รายงานการวิจัยในชั้นเรียน...

55
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน ของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา นพเกา ปราชญากุล วิจัยชั้นเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพครู โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา สังกัดมูลนิธิคณะเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทย ปการศึกษา 2553

Upload: others

Post on 05-Sep-2019

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน ของนักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

นพเกา ปราชญากุล

วิจัยชั้นเรียนนี้เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาวิชาชีพคร ูโรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

สังกัดมูลนิธิคณะเซนตคาเบรียลแหงประเทศไทย ปการศึกษา 2553

Page 2: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

หัวขอวิจัยช้ันเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน ของ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ผูทําการวิจัย นางนพเกา ปราชญากุล กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลย ีสถาบัน โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ปการศึกษา 2553

บทคัดยอ

การวิจัยชั้นเรียนน้ีมีวัตถุประสงคเ พ่ือศึกษาพัฒนาการของสังคมออนไลน และจริยธรรม ความปลอดภัย ผลกระทบจากการใชส่ือสังคมออนไลน เคร่ืองมือท่ีใชคือแบบสอบถามความคิดเห็นดานจริยธรรมความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสังคมออนไลน โดยใชกลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ปการศึกษา 2553 จํานวน 50 คน ผลการวิจัยพบวา พัฒนาการของการใชสังคมออนไลนของโลกและของประเทศไทยพัฒนาไปอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะนักเรียนโรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ท่ีเปนกลุมตัวอยาง มีการใชคอมพิวเตอรตอระบบอินเทอรเน็ตใชท่ีบานเพ่ือเขาสูสังคมออนไลนถึงรอยละ 94 โดยเปนการใชอินเทอรเน็ตแบบไฮสปดอินเทอรเน็ตถึงรอยละ 74 และใชผานโทรศัพทสวนตัวรอยละ10 โดยใชชวงเวลา 20.00-22.00 น.ในการเขาสังคมออนไลนมากท่ีสุด ส่ือสังคมออนไลนท่ีนักเรียนเขาใชมากท่ีสุดไดแกเฟสบุกถึงรอยละ80 ในดานความคิดเห็นและพฤติกรรมของนักเรียนทางจริยธรรม ความปลอดภัยในการใชสังคมออนไลนอยูในระดับปานกลาง ( X = 2.79 ) โดยรูวาในสังคมออนไลนไมปลอดภัย อาจมีผูไมหวังดีแฝงอยู หรือการไดรับคําตักเตือนหรือแนะนําจากครู การใชสังคมออนไลนไปในทางท่ีไมถูกตองอยูในระดับนอย เชนการไมใหขอมูลสวนตัว ที่อยูหรือเบอรโทรศัพทแกผูท่ีไมรูจักทางออนไลน สวนความคิดเห็นและพฤติกรรมท่ีมีตอผลกระทบจากการใชส่ือสังคมออนไลนของนักเรียนมีคาเฉล่ียระดับปานกลาง ( X = 2.96 ) เชนความรูสึกวาใชเวลาในการเขาสังคมออนไลนเกินความจําเปน เสียดายเวลาท่ีผานไป พักผอนไมเพียงพอ ไมมีเวลาใหผูอ่ืนหรือทํางานท่ีไดรับมอบหมาย รับประทานอาหารไมเปนเวลา มีเวลาใหกับครอบครัวนอยลง

Page 3: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ประกาศคุณูปการ

งานวิจัยฉบับนี้สําเร็จลงดวย การไดรับความรวมมือจากนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 ปการศึกษา 2553

โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ท่ีใหความรวมมือในการดําเนินการดวยดีทุกขั้นตอน ผูวิจัยขอขอบใจทุกคนไว ณ โอกาสนี ้

ขอขอบคุณทานเจาของเอกสาร บทความ ทฤษฎี แนวคิด การเรียนรูตาง ๆ ผูวิจัยนํามาใชในงานวิจัย นี้เปนอยางสูง

นพเกา ปราชญากุล

Page 4: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

สารบัญ

บทท่ี หนา 1 บทนํา 1 ความเปนมา 1 วัตถุประสงคของการวิจัย 2 สมมุติฐานของการวิจัย 2

ขอบเขตของการวิจัย / ประโยชนท่ีไดรับ 3 นิยามศัพทเฉพาะ 4 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 5 ความหมายของสื่อทางสังคม / สังคมออนไลน 5 ความหมายของสื่อสังคมออนไลน 7 ประวัติของสื่อสังคมออนไลน 8 อิทธิพลของโวเชี่ยลเน็ตเวิรกในประเทศไทย 13 สังคมเครือขายและประเภทของสังคมเครือขาย 15 ผลกระทบจากสื่อสังคมออนไลน 20 กรณีศึกษาและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 23 3 วิธีดําเนินการวิจัย 26 ประชากรและกลุมตัวอยาง 26 เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย 26 การสรางเคร่ืองมือและเก็บรวบรวมขอมูล 27 การวิเคราะหขอมูล 27 4 ผลการวิเคราะหขอมูล 29 5 สรุป อภิปรายผล ขอเสนอแนะ 44 สรุปผลการวิจัย 44 อภิปรายผล 45 ขอเสนอแนะ 45

บรรณานุกรม ภาคผนวก

- แบบสอบถามการวิจัย

Page 5: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา 1 แสดงจํานวนกลุมตัวอยางนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 30 2 แสดงสถานที่ใชสื่อออนไลน 31 3 แสดงรูปแบบการใชสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตในการเขาถึงสื่อสังคมออนไลน 32 4 แสดงคอมพิวเตอรท่ีใชเขาถึงสื่อสัญญาณออนไลน 33 5 แสดงชวงเวลาที่ใชเขาถึงสื่อสังคมออนไลนวันปกติ 34 6 แสดงชวงเวลาที่ใชเขาถึงสื่อสังคมออนไลนวันหยุด 35 7 แสดงจํานวนอีเมลของนักเรียนที่ใชเขาถึงสื่อสังคมออนไลน 36 8 แสดงสื่อสังคมออนไลนท่ีนักเรียนเขาใชมากท่ีสุด 37 9 แสดงจํานวนกลุมเพื่อนในสังคมออนไลน 38 10 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานรายดาน 39 11 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รายขอ ของดานจริยธรรม ความปลอดภัย 40 12 แสดงคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รายขอ ของดานผลกระทบของการใชสังคม ออนไลน 42

Page 6: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

บทที่ 1 บทนํา

ปจจุบันการใชอินเทอรเน็ตไดแพรขยายเขาไปในการดําเนินชีวิตในทุกดาน รวมถึงการศึกษาท้ังในระบบ นอกระะบบ รวมถึงการเรียนรูสวนบุคคล ในประเทศไทยการเรียนรูผานสื่อ อิเล็กทรอนิกสนับวาเปนเรื่องใหมมาก และยังไมมี การนําไปใชประโยชนมากนัก กระแสโลกาภิวัตน การ เปด เสรีทาง เศรษฐกิจ และการพัฒนาทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ประเทศไทย จึงมีความ จําเปนตองเรงเตรียมความพรอมของประชาชนเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลง

ยุคแรก ๆ ของ Social Network เริ่มจากชุมชนออนไลนท่ีเปดรับความคิดเห็นท้ังในรูปแบบของการโพสตขอความและการสนทนา ปจจุบันเปนรูปแบบการคนหา หรือติดตอเพ่ือนเกาสมัยเรียน และเพ่ือนใหม หรือสรางกลุมเพ่ือนใหมท่ีมีความสนใจหรือรสนิยมในเรื่องเดียวกัน นอกจากการสรางความสัมพันธทางสังคมแลว ยังสามารถแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็น ความสนใจ หรือแสดงออกในเรื่องท่ีสนใจ โดยการเขารวมกลุมหรือเวทีสนทนานั้นๆ ซึ่งอาจนํามาซึ่งธุรกิจ หรือความชวยเหลือในหมูสมาชิกดวยกันในรูปแบบตางๆ อาทิ การแบงปนความรู, ประสบการณทางเทคนิคในเร่ืองตางๆ รวมไปถึงการแนะนําธุรกิจ การจางงาน เปนตน รูปแบบของสัมพันธภาพระหวางบุคคลเริ่มจากการรองขอเปนเพ่ือน ผูถูกรองขอจะตองมีการตอบกลับกอนถึงจะสามารถติดตอกันได การใชงานหลักๆ ไดแก อีเมล, ระบบสมัครสมาชิก, กระดานขอความ/ขาว, ระบบรักษาความเปนสวนตัวในการกําหนดสิทธิ์การเขาถึงขอมูลสวนบุคคล เพ่ือเปนการปองกันปดกั้นบุคคลไมพึงประสงคในการนําขอมูลไปใชในทางเสียหาย นอกจากนี้ยังสามารถออกแบบหนาเว็บตามความตองการเพ่ือบงบอกบุคลิกของผูใช รวมท้ังการเพ่ิมเพลงและดนตรี ชวยใหสามารถแชร หรือฟงเพลง, มิวสิควีดีโอ, คลิปวีดีโอท่ีถายทําเอง, รายการทีวี, โฆษณา, ภาพยนต รวมท้ังการสืบคนขอมูลตางเกี่ยวกับตัวศิลปนท่ีชื่นชอบ เปนตน (จุไรรัตน ทองคําชื่นวิวัฒน,2553) สังคมออนไลนออกแบบมาใชเชื่อมโยงเพ่ือนและบุคคลรอบขาง ซึ่งสมาชิกสามารถอัพโหลดรูปภาพ, วีดีโอ, และลิงคตางๆ รวมท้ังมีแอพพลิเคชั่นตางๆ ใหเลือกใชตามความเหมาะสมกับความตองการ ในสวนของการรักษาความปลอดภัยมีระบบรักษาความเปนสวนตัว การเขาเปนสมาชิกสามารถทําไดเพียงมี “อีเมล” ท่ีใชงานอยูจริงเทานั้น ปจจุบันจะเห็นไดวาจํานวนสมาชิกไดมีจํานวนเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็วกวา 100% ในชวงปท่ีผานมา จากสถิติของ Gigya ซึ่งเปนเจาของ sharing widget พบวา Facebook ครองสวนแบง 44% ของการเนื้อหาบนอินเตอรเน็ต ท้ังในดานของขาว (News) บันเทิง (Entertainment) และการสนทนา (Live Event Chat) นอกจากนี้ ยังมีผลสํารวจเกี่ยวกับผูใช Facebook ชาวอเมริกันวา คนอเมริกันใช Facebook เฉลี่ยเดือนละ 7 ชั่วโมง ซึ่งนานกวา Google และ Yahoo ท่ีเปนอันดับท่ี 2 และ 3 ท่ีมีการใชงานเฉลี่ยแค 2 ชั่วโมงตอเดือน คนอเมริกันใชงานเว็บไซตตางๆ เปนเวลานอยลง (ปยะพงษ ปองภัย,2551)

Page 7: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

สําหรับประเทศไทย ยอดผูใชงาน Facebook มีถึง 4.8 ลานคน (ก.ค.53) ซึ่งคิดเปน 7% ของประชากรท้ังประเทศ ในจํานวนนี้เปนเพศชาย 44% (2.1 ลานคน) เพศหญิง 56% (2.7 ลานคน) อายุระหวาง 13 – 64 ป อายุเฉลี่ย 25.9 ป โดยกลุมอายุที่มีการใช Facebook สูงสุดอยูระหวาง 16 ถึง 30 ป ซึ่งเปนกลุมวัยรุนและวัยผูใหญตอนตน facebook มีการใชอยางแพรหลายในอเมริกา แตก็มีท่ีทํางานและสถานศึกษาหลายแหงท่ีหามใช Facebook เชน Harrisburg University of Science and Technology ใน Pennsylvania ปดการเขาใชงาน Facebook และ social network อื่นๆ ทั้งหมดของนักศึกษาและเจาหนาท่ีทุกคน เพ่ือทําใหท้ังนักศึกษาและเจาหนาท่ีไดครุนคิดถึงการใชงานเว็บเหลานั้น เมื่อไมสามารถใชงานได นอกจากนี้ ยังมีการศึกษาท่ีพบวา Facebook ทําใหผลการเรียนแยลง 20% อีกดวย จากความนิยมในการใช Facebook ซึ่งเปนกระแสความนิยมท่ีรุนแรงในปจจุบัน โดยเฉพาะในกลุมของวัยรุน ซึ่งเปนวัยท่ียังอยูในสถานศึกษา ผูวิจัยจึงมีความสนใจท่ีจะศึกษารูปแบบพฤติกรรมการใช Facebook ของนักศึกษา เพ่ือทําความเขาใจ Facebook ในมุมมองของผูใชวัยรุน ซึ่งจะเปนแนวทางตอการศึกษาเกี่ยวกับ Social network และสื่อทางอินเตอรเน็ตตอไป ( Social Network Behavior Analysis พฤติกรรมผูบริโภคในสังคมโซเชียลเน็ตเวิรก ,2010) ดังนั้นผูวิจัยจึงมีความตองการทําการวิจัยชั้นเรียนเร่ืองจริยธรรมความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน เพ่ือศึกษาขอมูลพ้ืนฐานของการใชสื่อสังคมออนไลน ศึกษาจริยธรรมความปลอดภัย รวมถึงความตระหนักดานผลกระทบจากการเขาใชสื่อสังคมออนไลน เพ่ือนําขอมูลมาใชในการปรับการเรียนการสอน การใหความรูดานการใชสื่อสังคมออนไลน เพ่ือสงผลใหนักเรียนเกิดความเขาใจ ตระหนักและใชสื่อสังคมออนไลนอยางเกิดประโยชนตอตนเองสังคม วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาพัฒนาการของสื่อสังคมออนไลน

2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นตอจริยธรรมความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน สมมุติฐานการวิจัย 1. นักเรียนมีคาวามเขาใจและมีพฤติกรรมท่ีตระหนักถึงจริยธรรม ความปลอดภัยในการใชสื่อสังคมออนไลน ในระดับปานกลางขึ้นไป 2. นักรียนมคีวามเขาใจและทราบถึงผลกระทบตอตนเองจากการใชสื่อสังคมออนไลน ในระดับปานกลางขึ้นไป

Page 8: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตดานเนื้อหาในการศึกษาคร้ังนี้ ไดแก

1.1 ศึกษาพัฒนาการการใชสื่อสังคมออนไลนของโลกและในประเทศไทย 1.2 ศึกษาความคิดเห็นตอพฤติกรรมการใชสื่อสังคมออนไลน ดานจริยธรรมความปลอดภัย และดานผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน

2. กลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษาครั้งนีไ้ดแก 2.1 ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ประกอบดวยนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษา

ปท่ี 1 จํานวน 280 คน 2.2 กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ไดแก นักเรียนท่ีเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 50 คน ซึ่งไดจากการสุมแบบเฉพาะเจาะจง

3. ตัวแปรที่ศึกษา 3.1 ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ประกอบดวย

3.1.1 เพศ 3.1.2 รูปแบบการเชื่อมตอออนไลน 3.1.3 คอมพิวเตอรที่ใชงาน 3.1.4 ระยะเวลาในการใชงาน 3.1.5 ชวงเวลาในการใชอินเทอรเน็ต 3.1.6 สื่อสังคมออนไลนที่เขาใชงาน 3.1.7 จํานวนกลุมเพ่ือนในสังคมออนไลน

3.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ พฤติกรรมการเขาสูสังคมออนไลนดาน จริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดรับทราบการพัฒนาการใชสื่อสังคมออนไลน 2. ทราบพฤติกรรมและความคิดเห็นของผูเรียนทางดานจริยธรรมความปลอดภัยและผลกระทบจากการ

ใชสังคมออนไลน เพ่ือเปนแนวทางในการวางแผนและขยายผลการพัฒนาการใชสื่อการสอนดานจริยธรรมและผลกระทบจากการเขาถึงสื่อสังคมออนไลน

Page 9: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

นิยามศัพทเฉพาะ 1. สื่อสังคมออนไลน หมายถึง คือ เครื่องมือออนไลนท่ีชวยใหผูใชงานอินเทอรเน็ตสามารถมี

ปฏิสัมพันธ ท้ังในเร่ือง กิจกรรม กิจวัตร และพฤติกรรมตางๆ ระหวางผูใชงานอินเทอรเน็ตดวยกันท่ีมารวมกลุมกันในแบบ ออนไลนเพ่ือที่จะแบงปนขอมูล ความรู ประสบการณ ความ ตองการสวนลึก และความคิดเห็น

Page 10: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยตองการศึกษาจริยธรรมความปลอดภัยและผลกระทบตอการใชสื่อสังคมออนไลน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา เพื่อใหเกิดความเขาใจในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยไดคนควาทฤษฏี เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ดังตอไปนี ้ 1. ความหมาย 1.1 สื่อทางสังคม 1.2 สังคมออนไลน 1.3 เครือขายสังคมออนไลน

2. สื่อทางสังคม (Social media) 2.1 ประวัติสื่อสังคมออนไลน 2.2 สังคมออนไลนในประเทศไทย 3. สังคมเครือขาย 3.1 สังคมเครือขาย 3.2 แรงจูงใจท่ีทําใหเกิดสังคมเครือขาย 3.3 ประเภทของสังคมเครือขาย 3.4 กลุมการใหบริการสังคมเครือขายออนไลน 3.5 ผลกระทบจากสื่อสังคมออนไลน 4. พฤติกรรรมและการเรียนรู 5. กรณีศึกษาและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

ความหมายของส่ือทางสังคม (Social Media) คือ เคร่ืองมือออนไลนท่ีชวยใหผูใชงานอินเทอรเน็ตสามารถมีปฏิสัมพันธ ทั้งในเร่ือง กิจกรรม กิจวัตร และพฤติกรรมตางๆ ระหวางผูใชงานอินเทอรเน็ตดวยกันท่ีมารวมกลุมกันในแบบออนไลนเพ่ือท่ีจะแบงปนขอมูล ความรู ประสบการณ ความตองการสวนลึก และความคิดเห็น โดยการสรางเนื้อหาในรูปแบบของขอความ รูปภาพ วีดีโอ และเสียง เพ่ือติดตอทางธุรกิจหรือเพ่ือความ ความหมายของสังคมออนไลน หมายถึงสื่อสังคมออนไลนที่มีการตอบสนองทางสังคมไดหลายทิศทาง โดยผานเครือขายอินเตอรเน็ต พูดงายๆ ก็คือเว็บไซตท่ีบุคคลบนโลกนี้สามารถมีปฏิสัมพันธโตตอบกันได

Page 11: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ความหมายของเครือขายสังคมออนไลน

ประดนเดช นีละคุปต (2551) อธิบายวา เปนการเชื่อมโยงผูคนเขาดวยกันโดยทางใดทางหนึ่ง โดยอาศัยเทคโนโลยีเว็บ อนงคนาฎ ศรีวิหค (2551) อธิบายวา เปนการเชื่ยมโยงประชากรเขาดวยกัน

