถึงตองทําภาพเครื่องบวงสรวงลงบนใบเสมา คิดวาใบเสมาหรือแผนหินเหลานี้คงทําขึ้นในโอกาสท่ีประชาชนตรงนั้นทําบุญหรือบวงสรวงส่ิงศักดิสิ์ทธ์ิ ทําพิธีมีการถวายส่ิงของตาง ๆ และคงจะเปนวัตถุช้ินหนึ่งในนั้นเพียงแตทําดวยวัตถุถาวรจึงเหลือใหเห็น ประเพณีการทําบุญหรือบวงสรวงส่ิงศักดิ์สิทธ์ิคงเกี่ยวกับศาสนาเพราะใบเสมาหลาย ๆ ใบจะมีเรื่องราวศาสนาเขามาเกี่ยวของ เชน ชาดก พุทธประวัติ แตท่ีสําคัญก็คือการบูชาผูท่ีลวงลับไปแลวหรือสักการะบรรพบุรุษเพราะเสมาหลาย ๆ ใบตั้งอยูบนเนินดินท่ีพบโครงกระดูกหรือภาชนะท่ีบรรจุกระดูกมนุษย ถาใหคิดคงเปนแงของการทําบุญหรือทํากุศลเพ่ืออุทิศเนื่องในศาสนาและเอาบุญกุศลเหลานั้นใหแกผูลวงลับไปแลว และจะนําไปชวยอธิบายความไดดวยวาทําไมพระพุทธรูปท่ีสลักบนแผนหินทําไมตองมีภาพหมอน้ําอยูดานบนก็คือเครื่องบูชาพระพุทธเจา รวมถึงกรวยท่ีอยูดานฝาพระบาทก็คงเปนหนึ่งในเครื่องบูชา

Page 20: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

การนําไปแปลความวัตถุประสงคการสรางใบเสมา ใบเสมาทําขึ้นในโอกาสทําบุญ หรือบวงสรวงบูชาส่ิงศักดิ์สิทธ์ิ พุทธบูชาหรือใบเสมามีประเด็นเช่ือมโยงกับพระพุทธศาสนา การบูชาบรรพบุรุษ เพราะใบเสมามีประเด็นเช่ือมโยงกับสถานท่ีฝงกระดูกมนุษย นําไปชวยแปลความรูปหมอน้ําท่ีพบรวมกับพระพุทธรูปได “พระพุทธรูปและพระพิมพทวารวดีภาคอีสาน” การแปลความดานความสัมพันธ เราพบวาพระพุทธรูปและพระพิมพเหลานี้บอกความสัมพันธทาง

วัฒนธรรมของทวารวดใีนภาคอีสานเขากับทวารวดีภาคกลาง และวัฒนธรรมเขมรท่ีมาจากกัมพูชาได และกลาวไดวารับพุทธศาสนาจากมหายาน

อยางแรกคือการเกี่ยวของกับทวารวดีภาคกลาง กระแสทวารวดีท่ีเขามาในภาคอีสานนั้นเปนพุทธศาสนารวมท้ังอาจถูกเคล่ือนยายจากภาคกลาง วัสดุก็ชวยแยกไดเพราะอีสานเปนหินทรายพระพุทธรูปก็มักจะใชหินทรายโดยเฉพาะหินทรายสีแดงซ่ึงภาคกลางหาไมได

สวนการเกี่ยวของกับวัฒนธรรมเขมรตองทําความเขาใจวาวัฒนธรรมเขมรไดแผเขามาอีสานพรอม ๆ กับวัฒนธรรมทวารวดี

กอนท่ีจะเขาใจความเช่ือมโยงกันก็ตองเขาใจกอนวาภาคกลางเปนอยางไร

พระพุทธรูปยืน จีวรจะเปนแบบหมคลุมคลุมไหลท้ังสอง จีวรท่ีตกลงมาดานหนาจะทําเปนวงโคงรูปตัวยูเหนือพระชงฆ ดานนอกเปนกรอบส่ีเหล่ียม มือแสดงวิตรรกมุทราหรือแสดงธรรม ๒

พระหัตถระดับอก เม่ือโยงมาภาคอีสานจะพบพระพุทธรูปแบบนี้เยอะแยะไป

หมด ท่ีพบท่ีโคราชอยูท่ีพิพิธภัณฑมหาวีรวงศก็มีลักษณะเชนเดียวกัน ขอใหสังเกตวัสดุท่ีนํามาใชเปนหินทรายสีแดงซ่ึงเปนวัสดุท่ีภาคกลางไมนิยม ตรงกันขามกันท่ีอีสานหางายจึงนิยมนํามาใช และจะสังเกตไดวาขนาดจะไมใหญมาก ขนาดเต็มท่ีจะ ๑.๕๐ - ๑.๖๐ เมตร ถาขนาดเล็กหินกอนเดียวสลักก็พอ แตถาองคขนาดใหญโดยเทคนิคก็ตองใชหินหลายกอนมาตอกัน รอยท่ีเห็นบากอยูบริเวณหัวเขา

