ตรรกศาสตร์เบื้องต้น ·...

28
โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

Upload: others

Post on 16-Oct-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

โดย ครูศราวุธ เสาเกลียวโรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

ตรรกศาสตร์เบื้องต้น

Page 2: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

Menu„ ประพจน์

„ การเชื่อมประพจน์

„ การหาค่าความจริงของประพจน์

„ การสร้างตารางค่าความจริง

„ รูปแบบของประพจน์ที่สมมูลกัน

„ สัจนริันดร ์ (Tautology)

„ การอ้างเหตุผล

„ ประโยคเปิด (open sentence)

„ ตัวบ่งปริมาณ (quantifier)

„ ค่าความจริงของประโยคที่มีตวับ่ง

ปริมาณตัวเดียว

„ สมมูลและนิเสธของประโยคที่มีตัว

บ่งปริมาณ

„ ค่าความจริงของประโยคที่มีตวับ่ง

ปริมาณสองตัว

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 3: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

1. ประพจน์ (Propositions or Statements)

บทนิยาม ประพจน์ คือ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธ ที่เป็นจริงหรือเท็จ

เพียงอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น

เชน่ โลกเป็นดาวเคราะห์ (จริง)

สงขลาเป็นเมืองหลวงของไทย (เท็จ)

12 + 3 = 15 (จริง)

0 เป็นจ านวนนับ (เท็จ)

ในตรรกศาสตร์การเป็น จริง หรือ เท็จ ของแต่ละประพจน์ เรียกว่า ค่าความจริง

(truth value)ของประพจน์

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 4: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

การเชื่อมประพจน์

„ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ และ “

„ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ หรือ “

„ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ ถ้า แล้ว “

„ การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ ก็ต่อเมื่อ “

„ นิเสธของประพจน์

Menu2

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 5: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

2. การเชือ่มประพจน์

(1) การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ และ”

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ p และ q เขียนแทนด้วย p q

ตารางค่าความจริงของ p q เขยีนได้ดังนี้

p q p q

T T T

T F F

F T F

F F F

ตวัอย่าง

p : 2 เป็นจ านวนคู่ (T)

q : 2 มากกว่า 3 (F)

p q : 2 เป็นจ านวนคู่ และ 2 มากกว่า 3 (F)

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 6: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

(2) การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “หรือ”

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ p หรือ q เขียนแทนด้วย p q

ตารางค่าความจริงของ p q เขียนได้ดังนี้

p q p q

T T T

T F T

F T T

F F F

ตวัอย่าง p : 2 เป็นจ านวนคี่ (F) , q : 2 มากกว่า 3 (F)

p q : 2 เป็นจ านวนคี่ หรือ 2 มากกว่า 3 (F)

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 7: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

(3) การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ถ้า...แล้ว...”

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ ถ้า p แล้ว q เขียนแทนด้วย p q

ตารางค่าความจริงของ p q เขียนได้ดังนี้

p q p q

T T T

T F F

F T T

F F T

ตวัอยา่ง p : 2 เป็นจ านวนคี่ (F) , q : 2 มากกว่า 3 (F)

p q : ถ้า 2 เป็นจ านวนคี่ แล้ว 2 มากกว่า 3 (T)

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 8: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

(4) การเชื่อมประพจน์ด้วยตัวเชื่อม “ก็ต่อเมื่อ”

ถ้า p และ q เป็นประพจน์ p ก็ต่อเมื่อ q เขียนแทนด้วย p q

ตารางค่าความจริงของ p q เขียนได้ดังนี้

p q p q

T T T

T F F

F T F

F F T

ตวัอยา่ง p : 2 เป็นจ านวนคี่ (F) , q : 2 มากกว่า 3 (F)

p q : 2 เป็นจ านวนคี่ ก็ต่อเมื่อ 2 มากกว่า 3 (T)

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 9: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

(5) นิเสธของประพจน์

นิเสธของประพจน์ p เขียนแทนด้วย p

ตารางค่าความจริงของ p เขยีนได้ดังนี้

p p

T F

F T

ตวัอยา่ง p : 0 เป็นจ านวนเต็ม (T) , p : 0 ไม่เป็นจ านวนเต็ม (F)

q : 2 มากกว่า 3 (F) , q : 2 ไม่มากกว่า 3 (T)

~

~

~

~

~

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 10: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

3. การหาค่าความจรงิของประพจน์

การหาค่าความจริงของประพจน์ที่มีตัวเชื่อม อาจท าได้รวดเร็วขึ้น โดยใช้แผนภาพดังนี้

ตวัอยา่ง ก าหนดให้ p เป็นจริง และ q เป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ pqp )~(