อิทธิพล ปรีติประสงค (2552) กลาววา“เครือขายสังคมออนไลน เปนปรากฎการณของการเชื่อมตอระหวางบุคคลในโลกอินเทอรเน็ต และ ยังหมายรวมถึง การเชื่อมตอระหวางเครือขายกับเครือขายสังคมออนไลน เขาดวยกัน ในแงของการใหความหมายของคําวา “เครือขายสังคมออนไลน” นั้น

คุณเกง หรือ กติกา สายเสนีย (2553) ไดใหความหมายท่ีนาสนใจวา Social Network คือ การท่ีผูคนสามารถทําความรูจัก และเชื่อมโยงกันในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง หากเปนเว็บไซตท่ีเรียกวาเปน เว็บ Social Network ก็คือเว็บไซตที่เชื่อมโยงผูคนไวดวยกันนั่นเอง ตัวอยางของเว็บประเภทท่ีเปน Social Network เชน Digg.com ซึ่งเปนเว็บไซตที่เรียกไดวาเปน Social Bookmark ท่ีไดรับความนิยมอีกแหงหนึ่ง และเหมาะมาก ที่จะนํามาเปนตัวอยาง เพ่ือใหเขาใจไดงายขึ้น โดยในเว็บไซต Digg นี้ ผูคนจะชวยกันแนะนํา url ท่ีนาสนใจเขามาในเว็บ และผูอานก็จะมาชวยกันใหคะแนน url หรือขาวนั้น ๆ เปนตน ในแงของการอธิบายถึงปรากฎการณของเครือขายสังคมออนไลน ยังมีการอธิบายผานคําวา Social network service หรือ SNS เปนการเนนไปท่ีการสรางชุมชนออนไลนซึ่งผูคนสามารถท่ีจะแลกเปลี่ยน แบงปนตามผลประโยชน กิจกรรม หรือความสนใจเฉพาะเรื่อง ซึ่งอาศัยระบบพ้ืนฐานของเว็บไซตท่ีทําใหมีการโตตอบกันระหวางผูคนโดยแตละเว็บนั้นอาจมีการใหบริการท่ีตางกัน เชน email กระดานขาว และในยุคหลังๆมานี้ เปนการแบงปนพื้นท่ีใหสมาชิกเปนเจาของพ้ืนท่ีรวมกันและแบงปนขอมูลระหวางโดยผูคนสามารถสรางเว็บเพจของตนเองโดยอาศัยระบบซอฟทแวรท่ี เจาของเว็บใหบริการ ในขณะเดียวกัน Howard Rheingold ไดเขียนคําจํากัดความของคําวา virtual Community ในหนังสือ virtual communy วาหมายถึง การสื่อสาร และ ระบบขอมูล ของบรรดาเครือขายสังคม ซึ่งแบงปนในผลประโยชนรวมกัน ความคิด ชิ้นงาน หรือ ผลลัพธบางประการท่ีมีการโตตอบกันผานสังคมเสมือนจริง ซึ่งไมถูกผูกพันโดยเวลา พรมแดน เขตแดนของหนวยงาน และในทุกๆที่ท่ีบุคคลสามารถพัฒนาความสัมพันธระหวางกันผานระบบออนไลน ในขณะท่ี การแบงหมวดหมูของเครือขายสังคมออนไลน อิสริยะ ไพรีพายฤทธิ์ ไดจําแนกหมวดหมู หรือ ประเภทของเครือขายสังคมออนไลนไวใน บทบาทของ Social Network ในอินเทอรเน็ตยุค 2.0 โดยพิจารณาจากเปาหมายของการเขาเปนสมาชิกในเครือขายสังคมออนไลน ไดเปน 5 กลุมใหญๆ กลาวคือ

1. Identity Network คือ การแสดงตัวตนและภาพลักษณของตน เชน Hi5 , Facebook 2. Interested Network เปนการรวมตัวกันโดยอาศัย“ความสนใจ” ตรงกัน เชน Digg.com , del.icio.us 3. Collaboration Network เปนกลุมเครือขายท่ีรวมกัน “ทํางาน” ยกตัวอยางเชน Wikipedia

Page 12: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

4. Gaming/Virtual Reality หรือ โลกเสมือน ในบางครั้งเราเจอคําวา second life ซึ่งเปนลักษณะของเครือขายสังคมออ นไลน ท่ี มีลักษณะเปนการสวมบทบาทของผู เล นในชี วิตจริงกับตัวละครในเก ม 5. Professional Network ใชงานในอาชีพ

ความหมายของส่ือสังคมออนไลน สภาการหนังสือพิมพแหงชาติใหคําจํากัดความของสื่อสังคมออนไลน’ (Social Media) วาหมายถึง ชองทางในการสื่อสารผานเว็บไซตท่ีเปดโอกาสใหผูใชสามารถสรางสรรคเนื้อหาไดดวยตนเอง อาทิ twitter.com, facebook.com, youtube.com และ weblog ตาง ๆ เปนตน Safko & Brake และ Strauss & Frost ไดแบงประเภทของสื่อทางสังคมออกเปน 4 ประเภทหลักๆ ดังตอไปนี้

1). Reputation aggregators หรือท่ีเรียกอีกอยางหนึ่งวา เครื่องมือคนหา (Search Engine) คือเว็บไซตท่ีเก็บรวบรวมขอมูลของ เว็บไซต ผลิตภัณฑ รานคา หรือ เนื้อหาอื่นๆ แลวนํามาจัดอันดับผานระบบการประเมินของเว็บไซตนั้นๆ เพ่ือใหผูใชงานอินเทอรเน็ตเขามาสืบคนขอมูลในดานตางๆ ตามตองการไดอยางงายดาย ตัวอยางของสื่อทางสังคมประเภทนี้ไดแก Google, Yahoo!, MSN, Tripadvisor.com, ePinions.com 2). Blogs คือ บันทึกประจําวันในรูปแบบออนไลนท่ีมีการนําเสนอตามลําดับเวลา โดยท่ีผูอานสามารถแสดงความคิดเห็นผาน Blog ไดโดยตรง นอกจากนี้ในบาง Blog นั้นยังใชผูเขียนหลายๆคนชวยในการเขียนบันทึกประจําวันออนไลนนี้ ตัวอยางของสื่อทางสังคมประเภทนี้ไดแก WordPress, Engadget, Mashable, TechCrunch 3). Online communities คือ เว็บไซตท่ีรวบรวมกลุมผูใชงานอินเทอรเน็ตที่มีความสนใจคลายๆกัน โดยที่กลุมผูใชงานเหลานี้มักจะกลับมาดูการแลกเปลี่ยนความเห็นของผูใชงานอื่นๆ ที่มีความคิดคลายกับตัวเองผานระบบออนไลนอยูเสมอ ตัวอยางของสื่อทางสังคมประเภทนี้ไดแก CNN, Slate, YouTube, Google Groups, Flickr, Del.icio.us, Wikipedia, Second Life

4). Social networks – เครือขายสังคมออนไลน เปนโครงสรางสังคมที่ประกอบดวย Node (ซึ่งหมายถึงบุคคลหรือองคกร) ตางๆ เชื่อมตอกัน ซึ่งแตละ Node ท่ีเชื่อมโยงกันก็อาจมีความสัมพันธกับ Node อื่นๆ ดวย โดยท่ีประเภทของความสัมพันธของแตละ Node นั้นอาจจะมีประเภทเดียวหรือมากกวา อาทิเชน คานิยม วิสัยทัศน ความคิด การคา เพ่ือน ญาติ เว็บลิงค ฯลฯ ตัวอยางของสื่อทางสังคมประเภทนี้ไดแก Twitter, Facebook, Xing, LinkedIn

Page 13: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ประวัติส่ือสังคมออนไลน Facebook.com

Mark Zuckerberg กอต้ัง Facebook ซึ่งเปนชุมชนออนไลน (Social-Networking Site) ท่ีกําลังไดรับความนิยมสุดขีดในขณะนี้ เม่ือ 3 ปกอน ขณะยังเรียนอยูท่ี Harvard กอนจะลาออกกลางคัน เจริญรอยตาม Bill Gates แหง Microsoft เพ่ือเปน CEO ของชุมชนออนไลนท่ีเขากอตั้งขึ้น ดวยวัยเพียง 22 ป ภายในเวลาเพียง 3 ป Web ท่ีเร่ิมตนจากการเปนชุมชนออนไลนสําหรับนักศึกษามหาวิทยาลัย กลายเปนเว็บท่ีมีผูใชที่ลงทะเบียน 19 ลานคน ซึ่งรวมถึงขาราชการในหนวยงานรัฐบาล และพนักงานบริษัทท่ีติดอันดับ Fortune 500 มากกวาครึ่งหนึ่งของผูใช เขาเว็บนี้เปนประจําทุกวัน และขณะนี้กลายเปนเว็บท่ีมีผูเขาชมมากเปนอันดับ 6 ในสหรัฐอเมริกา และ 1% ของเวลาท้ังหมดท่ีใชบน Internet ถูกใชในเว็บ Facebook นอกจากนี้ยังไดรับการจัดอันดับเปน Web ที่ผูใช Upload รูปขึ้นไปเก็บไวมากเปนอันดับหนึ่งของสหรัฐฯ โดยมีจํานวนรูปท่ีถูก Upload ขึ้นไป 6 ลานรูปตอวัน และกําลังเปนคูแขงกับ Website ดังอยาง Google ในการดึงดูดวิศวกรรุนใหมใน Silicon Valley มาทํางาน ซึ่งนักวิเคราะหคาดวา Facebook จะทํารายไดถึง 100 ลานดอลลารในปนี้ Zuckerberg เพ่ิงปฏิเสธขอเสนอซื้อของ Yahoo ซึ่งยื่นขอเสนอซื้อ Facebook ดวยเงินถึง 1 พันลานดอลลาร กอนหนานี้ก็มีขาวลือวา Viacom เสนอซื้อ Facebook ดวยเงิน 750 ลานดอลลาร คําถามคือ การตัดสินใจของ Zuckerberg คร้ังนี้ ถูกตองหรือไม ในชวงไมถึง 2 ปที่ผานมา Web 2.0 ท่ีโดงดัง 2 แหง ท่ีเพ่ิงถูกขายใหแกบริษัทยักษใหญ นั่นคือ MySpace ท่ีถูก News Corp ซื้อไปดวยเงิน 580 ลานดอลลาร และ YouTube ท่ียอมรับเงิน 1.5 พันลานดอลลารจาก Google ขณะท่ีในอดีต Web Friendster ชุมชนออนไลนท่ีโดงดังเปนแหงแรก เคยปฏิเสธการเสนอซื้อดวยเงิน 30 ลานดอลลารจาก Google ในป 2002 ซึ่งหากจายเปนหุน ปานนี้คงมีมูลคาเพ่ิมขึ้นเปน 1 พันลานดอลลาร แตหลังจากนั้น Friendster ซึ่งเปนWeb รุนเกา ก็ถูกบดบังรัศมีโดย Web รุนใหมๆ Facebook จะประสบชะตากรรมอยางเดียวกับ Friendster หรือไม ในขณะท่ีชุมชนออนไลนใหมๆ เกิดขึ้นแทบไมเวนแตละวัน Zuckerberg ยอมรับวาเขาเปน Hacker แตไมใชในความหมายของนักเจาะระบบ Hacker ของเขาหมายถึงการนําความพยายามและความรูที่ทุกคนมีมารวมกัน แบงปนกัน เพ่ือบรรลุสิ่งที่ดีกวา เร็วกวาหรือใหญกวา ซึ่งคนๆ เดียวทําไมได โดยใหความสําคัญกับการเปดกวาง การแบงปนขอมูล เขาสรางสิ่งท่ีเรียกวา Hackathon ใน Facebook ซึ่งคลายกับการระดมสมองสําหรับวิศวกร อยางไรก็ตาม Facebook กลับมีกําเนิดมาจากการเจาะระบบจริงๆ เม่ือ Zuckerberg เรียนอยูท่ี Harvard เขาพบวามหาวิทยาลัยแหงนี้ไมมีหนังสือรุนท่ี เรียกวา Face Book ซึ่งจะเก็บรายชื่อนักศึกษาพรอมรูปและขอมูลพ้ืนฐาน เหมือนอยางมหาวิทยาลัยท่ัวไป Zuckerberg ตองการจะทําหนังสือรุนออนไลนของ Harvard แต Harvard กลับปฏิเสธวา ไมสามารถจะรวบรวมขอมูลได Zuckerberg จึงเจาะเขาไปในระบบทะเบียนประวัตินักศึกษาของ Harvard และทํา Website ชื่อ Facemash ซึ่งจะสุมเลือกรูปของนักศึกษา 2 คนขึ้นมา และเชิญใหผูเขามาใน Web เลือกวา ใคร “ฮอต” กวากัน ภายในเวลาเพียง 4 ชั่วโมง มีนักศึกษาเขาไปใน Web ของ Zuckerberg 450 คน และมีสถิติการชมภาพ 22,000 คร้ัง ทําให Harvard หาม Zuckerberg ใช Internet และเรียกตัวไปตําหนิ เหตุการณจบลงโดย Zuckerberg กลาวขอโทษเพ่ือนนักศึกษา แตเขายังคงเชื่อมั่นวา สิ่งท่ีเขาทํานั้นถูกตอง ตอมา Zuckerberg จัดทําแบบฟอรม Facebook เพ่ือใหนักศึกษาเขามาเขียนขอมูลของตนเอง

Page 14: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

Thefacebook.com ซึ่งเปนชื่อเริ่มแรกของ Facebook เปดตัวเม่ือวันท่ี 4 กุมภาพันธ 2004 ภายในเวลาเพียง 2 สัปดาห นักศึกษาคร่ึงหนึ่งของ Harvard ลงทะเบียนใน Web นี้ และเพ่ิมเปน 2 ใน 3 ของนักศึกษา Harvard ท้ังหมดในเวลาอันรวดเร็ว นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยอื่นเริ่มติดตอ Zuckerberg ขอใหทําหนังสือรุนออนไลนใหแกมหาวิทยาลัยของพวกเขาบาง จึงเกิดพ้ืนท่ีใหมใน Facebook สําหรับ Stanford และ Yale ภายในเดือนพฤษภาคมปเดียวกัน โรงเรียนอีก 30 แหงเขารวมใน Facebook ตามมาดวยโฆษณาท่ีเกี่ยวกับนักเรียนนักศึกษา และธุรกิจท่ีเกี่ยวกับมหาวิทยาลัย ทําใหชุมชนแหงนี้ เริ่มสรางรายไดหลายพันดอลลาร ขณะนี้ Facebook กําลังจะเพ่ิมจํานวนวิศวกรจาก 50 คนอีกเทาตัวภายในปนี้ และเพ่ิมจํานวนพนักงานบริการลูกคาซึ่งมีอยู 50 คน เพราะจํานวนผูใชรายใหมยังคงเพ่ิมขึ้นอยางทวมทน 100,000 คนตอวันในเดือนกุมภาพันธท่ีผานมา ตลาดมหาวิทยาลัยในแคนาดาและอังกฤษของ Facebook เติบโตเกือบ 30% ตอเดือน (มีขาววา เจาชาย Harry แหงอังกฤษและเพ่ือนสาวคนสนิทก็เปนผูใช Facebook ดวย) และ 28% ของผูใช Facebook ท้ังหมด อยูนอกสหรัฐฯ นอกจากนี้ อายุของผูใช Facebook เร่ิมหลากหลายมากขึ้น ผูใชอายุ 25-34 ปมี 3 ลานคน อายุ 35-44 ปมี 380,000 คน และอายุเกิน 64 ปมี 100,000 คน 3 ปกอน Zuckerberg มาถึง Palo Alto ดวยมือเปลา และยังเปนนักศึกษาของ Harvard แตขณะนี้เขาเปนผูบริหาร Website ชุมชนออนไลนท่ีกําลังฮอตท่ีสุด และเพ่ิงไดรับเชิญไปกลาวสุนทรพจนตอท่ีประชุมผูนําการเมืองและเศรษฐกิจ โลกท่ีเมือง Davos สวิตเซอรแลนดในปนี้ รวมท้ังเพ่ิงปฏิเสธขอเสนอซื้อมูลคา 1 พันลานดอลลารอยางไมใยดี และปจจุบันคูแขงของ Facebook ก็คือ MySpace, Bebo, Friendster, LinkedIn, Tagged, Hi5, Piczo, และ Open Social

จากการวิเคราะหสรุปไดวา การทําธุรกิจของ Facebook เปนตัวอยางของการทําธุรกิจแบบคอยเปนคอยไป คอยๆ ขยายกลุมลูกคา และผูใชบริการใหกวางขึ้น หลากหลายมากขึ้น ซึ่งเปนบทเรียนสําคัญของผูท่ีคิดจะทําธุรกิจวา อยารีบรอนหรืออยาเพิ่งคาดหวังผลสูงเกินไป อยาหวังแตจะไดกําไรในเวลาอันรวดเร็ว ยิ่งหวังมาก ความผิดหวังก็จะมีโอกาสเกิดขึ้นมากตามไปดวย คอยๆ ทํา คอยๆ สราง และที่สําคัญตองมีกัลยาณมิตรดวย ผลท่ีไดก็จะคอยๆ เกิดทีละเล็กทีละนอย และกลายเปนรากฐานของความสําเร็จอันยิ่งใหญในท่ีสุด ส่ิงท่ีกําลังเกิดข้ึนกับ facebook 1. Facebook อายุครบ 7 ป ผูใชงานทะลุ 600 ลานคน!! วันท่ี 4 กุมภาพันธ ท่ีผานมาเปนวันครบรอบ วันกอตั้ง Facebook เว็บไซต Social Network ขนาดใหญท่ีสุดในโลก ซึ่ง ณ ตอนนี้ มีอายุครบ 7 ปแลวครับ ทาง Facebook ไดประกาศตัวเลขผูใชงานครบ 600 ลานคนแลวครับ ซึ่งเม่ือวันครบรอบวันกอตั้งเม่ือปท่ีแลว ยอดผูใชงานของ Facebook มีจํานวน 375 ลานคน หมายความวา ปท่ีผานมา Facebook มีการเติบโตขึ้นของจํานวนผูใชงานกวา 60% ในปท่ีผานมา Facebook ไดเปดตัวบริการใหมๆที่นาสนใจหลายตัวครับ ไดแก Places, Groups และ Deals รวมถึงบริการการสงขอความผาน Facebook ท่ีปรับปรุงใหมเรียกวา modern message system อีกดวย มูลคาของ Facebook เองก็ถูกประเมินไวในระดับที่สูงมาก ลาสุดมูลคาของ Facebook พุงถึง 50,000 ลานเหรียญสหรัฐฯ แลวครับ สงใหพอหนุม มารค

