การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต...

15
กรมอุตุนิยมวิทยา ๔๓๕๓ ถนนสุขุมวิท บางนา กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ METEOROLOGICAL DEPARTMENT 4353 SUKHUMVIT ROAD, BANGKOK 10260, THAILAND การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีตอพืชในประเทศไทย ปทีเลมทีมิถุนายน ๒๕๕๔ THE ASSESSMENT OF RAINFALL IMPACT ON CROPS IN THAILAND Vol. 9 No. 1 JUNE 2011 รายงานอากาศเลขที๕๕๑.๕๘๖ ๐๑ ๒๕๕๔ Weather Report No. 551.586 – 01 – 2011 ISSN : 1685 – 9308

Upload: others

Post on 23-Oct-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

กรมอุตุนิยมวิทยา ๔๓๕๓ ถนนสุขุมวิท บางนา กรุงเทพฯ ๑๐๒๖๐ METEOROLOGICAL DEPARTMENT

4353 SUKHUMVIT ROAD, BANGKOK 10260, THAILAND

การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีตอพืชในประเทศไทย ปที่ ๙ เลมที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๔

THE ASSESSMENT OF RAINFALL IMPACT

ON CROPS IN THAILAND

Vol. 9 No. 1

JUNE 2011

รายงานอากาศเลขที่ ๕๕๑.๕๘๖ – ๐๑ – ๒๕๕๔ Weather Report No. 551.586 – 01 – 2011 ISSN : 1685 – 9308

Page 2: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

คํานํา

การเกษตรมีความสําคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศไทยมาก การผันแปรของผลผลิตทางการเกษตรขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพืชที่ใช้น้ําฝนเป็นหลัก สภาวะอากาศที่ผิดปกติอาจทําให้ผลผลิตลดลง ซึ่งจะส่งผลถึงความเป็นอยู่ของประชากรในชาติและเศรษฐกิจของประเทศ กรมอุตุนิยมวิทยาจัดทําเอกสารนี้ขึ้นเพื่อประเมินผลกระทบของลมฟ้าอากาศที่มีต่อพืชในประเทศไทยในช่วงฤดูเพาะปลูก โดยจัดทําเป็นรายเดือน ต้ังแต่เดือนมิถุนายนถึงกันยายนของทุกปี ซึ่งเป็นระยะที่ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ การวิเคราะห์และประเมินศักยภาพของลมฟ้าอากาศที่มีผลต่อพืชจะมีประโยชน์ต่อนักวิชาการ เช่น นักวางแผน นักเศรษฐศาสตร์ นักวิชาการเกษตร ฯลฯ ในการนําไปใช้ปรับแผนงานการเกษตรต่าง ๆ เพื่อบรรเทาความรุนแรงของผลกระทบที่เกิดขึ้น หรือนําไปใช้พิจารณาร่วมกับข้อมูลอ่ืน ๆ ในการออกคําพยากรณ์ผลผลิตการเกษตร นอกจากนี้ผู้ที่สนใจยังอาจนําผลการประเมินฯ ไปใช้ในการศึกษาและวิจัยในด้านต่าง ๆ ได้อีกด้วย ข้อมูลที่นํามาใช้ในการวิเคราะห์เป็นข้อมูลปริมาณฝนจากสถานีอุตุนิยมวิทยาที่มีสถิติข้อมูลไม่น้อยกว่า 15 ปี และการประเมินในที่นี้จะพิจารณาเฉพาะผลกระทบอันเนื่องมาจากสภาวะฝนเท่านั้น กรมอุตุนิยมวิทยา กรกฎาคม 2554

Page 3: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

สารบัญ

หน้า

ประเมินผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อพืชในประเทศไทยเดือนมิถุนายน 2554 1