Page 21: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ท่ีสําคัญก็มีพระพุทธรูปท่ีพบท่ี อ.ปากชอง พระพุทธรูปองคนี้ชํารุดแตสําคัญมากหลงเหลือเพียงแค

สวนพระบาทดานซายและฐานรองรับพระบาทและเดือยซ่ึงครั้งหนึ่งเคยปกอยูบนฐานบัวดานขวา สําคัญตรงท่ีตัวฐานบัวมีจารึกเขียนไววา “พระเทวี (เมเหสี) ของเจาแหงทวารวดี ทรงบัญชาใหสรางพระรูปของพระตถาคตนี้ไว”

หมายความวาภาคตะวันออกเฉียงเหนือสวนหนึง่คงมีความเกี่ยวของดานเครือญาติ การเมืองกับอาณาจักรทวารวดีภาคกลาง คงแผมาเปนบางสวนพระพุทธรูปองคนี้เปน

ประจักษพยานของทวารวดีภาคกลางและอีสานเปนอยางด ีพระพุทธรูปไสยาสน ท่ีเราเรียกวาไสยาสนนั้นมีหลาย

อยางซ่ึงไสยาสนแปลวานอน แตถาเปนพระพุทธเจาแลวตองนอนตะแคงขวาเสมอเรียกวา “สีหไสยาสน” ซ่ึงจะเปนท้ัง

อิริยาบถท่ัวไปและพุทธประวัติตอนปรินิพพาน ในกรณีของพระนอนองคนี้ท่ีเมืองเสมาบอกไดแตเพียงวาเปนพระพุทธรูป

แบบสีหไสยาสน แตบอกไมไดวาเปนพุทธประวัติตอนปรินิพพานหรือเปลา หากจะเปนตอนปรินิพพานตองมีตนสาละดวยแตนี่เราไมเห็นหลักฐาน เปนลักษณะของทวารวดีแตตัววิหารท่ีครอบเปนลักษณะวัฒนธรรมเขมรเขามาเกี่ยวของ คือการทํา

ชองแสงเปนลูกมะหวดเปนลักษณะท่ีเราพบตามปราสาทหินดวยเหตุนี้จึงบอกใหทราบวาวิหารพระนอนท่ีเมืองเสมาองคนี้มีการผสมผสานทางวัฒนธรรมท้ังแบบ

ทวารวดีอีสาน พระนอนท่ีภูปอ อ.สหัสขันธ จ.กาฬสินธุ

เปนพระพุทธรูปทวารวดยีุคแรก ๆ ของประเทศไทยเพราะเวลาท่ีนอนพระเศียรตองเชิดขึ้น อยางท่ีวัดโพธ์ิพระเศียรแทบทะลุเพดาน ขณะท่ีลําตัวไมถึง ขณะท่ีของทวารวดีจะเหมือนอินเดียคือไม

ชันแตจะทับเอาไวเหมือนท่ีกุสินาราคือนอนทับราบ รายละเอียดท่ีสังเกตไดวาเปนทวารวดีคือใบหูพระพุทธเจาจะยาวเปนสัญลักษณของมหาบุรุษ

ลักษณะแตพระพุทธรูปไสยาสนในสมัยหลังใบหูจะตั้งธรรมดาเปนปกติเหมือนพระพุทธรูปยืน แตของทวารวดีจะตองคลอยแสดงใหเห็นวาคนสมัยทวารวดีเขาใจวาเวลาคนหูยาวนอนตะแคงหูจะยอยลงมา ดวยเหตุนี้จึงบอกไดวาเปนแบบทวารวดี

Page 22: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

และอีกองคหนึ่งท่ีภูคาว อ.สหัสขันธ จ.กาฬสินธุ จะมีลักษณะพิเศษคือปกติจะนอนตะแคงขวา แตนี่นอนตะแคงซายไมทราบวาทําไม และอีกองคหนึ่งเปนแบบทวารวดท่ีีรูเพราะใบหูยอย พระพุทธรูปนอนเหลานี้ก็เทียบได

กับพระพุทธรูปนอนในภาคกลางแสดงใหเห็นถึงความ

เกี่ยวของกัน กรณีของพระพุทธรูปนอนหรือไสยาสนท่ีอยูภาคกลาง เชน ท่ีถํ้าเขางู

อิทธิพลเขมรท่ี ปรากฏในศิลปะทวารวดีจะเห็นไดจากรูปพระพุทธเจาบนใบเสมา แตลักษณะพระพุทธรูปท่ีพระพักตรเปนส่ีเหล่ียม ซ่ึงทวารวดีไมทําก็เปนการท่ีทวารวดีอีสานไดผสมกับเขมร