Page 15: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ซัคเคอรเบิรก เปนเศรษฐีที่อายุนอยท่ีสุดในอเมริกา ณ ปจจุบัน ป 2010 คนกด “ชอบ” ใน Facebook 7 ลานครั้งตอ 20 นาที (สถิติ Facebook)

ปท่ีผานมาตองเรียกวาเปนของ Facebook เลยทีเดียวครับ หลายคนเลน Facebook เปนครั้งแรก แตก็ติดเจาเว็บไซต Social Network ซะแลว ท้ังเลนเกมส เมนทรูปเพ่ือน กด Like โพสของเพื่อนๆสนุกสนานกันไป Facebook ประสบความสําเร็จมากในป 2010 โดยมีผูใชงานในระบบครบ 500 ลานคน และผูกอต้ัง Facebook ถูกนําชีวประวัติไปสรางภาพยนตรฮอลลีวูด และนิตยสาร TIME คัดเลือกผูกอตั้งใหเปน “บุคคลแหงป” ในท่ีสุด 2.สถิติของ Facebook ในทุกๆ 20 นาทจีะมี 1 ลานครั้ง การแชรลิงคเว็บไซต มีการแท็กรูป 1,323,000 คร้ัง มีการสง invite Event 1,484,000 โพสที่ Wall 1,587,000 ครั้ง อัพเดท status 1,851,000 คร้ัง การตอบรับการขอเปนเพ่ือน(Friend request) 1,972,000 ครั้ง อัพโหลดรูป 2,716,000 ครั้ง คอมเมนท 10 ลานกวาครั้ง(10,208,000) สงขอความ 4,632,000 ขอความ มีการกด Likes: 7,657,000 ครั้ง คนดังที่ไดรับการกด Likes มากที่สุดคือ เลด้ี กากา ไดรับ 24.7 ลาน Likes รองลงมาคือ เอมิเน็มท่ีไดรับ 23.7 ลาน Likes (บารัค โอบามา 17.2 ลาน Likes) 3. ขอแตงงานผาน Facebook !! เม่ือตอนตนป มีขาวของคนท่ีขอแตงงานกันผาน iPad สรางความประทับใจแกคนไอทีมากมาย แมแตในประเทศไทยก็มีคนท่ีขอแตงงานผานอินเตอรเน็ต เปนคนท่ีมีชื่อเสียงกันไปนะครับ ลาสุดท่ีเว็บไซต Social Network ท่ีใหญและไดรับความนิยมมากท่ีสุด Facebook.com ก็มีชายหนุมท่ีขอสาวเจาแตงงานผาน Facebook โดยไปโพสขอความไวที่หนา Profile ของแฟนสาว เนื้อความสรุปสั้นไดความวา “เม่ือ 30 ปกอน แมผมกําลังลางจาน ตอนท่ีพอผมขอเธอแตงงาน เม่ือถึงคราวของเราสองคน แมบอกผมวา ผมตองทําใหดีกวานั้นนะ ผมไมคอยแนใจวานี่ดีพอหรือยัง แตผมหวังวานะ.. บรีซ(ชื่อแฟนสาว) คุณจะมาเปนภรรยาผมไดมั้ย(ภาษาอังกฤษใชคําวา Will you be my wife?)” สวนแฟนสาวก็ตอบรับโดยทันควัน 4. Facebook แซง Yahoo ขึ้นเปนเว็บไซตท่ีใหญท่ีสุดอันดับ 3 ของโลก

จากสถิติของเว็บไซตสํารวจสถิติการใชอินเตอรเน็ต comScore.com ระบุวา สถิติการใชอินเตอรเน็ตโดยรวมท้ังโลกในเดือนพฤศจิกายน Facebook.com มีปริมาณผูชมแซง Yahoo.com เปนที่เรียบรอยแลวครับ โดยมีผูเขาชม(visitors)เว็บไซต Facebook.com จํานวน 633 ลานผูเขาชม ชนะเว็บไซต Yahoo.com ท่ีมีผูเขาชม 630 ลานผูเขาชมแบบเฉียดฉิวแตเมื่อดูจากกราฟเสนแสดงสถิติท่ีผานมาของท้ัง 2 เว็บไซต ก็จะเห็นวา Facebook มีอัตราเติบโตตอเนื่องตางจาก Yahoo ท่ีมีสถิติคงท่ีมาพักใหญแลวนะครับ จึงไมนาแปลกใจท่ี Facebook จะสามารถแซง Yahoo ไดในท่ีสุด ทําให ณ ตอนนี้ Facebook.com เปนเว็บไซตท่ีใหญท่ีสุดอันดับ 3 ของโลก รองจาก เว็บไซต Microsoft ที่มี 869 ลานผูเขาชม และ Google ท่ีมี 970 ลานผูเขาชม

Page 16: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

นอกจากสถิติดังกลาวแลว Facebook ยังเปนเว็บไซตท่ีมีการแสดงผลโฆษณาออนไลนคิดเปน 25% ของจํานวนท้ังหมดในสหรัฐอเมริกาเลยครับ ซึ่งเปน 2 เทาของ Yahoo แตในสหรัฐอเมริกา Yahoo ยังคงเปนเว็บไซตใหญอันดับ 1 อยูนะครับ มีผูเขาชมจากสหรัฐ 181 ลานผูเขาชม ในขณะท่ี Facebook มี 152 ลานผูเขาชม 5. Time เลือกผูกอต้ัง Facebook เปนบุคคลแหงป

เปนธรรมเนียมปฏิบัติท่ี Time Magazine ดําเนินการมาโดยตลอด ท่ีในแตละป Time จะตองคัดเลือกบุคคลท่ีทรงอิทธิพลตอโลก ท้ังในแงบวกหรือแงลบก็ตามมาอยูในตําแหนง “บุคคลแหงป(Person of the Year)” โดยในป 2010 นี้ บุคคลท่ี Time มองวาทรงอิทธิพลตอโลกใบนี้มากท่ีสุดคือเคาคนนี้ครับ Mark Zuckerberg(มารค ซัคเคอรเบิรก) ผูกอตั้งเว็บไซต Social Network ท่ีดังและมีสมาชิกมากท่ีสุดในโลก และกําลังแผขยายอิทธิพลออกไปอยางตอเนื่องอยาง Facebook.com เมื่อชวงกลางป Facebook มีสมาชิกในระบบมากถึง 500 ลานคนแลว สงผลใหมูลคาของบริษัท Facebook จากการประเมินในตอนนี้สูงถึงกวา 5 หม่ืนลานเหรียญสหรัฐญฯแลวครับ ตอนนี้ Mark Zuckerberg ก็เปนเศรษฐีท่ีมีอายุนอยที่สุดในโลก โดยเปนเศรษฐีต้ังแตอายุ 26 ป 6. Facebook ผงาด! 25% ของการเลนอินเตอรเน็ต “เปด Facebook”

Facebook เว็บไซตสังคมออนไลนท่ีใหญท่ีสุดในโลก กําลังเติบโตและมีอิทธิพลตอการเลนอินเตอรเน็ตของเรามากขึ้นเรื่อยๆ ในสหรัฐอเมริกามีการตรวจสอบขอมูลพบวา ปริมาณการใชอินเตอรเน็ตในสหรัฐอเมริกา 25% เปนการเปดเว็บไซต Facebook การวัดผลนี้ วัดจากจํานวน PageView ของ Facebook เทียบกับปริมาณ PageView ภาพรวมของอินเตอรเน็ตสหรัฐอเมริกาครับ (PageView คือการนับครั้งท่ีมีการเปดหนาเว็บไซต 1 คนเปดไดมากกวา 1 หนา เชน ตอนเชาเปด facebook แลวคลิ๊กเลนเกมส มันจะเปดหนาตางใหมขึ้นมา แบบนี้ถือวาเปด facebook 2 หนาครับ ถาตอนเย็นมาเปดอีกก็นับเพิ่มอีกครับ PageView ท้ังหมดของทุกคนนับรวมกันเปนตัวเลขท่ีอางอิงในขาวนี้) 25% ของปริมาณการเลนอินเตอรเน็ตใชเลน Facebook(ตัวเลขเฉพาะคนในอเมริกา) ถานับดวย PageView นับเปน 25% ของปริมาณ PageView ท้ังหมด แตเม่ือวัดดวย Visit(นับครั้งการเขาเว็บไซต เปดกี่หนาก็นับเปน 1 คร้ังของการเขาเว็บ) Visit ของ Facebook คิดรวมเปน 10% ของปริมาณ Visit ในสหรัฐอเมริกา เม่ือเทียบกับ Google แลวปรากฏวา PageView ของ Facebook มีจํานวนมากกวา Google ถึง 5 เทาตัวครับ (ยักษใหญสะเทือนกันเลยงานนี้) ปริมาณการใชงาน Facebook มีอัตราเติบโตตอเนื่องอยางรวดเร็วครับ โดยมีอัตราเติบโตสูงถึง 55% ตอป สถิติการใช Facebook ของคนไทย

เม่ือเดือนกรกฎาคมป 2551 มีจํานวนคนไทยใช Facebook 114,180 คน และในเดือนเดียวกันป 2552 จํานวนคนไทยใช Facebook เพ่ิมขึ้นเปน 697,340 คน และลาสุดวันท่ี 15 กันยายน 2552 คนไทยใช Facebook เพ่ิมเปน 1,210,020 คน Growth rate สูงถึง 959.75% เม่ือเทียบกับเดือนกรกฎาคมปที่แลว

Page 17: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

• 6.6 ลานคน คือ จํานวนผูใช Facebook ในประเทศไทยในเดือนตุลาคม 2010 เพิ่มข้ึนจาก 2.2 ลานคนในเดือนกุมภาพันธ 2010 หรือเพิ่มข้ึน 300% ภายในเวลา 8 เดือน..!!

• คิดเปน 37.63% ของผูใชงานอินเทอรเน็ตของไทยในปจจุบัน (17.5 ลานคน จากสถิติของ Facebakers) แตถานับสัดสวนประชากรของประเทศไทยแลว คิดเปน 9.91% ของประชากรไทยเทานั้น (66 ลานคน จากสถิติของ Facebakers)

• 18-34 ปคือ ชวงอายุของผูใชงาน Facebook ที่มีสัดสวนสูงที่สุดในประเทศไทย หรือคิดเปน 75% ของผูใช Facebook ในประเทศไทยทั้งหมด หรือ 4.93 ลานคน..!!

• ผูสูงอายุที่มีอายุมากกวา 55 ปใชงาน Facebook 2% หรือ 131,594 คน..!! • เพศหญิง (55%) เลน Facebook มากกวาเพศชาย (45%)

Twitter.com

Twitter (มาจากรากศัพทคําวา tweet ท่ีแปลวา เสียงนกรอง) หมายถึง Unified Message ชนิดหนึ่ง มีลักษณะเปน ไมโครบล็อก (Microblogging) ที่ใหบริการเพ่ือการติดตอสื่อสารระหวาง เพ่ือน ครอบครัวและเพ่ือนรวมงาน สามารถเชื่อมตอเปนเครือขาย และแลกเปลี่ยนขอมูลไดอยางรวดเร็ว แบบเรียลไทม (Real Time) เพ่ือเปนคําตอบสําหรับคําถามท่ีวา "คุณกําลังทําอะไรอยู " โดยผูใชสามารถสงขอความยาวไมเกิน 140 ตัวอักษร ขอความอัปเดตท่ีสงเขาไปยังทวิตเตอรจะแสดงอยูบนเว็บเพจของผูใชคนนั้นบนเว็บไซต และผูใชคนอื่นสามารถเลือกรับขอความเหลานี้ทางเว็บไซตทวิตเตอร, อีเมล, เอสเอ็มเอส, เมสเซนเจอร (IM), RSS, หรือผานโปรแกรมเฉพาะอยาง Twitterific Twhirl ปจจุบันทวิตเตอรมีหมายเลขโทรศัพทสําหรับสงเอสเอ็มเอสในสามประเทศ คือ สหรัฐอเมริกา แคนาดาและสหราชอาณาจักร ตัวระบบซอฟตแวรของทวิตเตอร เดิมพัฒนาดวย Ruby on Rails จนเม่ือราวสิ้นป ค.ศ. 2008 จึงไดเปลี่ยนมาใชภาษา Scala บนแพลตฟอรมจาวา

Twitter กอต้ังขึ้นโดยบริษัท Obvious Corp เม่ือเดือน มีนาคม ค.ศ. 2006 ท่ีเมืองซานฟรานซิสโก ประเทศสหรัฐอเมริกา พัฒนาขึ้นโดย แจ็ค คอรซีย ,บิซ สโตน และ อีวาน วิลเลียมส. อีวาน วิลเลียมส คือคนเดียวกับท่ีสรางบริการบล็อก ท่ีนิยมมากที่สุดในโลก ในขณะนี้ นั่นคือ Blogger.com ต้ังแตแรกเร่ิมเดิมทีนั้น อยูภายใตการดูแลของบริษัทเล็กๆ ท่ีชื่อวา Pyra Labs กอรางสรางตัวขึ้นต้ังแตสิงหาคม ป 1999 และหลังจากนั้น 3 ป ทาง Google ก็เขามาขอซื้อกิจการไปในป 2002 เพ่ือไปเติมเต็มบริการ อีกทั้งขยายกลุมผูใชใหไดมากขึ้น แต Williams ถอนตัวออกจาก Google มารวมงานกับ Odeo เมื่อ ป 2004 และตอจากนั้น Williams ไดออกมารวมงาน กับ Obvious Corp ,ในป 2006 ซึ่งมี Twitter เปน Product หลักของบริษัท เปาหมายของ Obvious Corp คือ สรางสรรคสิ่งท่ีนาสนใจและมีความสําคัญตอโลก

ค.ศ.2009 ทวิตเตอรไดรับความนิยมสูงขึ้นอยางมาก จนนิตยสาร “ไทม” ฉบับวันท่ี 15 มิ.ย.2009 ไดนําเอาทวิตเตอรขึ้นปก เปนเรื่องเดนประจําฉบับ และบทบรรณาธิการกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงการนําเสนอขาว ที่มี

Page 18: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ท่ีมาจากเทคโนโลยีใหมอยางทวิตเตอร “บริการของ Twitter นั้น ถึงจะเปนแคบริการเล็กๆ แตตอนนี้ บริการเล็กๆ ที่วานี้ ประสบความสําเร็จอยางสวยงาม มีผูใชงานหลายลานคนทั่วโลก ทั้งหมดนี้ สานตอจากการเปนบล็อกเกอรแคคนๆหนึ่ง”

อิทธิพลของSocial networkในประเทศไทย

ปจจุบันสื่อประเภทใหมท่ีเขามามีอิทธิพลกับสังคมไทยอยางรวดเร็วเนื่องจากการใชงานอินเทอรเน็ตท่ีคนทั่วไปสามารถเขาถึงไดอยางงายมากและการใชงานอีเมลในการรับสงขอมูลกันอยางแพรหลายเพิ่มมากย่ิงขึ้นทําใหเกิดการสรางกลุมของคนท่ีสนใจในเรื่องๆเดียวกันไดเริ่มมีการสรางเวปไซตท่ีตอบสนองความตองการเฉพาะกลุมขึ้นมา ในสวนของ Social network ไดเกิดขึ้นจากการสรางเวปไซตของนักเรียนท่ีเรียนท่ีเดียวกัน หรืออาจจะเรียกงายๆวาเปนเวปไซตของนักเรียนรุนหนึ่ง ซึ่งมีเพ่ือสรางประวัติ ขอมูล ติดตอสื่อสาร สงขอความ และแลกเปลี่ยนขอมูลที่สนใจรวมกันระหวางเพ่ือนในลิสตเทานั้น อาจจะเรียกไดวาเปนตนกําเนิดของ Social network ซึ่งจากจุดเริ่มตนเมื่อป1995 นั้น ทําใหเกิดการพัฒนาเวปไซตประเภท Social network อยางรวดเร็วอีกสวนหนึ่งท่ีทําใหเวปไซตประเภท Social network เติบโตอยางรวดเร็วคือการนําเอารายชื่ออีเมลของบุคคลท่ีเราติดตอในอีเมลสวนตัวของเรานําไปคนหาวามีใครใชเวปไซตประเภท Social network นั้นหรือไม ถามีก็สามารถเพ่ิมเพ่ือนหรือแอดเขาไปขอเปนเพ่ือนไดอยางงายดาย

ประเทศไทยไดมีการเริ่มเขามาของเวปไซตประเภท Social network ซึ่งwww.hi5.com เปนเวปไซตประเภท Social network ท่ีไดรับความนิยมในประเทศไทยสูงมาก ซึ่งในชวงตนนั้น hi5 ไดรับความนิยมจากกลุมนักเรียน นักศึกษา ท่ีมีความรูภาษาอังกฤษเทานั้นเนื่องจากในชวงนั้นทาง hi5 มีเมนูเปนภาษาอังกฤษเทานั้น ซึ่งตอมาhi5ไดมีการพัฒนาใหมีเมนูภาษาไทยขึ้นมา ทําให hi5 ไดรับความนิยมสูงมากในประเทศไทย มีผูใชเปนจํานวนมากกวาหนึ่งลานคน ซึ่งในยุคนั้นทุกคนก็ใหความสําคัญกับเวปไซตดังกลาวคอนขางมากเพราะหลังจากการไดรับความนิยมท่ีสูงทําใหเกิดการนําเอา hi5 มาใชในการทําผิดกฏหมายในรูปแบบตางๆ ตอมาหลังจากการท่ีกระแสของhi5เร่ิมลดลงทําใหกลุมผูใชงานเวปไซตดังกลาวไดเปลี่ยนไปใชงานเวปไซตwww.Facebook.com ซึ่งการเขามาของ Facebook ในประเทศไทยเมื่อป 2006 นั้นเริ่มมีการแพรหลายในกลุมของนักศึกษาท่ีเรียนอยูในตางประเทศ และเริ่มขยายตัวเขามาในกลุมนักเรียน นักศึกษา ท่ีมีความรูภาษาอังกฤษเทานั้นเนื่องจากในชวงนั้นทาง Facebook มีเมนูเปนภาษาอังกฤษเทานั้น แตความแตกตางท่ีสําคัญอีกอยางหนึ่งคือ Facebook มีแอปพิเคชั่นท่ีหลากหลายมากกวาเมื่อเปรียบเทียบกับ hi5 ซึ่ง แอปพิเคชั่นท่ีหลากหลายอาทิเชนเกมท่ีมีใหเลือกเลนมากกวา หนึ่งรอยเกม ซึ่งในปจจุบันเกมที่ไดรับความนิยมในประเทศไทยไมวาจะเปน Framville ท่ีสมาชิกของFacebookเรียกกันเปนภาษาไทยวา เกมปลูกผัก หรือเกม Café world ท่ีไดรับความนิยมสูงมาก ในสวนของแอปพิเคชั่นท่ีมีชื่อวา friend for sale ท่ีสามารถซื้อเพ่ือนของตนเองมาไวกับตนเองและสามารถสั่งใหไปทํางานตามท่ีสั่งไดอยางเชนสั่งใหไปลางหองน้ํา ใหไปแกลงบุคคลอื่น ยังไมรวมไปถึงการสนทนาสวนตัวใน Facebook ท่ีมีการแชทกันไดใน Facebook