ภาคผนวกที่ 1 นิยามของค่าดัชนี Generalized Monsoon Index (GMI) 8

ภาคผนวกที่ 2 รายชื่อและตําแหน่งที่ต้ังสถานีอุตุนิยมวิทยา 9

ภาคผนวกที่ 3 แผนที่แสดงที่ต้ังสถานีอุตุนิยมวิทยา 12

สารบัญตาราง

ตารางที่ 1 การวิเคราะห์ค่า GMI เดือนมิถุนายน 2554 4

สารบัญรูป

รูปที่ 1 ปริมาณฝนรายเดือน (มม.) เดือนมิถุนายน 2554 2

รูปที่ 2 เปอร์เซนต์ฝนสูงหรือตํ่ากว่าค่าเฉลี่ย เดือนมิถุนายน 2554 3

รูปที่ 3 ค่า GMI percentile rank เดือนมิถุนายน 2554 (GMI6pct) 7

Page 4: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

ประเมินผลกระทบของสภาวะฝนที่มีต่อพืชในประเทศไทย เดือนมิถุนายน 2554 ____________

สภาวะฝน :

เดือนมถินุายนปนีีป้ระเทศไทยมฝีนตกชกุเกอืบตลอดเดอืนและมฝีนหนกัถงึหนกัมากหลายพืน้ทีโ่ดยเฉพาะในชว่งปลายเดอืนไดร้บัอิทธิพลจากพายโุซนรอ้น “ไหหมา่” ทีอ่อ่นกาํลงัลงเปน็หยอ่มความกดอากาศตํ่าในประเทศลาวก่อนเคลื่อนเข้าปกคลุมและสลายตัวไปในภาคเหนือของประเทศไทย สําหรับปริมาณฝนรวมตลอดเดือนของประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 100 – 200 มิลลิเมตร ส่วนบริเวณที่มีปริมาณฝนรวม 200-400 มิลลิเมตรพบในบางพื้นที่ของภาคเหนือ ด้านตะวันออกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคกลางตอนล่าง สําหรับบริเวณที่มีปริมาณฝนมากกว่า 400 มลิลเิมตรขึน้ไปพบในบางพืน้ทีข่องภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคใตฝ้ัง่ตะวนัตก อยา่งไรกต็ามเดือนนีม้ีบางพื้นที่มีปริมาณฝนต่ํากว่า 100 มลิลเิมตรซึง่สว่นใหญอ่ยูใ่นภาคตะวนัออกเฉยีงเหนอืและดา้นตะวนัตกของภาคกลางต่อกับตอนบนของภาคใต้ (รูปที่ 1) และเมื่อเปรียบเทยีบกับค่าเฉลี่ย* พบว่าบริเวณที่มีปริมาณฝนต่ํากว่าค่าเฉลี่ยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ด้านตะวันตกของภาคกลางและตอนกลางของภาคใต ้ สว่นบรเิวณทีม่ปีรมิาณฝนสงูกว่าคา่เฉลีย่สว่นใหญอ่ยูใ่นภาคเหนอื ภาคกลาง ภาคตะวันออก ภาคใต้ตอนบนและตอนล่าง (รูปที่ 2) สําหรับปริมาณฝนมากที่สุดในเดือนนี้วัดได้ 805.9 มิลลิเมตร ที่อําเภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด (ตํ่ากว่าค่าเฉลี่ย 2 %) สว่นปรมิาณฝนนอ้ยทีส่ดุวัดได้ 37.5 มิลลิเมตร ที่จังหวัดราชบุรี (ตํ่ากว่าค่าเฉลี่ย 71 %) ผลการวิเคราะห์ GMI :

จากการวิเคราะห์ดัชนีช้ีวัดสภาวะฝนโดยใช้ Generalized Monsoon Index (ตารางที่ 1 และรูปที่ 3) พบว่าบริเวณที่มีความช้ืนสูงกว่าปกติ (GMI มีค่าระหว่าง 61 – 90) ส่วนใหญ่อยู่ในภาคเหนือภาคกลางตอนลา่งต่อกบัภาคตะวันออก และบางพืน้ทีใ่นภาคใต ้ โดยบรเิวณทีม่คีวามช้ืนเกนิความต้องการ (GMI มีค่าระหว่าง 91 – 100) อยู่ในภาคเหนอืตอนบนบริเวณจังหวัดแม่ฮ่องสอน (แม่สะเรียง) พะเยา ลําปาง น่าน ตาก (แม่สอด) รวมถึงกรุงเทพมหานคร (บางนา) และภาคใต้ตอนล่างสุดบริเวณจังหวดัยะลา สําหรับบริเวณที่มีฝนอยู่ในเกณฑ์แล้งจัด (GMI มคีา่ระหวา่ง 0 – 20) สว่นใหญอ่ยใูนบรเิวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดอุดรธานี มหาสารคาม(โกสุมพิสัย) ร้อยเอ็ด บุรีรัมย์(นางรอง) และบางพืน้ทีใ่นภาคอืน่ๆ ได้แก่ จงัหวดัเพชรบรูณ ์(หลม่สกั) สพุรรณบรุ ีกาญจนบรุ ีราชบรุ ี ระนอง กระบี ่(เกาะลันตา)และตรัง