รวมถึงเครื่องสูงบางชนิดท่ีเราคุนคือฉัตร ซ่ึงเทียบกับพระพิมพท่ีพบในภาคอีสานอาจเพ่ิมจามรก็คือแส มีธงเขามาท่ีมาเกี่ยวดวย ลักษณะแบบนี้เรายังไมพบในทวารวดีภาคกลางแตจะพบในเขมร

คือฉากเหตุการณพระเจาชัยวรมันท่ี ๗ และ

เปนฉากของพระลักษณกับพระราม ท่ีมีเครื่องสูงมากมายและมีธง ก็เปนลักษณะท่ีผสมผสานวัฒนธรรมเขมร และการผสมผสานของคนทวารวดีอีสานมีเรื่องภาษาท่ีใช พระพิมพบางแบบหนาตาเปนทวารวดีอีสาน แตเปนการผสมผสานวัฒนธรรม

Page 23: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

โดยท่ัวไปพระพุทธรูปหรือรูปเคารพของทวารวดีอีสานจะเกี่ยวของกับพุทธชาวบาน เชนท่ีพบท่ีอีสานใตนักวิชาการเรียกวากลุมประโคนชัย เพราะพบเยอะท่ี อ. ประโคนชัย จ.บุรีรัมย เรารูวากลุมนี้เปนกลุมท่ีเกี่ยวของกับพุทธมหายานไดคนพบรูปพระโพธิสัตว ๆ คือผูชวยเหลือสัตวโลกแตไมใชพระพุทธเจา เพราะพระพุทธเจาตรัสรูดวยการสอนธรรม แตพระโพธิสัตวยังสามารถปรากฏกายใหคนเห็นไดมีอยูหลายรูปมาก เชน พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร การ

คนพบรูปพระโพธิสัตวกลาวไดวาอีสานใตมีเรื่องของพุทธมหายานอยู พระพิมพจะพบมากท่ีสุดท่ีลุมน้ําชีแถบ จ.กาฬสินธุ จ.มหาสารคาม หลายแบบเปนเอกลักษณท่ีไมเคยปรากฏในภูมิภาคไหนมากอนคือปรากฏเฉพาะท่ีนี่ท่ีเดียวและหายไป แมจะเปนทวารวดีอีสานแตมีความเกี่ยวของกับวัฒนธรรมเขมรจะใชคําวา “กมรเตง” พระพิมพท่ีพบในทวารวดีอีสานแสดงใหเห็นถึงแนวความคดิหรือความเช่ือเล็ก ๆ นอย ๆ ท่ีตางกัน ภาคกลางจะเอาในพระไตรปฎกมาใสแตอีสานจะเขียนวาผูสรางประสงคอะไรจากผลบุญนั้น เชน อุทิศสวนกุศลนี้ใหใคร เชนบอกวาเปนการบุญของพระจักรพรรดิ ฉะนั้นแมจะเปนพระพิมพเหมือนกันแตนัยในการสรางตางกัน กรมศิลปากรไดทําเปนหนังสือช่ือวาจารึกท่ีพบในประเทศไทย

สรุปขอมูลท่ีไดจากจารึกในวัฒนธรรมทวารวดีอีสานท้ังท่ีอยูบนคัมภีร ท้ังท่ีอยูในใบเสมาทําใหทราบไดวามีคนหลายชนช้ันปกครอง และผูท่ีเปนศูนยรวมจิตใจคือกลุมพระภิกษุ ความปรารถนาในการสรางปูชนียวัตถุเหลานี้ อยางแรกเพ่ือเปนกุศลของผูสราง และอุทิศสวนกุศลใหผูอ่ืน ประเด็นสําคัญคือหวังวาผลบุญท่ีทํานั้นจะสงผลใหตัวเองเกิดทันในยุคพระศรีอาริยผูท่ีจะตรัสรูในอนาคต

และมีตัวอยางพระพิมพท่ีพบท่ี อ.นาดูน จ.มหาสารคาม เปนพัน ๆ องค บอกเลาเรื่องราวเชนพุทธประวัติท่ีเอามาจากภาษาบาลีของพุทธศาสนาฝายเถรวาท เปนประจักษพยานหลักฐานวาพุทธศาสนาฝายเถรวาทนิยมชมชอบอยูในอีสานเหมือนกัน ท่ีนาสนใจคือพระพิมพองคนี้จะมีสตรีอยูขาง ๆ ซ่ึงการท่ีมีสตรีมาอยูในพุทธประวัติก็ไมเคยมีในศิลปกรรมไหน ดังนั้นการท่ีสตรีมาอยูคงเปน ทองถ่ินท่ีนับถือผูหญิง การสยายผมเช็ดพระบาทอาจแสดงใหเห็นถึงความสําคัญของผูหญิงในสังคมสมัยนั้นได และมีสวนของพระพุทธเจาท่ีแสดงธรรมใตตนมุจลินทรหรือตนจิกและเกิดพายุฝนฟาคะนองตลอด ๗ วัน ๗ คืน พญานาคมุจลินทรเลยมาแผพังพานให ส่ิงท่ีนาสนใจคือถาเปนรูปพระพุทธเจาจํานวนมากนับไมถวนท้ังส่ีเหล่ียม