Page 19: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ซึ่งในปจจุบัน Facebookเริ่มเขามามีอิทธิพลในประเทศมากย่ิงขึ้นอยางเชนในขาว นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี กลาววา ไมติดใจกรณีที่ มารค V11 นายวิทวัส ทาวคําลือ ผูสมัคร เขาแขงขันรายการอะคาเดม่ี แฟนเทเชีย ท่ีวิพากษวิจารณตัวเอง ผานทางเครือขายออนไลน Facebook โดยเห็นวา การถูกวิพากษวิจารณนั้น เปนเร่ืองที่ปกติ แตหากมีการใชถอยคําท่ีไมเหมาะสม ก็เห็นวา เปนการไมสมควร ท้ังนี้หากเจาตัวกลับไปคิดและรูสึกตัวแลว ก็เปนเรื่องท่ีดี ซึ่งไมจําเปนตองเขามาขอขมาซึ่งปญหาดังกลาวสิ่งท่ีนายวิทวัส ทาวคําลือไดมีการลงขอความบนกระดาษFacebookของตนองต้ังแตเม่ือเดือนพฤษภาคม โดยไมไดคิดวาจะมีผลกับตนเองอยางท่ีเกิดขึ้น เพราะการลงภาพหรือขอความตางๆลงบนFacebookนั้นไมไดมีความเปนสวนตัวเพราะคนท่ีเปนเพ่ือนของคุณท้ังหมดสามารถอานขอความตางๆท่ีคุณไดลงเอาไวบนกระดานของตัวคุณเองรวมไปถึงรูปภาพตางๆ

รูปภาพท่ีมีการนําลงไปในFacebookของแตละคนบางภาพอาจจะเปนภาพท่ีไมเหมาะสม แตการนําเอาไปลงบนFacebookแลวนั้นเปนเผยแพรไปสูคนจํานวนมาก บางครั้งภาพของผูหญิงท่ีดูไมเหมาะสมอยางเชนการถายภาพตนเองกําลังเมาสุรา ภาพของตนเองกับบุคคลอื่นในเชิงชูสาว ภาพของตนเองนุงนอยหมนอย ภาพท่ีลงบนFacebookอาจจะกลับมาทํารายคุณอยางท่ี มารค V11 นายวิทวัส ทาวคําลือ ประสบอยูก็เปนไปได

ในชวงท่ีประเทศไทยเกิดเหตุการณความขัดแยงในชวงเดือนเมษายนและเดือนพฤษภาคม ท่ีผานมานั้น Facebook เปนชองทางในการสื่อสารท่ีทําใหเกิดกระแสในความเขาใจผิดในเรื่องของขาวตางๆไมวาจะเปนขาวของฝายใด เพราะมีการบอกตอกันอยางรวดเร็วในFacebookวาเกิดอะไรขึ้นท่ีไหนอยางไร ขาวท่ีเห็นบนFacebookถาไมมีlinkของสํานักขาวท่ีเชื่อถือได ขาวนั้นก็ไมนาเชื่อถือแตคนท่ัวไปนั้นไมไดสนใจหลงเชื่อไปกับทุกขาวท่ีมีอยูบนFacebookซึ่งขาวท่ีอยูบนFacebookนั้นแตกตางกับขาวของสํานักขาวตางๆเพราะทุกสํานักขาวนั้นจะมีกองบรรณาธิการหรือผูกรองขาว(Gatekeeper)แตขาวท่ีอยูบนFacebookไมมีการกรองขาว ถาผูใชงานไมมีการเช็คขาวสารกอนวาเปนความจริงหรือไมก็จะปกใจหลงเชื่อในขาวนั้นๆ

มีการรวมตัวของกลุมตางๆอยางมากมาย เชน กลุมมั่นใจวาคนไทยเกิน 1 ลาน ตอตานการยุบสภา กลุมอาสาสมัครฟนฟูประเทศไทย กลุมWatch Red Shirt ศูนยปฏิบัติการติดตามผูชุมนุมเสื้อแดง ซึ่งกลุมตางๆท่ีวามามีสมาชิกไมนอยกวาหมื่นคน หรือแมแตการวมตัวของกลุมคนท่ีชื่นชอบนักการเมือง อยางเชนของนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรีท่ีมีผูเขารวมถึงสี่แสนคน การรับเขารวมในกลุมตางๆนั้น ผูใชงานสวนใหญเขาไปเปนสมาชิกในกลุมตางๆ โดยไมไดคิดอะไร แตผูกอตั้งกลุมนั้นๆก็ใชประโยชนจากการท่ีมีผูเขารวมกลุม โดยอางถึงวาภายในกลุมนั้นมีผูสนับสนุนเปนจํานวนมาก ทุกคนควรจะรับฟงความคิดเห็นของกลุมนั้น โดยท่ีผูเขารวมในกลุมไมทราบวามีการกลาวอางถึงกลุมท่ีตนเองเปนสมาชิกอยู

Facebook ก็เหมือนกันกับสิ่งอื่นท่ีเปรียบไดกับเหรียญท่ีมีอยูสองดาน ท้ังดานท่ีดีและดานที่ไมดี อยูท่ีการนํามาใชของบุคคลนั้น ในดานท่ีดีนั้นตัวผมเองไดเปด กลุม COM ART BSRU ขึ้นมาเพ่ือเปนสื่อกลางระหวางอาจารยผูสอน นิสิต นักศึกษา เพ่ือเปนกลุมแหงการเรียนรู ทางดานนิเทศศาสตร มีการนําเอาผลงานของนักศึกษามาลงบนFacebook การทํามิวสิควีดีโอ การทําหนังสั้น เพ่ือใหนักศึกษาไดมาแบงบันความคิดเห็น ใหนักศึกษา

Page 20: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ใหมไดเรียนรูจากงานของรุนพ่ี มีการใหคําปรึกษากับนักศึกษาโดยอาจารยผูสอนจะมาตอบทุกคําถาม มีการนําเอางานประกวดท่ีเกี่ยวของมาชักชวนใหนักศึกษาเขารวมงานประกวด เปนพ้ืนที่ใหกับนักศึกษาไดมาพบเจอรุนพ่ี รุนนองเพ่ือแนะนําเกี่ยวกับการเรียน กิจกรรม เทคนิคในการทํางานดานนิเทศศาสตร มีการใหนักศึกษาสงงานผานFacebook เนื่องจากนักศึกษาสวนใหญมีFacebook กันอยูแลว ตัวผูสอนเองควรนําเทคโนโลยีการสื่อสาร ท่ีมีอยูมาพัฒนาในการเรียนการสอนใหเพ่ิมมากขึ้น สุดทายแลว Facebook ก็ยังอยูกับสังคมตอไป และยังคงอิทธิพลกับสังคมไทยเพ่ิมมากขึ้น แตปญหาทุกอยางจะไมเกิดขึ้นถาผูใชงานFacebookมีความคิดยับย้ังชั่งใจในการกระทําใดๆกับFacebook อยางท่ี พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี หรือ ว.วชิรเมธี วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กลาววา เวลานี้ อยากใหคนไทยใชสติกันใหมาก เพราะสิ่งท่ีสังคมไทยขาดไมใชความรู หรือเงินทอง แตสิ่งท่ีขาดอยางยิ่งคือสติ ความยับยั้งชั่งใจ ความมีเหตุมีผล ดังนั้น คุณธรรมท่ีจําเปนที่สุดคืออยากใหคนไทยเจริญสติใหมากท่ีสุด ซึ่งจะทําใหรูวาควรคิด พูด และแสดงออกอยางถูกตองพระมหาวุฒิชัย ยังแนะวิธีปฏิบัติเพ่ือใหมีสติสําหรับประชาชนท่ัวไป วา ควรยึดหลัก 3 ประการ คือ 1.เสพสื่อหลายชองทาง เพ่ือสรางความยับยั้งชั่งใจและใชปญญารอบดาน จะไดไมตกเปนทาสขยะขอมูล ปฏิกูลขาวสาร หรือโฆษณาชวนเชื่อตาง ๆ 2. เม่ือติดตามขอมูลขาวสารตาง ๆ แลวตองสังเกตตัวเองวาตกไปสูอารมณโกรธ เกลียด อาฆาตพยาบาท ฟุงซานจนเขาไปเปนสวนหนึ่งของความรุนแรงหรือไม และ 3. เวลาแสดงออกทางสังคม ถาเปนไปในทางท่ีสันติก็ถูกตอง แตหากเปนไปในทิศทางท่ีเบียดเบียนคนอื่นแสดงวาเปนความผิดพลาดขาดสติ

สังคมเครือขายและประเภทของสังคมเครือขาย สังคมเครือขาย (Social Network)

สังคมเครือขาย เปนสังคมท่ีเกิดขึ้นบนโลกไซเบอร ซึ่งมีความกวางใหญไพศาล ไมสิ้นสุด ซึ่งสังคมท่ีเกิดขึ้น ก็คือ เครือขายหนึ่งของโลก ท่ีเชื่อมโยงเขาดวยกันในรูปแบบเฉพาะเจาะจง เชน ทางดานความคิด เงินทอง มิตรภาพ การคา ซึ่งอธิบายไดวา สังคมเครือขาย ก็คือ แผนผังความเกี่ยวของ ท่ีมาจากความสนใจในรูปแบบตางๆ กัน มารวมเขาไวดวยกัน เชน กลุมเพ่ือนสมัยอนุบาล เพ่ือนประถม กลุมคนรักกลอง กลุมคนท่ีสะสมตุกตาไบรท กลุมแฟนคลับของศิลปนเกาหลี เปนตน โดยมี Website ท่ีไดรับความนิยม และเปนท่ีรูจักกันดี เปนตัวกลางเชื่อมตอความชอบของคนแตละกลุมเขาไวดวยกัน ขอมูลจากวิกิพีเดีย ไดกลาวถึง Social Networking วามีจุดเร่ิมตนจากเว็บ Classmates.com (1995) และเว็บ SixDegrees.com (1997) ซึ่งเปนเว็บที่จํากัดการใชงานเฉพาะนักเรียนท่ีเรียนในโรงเรียนเดียวกัน เพ่ือสรางประวัติ ขอมูล ติดตอสื่อสารสงขอความ และแลกเปลี่ยนขอมูลท่ีสนใจรวมกันระหวางเพ่ือนในลิสตเทานั้น ตอมาเว็บ Epinions.com (1999) ท่ีเกิดขึ้นจากการพัฒนาของ Jonathan Bishop ไดเพ่ิมสวนของการควบคุมเนื้อหาดวยวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรีมตัวผูใชเอง และสามารถติดตอถึงกันไดไมเพียงแตเพ่ือนในลิสตเทานั้น นับไดวาเปนจุดเร่ิมตนของ Social Networking ท้ังหลายท่ีกอกําเนิดตอมา เชน MySpace, Google และ Facebook เปนตน แตดูเหมือนวา Facebook จะมาแรงกวาเพ่ือนดวยการเพิ่มแอพพลิเคชั่นตางๆ มากมายในป 2007 แมแต Starbuck ก็ยังขอมีสวนรวมในการโฆษณา และทําการตลาดใหกับ

Page 21: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

สินคาดวยการสราง Widget สําหรับผูใช Facebook ดวยการสงกาแฟเมนูตางๆ ใหกับเพ่ือนในเครือขาย และยังเปนพื้นท่ีท่ีหลายแบรนดดังระดับโลกหมายปองจะขอเขามามีสวนรวม ท้ังนี้ การเกิดขึ้นของ Social Network Website นี้ มาจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีอินเทอรเน็ต จาก Web 1.0 มาสู “Web 2.0” ซึ่งจุดเดนของ Web 2.0 ก็คือ การท่ีผูใชสามารถสรางเนื้อหาบนอินเทอรเน็ตไดเอง โดยไมจํากัดวาจะตองเปนทีมงานหรือผูดูแลเว็บไซต ซึ่งเราเรียกวา User Generate Content ซึ่งขอดีของการท่ีผูใชเขามาสรางเนื้อหาไดเองนี้ ก็ทําใหมีการผลิตเนื้อหาเขามาเปนจํานวนมาก และมีความหลากหลายของมุมมองความคิด เพราะจากเดิมผูดูแลจะเปนคนคิด และหาเนื้อหามาลงแตเพียงกลุมเดียว นอกจากนี้ ผูใชงานเอง ยังเปนผูกําหนดคุณภาพของเนื้อหา โดยการใหคะแนนวาเนื้อหาใดท่ีควรอาน หรือเขาไปเรียนรู ตัวอยางพื้นฐานของ Web 2.0 ก็ไดแก Webboard, BLOG และอื่นๆ ทีเราพบเห็น ซึ่งขึ้นอยูกับผูดูแล วาตองการนําเทคโนโลยีดานใดไปใช ตัวอยาง Web 2.0 ท่ีรูจักกันเปนอยางดีก็คือ Wikipedia ซึ่งเปนสารานุกรม Online ขนาดใหญท่ีสุด โดยเนื้อหาท้ังหมดใน Wikipedia ถูกสรางโดยผูใชเชนพวกเรา ซึ่งใน Wikipedia ไมวาใครก็สามารถสราง และปรับปรุงเนื้อหาอยางไมมีขีดจํากัด โดยความถูกตอง เท่ียงตรงของ Wikipedia ไดรับการประเมินวาไมแพ Britannica ซึ่งเปนสารานุกรมแบบเกาเลย ทั้งนี้ ในปจจุบัน Wikipedia ไดรวบรวมบทความภาษาอังกฤษไวมากกวา 1.3 ลานบทความ แรงจูงใจที่ทําใหเกิดสังคม เครือขาย ในปจจุบัน เราคงพบเห็นสังคมเครือขาย กันมากขึ้น ไมวาจะเปน MySpace, Hi5, หรือFacebook ซึ่งสังคมประเภทนี้ เราเรียกอีกอยางหนึ่งไดวา สังคมเสมือน “Virtual Communities” โดยการขยายตัวของสังคมประเภทนี้ เปนไปดวยความรวดเร็วอยางสูง เปนการขยายตัวแบบทวีคูณ อยางเชน หากเรารูจักเพ่ือนคนหนึ่ง เราก็จะรูจักเพ่ือนของเพ่ือนไปในตัวดวย และหากเรารูจักเพ่ือนของเพื่อนแลว ในอนาคตตอมาเราก็จะรูจักเพื่อนของเพ่ือนของเพ่ือนอยางแนนอน ซึ่งการขยายตัวดังกลาว เปนการขยายตัวเหมือนใยแมงมุมที่ขยายตัวออกไปเปนทอดๆ โยงไปโยงมา และหากเราลองพิจารณากันแลว จะพบวาการขยายสังคมประเภทนี้ อยางรวดเร็วเปนผลมาจากแรงจูงใจบางอยาง โดยที่ 3Peter Kollock ไดใหกรอบจํากัดความเรื่อง แรงจูงใจสําหรับการเขามามีสวนรวมในสังคมเครือขายนี้ วามีอยูดวยกัน 4 เหตุผล ดังนี ้ ("The Economies of Online Cooperation: Gifts and Public Goods in Cyberspace") 1. Anticipated Reciprocity ความคาดหวังจากการใหและรับ นั่นคือ การท่ีผูใชบางคนไดเขามา Contribute และใหขอมูล ความรูบอยๆ ก็มีแรงจูงใจมาจาก เขาเองก็อยากท่ีจะไดขอมูล ความรูอื่นๆ กลับคืนมามากเชนกัน ซึ่งเหตุผลนี้ จะพบมากในผูใชท่ีเขามาใชงาน Webboard เพราะเม่ือมีคนมา Post ขอสงสัยใดๆ ก็ตาม ก็มักจะมีผูใชงานบางคนท่ีเขามาตอบคําถาม หรือแสดงความคิดเห็นอยางรวดเร็ว จนบางคร้ัง กลายเปนท่ีรูจักของ Webboard นั้นๆ และเม่ือตัวเขาเองเขามาเปนผู Post บาง ก็จะมีคนใหความสนใจ และเขามาตอบคําถามใหกับเขาอยางมากมาย 2. Increased Recognition ความตองการมีชื่อเสียง และเปนที่จดจําในสังคมเครือขายนั้นๆ ซึ่งแนนอนวา ชื่อเสียง หรือการถูกยกยองชมเชย และถูกจดจํานั้น ก็คือพ้ืนฐานเบ้ืองตนของการดํารงชีวิต นั่นคือ ความตองการ