* ค่าเฉลี่ยระยะยาวตั้งแต่เริ่มมีข้อมูลจนถึงปัจจุบัน

Page 5: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ
Page 6: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ
Page 7: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

4

ตารางท่ี 1 การวิเคราะห GMI เดือนมิถุนายน 2554

(มม.)ภาคเหนือ NORTHERN PART

แมฮองสอน MAE HONG SON 25 +7 62แมสะเรียง MAE SARIANG 36 +55 92เชียงราย CHIANG RAI 38 +45 77เชียงราย* CHIANG RAI* 19 -24 38พะเยา PHAYAO 26 +93 97เชียงใหม CHIANG MAI 27 +59 90แมโจ* MAE CHO*ลําพูน LAMPHUN 25 +60 84ลําปาง LAMPANG 25 +58 89ลําปาง* LAMPANG* 31 +66 93แพร PHARE 21 +29 79นาน NAN 30 +62 92นาน* NAN* 33 +57 91ทาวังผา THA WANG PHA 49 +103 98อุตรดิตถ UTTARADIT 22 -15 42ศรีสําโรง* SRI SAMRONG* 29 +57 90ตาก TAK 17 +18 61แมสอด MAE SOT 58 +86 94อุมผาง UMPHANG 34 +44 83เข่ือนภูมิพล BHUMIBOL DAM 20 +76 85พิษณุโลก PHITSANULOK 29 +36 76เพชรบูรณ PHETCHABUN 14 -26 27หลมสัก** LOM SAK** 7 -57 7วิเชียรบุรี** WICHIAN BURI** 21 +14 65กําแพงเพชร KAMPHAENG PHET 15 -25 28

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ NORTHEASTERN PARTหนองคาย NONG KHAI 33 -4 50เลย LOEI 26 +25 76เลย* LOEI* 25 +21 70อุดรธานี UDON THANI 16 -45 8สกลนคร SAKON NAKHON 32 -2 56สกลนคร* SAKON NAKHON* 32 +3 55นครพนม NAKHON PHANOM 52 -6 56นครพนม* NAKHON PHANOM* 43 +2 61ขอนแกน KHON KAEN 19 -9 52ทาพระ* THA PHRA* 19 -5 55มุกดาหาร MUKDAHAN 48 +50 89โกสุมพิสัย** KOSUM PHISAI** 8 -63 5ชัยภูมิ CHAIYAPHUM 13 -26 36รอยเอ็ด ROI ET 11 -59 3รอยเอ็ด* ROI ET* 14 -47 10

สถานี GMI6 GMI6pct(รอยละ)

ผลตางจากคาเฉลี่ย GMI6

Page 8: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

5

ตารางท่ี 1 (ตอ)

(mm)อุบลราชธานี UBON RATCHATHANI 23 -25 26อุบลราชธานี* UBON RATCHATHANI* 27 -17 45ศรีสะเกษ* SI SA KET* 20 -12 48นครราชสีมา NAKHON RATCHASIMA 10 -24 40ปากชอง* PAK CHONG* 11 +11 66โชคชัย** CHOK CHAI** 12 -12 44สุรินทร SURIN 29 +29 81สุรินทร* SURIN* 29 +14 64ทาตูม** THATUM** 33 +26 72นางรอง** NANG RONG** 8 -56 19