และสามเหล่ียมโดยความหมายคือ

พระพุทธเจาท่ีมีมากมายท่ีเราเรียกวา “พระแผง” หลายทานอธิบายวาคือคติเกี่ยวกับอดีตพระพุทธเจาหรืออนาคตพระพุทธเจา คือพุทธศาสนานอกจากศากยมุนี สมณโคดมพระพุทธเจาองคปจจบัุนของเรา

Page 24: ศิลปกรรมทวารวดีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย ผศ.รุ งโรจน ธรร ...€¦ · เมืองโบราณคูบัว

ในพุทธศาสนายังมีพระพุทธเจาตรัสรูมาแลว มากมายนับไมถวนและจะมีตอไปในอนาคตตอไปมากมายนับไมถวน ดังนั้นจึงเกิดการแปลความวาพระพุทธเจานี้คงเกี่ยวกับอดีตพระพุทธเจาหรืออนาคตพระพุทธเจา แตก็มีคติความเช่ือท่ีวาการสรางพระพุทธรูปนั้นเปนบุญเปนกุศลยิ่งสรางจํานวน

มากยิ่งเปนบุญมากรวมถึงการสรางพระพุทธรูปใหเทากับจํานวนอายุ คนจนจะสรางองคใหญคงเปนไปไมไดทําไดเพียงแคองคสององค แตถาหาก

เปนพระพิมพทําพิมพมาเปนพระพุทธเจามากมายมหาศาลโดยความหมายคือพระพุทธเจามีมากมายนับไมถวน อาจเปนแนวความคิดการสรางพระพุทธรูปจํานวนมากเพ่ือใหไดบุญมาก

พระพิมพท่ีพบท่ีเมืองฟาแดดสงยางภาพพระพุทธเจาท่ีมีเครื่องสูงโดยความหมายก็คือเปนเครื่องแสดงฐานะพระสัมมาสัมพุทธเจาดวย นอกจากทําเปนพระพิมพแลวยังพบทําเปนแผนเงินดุนใน จ.มหาสารคาม ทําเปนปูชนียวัตถุตาง ๆ ปจจุบันอยูในพิพิธภัณฑท่ีขอนแกนแสดงลักษณะทวารวดีชัดเจน และมีลายท่ีเหมือนการสักยันตในปจจุบันท่ีเราเรียกกันวา “อุณาโลม” ปรากฏตามยันตตาง ๆ และมีสถูปท่ีมีวง ๆ ติดกัน ๒ วงแทนความหมายของพระอาทิตยกับพระจันทรแปลความหมายวาสถูปเปน

ศูนยกลางของจักรวาลเพราะปกติพระอาทิตยกับพระจันทรจะโคจรรอบเขาพระสุเมรุซ่ึงเปนศูนยกลางของจักรวาล สถูปสรางเพ่ือบรรจุพระบรมสารีริกธาตุจึงเปนการพยายามแปลความหมาย หรือรูปธรรมจักรบอกไดวาเกี่ยวกับประเพณีการทําธรรมจักรจากภาคกลาง ขอใหสังเกตวาตัวธรรมจักรจะมีแฉกเปนเปลว ๆ ดวย การทําเปนแฉกเปนเปลวรัศมีจากธรรมจักรเปนความหมายเชิงอุปมาอุปมัยของธรรมจักรท่ีเช่ือมโยงกับการถือกําเนิดคือการเกิดแสงสวางทําใหหลุดพนได หรือท่ีพบพระอาทิตยกับพระจันทร เปรียบเทียบไดวาแสงแหงพระธรรมสวางกวาหรือประเสริฐกวาแสดงของพระอาทิตยและพระจันทรท่ีสามารถทําใหหลุดจากการเวียนวายตายเกิดได

สรุปประเด็นสําคัญคือวัฒนธรรมทวารวดีอีสานท่ีพบในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒ - ๑๖ ซ่ึงมีความเช่ือทางดานพุทธศาสนาเปนหลักแตมีลักษณะความเปนทองถ่ินบางประการทําใหตางไป ทําใหเช่ือวาเกี่ยวของกับทวารวดีภาคกลางดวยเหตุนี้เราจึงเรียกวาทวารวดีอีสานแตในขณะเดียวกันก็มีการผสมผสานกับวัฒนธรรมเขมรท่ีเขามาในสมัยนั้นดวย

***************************************************************************