Page 22: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ดานความรักนั่นเอง ซึ่งในหลายๆ คร้ัง คนเรามักจะโหยหาความรัก และการยอมรับจากคนในสังคมจริงๆ แตในโลกแหงความเปนจริงแลว บางทีเราก็ไมไดรับการตอบสนองมากนัก ดังนั้น สังคมเครือขายประเภทนี้ ก็มีบทบาทที่เขามาชวยตอบสนองความตองการของคนกลุมนี้ได เพราะบางคนเปนคนพูดไมเกง สื่อสารดวยภาษาพูดไมเขาใจ แตในโลกของไซเบอรแลว เขากลับเปนคนท่ีเขียนรูเร่ือง เลาเรื่องดวยภาษาเขยีนไดดี ก็ทําใหเขาถูกยอมรับ และแสวงหาการเขามาอยูในโลกเสมือนนี้มากกวาการอยูในโลกแหงความเปนจริง 3. Sense of efficacy ความภาคภูมิใจ เม่ือสิ่งที่เขียนเกิดผลกระทบท่ีดีขึ้น แนนอนวาเราเองก็คงจะรูสึกดีไมนอย หากสิ่งท่ีเราคิดขึ้นมา ถูกนําไปใชสรางประโยชน ท้ังในระดับกลุมเล็กๆ หรือในระดับองคกร สําหรับหลายๆ คนมักจะติดใจ และกลับเขามาในสังคมเครือขายนี้อีก ก็เพราะความคิดเห็น หรือขอเสนอแนะจากเขาเอง ไดรับการยอมรับ เกิดเปนความรูขึ้น และสามารถนําไปใชแกปญหาไดจริงๆ ซึ่งสิ่งนี้ ก็กลายเปนแรงบันดาลใจใหกับตัวเขาเองในการเปนผูเสนอแนะ Contribute ความรูใหกับเพื่อนๆ ในสังคมเครือขายตอไป 4. Sense of Community การมีอารมณหรือความรูสึกรวมกัน เชน การแสดงพลังทางการเมือง การรวมตัวเพ่ือประโยชนในทางสาธารณะ ซึ่งแรงจูงใจทางดานนี้ ถือไดวาเปนแรงจูงใจท่ีมีอิทธิพลอยางสูง เพราะการใชอารมณในการนําพาใหคนมารวมกลุมกัน ก็จะมีแรงผลักดันจากภายในคอนขางสูง ตัวอยางที่พบเห็น ก็อยางเชนการเขียนกระทู หรือบทความบางอยางแลวไปมีผลกระทบตอความคิดของคนบางกลุม ก็อาจจะทําใหเกิดการเขาตอยอดความคิดเห็นตางๆ จากหนึ่งคนเปนสองคนเปนสามคน จนในท่ีสุดก็เปนหลายรอยคน ดังนั้น สรุปแลวจากแรงจูงใจท้ัง 4 ดาน จึงพอสรุปไดวา คนจะเขามามีสวนรวมในสังคมเครือขายนั้น เหตุผลสวนใหญก็มาจากแรงจูงใจ จากภายในจิตใจของผูใชเปนหลัก ไมวาจะเปนความตองการการยอมรับความภูมิใจ ความคาดหวังตางๆ หรือแมกระท่ังการใชอารมณรวมดังนั้น การจะทําใหสังคมเครือขายนั้น มีความนาอยู และเติบโตไดนานๆ คนในสังคมก็ควรจะรูจักพ้ืนฐานของการใหและรับ (Give & Take) การแบงปน (Sharing & Contribution) ซึ่งจะชวยใหสังคมเปนสังคมเครือขายท่ีกอประโยชนใหกับคนท่ีเขามาใชจริงๆ ประเภทของสังคมเครือขาย สังคมเครือขายในปจจุบัน มีอยูมากมายหลากหลาย Website อยางท่ีเรารูจักกันดีก็ Facebook, Hi5, youtube ซึ่งหากจะแบงเปนประเภทออกมาอยางชัดเจนเลยนั้น ทําไดคอนขางยาก เพราะในบางตํารากแ็บงสังคมเครือขายตามประเภทของเนื้อหาเชน เปนเนื้อหาความรูสื่อมัลติมีเดียตางๆ หรือแมกระท่ังรูปภาพ แตในรายงานนี้ ขอแบงประเภทของสังคมเครือขายออกตามวัตถุประสงคของการเขาใชงาน โดยสามารถแบงออกไดท้ังสิ้น 7 ประเภท คือ 1. Identity Network (สรางและประกาศ “ตัวตน”) สังคมครือขายประเภทนี้ใชสําหรับใหผูเขาใชงาน ไดมีพ้ืนท่ีในการสรางตัวตนขึ้นมาบน Website และสามารถท่ีจะเผยแพรเรื่องราวของตนผานทางอินเทอรเน็ต โดยประเภทของการเผยแพรอาจจะเปนรูปภาพ วีดีโอ

Page 23: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

การเขียนขอความลงใน BLOG ซึ่งในสังคมประเภทนี้ สามารถท่ีจะสรางกลุมเพ่ือนขึ้นมาไดอยางมากมาย ไมมีท่ีสิ้นสุด ซึ่งผูใหบริการสังคมเครือขายประเภทนี้ไดแก My Space, Hi5, Facebook 2. Creative Network (สรางและประกาศ “ผลงาน”) สังคมเครือขายประเภทนี้ เปนสังคมท่ีคนในสังคมตองแสดงออก และนําเสนอผลงานของตัวเอง ไดจากท่ัวทุกมุมโลก จึงมี Website ท่ีใหบริการพ้ืนท่ีเสมือนเปน Gallery ท่ีใชจัดโชวผลงานของตัวเอง ไมวาจะเปน วีดีโอ รูปภาพ เพลง ซึ่งผูใหบริการสังคมเครือขายประเภทนี้ ไดแก Youtube, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr, Multiply ซึ่งในปจจุบันการประกาศผลงานในสังคมเครือขายประเภทนี้ ไมใชแคทําเพ่ือความสนุกเทานั้น แตบางคนถึงขั้นโดงดังมีชื่อเสียงเพียงชั่วขามคืนก็เปนได อยางเชน สาวใหญ รางทวมวัย 47 ป ดูเปนแมบานธรรมดา แตงตัวก็แสนเชย แทบไมมีอะไรดึงดูดใจ กลายเปนคนดังขึ้นมา ดวยเสียงรอง อันทรงพลัง สะกดใจคนดู และโดงดังมีชื่อเสียงระดับโลก หลังจากท่ีมีผูนําคลิปวิดีโอ การแสดงของเธอในรายการโทรทัศน "Britain's Got Talent" ไป Post ไวใน "Youtube" และปรากฏวา มีคนคลิกเขามาดูมากถึง 48 ลานครั้ง สําหรับชางภาพ หรือตากลองคนไทยก็สามารถชองทางนี้ ในการสรางรายไดทางธุรกิจไดเหมือนกัน เพราะหลายๆ คนก็มักจะนิยมใช Multiply ในการนําเสนอผลงานภาพถายของตัวเอง มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ติชมรูปภาพกัน และยังใชเปนอัลบ้ัมภาพออนไลนเพ่ือใหคนท่ีกําลังหาชางภาพอยูสามารถเขามาดูผลงาน และติดตอภาพคนนั้นไดโดยตรง 3. Passion Network (“ความชอบหรือคลั่ง” ในสิ่งเดียวกัน) เปนสังคมเครือขาย ท่ีทําหนาที่เก็บในสิ่งที่ชอบไวบนเครือขาย โดยเปนการสราง Online Bookmarking โดยมีแนวคิดท่ีวา แทนที่ผูใชจะเก็บ Bookmark ไวในเคร่ืองคนเดียว ก็นํามาเก็บไวบน Website ดีกวา เพ่ือท่ีจะไดเปนการแบงปนใหกับคนท่ีมีความชอบในเร่ืองเดียวกัน สามารถใชเปนแหลงอางอิงในการเขาไปหาขอมูลได และนอกจากนี้ ยังสามารถ Vote เพ่ือใหคะแนนกับ Bookmark ที่ผูใชคิดวามีประโยชนและเปนที่นิยม ซึ่งผูใหบริการสังคมเครือขายประเภทนี้ ไดแก del.icio.us, Digg, Zickr, duocore.tv ท้ังนี้สําหรับ Zickr เอง ก็เปนสังคมเครือขาย ท่ีถูกพัฒนาขึ้นมาโดยคนไทย และเปน Website ลักษณะเดียวกับ Digg แตเปนภาษาไทย เพ่ือบริการใหกับคนไทยท่ีบางทีอาจติดขัดในเร่ืองของภาษาอังกฤษ 4. Collaboration Network (เวทีทํางานรวมกัน) เปนสังคมเครือขาย ท่ีตองการความคิด ความรู และการตอยอดจากผูใชท่ีเปนผูรู เพ่ือใหความรูท่ีไดออกมา มีการปรับปรุงอยางตอเนื่อง และเกิดการพัฒนาในท่ีสุด ซึ่งหากลองมองจากแรงจูงใจท่ีเกิดขึ้นแลว คนท่ีเขามาในสังคมนี้ มักจะเปนคนท่ีมีความภูมิใจ ท่ีไดเผยแพรสิ่งท่ีตนเองรู และทําใหเกิดประโยชนตอสังคม ซึ่งผูใหบริการสังคมเครือขายประเภทนี้ ไดแก Wikipedia, Google Maps ซึ่ง Website ท่ีโดงดังมากอยาง Wikipedia ซึ่งถือวาเปนสารานุกรม แบบตอยอดทางความคิด ก็อนุญาตใหใครก็ไดเขามาชวยกันเขียน และแกไขบทความตางๆ ไดตลอดเวลา ทําใหเกิดเปนสารานุกรมออนไลนขนาดใหญ ท่ีรวบรวมความรู ขาวสาร และเหตุการณตางๆ ไวมากมาย

Page 24: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

นอกจากนี้ Google Maps เอง ก็ถือวาเปนสังคมเครือขายประเภทนี้ดวย เพราะการสรางแผนท่ีของตัวเอง หรือแบงปนขอมูลแผนท่ีใหคนอื่นตามท่ีไดมีการปกหมุดเอาไว ก็ทําใหคนท่ีเขามาไดรับประโยชนในการสบืคนขอมูลเหลานั้น ซึ่งเกิดมาจากการตอยอดแบบสาธารณะนั่นเอง สําหรับตัวอยางการทํางานรวมกันอีกรูปแบบหนึง่ ก็คือการเสนอความคิดเห็นตอยอดกันใน Webboard อยางในหองเฉลิมไทย จาก Web Pantip ท่ีมีการเปดโอกาสให คนท่ัวไปมีสวนรวมในการสรางภาพยนตรเร่ือง “เพชรพระอุมา” ไมวาจะเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องของบทภาพยนตร การคัดเลือกนักแสดง อุปกรณ และงานอื่นๆ ซึ่งคนทีเขาแสดงความเห็น ก็เปนคนที่ชอบในภาพยนตรเร่ืองนี้ท้ังนั้น ซึ่งหากมีการพัฒนาดีๆ จากสังคมประเภทนี้ ก็จะทําใหเกิด Community of Practice หรือ CoP ไดเลย อยางเคร่ืองมือท่ีเรียกวา Webboard นั้น ในหลายๆ องคกรมีการนํามาใชเปนเครื่องมือในการจัดการความรูเหมือนกัน เพราะไมมีการปดกั้นทางความคิด ทําใหคนมีอิสระในการเขียนแสดงความคิดเห็น จึงมีการสรางสรรคสิ่งใหมๆ จนเกิดเปนความรูขึ้นมา 5. Virtual Reality (ประสบการณเสมือนจริง) สําหรับสังคมเครือขายประเภทนี้ จะเปนสังคมท่ีทําใหผูใชสรางตัวละครขึ้นมาสมมติเปนตัวเรา และใชชีวิตอยูบนโลกไซเบอร และทําในสิ่งท่ีบางครั้งเราทําไมไดในโลกจริงๆ สวนใหญสังคมประเภทนี้ จะเปนพวกเกมตางๆ เชน SecondLife, World WarCraft อยางเชนเกม SecondLife ซึ่งเปนเกมออนไลน ในโลกเสมือนจริง ผูใชสามารถสรางตัวละครโดยสมมุติใหเปนตัวเราเองขึ้นมาได และใชชีวิตอยูในเกม อยูในชุมชนเสมือน (Virtual Community) สามารถซื้อขายท่ีดิน และหารายไดจากการทํากิจกรรมตางๆ ได 6. Professional Network (เครือขายเพ่ือการประกอบอาชีพ) สังคมเครือขายอีกประเภท ก็คือ สังคมเครือขายเพ่ือการงาน โดยจะเปนการนําประโยชนจาก Social Network มาใชในการเผยแพรประวัติผลงาน หรือ Resume ของตน โดยสามารถสรางเครือขายกับเพ่ือนรวมงาน เจานาย หรือคนรูจัก นอกจากนี้บริษัทท่ีตองการคนมารวมงาน ก็สามารถเขามาหาจากประวัติท่ีอยูในสังคมเครือขายนี้ได ซึ่งผูใหบริการสังคมเครือขายประเภทนี้ ไดแก Linkedin.com หากจะมองใหดีนี่ก็คือการนําเทคโนโลยีมาประยุกตใชใหเปนประโยชนอยางหนึ่ง เพราะทําใหเกิดประโยชนท้ังตอตัวผูใช และตัวผูดูแ ลระบบเอง ซึ่งก็นาจะกลายเปนธุรกิจท่ีสามารถทํารายไดในอนาคตได แตคูแขงก็ยังมีอยูอยางพวก Website สมัครงานตางๆ ก็มีอยูเยอะพอสมควร 7. Peer to Peer (P2P) (เครือขายท่ีเชื่อมตอกันระหวาง Client) สังคมเครือขายประเภทสุดทาย เปนสังคมเครือขายแหงการเชื่อมตอกันระหวางเครื่องผูใชดวยกันเองโดยตรง จึงทําใหเกดิการสื่อสารหรือแบงปนขอมูลตางๆ ไดอยางรวดเร็ว และตรงถึงผูใชทันที ซึ่งผูใหบริการสังคมเครือขายประเภทนี้ ไดแก Skype, BitTorrent ซึ่ง Skype เองก็เปนโปรแกรมสนทนาผานอินเตอรเน็ต ท่ีไดรับความนิยมอยางมาก เพราะไมวาคุณจะอยูท่ีใดในมุมโลก ก็สามารถติดตอสื่อสารแบบเห็นหนาเห็นตาไดจากโปรแกรมนี้ หรือแมแต BitTorrent ก็เปนที่นิยมในหมูคนท่ีชอบดาวนโหลดของฟรี จนมีอยูชวงหนึ่งทําใหเกิดกระแสนิยมและมีชื่อเรียกสั้นๆ วาโหลดบิท แตทวาเทคโนโลยีประเภทนี้ก็สงผลตอเร่ืองกฎหมายลิขสิทธิ์ เพราะการโหลดบิท ในแตละครั้งก็เหมือนการ Copy หนังแลวเอามาเผยแพรตอนั่นเอง

Page 25: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ผลกระทบจากสื่อสังคมออนไลน

ผูชวยศาสตราจารยจุไรรัตน ทองคําชื่นวิวัฒน คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ไดกลาวถึงผลกระทบของสื่อสังคมออนไลน ไวดังนี้

ผลกระทบทางบวกของบริการ SNS เปนบริการออนไลนท่ีมีประโยชนตอชีวิตมนุษยหลายดาน ดังนี้

1. ดานสังคม SNS เปนการเชื่อมโยงผูคนเขาหากัน ซึ่งเปนความสวยงามท่ีสุดของอินเทอรเน็ต SNS รายใหญอยาง Hi5 มีสมาชิกอยูเกือบ 100 ลาน account ท่ัวโลก บางคนมี "เพ่ือน" เปนหลักหม่ืนหลักแสนอยูในไซเบอรสเปซ SNS ทําใหคนมีตัวตนอยูไดบนไซเบอรสเปซ เพราะจะตองแสดงความเปนตัวเองออกมาใหไดมากท่ีสุด เพ่ือทําให Profile นาสนใจ และมีชีวิตชีวาท่ีสุด บางก็เนนไปท่ีการใสขอมูลเนื้อหา blog รูปถายในชีวิตประจําวัน เรื่องราวเพื่อนคนใกลตัว บางก็เนนไปท่ีลูกเลนใส glitter หรือตัวว๊ิง ๆ เขาไป สุดทายทําใหเชื่อไดประมาณหนึ่งวา มีตัวตนอยูจริงบนโลกมนุษย

2. ดานการตลาด จากสถิติการใชสื่อโฆษณาของอเมริกาท่ีจัดทําขึ้นโดย eMarketer ไดมีการใชเงินโฆษณา ผาน Social network เพ่ิมมากขึ้นกวา 100% จากป 2006 เทียบกับ ป 2007 และมีแนวโนมที่จะใชมากขึ้นตอไปในอนาคต เนื่องจาก ชาวอเมริกันใชเวลาสวนใหญไปกับอินเตอรเน็ตมากกวาทีวี หรือวิทยุ สวนในบางประเทศท่ีถูกควบคุม และจํากัดในการโฆษณา เชน ประเทศจีน และสิงคโปร ก็ยังมีการใช Social network เปนอีกชองทางในการโฆษณา ซึ่งถือเปนเคร่ืองยืนยัน ความฮอตฮิต และความแรงของการโฆษณาบน Social Network การใชเงินกับสื่อประเภทนี้ยังคงมีการเติบโตท่ีสูงมาก ซึ่งจากท่ีคาดการณตัวเลขของป 2006 จนถึงป 2010 จะสูงขึ้นมากกวา 500% ในประเทศสหรัฐอเมริกา และกวา 600% ท่ัวโลก นี่อาจจะเปนผลมาจากเครือขายท่ีขยายวงกวางมากขึ้น และวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ท่ี มีลูกเ ลน ท่ีน าสนใจมากขึ้นใหผู ใชไ ดคอยติดตามกัน Social Network ไมใชเปนเพียงแคเว็บไซตท่ีแชรขอมูล รูปภาพอีกตอไป แตไดพัฒนามาเปนที่แนะนําสินคา และสถานท่ีท่ีสามารถซื้อหาได หรือท่ีรูจัก กันในนามของ Collaborative Shopping Communities อีกดวย สมาชิกสามารถแชรเกี่ยวกับเทรนดท่ีมาแรง แฟชั่น รานคาท่ีฮอตฮิต นี่เปน อีกหนึ่งโอกาสสําหรับนักการตลาดท่ีสามารถ รูถึง ความสนใจ และความตองการของผูบริโภคไดตรง กลุมเปาหมาย ดังนั้น Social Network Shopping เว็บไซตจึงไดกลายมาเปนอีกสิ่งหนึ่งท่ีนาจับตามองในโลกของ Social Network จากการสํารวจ Global Shopping Insight ของบริษัทวิจัย TNS เม่ือมีนาคม 2008 รายงานวา Social Network Shopping ดูจะเปนท่ีนิยมมากในกลุมวัยรุนและผูหญิงเพราะสวน ใหญเปนเทรนดแฟชั่น และของสวยๆ งามๆ และหากมาดูยอดใชบริการ Social Network Shopping ในแตละประเทศจีน และสเปน เปนประเทศท่ีมีอัตราการใชบริการและความสนใจท่ีจะใชบริการ Social Net work Shopping คอนขางสูงกวาประเทศอื่นๆ ในไทยก็มีธุรกิจบางธุรกิจก็ไดมีการสรางเครือขายเปนของตัวเอง อยางเชน True ที่สราง Minihome หรือ Happyvirus ของดีแทค ซึ่งอาจเปนอีกชองทางใหมๆ ท่ีจะใชเปนสื่อโฆษณาตอไปในอนาคต เปนเคร่ืองมือทางการตลาดจากเครือขายท่ีมีขนาดใหญ อีกทั้งยังมีขอมูลของสมาชิกท่ีจะทําใหสินคาและการบริการเขาถึงกลุมเปาหมายไดเปนอยางดี เชนเดียวกับ

Page 26: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

การตลาดท่ีวัดผลได และมีความคุมคากับการลงทุน (Return of Investment) รวมถึง Point of Sale ท่ีมีผลตอใหผูบริโภคเปลี่ยนจากการซื้อแบรนดหนึ่งเปนอีกแบรนดหนึ่งไดทันที ณ จุดขาย และเปนการขายผาน e-Marketplace สําหรับผูที่ตองการจะเปดเว็บไซต หรือเปดหนารานกับ e-Marketplace ท้ังหลาย ก็สามารถทําไดเชนกัน โดยปจจุบันมีตลาดหลายแหงที่เปดใหบริการอยู เชน Tarad.com, Shopping.co.th, Weloveshopping.com เปนตน ซึ่งการขายสินคาผาน e-Marketplace นั้นจะตองเขาไปเปนสมาชิกกอน สวนการเลือกใชบริการเว็บไซตรานคาสําเร็จรูปก็เปนอีกทางเลือกหนึ่งท่ีชวยประหยัดเวลาการสรางหนารานไดเชนกัน แมแตเว็บดังระดับตนๆ ของเมืองไทยอยาง sanook.com และ kapook.com ตางกระโดดเขาเลน Hi5 เต็มตัวและเก็บเกี่ยวผลดีจากยอดคนเขาเว็บที่เพ่ิมขึ้นจากชองทางใหม ในขณะท่ี pantip.com ท่ีเคยเปนตํานานของเว็บและเว็บบอรดเมืองไทยก็เดิมพันอนาคตครั้งใหม ดวยการซุมเงียบแลวเปดตัว Social Network ของตัวเอง