ภาคกลาง CENTRAL PARTนครสวรรค NAKHON SAWAN 10 -34 30ตากฟา* TAK FA* 18 +2 55ชัยนาท* CHAI NAT* 21 +64 88สุพรรณบุรี SUPHAN BURI 6 -51 16อูทอง* U THONG* 16 +41 82ลพบุรี LOP BURI 13 -20 32บัวชุม** BUA CHUM** 15 +1 58กาญจนบุรี KANCHANABURI 5 -52 11ทองผาภูมิ THONG PHA PHUM 39 +9 72ราชบุรี RATCHA BURI* 5 -71 5กําแพงแสน* KAMPHAENG SAEN* 14 +6 60อยุธยา AYUTHAYA* 14 -6 55ดอนเมือง DON MUANG (AIRPORT) 26 +27 72บางนา* BANG NA* 53 +152 98

ภาคตะวันออก EASTERN PARTฉะเชิงเทรา CHACHOENGSAO 18 +7 67ปราจีนบุรี PRACHIN BURI 35 +9 65อรัญประเทศ ARANYAPRATHET 22 +1 53กบินทรบุรี** KABIN BURI** 18 -32 30ชลบุรี CHON BURI 20 +18 68เกาะสีชัง KO SICHANG 11 -25 41แหลมฉบัง LAEM CHABANG 14 -26 30พัทยา PATTHAYA 18 +21 69สัตหีบ SATTAHIP 21 +50 82ระยอง RAYONG 35 +65 88หวยโปง* HUAI PONG* 25 +32 68จันทบุรี CHANTHABURI 67 +6 61พล้ิว* PHLIU* 69 -1 48คลองใหญ KHLONG YAI 101 -3 52

GMI6pctผลตางจาก

คาเฉลี่ย GMI6(รอยละ)

สถานี GMI6

Page 9: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

6

ตารางท่ี 1 (ตอ)

(mm)GMI6pct

ผลตางจากคาเฉลี่ย GMI6

(รอยละ)สถานี GMI6

ภาคใตฝงตะวันออก SOUTHERN PART (EAST COAST)เพชรบุรี PHETCHABURI 10 -15 47ประจวบคีรีขันธ PRACHUAP KHIRI KHAN 17 +54 90หัวหิน HUA HIN 10 +2 60หนองพลับ* NONG PHLAB* 13 +18 67ชุมพร CHUMPHON 25 +21 74สวี* SAWI* 21 +3 57สุราษฎรธานี SURAT THANI 9 -39 21เกาะสมุย KO SAMUI 11 -19 44นครศรีธรรมราช NAKHON SI THAMMARAT 16 +27 71นครศรีธรรมราช* NAKHON SI THAMMARAT* 11 -25 41สงขลา SONGKHLA 19 +52 87หาดใหญ HAT YAI 8 -43 28คอหงส* KHO HONG* 22 +48 89พัทลุง* PHATTHALUNG* 16 +52 87สนามบินปตตานี PATTANI (AIRPORT) 20 +42 83ยะลา* YALA* 41 +109 97นราธิวาส NARATHIWAT 21 +32 79

ภาคใตฝงตะวันตก SOUTHERN PART (WEST COAST)ระนอง RANONG 53 -40 6ตะก่ัวปา TAKUA PA 50 -4 48ภูเก็ต PHUKET 24 -22 32สนามบินภูเก็ต PHUKET AIRPORT 26 -26 28เกาะลันตา KO LANTA 13 -57 6สนามบินตรัง TRANG 13 -55 13สตูล SATUN 23 -1 49

หมายเหตุ 1. - : ขอมูลไมสมบูรณRemarks : Incomplete Data

2. * : สถานีอากาศเกษตร : Agrometeorological Stations

3. ** : สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทก : Hydrometeorological Stations

4. ไมมี * : สถานีตรวจอากาศผิวพ้ืนNo asterik : Synoptic Stations

Page 10: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ
Page 11: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