3. ดานการเมือง ดังตัวอยางการใชสื่อสมัยใหมในแขงขันการเลือกต้ังท่ีมีสวนทําใหโอบามาชนะการเลือกต้ังเปนประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาคนท่ี 44 ซึ่ง Micah Sifry ผูรวมกอตั้งบล็อกการเมืองออนไลนของสหรัฐฯนาม techpresident.com พูดถึงเร่ืองนี้วา ทั้งหมดเปนผลมาจากโอบามามีความเขาใจเร่ืองพลังแหงเครือขาย ท่ีเขาสรางมาเพ่ือสนับสนุนแคมเปญของตัวเอง โดยมองวา โอบามาเขาใจเรื่องการดึงพลังขององคกรอิสระท่ีจะสามารถสนับสนุนแคมเปญของเขาเองดวย นอกจากนี้ David Almacy ซึ่งเปนหนึ่งในทีมใหบริการอินเทอรเน็ตและการสื่อสารผานระบบเครือขายในทําเนียบขาวต้ังแตเดือนมีนาคม 2005 ถึงเดือนพฤษภาคม ป 2007 มองวา โอบามาเขาใจแนวคิดการสื่อสารระหวางชุมชนออนไลนตั้งแตแรกเริ่ม ทําใหโอบามาเนนการสงขอความ Twitter แทนท่ีจะตรวจหนา Facebook อยางเดียวทุกวัน และความเขาใจพลังเรื่องการสื่อสารระหวางคนหลายชุมชนนี้เองท่ีทําใหโอบามาทําแคมเปญไดดีกวาแมคูแขงจะใชกลยุทธหาเสียงออนไลนเชนเดียวกัน

อยางไรก็ตาม SNS ก็เปนบริการออนไลนท่ีสงผลตอชีวิตทางลบมนุษยไดเหมือนกัน ดังนี้

1. เสียเวลา บริการ SNS มีมากเกินไป อีกท้ังยังเลนคลาย ๆ กัน งานการไมตองทํา จึงเสียเวลาไปกับเรื่องพวกนี้ สุดทายไมรูจักใครเพ่ิมขึ้นเลยสักคน เพราะเปนความสัมพันธเพียงฉาบฉวย ขาดการสื่อสารระหวางบุคคลแบบเผชิญหนาท่ีแทจริง ไมไดตองการรูจักกันจริง บางทีบางคนมาขอแอด (ใส) ไวเฉย ๆ เพราะอยากมีจํานวน"เพ่ือน"เพ่ิมเยอะๆ ไวโชว สังคมออนไลนอาจเสื่อมลงได

2. กําลังตกเปนเหยื่อ นักการตลาดยุคใหมเร่ิมเห็นอิทธิพลของเครือขายทางสังคมแบบนี้ เริ่มพยายามมองวาจะเขาแทรกซึมถึงกลุมลูกคาไดอยางไร ยุทธวิธีอยาง viral marketing การสราง buzz word เร่ิมมีใหไดยินเยอะขึ้นเรื่อย ๆ บางผลิตภัณฑเริ่มทําตัวเนียนแทรกตัวกลมกลืนไปใน SNS ตางๆ อยางใน Hi5 ท่ีมีคนไทยอยูนับลาน เรียกไดวาพลังปากตอปากของคนบนเน็ตแรงและเร็วเลยทีเดียว

3. ไมมีประโยชน จากการตองทําอะไรเดิม ๆ ซ้ําหลาย ๆ ครั้ง แมความสวยงามของ SNS คือการเชื่อมโยงผูคนเขาหากัน แตลิงคเหลานั้นไมมีความหมายอะไรอยางท่ีไดกลาวไปขางตน มันไมมีเหตุมีผล และไมสามารถ

Page 27: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

อธิบายไดวา ทําไมคนนี้ถึงเชื่อมตอกับคนคนนั้นลองนึกภาพทุกวันนี้ มีกลุมทางสังคมท่ีซับซอนมากแคไหน เพราะมีท้ังกลุมเพื่อนรวมงาน เพ่ือนสนิท เพื่อนสมัยมัธยมปลาย เพ่ือนประถม เพ่ือนท่ีทํางานเกา เพ่ือนแฟน เพ่ือนแฟนเกา เพ่ือนกิ๊ก เพ่ือนเลนเอ็ม เพ่ือนเลนเกมออนไลน ญาติพ่ีนอง ฯลฯ แตอยางไรก็ตามWeb 3.0 หรือ Semantic Web อาจจะเปนคําตอบใหกับปญหานี้ เพราะ Semantic web มีกระบวนการในการเชื่อมโยงผูคนและวัตถุตางๆ เขาดวยกันโดยมีการระบุความหมายระหวางลิงคนั้นๆ ในอนาคตจากการคนเขาไปใน SNS อาจจะหาไดวา นักศึกษาอเมริกันคนไหนที่พูดภาษาไทยไดและมีความสัมพันธเปนญาติหรือเปนเพื่อนสนิทกับคนที่เรารูจัก โดยท่ีตอนนี้กําลังเรียนอยูในมหาวิทยาลัยแถบซิลิคอนวัลเลย มีงานดิเรก มีความสนใจคลายๆ กัน และท่ีสําคัญมีเวลาวางในชวงท่ีจะบินไปสัมมนาในซานฟรานซิสโก จะไดสง message ไปนัดเจอกันเพ่ือคุยแลกเปลี่ยนทัศนะเกี่ยวกับงานวิจัยท่ีทําอยู

ขอดีของ Social Network

1.สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลความรูในสิ่งที่สนใจรวมกันได

2.เปนคลังขอมูลความรูขนาดยอมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู หรือ

ต้ังคําถามในเรื่องตางๆ เพ่ือใหบุคคลอื่นท่ีสนใจหรือมีคําตอบไดชวยกันตอบ

3. ประหยัดคาใชจายในการติดตอสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว

4. เปนสื่อในการนําเสนอผลงานของตัวเอง เชน งานเขียน รูปภาพ วีดิโอตางๆ เพื่อใหผูอื่นไดเขามารับชมและ

แสดงความคิดเห็น

5.ใชเปนสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ หรือบริการลูกคาสําหรับบริษัทและองคกรตางๆ ชวยสรางความเชื่อ

ม่ันใหลูกคา

6. ชวยสรางผลงานและรายไดใหแกผูใชงาน เกิดการจางงานแบบใหมๆ ขึ้น

ขอเสียของ Social Network

1.เว็บไซต ใหบริการบางแหงอาจจะเปดเผยขอมูลสวนตัวมากเกินไป หากผูใชบริการไมระมัดระวังในการกรอก

ขอมูล อาจถูกผูไมหวังดีนํามาใชในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิสวนบุคคลได

2.Social Network เปนสังคมออนไลนท่ีกวาง หากผูใชรูเทาไมถึงการณหรือขาดวิจารณญาณ อาจโดนหลอกลวง

ผานอินเทอรเน็ต

3.เปนชองทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอาง เพราะ Social Network Service เปนสื่อใน

Page 28: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

การเผยแพรผลงาน รูปภาพตางๆ ของเราใหบุคคลอื่นไดดูและแสดงความคิดเห็น

4.ขอมูลท่ีตองกรอกเพ่ือสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซตในรูปแบบ Social Network ยาก แกการตรวจสอบวา

จริงหรือไม ดังนั้นอาจเกิดปญหาเกี่ยวกับเว็บไซตที่กําหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูกหลอกโดยบุคคล

ท่ีไมมีตัวตนได

กรณีศึกษาและงานวิจัยที่เก่ียวของ นายธาม เชื้อสถาปนศิริ ผูจัดการกลุมงานวิชาการโครงการเฝาระวังสื่อเพ่ือสุขภาวะของสังคม (Media Moniter) ผูทําการศึกษา“ปรากฏการณความขัดแยงทางการเมือง ในเครือขายสังคมออนไลน (ศึกษา Socail media)”กลาววา ไดวิจัยเนื้อหาผาน 4 กลุมชองทางสื่อใหม ไดแก 1.เว็บเฟซบุค 2.ทวิตเตอร 3.เว็ดบอรดพันทิปและ4.การใชฟอรเวิรด เมล พบวา มีการใชพ้ืนท่ีสื่อออนไลนเพ่ือการสื่อสารทางการเมืองในระดับกวาง คึกคักและเขมขน โดยคอนขางสรางความแตกแยก มากกวาสรางความสมานฉันท ใน”เฟซบุค” จาก 1,307 เว็ปไซต แบงเปน 19 กลุม การสื่อสารคอนขางรุนแรง มีลักษณะแบงแยก แบงฝายชัดเจน วิจารณฝายตรงขามอยางหนัก เนื้อหาสวนมากกวา 90% เปนการจัดตั้งกลุมตอตานการกระทําและไมสนับสนุนกลุมคนเสื้อแดง มี 423 กลุม คิดเปนรอยละ 32.4% รองลงมาคือ กลุมรักในหลวง/ รักสถาบัน 144 กลุม คิดเปน 11.0% บางสวนกลาย มาเปนพ้ืนท่ีสอดแนม เฝาระวังการแดงความเห็นการเมืองฝายตรงขาม โดยเฉพาะเนื้อหาท่ีเกี่ยวกับสถาบัน มีการนํามาถายทอดในกลุมตนเพ่ือประจาน และยังนําไปเผยแพรตอในอีเมล,เว็บบอรด เพื่อใหสาธารณะรับรู ขณะท่ีใชเรียกรองสันติวิธีเพียง 3% และรณรงคใหเกิดสันติวิธีนอยมากแค 1%เทา นั้น โดยกลุมท่ีมีจํานวนสมาชิกมากท่ีสุดคือ กลุมม่ันใจวาคนไทยเกิน 1 ลาน ตอตานการยุบสภา มี 556,339 คน โดยพบวากลุมรณรงคทางการเมืองในเฟซบุค 30 อันดับแรกท่ีมีสมาชิกกลุมสูงสุด เปนกลุมตอตานเสื้อแดง 16 กลุม, กลุมรักในหลวง 5 กลุม และกลุมสนับสนุนรัฐบาล 3 กลุม ขณะท่ีกลุมท่ีรณรงคสันติภาพและกลุมท่ีมีเนื้อหาสนับสนุนเสื้อแดง ไมมีสมาชิกติดใน 30 อันดับแรก ซึ่งกลุมที่สนับสนุนเสื้อแดงท่ีมีสมาชิกสูงสุดอยูท่ีอันดับ 58 ชื่อ “กลุมรักคนเสื้อแดงและตอตานรัฐบาลมารคทรราช” มีสมาชิกประมาณ 2,900 ราย เนื้อหา 90% ในเว็บไซตกลุมการเมืองเฟซบุค เพื่อแสดงความเห็นทางการเมืองตอการชุมนุม ท้ังการตอตานการกระทํา และไมสนับสนุนกลุมคนเสื้อแดง อีกทั้งยังใชพ้ืนท่ีเพ่ือแจงขาวสารไปยังสมาชิก เพ่ือประณามและขอใหชวยกันลงโทษทางสังคมออนไลน ซึ่งมีการนําขอมูลสวนตัวของบุคคลดังกลาวไปเผยแพรตอในอีเมล, เว็บบอรด เพ่ือใหรับรูในท่ีสาธารณะ ซึ่งมีกรณีท่ีนําไปสูการจับกุม ไลออกจากสถานท่ีทํางาน จากการศึกษาพบวาเปนการสรางความแตกแยกทางการเมือง มากกวาการสรางความสมานฉันท เห็นไดจาก กอนการเขารวมกับกลุมตางๆ จะตองเลือกขางทันที วา ไมเอาเสื้อแดง หรือสนับสนุนเสื้อแดง”

Page 29: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

สํานักวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม "ศรีปทุมโพล" ไดดําเนินการสํารวจความคิดเห็น ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร เกี่ยวกับการใชบริการเครือขายทางสังคม (Social Network) จากกลุมตัวอยางจํานวน 3,000 คน สรุปผลการสํารวจวา เว็บไซตที่ใชเชื่อมโยงและทําความรูจักกับผูอื่น ประชาชนสวนมากจะใชเว็บไซต Hi5 มากท่ีสุด 32.87% รองลงมา ไดแก youtube, Twitter, Myspace, Friendster, Skyrock คิดเปน 21.70% และ ใช Facebook คิดเปน 16.37% สวนวัตถุประสงคในการเขาระบบนั้น ประชาชนสวนใหญจะเขาระบบเพ่ือ ติดตอเพ่ือน 28.60% รองลงมาเพ่ือหาขอมูลขาวสาร 16.63% สําหรับระยะเวลาในการเขาระบบตอคร้ัง ประชาชนสวนมาก จะเขาระบบครั้งละ 1-2 ชม.คิดเปน 30.27% รองลงมา เขาระบบครั้งละ 3-4 ชม. คิดเปน 23.30% และสถานที่ ท่ีประชาชนสวนใหญมักใชในการเขาระบบ คือ ท่ีบานของตัวเองมากท่ีสุด คิดเปน 40.87% รองลงมา คือ ท่ีทํางาน คิดเปน 17.07% และท่ีรานอินเทอรเน็ตมีประมาณ 16.13% เหตุผลหลักก็เพ่ือติดตอกับเพ่ือน หาขอมูลขาวสาร และ หาเพ่ือนใหม สวนมากจะเขาระบบวันละ 1-2 ชม.และ 3-4 ชม.โดยกลุมท่ีเขาระบบประมาณวันละ 1-2 ชม.ผูใชงานสวนมากเปนผูใหญวัยทํางาน นพ.ชาญวิทย วสันตธนารัตน ผูจัดการแผนงานสุขภาวะองคกรภาคเอกชน สสส. กลาววา จากผลการศึกษาของสํานักวิจัยเวิรลวัน ถึงชองวางระหวางวัยกับการใชเทคโนโลยี ในสหรัฐอเมริกา จํานวน 700 คน พบวา 2 ใน 3 ของกลุมท่ีอยูในวัยผูบริหาร อายุต้ังแต 40 ปขึ้นไป หรือท่ีเรียกวา เบบ้ีบูมเมอร รูสึกวา การใชอุปกรณพกพา เชน บีบี หรือไอโฟนในเวลาทํางาน ทําใหวินัยในการทํางานลดลง และการใชคอมพิวเตอรพกพาในขณะประชุมเปนเรื่องรบกวนสมาธิ ขณะท่ีกลุมเจเนอเรชั่น วาย (Generation Y) ที่มีอายุนอยกวา 30 ป จํานวนมากกวา 50% ไมเห็นดวย โดยพบวา กวา 62% ของกลุม Gen Y นิยมเลน โซเชียล เน็ตเวิรก เชน เฟซบุก ทวิตเตอรในที่ทํางาน ขณะท่ีกลุมเบบ้ีบูมเมอร เขาใชงานเพียง 14% โดยกลุม Gen Y มักนิยมทําหลายๆ อยางพรอมกัน เชน เปดเว็บ ฟงเพลง และทํางาน ศาสตราจารยพอล เคิรชเนอร (อางอิงจากเดลิเมล) ผูใชเฟซบุก 3 ใน 4 ไมคิดวาเว็บไซตสื่อสังคมแหงนี้มีผลตอการเรียนของตนเอง แตนี่คือสิ่งท่ีพอแมหลายคนท่ีลูกวัยรุนชอบทําการบานหรืออานหนังสือหนาจอคอมพิวเตอรควรจะตองพิจารณาใหมาก โดยเฉพาะอยางย่ิงหลังผลการศึกษาจากแดนกังหันลมพบวานักเรียนนักศึกษาท่ีเลนเฟซบุกมีผลการเรียนสูเพ่ือนท่ีไมเลนไมได เด็กท่ีใชเว็บไซตเครือขายสังคมแหงนี้พรอมๆ กับการทําการบานหรืออานหนังสือ แมแคเปดท้ิงไวเฉยๆ ก็ตาม มีผลการสอบตํ่ากวาเพ่ือนคนอื่นๆ 20% นักศึกษา 219 คนของมหาวิทยาลัยแหงหนึ่งในอเมริกา ซึ่งพบวาในจํานวนนี้กลุมผูใชเฟซบุกมีเกรดเฉลี่ย 3.06 สวนคนท่ีไมใชมีเกรดเฉลี่ย 3.82 นักศึกษาท่ีไมไดเลนเฟซบุกใหเวลากับการเรียนมากกวาพวกท่ีเลนถึง 88% ขณะท่ีสาวกเฟซบุก 3 ใน 4 ไมเชื่อวาการใชเวลาบนไซตนี้สงผลตอผลการเรียนของตัวเอง ผิดกับท่ีเหลือเกือบท้ัง 1 ใน 4 ท่ีบอกวาเฟซบุกทําใหตนละความสนใจไปจากหนังสือหรือการบาน

Page 30: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ศาสตราจารยโรบิน ดันบาร จากมหาวิทยาลัยออกซฟอรด อังกฤษ ทําการศึกษากลุมสังคมในหลายศตวรรษท่ีผานมา ต้ังแตหมูบานมนุษยหลังยุคหินจนถึงสภาพแวดลอมที่ทํางาน การคนพบของดันบารอิงกับทฤษฎี ‘ตัวเลขดันบาร’ ท่ีพัฒนาขึ้นในทศวรรษ 1990 ท่ียืนยันวาขนาดของสมองสวนหนาท่ีควบคุมความคิดและการใชภาษา มีความสามารถในการจัดการกับเพื่อนเพียง 150 คน ไมวาคนๆ นั้นจะสังคมจัดจานเพียงใด ศาสตราจารยดานมนุษยวิทยาวิวัฒนาการผูนี้ไดนําทฤษฎีดังกลาวมาประยุกตเพ่ือดูวา ‘เฟซบุก เอฟเฟกต’ ทําใหกลุมทางสังคมขยายออกไปไดหรือไม โดยเปรียบเทียบการจราจรออนไลนของคนท่ีมีเพ่ือนในเครือขายเปนพันคนกับคนที่มีเพ่ือนแคหลักรอย ดันบารไมพบความแตกตางใดๆ เพราะท้ังสองกลุมมีเพื่อนวงในท่ีติดตอกันประจําแค 150 คน โดยดันบารใหคําจํากัดความเพ่ือนที่ ‘รักษาไว’ วาหมายถึงเพ่ือนท่ีคุณแครและติดตอดวยอยางนอยปละคร้ัง การศึกษายังพบวาผูหญิงประคับประคองมิตรภาพในเฟซบุกไดดีกวาผูชาย เนื่องจากผูหญิงสามารถรักษาความสัมพันธผานการพูดคุย ขณะที่ผูชายจะคบกันยืดก็ตอเมื่อไดทํากิจกรรมรวมกันเทานั้น