8

ภาคผนวกที่ 1 นิยามของค่าดัชนี Generalized Monsoon Index (GMI) Generalized Monsoon Index (GMI) เป็นค่าดัชนีความแห้งแล้งทางด้านการเกษตร ที่แสดงถึงผลกระทบที่เกิดแก่พืชที่กําลังเจริญเติบโต อันมีสาเหตุเนื่องมาจากการขาดแคลนความชื้น ดังนั้นการวิเคราะห์ค่า GMI จึงทําให้สามารถทราบสภาวะโดยทั่วไปของพืชใช้น้ําฝนที่ปลูกในฤดูมรสุม โดย GMI จะมีค่าขึ้นอยู่กับปริมาณฝนรายเดือนในระหว่างช่วงฤดูมรสุมนั้นๆ เนื่องจากว่าในช่วงประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคมถือว่าเป็นช่วงที่ประเทศไทยอยู่ภายใต้อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และเป็นช่วงฤดูเพาะปลูกของพืชโดยทั่วไป ฉะนั้นค่า GMI ที่ใช้ในที่นี้จึงเป็นค่า GMI ในฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต้โดยพิจารณาจากปริมาณฝนตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ค่า GMI ดังกล่าวคํานวณได้จาก GMI = 0.125 P6 + 0.125 P7 + 0.5 P8 + 0.25 P9 โดย Pi : ฝนรายเดือน (มม.) ของเดือนที่ i (เช่น P6 หมายถึง ฝนของเดือนมิถุนายน) ค่า GMI ในแต่ละเดือนคํานวณจากสมการดังกล่าว และสะสมทุกส้ินเดือนที่ทําการประเมินฯ ดังนี้ 1. ส้ินเดือนมิถุนายน GMI6 = 0.125 P6 2. ส้ินเดือนกรกฎาคม GMI7 = 0.125 P6 + 0.125 P7 3. ส้ินเดือนสิงหาคม GMI8 = 0.125 P6 + 0.125 P7 + 0.5 P8 4. ส้ินเดือนกันยายน GMI9 = 0.125 P6 + 0.125 P7 + 0.5 P8 + 0.25 P9 ค่า GMI ที่คํานวณได้จะมีหน่วยเป็นมิลลิเมตร อย่างไรก็ตามค่า GMI นี้ สามารถทําให้อยู่ในรูปอื่น ได้ เช่น เปอร์เซนต์ของค่า GMI ปกติ เปอร์เซนต์ไตล์ของลําดับที่ของ GMI ฯลฯ และเพื่อความสะดวกในการกําหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการพิจารณาสภาวะของพืช GMI จะอยู่ในรูปของ percentile rank ซึ่งมีค่าระหว่าง 0 - 100 วิธีการหาค่า percentile rank ของ GMI นั้นหาได้โดยการนําค่าอนุกรมเวลาของ GMI ของแต่ละบริเวณมาเรียงลําดับจากน้อยไปหามาก และคํานวณค่า percentile rank ของ GMI ได้จาก GMIpct = (r x 100)/(n + 1) โดย GMIpct : percentile rank ของ GMI r : ลําดับที่ของค่าข้อมูลดิบ GMI ของปีนั้น ๆ n : จํานวนปีของข้อมูลของแต่ละสถานี เกณฑ์ GMIpct ที่ใช้พิจารณาสภาวะของพืช มีดังนี้คือ เกณฑ์ GMIpct สภาวะของพืช 0 - 20 แล้งจัด 21 - 30 แล้ง 31 - 40 ค่อนข้างแล้ง 41 - 60 ปกติ 61 - 90 ความชื้นสูงกว่าปกติ 91 - 100 ความชื้นเกินความต้องการ

เกณฑ์ดังกล่าวนี้เป็นเพียงเกณฑ์พื้นฐานในการพิจารณาสภาวะของพืช ส่วนรายละเอียดหรือข้อมูลอื่น ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการประเมินฯ เช่น การกระจายของฝน (ฝนราย 10 วัน ฯลฯ) ปฏิทินการเพาะปลูกพืชในแต่ละท้องถิ่น ฯลฯ สามารถจะนํามาใช้ประกอบการพิจารณาด้วย

Page 12: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

9

ภาคผนวกที่ 2 รายช่ือและตําแหนงท่ีตั้งสถานีอุตุนิยมวิทยาละติจูด ลองจิจูด ความสูง ปท่ีเร่ิมมีขอมูล

(ม.) (ค.ศ.)แมฮองสอน MAE HONG SON 1. แมฮองสอน MAE HONG SON 19 18 97 50 268 1954

2. แมสะเรียง MAE SARIANG 18 10 97 56 211 1956เชียงราย CHIANG RAI 1. เชียงราย CHIANG RAI 19 58 99 53 390 1951

2. เชียงราย* CHIANG RAI* 19 52 99 47 397 1979พะเยา PHAYAO 1. พะเยา PHAYAO 19 8 99 54 377 1981เชียงใหม CHIANG MAI 1. เชียงใหม CHIANG MAI 18 47 98 59 305 1951

2. แมโจ* MAE CHO* 18 55 99 00 317 1969ลําพูน LAMPHUN 1. ลําพูน LAMPHUN 18 34 99 02 296 1980ลําปาง LAMPANG 1. ลําปาง LAMPANG 18 17 99 31 242 1953

2. ลําปาง* LAMPANG* 18 19 99 17 315 1982แพร PHARE 1. แพร PHARE 18 10 100 10 162 1952นาน NAN 1. นาน NAN 18 47 100 47 200 1951

2. นาน* NAN* 18 52 100 45 264 19693. ทาวังผา** THA WANG PHA** 19 07 100 48 235 1966

อุตรดิตถ UTTARADIT 1. อุตรดิตถ UTTARADIT 17 37 100 06 63 1951สุโขทัย SUKHOTHAI 1. ศรีสําโรง* SRI SAMRONG* 17 10 99 52 54 1969ตาก TAK 1. ตาก TAK 16 53 99 07 124 1954

2. แมสอด MAE SOT 16 40 98 33 196 19513. อุมผาง** UMPHANG** 16 01 98 52 454 19764. เข่ือนภูมิพล BHUMIBOL DAM 17 14 99 03 144 1960

พิษณุโลก PHITSANULOK 1. พิษณุโลก PHITSANULOK 16 47 100 16 45 1951เพชรบูรณ PHETCHABUN 1. เพชรบูรณ PHETCHABUN 16 26 101 09 114 1952

2. หลมสัก** LOM SAK** 16 46 101 15 142 19653. วิเชียรบุรี** WICHIAN BURI** 15 39 101 07 68 1965

กําแพงเพชร KAMPHAENG PHET 1. กําแพงเพชร KAMPHAENG PHET 16 29 99 32 80 1981หนองคาย NONG KHAI 1. หนองคาย NONG KHAI 17 52 102 44 173 1964เลย LOEI 1. เลย LOEI 17 27 101 44 253 1954

2. เลย* LOEI* 17 24 101 44 259 1970อุดรธานี UDON THANI 1. อุดรธานี UDON THANI 17 23 102 48 177 1951สกลนคร SAKON NAKHON 1. สกลนคร SAKON NAKHON 17 09 104 08 171 1952

2. สกลนคร* SAKON NAKHON* 17 07 104 03 190 1969นครพนม NAKHON PHANOM 1. นครพนม NAKHON PHANOM 17 25 104 47 145 1952

2. นครพนม* NAKHON PHANOM* 17 26 104 47 153 1984ขอนแกน KHON KAEN 1. ขอนแกน KHON KAEN 16 26 102 50 165 1951

2. ทาพระ* THA PHRA* 16 20 102 49 166 1969มุกดาหาร MUKDAHAN 1. มุกดาหาร MUKDAHAN 16 32 104 43 138 1951

จังหวัด รายช่ือสถานี

Page 13: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

10

ละติจูด ลองจิจูด ความสูง ปท่ีเร่ิมมีขอมูล(ม.) (ค.ศ.)

จังหวัด รายช่ือสถานีมหาสารคาม MAHA SARAKHAM 1. โกสุมพิสัย** KOSUM PHISAI** 16 15 103 04 153 1966ชัยภูมิ CHAIYAPHUM 1. ชัยภูมิ CHAIYAPHUM 15 48 102 02 182 1956รอยเอ็ด ROI ET 1. รอยเอ็ด ROI ET 16 03 103 41 140 1951

2. รอยเอ็ด* ROI ET* 16 04 103 37 154 1984อุบลราชธานี UBON RATCHATHANI 1. อุบลราชธานี UBON RATCHATHANI 15 15 104 52 122 1951