ฐิติมา จงราเชนทร นักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดล ศึกษาพฤติกรรมการใช Facebook ของนักศึกษามหาวิทยาลัยมหิดลขางตนทําใหผูวิจัยไดทราบถึงการใหความหมายของการใช Facebook ของนักศึกษาแตละคนท่ีมีท้ังท่ีเหมือนและแตกตางกัน โดยแตละคนไดใหความสําคัญกับการใช Facebook ไมเทากัน บางคนถือวา Facebook เปนหนึ่งในกิจวัตรประจําวันท่ีตองทําเปนประจําขาดไมได บางคนถือวา Facebook เปนเหมือนไดอารี่ท่ีใชบันทึกขอมูลสวนตัวตางๆ บางคนก็ใช Facebook เปนท่ีบอกเลาเรื่องราวใหคนอื่นไดรับรู ไดอวด ไดแสดงถึงสิ่งตางๆ ที่ตนเองไดรับไดสัมผัส สําหรับบางคน Facebook ก็เปนเพียงเครื่องมืออยางหนึ่งในการฆาเวลา ไมไดเปนสาระสําคัญในชีวิต จะใชหรือไมใชก็ไมตางกัน แตบางคนก็รูสึกวา Facebook คุกคามชีวิตสวนตัว และเปนภาระท่ีตองเขาใชทุกวัน ซึ่งการใหความหมายของแตละคนตางกันไปตามบริบทท่ีแวดลอม ไดแก กลุมเพ่ือนในชีวิตจริง กลุมเพ่ือนบน Facebook รูปแบบการดําเนินชีวิต เวลาวาง กิจวัตรประจําวัน เหลานี้ลวนสงผลตอพฤติกรรมการใช Facebook ท้ังสิ้น ท้ังนี้ Facebook เปนสื่ออินเตอรเน็ตอยางหนึ่งท่ีไดรับความนิยมอยางมากในปจจุบัน ก็เนื่องจากขอดีท่ีสะดวก รวดเร็ว ใชงานงาย แตเมื่อมีขอดีมากมายก็ยอมมีขอเสียตามมาดวย การเขาถึงขอมูลตางๆ อยางสะดวกงายดาย ยอมเปนดาบสองคม เพราะขอมูลบน Facebook นั้นไมไดผานการคัดกรองเปนสิ่งท่ีคนทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็น ความรูสึกของตนเองไดอยางอิสระ การรับรูขอมูลท่ีไดจาก Facebook จึงตองมีการวิเคราะห สังเคราะห และวิพากษกอนท่ีจะนําไปใช หรือนําไปอางอิง และท่ีสําคัญ Facebook เปนสื่อท่ีไมไดระบุตัวบุคคลอยางชัดเจน ทําใหบุคคลท่ีแตกตางกันสามารถติดตอกันได รวมท้ังการท่ีเด็กและเยาวชนสามารถเขาใชงาน Facebook ไดอยางอิสระ แมจะมีการกําหนดอายุขั้นตํ่าของผูเขาใชงานไวท่ี 13 ปก็ตาม แตในความเปนจริงก็สามารถโกงขอมูลได จึงถือเปนชองทางที่มีความเสี่ยงอยางหนึ่งในการถูกลอลวงของเด็กและเยาวชน ซึ่งผูปกครองควรใหความดูแลบุตรหลานเกี่ยวกับการใช Facebook

Page 31: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

บทที่ 3 วิธีการดําเนินการวิจัยและคันควา

การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยมุงศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา โดยมีลําดับขั้นตอนการศึกษาซึ่งผูวิจัยไดเสนอลําดับขั้นในการวิจัยดังตอไปนี้ 1. ประชากรกลุมตัวอยาง 2. เคร่ืองมือท่ีใชในการรวบรวมขอมูล 3. การสรางเครื่องมือและเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ ไดแก นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคร้ังนี้ ไดแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จํานวน 50 คน ของโรงเรียนเซนตหลุยส ซึ่งไดมาจากการสุมแบบเฉพาะเจาะจง ตามลําดับเลขท่ีของนักเรียน เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลคือ แบบสํารวจศึกษา จํานวน 50 ชุด โดยจําแนกออกเปน 2 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสํารวจ ตอนท่ี 2 ขอคําถามศึกษาเพื่อศึกษาจริยธรรมความปลอดภัย และดานผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

Page 32: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

การสรางเครื่องมือและเก็บรวบรวมขอมูล เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสํารวจ โดยมีรายละเอียดดังนี ้1) วิธีการสรางเครื่องมือ 1.1) ศึกษาเอกสาร งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ 1.2) พัฒนาขอคําถามเพ่ือศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคม

ออนไลนจากเอกสารและงานวิจัย 1.3) นําขอคําถามมาตรวจสอบความเหมาะสม และความถูกตองสมบูรณ 1.4) นําแบบสอบถาม มาใหบุคลากรในกลุมสาระการเรียนรู ชวยพิจารณาความเหมาะสมของ

ขอคําถาม 2) สวนประกอบ / เนื้อหาสาระของเคร่ืองมือ การเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยใชเคร่ืองมือดังนี ้

1) แบบสํารวจความคิดเห็นดานจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนกัเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา โดยนําผลท่ีไดมาแจกแจงความถี่ คาเฉลี่ย และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

การวิเคราะหขอมูล 1. ทําการวิเคราะหขอมูลโดยโปรแกรม SPSS for Windows ดังนี ้ 1.1 คํานวณหา คารอยละ คาเฉลี่ย (Arithmetic mean) และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard deviation ) โดยรวมและรายขอ 2.นําผลการวิเคราะหขอมูลดังกลาวไปแปรผลตามที่ผู วิ จัยศึกษาเกณฑใหคะแนนโดยการแปรความหมายของคะแนนท่ีกําหนด เปนมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ ของ ลิเคอรท โดยกําหนดน้ําหนักคะแนน ดังนี้ 5 หมายถึง เห็นดวยอยางย่ิง 4 หมายถึง เห็นดวย 3 หมายหถึง ไมแนใจ 2 หมายถึง ไมเห็นดวย 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางย่ิง สวนแบบวัดเม่ือขอความเปนนิเสธ กําหนดน้ําหนักคะแนนดังนี ้ 5 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางย่ิง 4 หมายถึง ไมเห็นดวย 3 หมายหถึง ไมแนใจ 2 หมายถึง เห็นดวย 1 หมายถึง เห็นดวยอยางย่ิง

Page 33: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

การแปลความหมายของคะแนน ผูวิจัยกําหนดเกณฑสําหรับการศึกษาจริยธรรม คงามปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศกึษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา โดยใหคาเฉลี่ย (Mean) โดยกําหนดดังนี้ 4.51 - 5.00 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมากท่ีสุด 3.51 - 4.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นมาก 2.51 - 3.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายถึง ระดับความคดิเห็นนอย 1.00 - 1.50 หมายถึง ระดับความคิดเห็นนอยที่สุด

Page 34: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

สัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล เพ่ือความเขาใจท่ีตรงกันในการสื่อความหมาย ผูวิจัยไดกําหนดความหมายของสัญลักษณท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ดังตอไปนี้

N แทน จํานวนนักเรียน

X แทน คาเฉลี่ยของคะแนน

SD. แทน สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

การเสนอผลการวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูล แปลความหมายวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนเรียงตามลําดับดังนี้

1. การวิเคราะหขอมูลเบ้ืองตนของนักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา โดยใชความถี่และรอยละ 2. การวิเคราะหขอมูลความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน โดยใชคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิเคราะหขอมูล

ผลการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยเสนอหัวขอดังนี้

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหคาความถี่ รอยละ ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสํารวจ

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะหคาเฉลี่ย และสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานของความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา โดยรวมรายขอ และรายดาน ๆ

Page 35: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตอนท่ี 1 ผลการวิเคราะหความถี่รอยละ ของผูตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียน เซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

ตารางท่ี 1 จํานวนกลุมตัวอยาง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ เพศ ชาย

หญิง

22

28

44.00

56.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 1 พบวา นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน แยกตามเพศ โดยเพศชาย 22 คน คิดเปนรอยละ 44 สวนเพศหญิง 28 คน

คิดเปนรอยละ 56

Page 36: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 2 สถานท่ี ใชสื่อออนไลน

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ สถานท่ี บาน

โรงเรียน

47

3

94.00

6.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 2 พบวา สถานที่ในการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน เขาสูสังคมออนไลนจากท่ีบานจํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 94.00 สวนใชท่ีโรงเรียน จํานวน 3 คน คิดเปนรอยละ 6.00

Page 37: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 3 รูปแบบใชสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตในการถึงสื่อสังคมออนไลน

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ สื่อสัญญาณอินเทอรเน็ต โทรศัพทพ้ืนฐาน

ไฮสปดอินเทอรเน็ต

ตอพวงโทรศัพทเคลื่อนท่ี

ใชกับโทรศัพทเคลื่อนท่ี

8

37

1

4

16.00

74.00

2.00

10.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 3 พบวา นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน แยกตามการใชสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ตเพ่ือเขาถึงสื่อสังคมออนไลน มีการใชสื่อสัญญาณผานไฮสปดอินเทอรเน็ตมากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 74 รองลงมาไดแกการใชโทรศัพทพ้ืนฐาน คิดเปนรอยละ 16 ใชกับโทรศัพทเคลื่อนท่ี คิดเปนรอยละ 10 และใชคอมพิวเตอรตอสัญญาณผานโทรศัพทเคลื่อนที่ คิดเปนรอยละ 2

Page 38: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 4 คอมพิวเตอรท่ีใชเขาถึงสื่อสังคมออนไลน กลุมตัวอยางนักเรียน

กลุมตัวอยาง N รอยละ

โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ใชงานได คอมพิวเตอรพีซ ี

คอมพิวเตอรโนตบุก

40

10

80.00

20.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 4 พบวา นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน แยกตามคอมพิวเตอรท่ีใชงาน พบวา นักเรียนใชคอมพิวเตอรพีซีในการเขาถึงสื่อสังคมออนไลน คิดเปนรอยละ 80 รองลงมาไดแกการใชคอมพิวเตอรโนตบุก คิดเปนรอยละ 20

Page 39: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 5 ชวงเวลาท่ีใชเขาถึงส่ือสังคมออนไลน วันปกติ (วันจันทร-วันศุกร) กลุมตัวอยางนักเรียน

กลุมตัวอยาง N รอยละ

ชวงเวลาท่ีเขาถึงส่ือสังคมออนไลน 17.00 น.-20.00 น.

20.00 น.-22.00 น.

22.00 น.-24.00 น.

หลังเวลา 24.00 น.

22

22

2

4

44.00

44.00

4.00

8.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 5 พบวา นักเรียนที่ตอบแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน แยกตามชวงเวลาท่ีใชในการขาถึงสื่อสังคมออนไลนในวันปกติ วันจันทรถึงวันศุกร มีการใชสื่อสังคมออนไลนในชวงเวลา 17.00-20.00 น. และชวงเวลา 20.00 น.-22.00 น. มากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 44 รองลงมาไดแกชวงเวลาหลัง 24.00 น. คิดเปนรอยละ 8 และเวลา 22.00-24.00 น. คิดเปนรอยละ 4

Page 40: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 6 ชวงเวลาท่ีใชเขาถึงส่ือสังคมออนไลน วันหยุด (วันเสาร-อาทิตย )

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ เวลา 06.00 น.-10.00 น.

เวลา 10.00 น.-12.00 น.

เวลา 12.00 น.-15.00 น.

เวลา 15.00 น.-18.00 น.

เวลา 18.00 น.-20.00 น.

เวลา 20.00 น.-22.00 น.

เวลา 22.00 น.-24.00 น.

เวลาหลัง 24.00 น.

0

5

1

8

9

24

1

2

0.00

10.00

2.00

16.00

18.00

48.00

2.00

4.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 6 พบวา นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน แยกตามชวงเวลาการเขาถึงสื่อสังคมออนไลนในวันหยุด วันเสารและอาทิตย มีการเขาใชสื่อสังคมออนไลนในชวงเวลา 20.00 น.-22.00 น. มากท่ีสุด คิดเปนรอยละ 48 รองลงมาไดแกชวงเวลา 18.00 น.-20.00 น. คิดเปนรอยละ 18 ชวงเวลา 15.00 น.-18.00 น. คิดเปนรอยละ 16 ชวงเวลา 10.00 น.-12.00 น. คิดเปนรอยละ 10 ชวงเวลาหลัง 24.00 น. คิดเปนรอยละ 4 ชวงเวลา 12.00 น.-15.00 น. และเวลา 22.00 น.-24.00 น. คิดเปนรอยละ 2 โดยในชวงเวลา 06.00 – 10.00 น. ไมมีผูใดเขาสังคมออนไลนเลย

Page 41: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 7 แสดงจํานวนอีเมลของนักเรียนท่ีใชในการเขาถึงสื่อสังคมออนไลน

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ จํานวนอีเมล

มี 1 อีเมล

มี 2 อีเมล มีมากกวา 2 อีเมล

33

14

3

66.00

28.00

6.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 7 พบวา นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน แยกตามจํานวนอีเมลเพ่ือเขาใชสื่อสังคมออนไลนในระดับมากท่ีสุดคือ 1 อีเมลคิดเปนรอยละ 66 รองลงมาไดแกมี 2 อีเมล คิดเปนรอยละ 28 และมีมากกวา 1 อีเมล คิดเปนรอยละ 6

Page 42: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 8 แสดงสื่อสงัคมออนไลนที่นักเรียนเขาไปใชมากที่สุด

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ Facebook

Hi5

Twitter

MSN

Other

40

10

0

0

0

80.00

20.00

0.00

0.00

0.00

รวม 50 100.00

จากตารางที่ 8 นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัย

และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน พบวาสื่อสังคมออนไลนท่ีนักเรียนเขาใชมากท่ีสุดไดแก Facebook คิดเปนรอยละ 80 รองลงมาไดแก Hi5 คิดเปนรอยละ 20 สวนสังคมออนไลนอื่นๆ MSN และ Twitter ไมมีการใชงาน คิดเปนรอยละ 0

Page 43: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 9 แสดงจํานวนกลุมเพื่อนในส่ือสังคมออนไลน

กลุมตัวอยางนักเรียน กลุมตัวอยาง

N รอยละ นอยกวา 10 คน

10 – 20 คน

21 – 50 คน

51 – 100 คน

มากกวา 100 คน

1

1

7

12

29

2.00

2.00

14.00

24.00

58.00

รวม 50 100.00

จากตารางท่ี 9 นักเรียนท่ีตอบแบบสอบถามแบบสอบถามความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัย

และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา จํานวน 50 คน พบวา กลุมเพ่ือนท่ีนักเรียนมีในวงสนทนาออนไลนอยูในระดับจํานวนมากกวา 100 คน มากท่ีสุดคิดเปนรอยละ 58 รองลงมาคือมีจํานวนกลุมเพ่ือน 51-100 คน คิดเปนรอยละ 24 มีจํานวนกลุมเพ่ือน 21-50 คน คิดเปนรอยละ14 มีจํานวนกลุมเพ่ือนนอยกวา 10 คน และมีกลุมเพ่ือน 10-20 คน มีจํานวนเทากัน คิดเปนรอยละ 2

Page 44: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของผูตอบแบบสํารวจคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

ตารางท่ี 10 คาเฉล่ียและสวนเบียงเบนมาตรฐาน รายดาน

ความคิดเห็น X SD. ระดับเจตคติ

1. ดานจริยธรรมและความปลอดภัย

2. ดานผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน

2.79

2.96

1.26

1.31

ปานกลาง

ปานกลาง

จากตารางท่ี 10 พบวา คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ของความคิดเห็นรายดานท่ีพบ อยูในระดับปานกลางทั้ง 2 ดาน ไดแก ดานจริยธรรมและความปลอดภัย ( X = 2.79 ) ดานผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน ( X = 2.96 )

Page 45: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 11 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รายขอ ของดานจริยธรรมและความปลอดภัย

ความคิดเห็น X SD. ระดับเจตคติ

1. ฉันมักแสดงความคิดเห็นหรือต้ังกระทูดวยภาษาที่สุภาพท่ัวไป

2. ฉันมักใชขอความท่ีเปนภาษาวัยรุนและคําหยาบคายเปน

ประจํา

3. ฉันไมเคยไดรับการตักเตือนในเร่ืองของการใชคําตางๆ บนสื่อ

ออนไลน

4. ฉันไมเคยไดรับการแนะนําการจากครูในการใชสื่อออนไลนท่ี

เหมาะสม

5. ฉันเคยมีเรื่องทะเลาะกับคนในสังคมออนไลนดวยการสง

ขอความยาบคาย

6. ฉันเคยถูกคนในสังคมออนไลนหาเรื่องทะเลาะหรือดูถูกเหยียด

หยาม

7. ฉันรูวาคนในสื่อออนไลนสวนใหญเชื่อถือไมคอยได ไมไดดี

ไปทุกคน

8. ฉันรูดีวาคนในสื่อออนไลน อาจมีคนไมหวังดีตอฉันปะปนอยู

9. ฉันเคยไดรับการติดตอหรือนัดพบจากเพ่ือนในสังคมออนไลน

ท่ีไมรูจัก

10. ฉันเคยใหเบอรโทรศัพทติดตอแกเพ่ือนในสังคมออนไลนที่ไม

รูจัก

4.00

2.44

3.04

2.88

2.48

2.18

3.34

3.42

2.26

1.90

1.09

1.23

1.40

1.41

1.20

1.41

1.10

1.25

1.31

1.27

มาก

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

นอย

ปานกลาง

ปานกลาง

นอย

นอย

Page 46: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

จากตารางท่ี 11 พบวา คาเฉลี่ยของความคิดเห็นในสวนของจริยธรรมและความปลอดภัยในการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนโดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยคาเฉลี่ยพฤติกรรมทางดานจริยธรรมความปลอดภัยท่ีอยูในระดับมาก ไดแก ฉันมักแสดงความคิดเห็นหรือต้ังกระทูดวยภาษาท่ีสุภาพทั่วไป ( X = 4.00 )

คาเฉลี่ยพฤติกรรมที่อยูในระดับปานกลางไดแก ฉันรูดีวาคนในสื่อออนไลน อาจมีคนไมหวังดีตอฉันปะปนอยู ท่ัวไป ( X = 3.42 ) ฉันรูวาคนในสื่อออนไลนสวนใหญเชื่อถือไมคอยได ไมไดดีไปทุกคน ( X = 3.34 ) ฉันไมเคยไดรับการตักเตือนในเรื่องของการใชคําตาง ๆ บนสื่อออนไลน( X = 3.04 ) ฉันไมเคยไดรับการแนะนําการจากครูในการใชสื่อออนไลนท่ีเหมาะสม ( X = 2.88 )