2. อุบลราชธานี* UBON RATCHATHANI* 15 14 105 02 130 1970ศรีสะเกษ SI SA KET 1. ศรีสะเกษ* SI SA KET* 15 02 104 15 123 1984นครราชสีมา NAKHON RATCHASIMA 1. นครราชสีมา NAKHON RATCHASIMA 14 58 102 05 187 1951

2. ปากชอง* PAK CHONG* 14 42 101 25 356 19693. โชคชัย** CHOK CHAI** 14 43 102 10 190 1965

สุรินทร SURIN 1. สุรินทร SURIN 14 53 103 30 146 19512. สุรินทร* SURIN* 14 53 103 27 143 19693. ทาตูม** THATUM** 15 19 103 41 128 1966

บุรีรัมย BURI RAM 1. นางรอง** NANG RONG** 14 37 102 43 179 1966นครสวรรค NAKHON SAWAN 1. นครสวรรค NAKHON SAWAN 15 48 100 10 34 1951

2. ตากฟา* TAK FA* 15 21 100 30 87 1969ชัยนาท CHAI NAT 1. ชัยนาท* CHAI NAT* 15 09 100 11 15 1970สุพรรณบุรี SUPHAN BURI 1. สุพรรณบุรี SUPHAN BURI 14 28 100 08 7 1952

2. อูทอง* U THONG* 14 18 99 52 6 1969ลพบุรี LOP BURI 1. ลพบุรี LOP BURI 14 48 100 37 10 1951

2. บัวชุม** BUA CHUM** 15 16 101 12 48 1966กาญจนบุรี KANCHANABURI 1. กาญจนบุรี KANCHANABURI 14 01 99 32 28 1955

2. ทองผาภูมิ THONG PHA PHUM 14 45 98 38 99 1965ราชบุรี RATCHABURI 1. ราชบุรี* RATCHABURI* 13 29 99 47 5 1992นครปฐม NAKHON PATHOM 1. กําแพงแสน* KAMPHAENG SAEN* 14 01 99 58 7 1973อยุธยา AYUTHAYA 1. อยุธยา* AYUTHAYA* 14 32 100 43 7 1993กรุงเทพมหานคร BANGKOK METROPOLIS1. ดอนเมือง DON MUANG (AIRPORT) 13 55 100 36 4 1951

2. บางนา* BANG NA* 13 40 100 36 3 1969ฉะเชิงเทรา CHACHOENGSAO 1. ปราจีนบุรี CHACHOENGSAO 13 34 101 27 69 1989ปราจีนบุรี PRACHIN BURI 1. ปราจีนบุรี PRACHIN BURI 14 03 101 22 4 1955

2. กบินทรบุรี** KABIN BURI** 13 59 101 42 10 1965สระแกว SRA KAEO 1. อรัญประเทศ ARANYAPRATHET 13 42 102 35 47 1951ชลบุรี CHON BURI 1. ชลบุรี CHON BURI 13 22 100 59 1 1952

2. เกาะสีชัง KO SICHANG 13 10 100 48 25 19583. แหลมฉบัง LAEM CHABANG 13 4 100 52 81 19914. พัทยา PATTHAYA 12 55 100 52 59 19805. สัตหีบ SATTAHIP 12 41 100 59 16 1951

ระยอง RAYONG 1. ระยอง RAYONG 12 38 101 21 3 19802. หวยโปง* HUAI PONG* 12 44 101 09 43 1969

Page 14: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

11

ละติจูด ลองจิจูด ความสูง ปท่ีเร่ิมมีขอมูล(ม.) (ค.ศ.)

จังหวัด รายช่ือสถานีจันทบุรี CHANTHABURI 1. จันทบุรี CHANTHABURI 12 37 102 07 3 1951

2. พล้ิว* PHLIU* 12 31 102 10 22 1969ตราด TRAT 1. คลองใหญ KHLONG YAI 11 46 102 53 2 1952เพชรบุรี PHETCHABURI 1. เพชรบุรี PHETCHABURI 13 09 100 04 2 1977ประจวบคีรีขันธ PRACHUAP KHIRI KHAN1. ประจวบคีรีขันธ PRACHUAP KHIRI KHAN 11 50 99 50 4 1951

2. หัวหิน HUA HIN 12 35 99 58 5 19513. หนองพลับ* NONG PHLAB* 12 35 99 44 106 1974