คาเฉลี่ยพฤติกรรมที่อยูในระดับนอยไดแก ฉันเคยมีเรื่องทะเลาะกับคนในสังคมออนไลนดวยการสงขอความหยาบคาย ( X = 2.48 ) ฉันมักใชขอความท่ีเปนภาษาวัยรุนและคําหยาบคายเปนประจํา ( X = 2.44 ) ฉันเคยไดรับการติดตอหรือนัดพบจากเพ่ือนในสังคมออนไลนท่ีไมรูจัก ( X = 2.26 ) ฉันเคยถูกคนในสังคมออนไลนหาเร่ืองทะเลาะหรือดูถูกเหยียดหยาม ( X = 2.18 ) และฉันเคยใหเบอรโทรศัพทติดตอแกเพื่อนในสังคมออนไลนที่ไมรูจัก ( X = 1.90 )

Page 47: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตารางท่ี 12 คาเฉล่ียและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รายขอ ของดานผลกระทบของการใชสื่อสังคมออนไลน

ความคิดเห็น X SD. ระดับเจตคติ

11. ฉันรูสึกวาเวลาผานไปเร็วมากขณะท่ีเขาไปอยูในสื่อสังคม

ออนไลน

12. ฉันรูสึกเสียดายเวลาที่ผานไป กับการเขาไปอยูในสังคม

ออนไลน

13. ฉันไมมีเวลาทํางานอยางอื่นเลย เขาไปอยูในสังคมออนไลน

14. ฉันรับประทานไมเปนเวลา เม่ือเขาไปอยูในสังคมออนไลน

15. ฉันรูสึกอารมณฉุนเฉียว เมื่อวันใดท่ีไมไดเขาไปในสังคม

ออนไลน

16. ฉันรูสึกวาพักผอนไมเพียงพอ เมื่อวันใดท่ีเขาไปอยูในสังคม

ออนไลน

17. ฉันรูสึกเพลีย หลังออกจากเขาใชสื่อออนไลนแลว

18. ครอบครัวท่ีบานฉันเปนหวงเม่ือฉันเขาไปอยูในสังคม

ออนไลนนานๆ

19. ฉันรูสึกวาเด๋ียวนี้ฉันไมไดโผลหนาออกไปนอกบานเลย

20. ฉันรูสึกวาฉันไมมีเวลาใหคนในครอบครัวหรือชวยท่ีบานทํา

อะไรเลย

3.84

2.94

2.66

2.72

2.66

2.78

2.96

3.30

2.88

2.92

1.27

1.22

1.15

1.47

1.19

1.33

1.24

1.27

1.55

1.50

มาก

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

ปานกลาง

Page 48: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

จากตารางท่ี 12 พบวาคาเฉลี่ยของความคิดเห็นในสวนผลกระทบของการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนโดยรวมอยูในระดับปานกลาง โดยคาเฉลี่ยพฤติกรรมทางดานผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนท่ีอยูในระดับมาก ไดแก ฉันรูสึกวาเวลาผานไปเร็วมากขณะท่ีเขาไปอยูในสื่อสังคมออนไลน ( X = 3.84 )

คาเฉลี่ยความคิดเห็นในระดับปานกลาง ไดแก ครอบครัวที่บานฉันเปนหวงเม่ือฉันเขาไปอยูในสังคมออนไลนนานๆ ( X = 3.30 ) ฉันรูสึกเพลีย หลังออกจากเขาใชสื่อออนไลนแลว ( X = 2.96 ) ฉันรูสึกเสียดายเวลาท่ีผานไป กับการเขาไปอยูในสังคมออนไลน ( X = 2.94 ) ฉันรูสึกวาฉันไมมีเวลาใหคนในครอบครัวหรือชวยที่บานทําอะไรเลย ( X = 2.92 ) ฉันรูสึกวาเด๋ียวนี้ฉันไมไดออกไปนอกบานเลย ( X = 2.88 ) ฉันรูสึกวาพักผอนไมเพียงพอ เม่ือวันใดท่ีเขาไปอยูในสังคมออนไลน ( X = 2.78 ) ฉันรับประทานไมเปนเวลา เมื่อเขาไปอยูในสังคมออนไลน ( X = 2.72 ) ฉันไมมีเวลาทํางานอยางอื่นเลยเขาไปอยูในสังคมออนไลน และฉันรูสึกอารมณฉุนเฉียว เม่ือวันใดท่ีไมไดเขาไปในสังคม ( X =2.66 )

Page 49: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัยและผลผระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนดังนี้คือ

1. เพื่อศึกษาพัฒนาการของสื่อสังคมออนไลน 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นตอจริยธรรมความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน กลุมตัวอยางไดแกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โดยสอบถามจากนักเรียนจํานวน 50 คน

เครื่องมือท่ีใชในการรวบรวมคือ แบบสอบถามความคิดเห็นจํานวน 50 ชุด การวิเคราะหขอมูลโดยคาเฉลี่ย คารอยละ และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สรุปผลการวิจัย

จากการวิเคราะหขอมูล สามารถสรุปผลการศึกษาความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ไดดังนี ้ 1. สื่อสังคมออนไลนไดเกิดขึ้นและพัฒนาสูกลุมคนในวัยตางๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงนักเรียน นักศึกษาอยางรวดเร็ว อันเนื่องจากการพัฒนาของสื่อสัญญาณอินเทอรเน็ต การเขาใชงานสังคมออนไลนไดงายและเขาถึงไดจากอุปกรณหลายประเภทเชนคอมพิวเตอรพีซี คอมพิวเตอรโนตบุก และโทรศัพทเคลื่อนท่ี ซึ่งนักเรยีนโรงเรียนเซนตหลุยสท่ีเปนกลุมตัวอยาง มีการเขาสูสังคมออนไลนรอยละ 100 โดยใชจากท่ีบานรอยละ 94 ท่ีบานของนักเรียนใชอินเทอรเน็ตความเร็วสูงรอยละ 74 โดยใชคอมพิวเตอรพีซีในการเขาสูสังคมออนไลนรอยละ 80 ชวงเวลาท่ีนักเรียนใชสังคมออนไลนมากที่สุดไดแกชวงเวลา 20.00-22.00น. ซึ่งสังคมออนไลนท่ีนักเรียนเขาใชมากท่ีสุดคือเฟสบุกคิดเปนรอยละ 80 โดยมีกลุมเพ่ือนมากกวา 100 คนขึ้นไป 2. ความคิดเห็นตอจริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน พบวาในดานความคิดเห็นและพฤติกรรมของนักเรียนทางจริยธรรม ความปลอดภัยในการใชสังคมออนไลนอยูในระดับปานกลาง ( X = 2.79 ) โดยรูวาในสังคมออนไลนไมปลอดภัย อาจมีผูไมหวังดีแฝงอยู หรือการไดรับคําตักเตือนหรือแนะนําจากครู การใชสังคมออนไลนไปในทางท่ีไมถูกตองอยูในระดับนอย เชนการไมใหขอมูลสวนตัว ท่ีอยูหรือเบอรโทรศัพทแกผูท่ีไมรูจักทางออนไลน สวนความคิดเห็นและพฤติกรรมที่มีตอผลกระทบจากการใชส่ือสังคมออนไลนของนักเรียนมีคาเฉล่ียระดับปานกลาง ( X = 2.96 ) เชนความรูสึกวาใชเวลาในการเขาสังคมออนไลนเกินความจําเปน เสียดายเวลาท่ีผานไป พักผอนไมเพียงพอ ไมมีเวลาใหผูอื่นหรือทํางานท่ีไดรับมอบหมาย รับประทานอาหารไมเปนเวลา มีเวลาใหกับครอบครัวนอยลง

Page 50: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

อภิปรายผล จากการศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบในการใชสื่อสังคมออนไลนของนักเรียน

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา มีประเด็นท่ีนาสนใจคือ 1. การพัฒนาเทคโนโลยีการสื่อสายในระบบเครือขายอินเทอรเน็ตเพ่ือประกอบการเรียนการสอนของ

โรงเรียน มีความทันสมัยและรวดเร็ว ประกอบกับมีการเรียนการสอนคอมพิวเตอรต้ังแตระดับชั้นเลก็ ทําใหนักเรียนมีความชํานาญในการใชคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ต

2. ฐานะทางบานของนักเรียน รวมถึงสภาพแหลงท่ีอยูอาศัย ฐานะทางบานของนักเรียนสวนใหญอยูในระดับปานกลางถึงดี ทําใหท่ีบานของนักเรียนมีคอมพิวเตอรและอุปกรณรับสัญญาณอินเทอรเน็ตความเร็วสูง เปนผลใหนกัเรียนมีทักษะในการใชสังคมออนไลนมากขึ้น

3. มีการใหความรู คําแนะนําแกนักเรียนในการใชสังคมออนไลนทําใหนักเรียนมีความรูเพียงพอในการปรับพฤติกรรมในการใชสังคมออนไลนดวยความระมัดระวัง และพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสมเชนการใหรายผูอื่น การทะเลาะวิวาทกับคนในสังคมออนไลนยังมีนอย ท้ังนี้เนื่องจากสังคมออนไลนของนักเรียนสวนใหญยังเปนเพ่ือนในหองเดียวกัน หรือโรงเรียนเดียวกันเปนสวนใหญ

4. นักเรียนทราบถึงผลกระทบจากการใชสังคมออนไลน อยูในระดับปานกลาง แสดงใหเห็นวานักเรียนทราบดีวาการใชสังคมออนไลนมีท้ังสวนท่ีดีและนาเปนหวง แตในสวนท่ีอาจไมเปนผลดีกับนักเรียนนั้น เชน อาจทําใหนักเรียนมีเวลาพักผอนไมเพียงพอ รับประทานอาหารไมเปนเวลา หรือไมมีเวลาใหกับคนรอบขางนั้น นักเรียนอาจไมไดใหความสําคัญมากนัก ท้ังนี้เนื่องจากการเขาใชสังคมออนไลนนั้น ทําใหนักเรียนรูสึกมีความสุขหรือทดแทนสิ่งที่ยังขาดอยูได

ขอเสนอแนะ จากการทําวิจัยชั้นเรียนดังกลาวสามารถนําไปขยายผลหรือศึกษาตอเพ่ิมเติมไดดังนี ้

1. ศึกษาเปรียบเทียบเจตคติของนักเรียนตอการใชสังคมออนไลนระหวางนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย

2. ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใชสังคมออนไลน ของนักเรียนเพศชายและหญิง

3. ศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมการใชสังคมออนไลนของนักเรียนกลุมท่ีไดรับความรูในการใชสังคมออนไลนกับไมไดรับความรูในการใชสังคมออนไลน

4. ศึกษาผลกระทบดานพฤติกรรมของนักเรียนจากการใชสังคมออนไลน

5. ศึกษาผลกระทบดานรางกายของนักเรียนจากการใชสังคมออนไลน

Page 51: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

บรรณานุกรม

กติกา สายเสนีย. (2553 : http://keng.com/2008/08/09/what-is-social-networking). ธาม เชื้อสถาปนศิร.ิ (มิ.ย.53 : www.mcot.net/cfcustom/content.cfm?contentId=63127). บุญชม ศรีสะอาด. (2537). การวิจัยเบ้ืองตนการพัฒนาการสอน. กรุงเทพฯ : สุวิริยา สาสน. บุญทัน อยูบุญชม. (2529). ประดนเดช นีละคุปต (2551 :http://stbuschool.wordpress.com). ปยะพงษ ปองภัย. Positioning Magazine (มีนาคม 2551). โรงเรียนราชบุรีศึกษา. (http://about-kmrb.blogspot.com/2009/10/online-social-network.html). ว.วชิรเมธี. (16 พ.ค.2553 :http://174.120.83.155/~spring/news_view.php?gid=1&id=710) . ฐิติมา จงราเชนทร . (2552 :http://www.salayaquali.com/?p=760). สื่อทางสังคม. (Safko & Brake, 2009, pp. 3-20) (Strauss & Frost, 2009, p. 326). ศรีปทุมโพล.(ธ.ค.52 : www.digitalthai.net/tech/ศรีปทุมโพล). ศูนยวิจัยกสิกรไทย. (เม.ย. 2551 อางถึงใน Positioning Magazie.Sunday, November 9, 2008). อิทธิพล ปรีติประสงค. (2552 :http://gotoknow.org/blog/virtualcommunitymanagement/288469). อิทธิพลโซเชียลเน็ตเวิรกในประเทศไทย. (2553 :http://oknation.net).

อิทธิพลเฟสบุกในประเทศไทย. ( http://news.impaqmsn.com/articles.aspx?id=343662&ch=pl1). EKKHUN (ก.พ.53 : http://saranaruo.blogspot.com/2010/02/face-book.html ). Facebook, twitter (2552: http://www.th.wikipedia.org, http://twitter.lomtoe.com/).

Page 52: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ภาคผนวก

Page 53: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

แบบสอบถามการวิจัย

ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัยและผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

Page 54: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

แบบสอบถาม ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผลกระทบการใชสื่อสังคมออนไลน ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1

โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา

คําชี้แจง 1. แบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อเปนขอมูลในการประกอบการวิจัยช้ันเรียน โรงเรียนเซนตหลุยส ฉะเชิงเทรา ประจําปการศึกษา 2553 2. ขอความรวมมือนักเรียนในการใหขอมูล เพื่อนําไปใชเปนประโยชนตอการจัดการศึกษาและปรับปรุงการสอน 3. การใหระดับคะแนน 5 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด 4 หมายถึง เห็นดวยอยางยิ่ง

3 หมายถึง เห็นดวย 2. หมายถึง เห็นดวยคอนขางนอย 1 หมายถึง เห็นดวยนอยที่สุด

………………………………………………………………. ตอนท่ี 1 ขอมูลสวนตัว 1. เพศ ชาย หญิง 2. สถานท่ีใชสื่อออนไลน (เลือกท่ีใชงานมากท่ีสุด)

บาน โรงเรียน รานอินเทอรเน็ต 3. รูปแบบการเชื่อมตอออนไลน โทรศัพทบาน ไฮสปด อินเทอรเน็ต

ตอพวงกับโทรศัพทมือถือ ใชจากโทรศัพทมือถือ 4. คอมพิวเตอรท่ีใช พีซ ี โนตบุก 5. ชวงเวลาท่ีใชงานเปนประจํา 17.00-20.00 น. 20.00 น.- 22.00 น. (วันธรรมดา) 22.00 น.- 24.00 น. หลัง 24.00 น. 6. ชวงเวลาท่ีใชงานเปนประจํา 06.00 น.- 10.00 น. 10.00 น. - 12.00 น. (วันหยุด) เลือกไดมากกวา 12.00 น.- 15.00 น. 15.00 น. - 18.00 น. 1 ชวงเวลา 18.00 น. -20.00 น. 20.00 น .- 22.00 น.

22.00 น.- 24.00 น. หลัง 24.00 น. 7. ระยะเวลาท่ีใชงานตอครั้ง ไมเกิน 1 ชั่วโมง 1-3 ชั่วโมง 3-5 ชั่วโมง มากกวา 5 ชั่วโมง 8. จํานวนอีเมลท่ีมีใชงาน 1 อีเมล 2 อีเมล มากกวา 2 อีเมล 9. สื่อสังคมออนไลนท่ีนักเรียนเขาใชงาน เฟสบุก ไฮไฟว ทวิตเตอร เน็ตมีตต้ิง อื่นๆ(ระบ)ุ....................... 10. จํานวนกลุมเพ่ือนในสื่อสังคมออนไลน < 10 คน 10-20 คน 20-50 คน 50-100 คน > 100 คน

Page 55: รายงานการวิจัยในชั้นเรียน ศึกษาจริยธรรม ความปลอดภัย และผล ... fileรายงานการวิจัยในชั้นเรียน

ตอนท่ี 2 แบบประเมินพฤติกรรมการใชส่ือสังคมออนไลน ลําดับ รายการพฤติกรรม ระดับความคิดเห็น

ดานจริยธรรมและความปลอดภัย 5 4 3 2 1 1 ฉันมักแสดงความคิดเห็นหรือต้ังกระทูดวยภาษาที่สุภาพทั่วไป 2 ฉันมักใชขอความที่เปนภาษาวัยรุนและคําหยาบคายเปนประจํา 3 ฉันไมเคยไดรับการตักเตือนในเรื่องของการใชคําตางๆ บนสื่อออนไลน 4 ฉันไมเคยไดรับการแนะนําการจากครูในการใชสื่อออนไลนที่เหมาะสม 5 ฉันเคยมีเร่ืองทะเลาะกับคนในสังคมออนไลนดวยการสงขอความยาบคาย 6 ฉันเคยถูกคนในสังคมออนไลนหาเรื่องทะเลาะหรือดูถูกเหยียดหยาม 7 ฉันรูวาคนในสื่อออนไลนสวนใหญเช่ือถือไมคอยได ไมไดดีไปทุกคน 8 ฉันรูดีวาคนในสื่อออนไลน อาจมีคนไมหวังดีตอฉันปะปนอยู 9 ฉันเคยไดรับการติดตอหรือนัดพบจากเพื่อนในสังคมออนไลนที่ไมรูจัก 10 ฉันเคยใหเบอรโทรศัพทติดตอแกเพื่อนในสังคมออนไลนที่ไมรูจัก

ดานผลกระทบจากการใชสื่อสังคมออนไลน 5 4 3 2 1 11 ฉันรูสึกวาเวลาผานไปเร็วมากขณะที่เขาไปอยูในสื่อสังคมออนไลน 12 ฉันรูสึกเสียดายเวลาที่ผานไป กับการเขาไปอยูในสังคมออนไลน 13 ฉันไมมีเวลาทํางานอยางอ่ืนเลย เขาไปอยูในสังคมออนไลน 14 ฉันรับประทานไมเปนเวลา เมื่อเขาไปอยูในสังคมออนไลน 15 ฉันรูสึกอารมณฉุนเฉียว เมื่อวันใดที่ไมไดเขาไปในสังคมออนไลน 16 ฉันรูสึกวาพักผอนไมเพียงพอ เม่ือวันใดที่เขาไปอยูในสังคมออนไลน 17 ฉันรูสึกเพลีย หลังออกจากเขาใชสื่อออนไลนแลว 18 ครอบครัวที่บานฉันเปนหวงเม่ือฉันเขาไปอยูในสังคมออนไลนนานๆ 19 ฉันรูสึกวาเดี๋ยวนี้ฉันไมไดโผลหนาออกไปนอกบานเลย 20 ฉันรูสึกวาฉันไมมีเวลาใหคนในครอบครัวหรือชวยที่บานทําอะไรเลย

ขอขอบคุณท่ีใหความรวมมือเปนอยางด ี