ชุมพร CHUMPHON 1. ชุมพร CHUMPHON 10 29 99 11 3 19512. สวี* SAWI* 10 20 99 06 13 1969

สุราษฎรธานี SURAT THANI 1. สุราษฎรธานี SURAT THANI 09 08 99 09 5 19822. เกาะสมุย KO SAMUI 09 28 100 03 5 1969

นครศรีธรรมราช NAKHON SI THAMMARAT 1. นครศรีธรรมราช NAKHON SI THAMMARAT 08 25 99 58 7 19512. นครศรีธรรมราช* NAKHON SI THAMMARAT* 08 20 100 05 2 1984

สงขลา SONGKHLA 1. สงขลา SONGKHLA 07 12 100 36 5 19512. หาดใหญ HAT YAI 06 55 100 26 27 19733. คอหงส* KHO HONG* 07 01 100 30 7 1969

พัทลุง PHATTHALUNG 1. พัทลุง* PHATTHALUNG* 07 35 100 10 2 1982ปตตานี PATTANI 1. สนามบินปตตานี PATTANI (AIRPORT) 06 47 101 09 5 1964นราธิวาส NARATHIWAT 1. นราธิวาส NARATHIWAT 06 25 101 49 4 1951ยะลา YALA 1. ยะลา* YALA* 06 31 101 17 30 1982ระนอง RANONG 1. ระนอง RANONG 09 59 98 37 6 1951พังงา PHANGNGA 1. ตะก่ัวปา TAKUA PA 08 51 98 16 3 1975ภูเก็ต PHUKET 1. ภูเก็ต PHUKET 07 53 98 24 2 1951

2. สนามบินภูเก็ต PHUKET AIRPORT 08 09 98 19 9 1951กระบ่ี KRABI 1. เกาะลันตา KO LANTA 07 32 99 03 2 1981ตรัง TRANG 1. สนามบินตรัง TRANG 07 31 99 37 14 1954สตูล SATUN 1. สตูล SATUN 06 39 100 05 4 1977

หมายเหตุ 1. ความสูง : ความสูงของสถานีจากระดับน้ําทะเลปานกลาง 2. * : สถานีอากาศเกษตร 3. * * : สถานีอุตุนิยมวิทยาอุทก 4. ไมมี * : สถานีตรวจอากาศผิวพ้ืน

Page 15: การประเมินผลกระทบ ของสภาวะฝนที่มีต ือพชในประเทศไทยtmd.go.th/programs/uploads/rainaffect/jun-2011.pdfสารบัญ

12

100ภาคผนวกที่ 3 แผนที่แสดงที่ตั้งสถานีอุตุนิยมวิทยา

105

2020

Synoptic StationAgrometeorological Station

aion

hoaihun

ChumphonSawiRanong

Ko Samui

hania

irport

antaKo L

Phuket APhuket

Takua P Surat T

Trang

Nakhon Si Thammarat

ongKho H

PhatthalungSongkhla

PattaniHat Yai

Chiang RMae Hong S

Phayao Mae Chiang MCLam P

LampangNan

Phrae

Tha Wang Pha

ariang

amamrong

Mae SUttaraditBhumibol D

Sri STakMae So

hettKamphaeng P

Umphang

PhitsanulokPhetchabun

Lom Sak

Loei Nong KhaihaniUdon T

Nakhon Phanom

akhonae

hisait

Sakon N

MukdahanKhon K n

Kosum PThaPhraRoi E

ChaiyaphumNakhon Sa urium atchathani

et

wanWichian BTha T Ubon R

Sri Sa KSurin Nakhon Ratcha

Chok Csima

haiNang Ronghong

huma

Pak CThong Pha P

Tak FChai Nat uri

hum

uri

uri

ai

uang

Prachuap Khiri Khan

ChanthaburiPhliu

Khlong Y

Aranyaprathet

Lop B

KanchanaburihoU T ngSuphan B

Prachin BuriKabin BKamphaeng SaenBang

Chon Buri SichangPhetchaburi

Nong Phlap ngPhatthaya

oHuai PRayongHua Hin

Sattahip

Don MNa

Bua C

Hydrometeorological Station

1515

1010

NarathiwatSatun Yala

100 105