วิธีท า pqp )~(

T F T

T

T

T

ดังนั้น ประพจน์ มีค่าความจริงเป็น จริง *pqp )~(

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 11: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

ตวัอยา่ง ก าหนดให้ p , r เป็นจริง และ q , s เป็นเท็จ จงหาค่าความจริงของ

)(~]~)[( sqrqp

วิธที า )(~]~)[( sqrqp

T F T F F

F F T

F T

F

ดังนั้น ประพจน์ มีค่าความจริงเป็น เท็จ* )(~]~)[( sqrqp

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 12: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

4. การสรา้งตารางคา่ความจรงิ

ประพจน์ที่มีตัวเชื่อม เช่น เมื่อ p , q และ r เป็นประพจนย์่อย

ที่ยังไม่ก าหนดค่าความจริง จะเรียก p , q และ r ว่า ตวัแปรแทนประพจน์ และ

เรียกประพจน์ ว่า รปูแบบของประพจน์

rqp )~(

ดังนัน้ ในการพิจารณาค่าความจริงจึงต้องพิจารณาทุกกรณี โดยสร้างเป็นตาราง ดังนี้

ตวัอยา่ง จงสร้างตารางค่าความจริงของ

rqp )~(

pqp )~(

qp ~ pqp )~( วิธที า p q ~q

T T F F T

T F T T T

F T F F T

F F T F T ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 13: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

5. รปูแบบของประพจนท์ี่สมมูลกัน

ถ้ารูปแบบของประพจน์สองรูปแบบมีค่าความจริงเหมือนกันทุกกรณีแล้ว สามารถน ามาใช้แทน

กันได้ และเรียกรูปแบบของประพจน์ดังกล่าวว่า รปูแบบของประพจน์ที่สมมูลกนั

เชน่ กับ เขียนแทนด้วยqp qpqp ~qp~

p q ~p qp qp~

T T F T T

T F F F F

F T T T T

F F T T T

ซึ่งแสดงด้วยตารางได้ดังนี้

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 14: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

รปูแบบของประพจน์ที่สมมูลกนัที่ส าคญัมีดงันี้

pqqp ~~.1

qpqp ~.2

qpqp ~~)(~.3

qpqp ~~)(~.4

qpqp ~)(~.5

)(~)~()(~.6 qpqpqp

)()()(.7 rpqprqp

)()()(.8 rpqprqp

)()().(9 rpqprqp

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 15: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

6. สจันริันดร ์ (Tautology)

บทนิยาม รูปแบบของประพจน์ที่มีค่าความจริงเป็นจริงทุกกรณี เรียกว่า สัจนิรนัดร์

การพิจารณาว่าประพจน์ใดเป็นสัจนิรันดร ์ท าได้ 2 วิธี คือ

1. การพจิารณาจากตารางคา่ความจริง

ตัวอยา่ง จงแสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์qqp ~)(

p q ~q qp qqp ~)(

T T F T T

T F T F T

F T F T T

F F T T Tตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 16: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

2. การพจิารณาโดยวธิีหาขอ้ขดัแยง้

ซึ่งวิธนีี้จะสมมุติให้รูปแบบของประพจน์ที่ก าหนดให้เป็นเท็จ แล้วจึงหาค่าความจริงของ

ประพจนย์่อย หากมีข้อขัดแย้งกับที่สมมุติใว้ แสดงว่า รปูแบบของประพจนน์ั้น

เป็นสัจนิรันดร์

ตวัอยา่ง จงแสดงว่า เป็นสัจนิรันดร์pqpq ~)]([~

วธิที า pqpq ~)]([~

F

T F

T T T

F T T

จะเห็นได้ว่าค่าความจริงของ q เกิดข้อขัดแย้ง

ดังนั้น แสดงว่าประพจน์ เป็นสัจนิรันดร์*pqpq ~)]([~

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 17: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

7. การอ้างเหตผุล

การอา้งเหตผุล คือการอ้างว่า เมื่อมีข้อความ P1 , P2 , P3 ,…,Pn ชุดหนึ่ง

แล้วสามารถสรุปได้ข้อความ C

การอ้างเหตุผลประกอบด้วยสองส่วนคือ เหตุหรือส่ิงที่ก าหนดให้ ได้แก่ ข้อความ P1 , P2 , P3 ,…,Pn และ ผลหรือข้อสรุป ได้แก่ ข้อความ C

การอ้างเหตุผลอาจจะสมเหตุสมผลหรือไม่สมเหตุสมผลก็ได้

ถ้า เป็นสัจนริัดร ์ จะกล่าวว่า การอ้างเหตุผลนี้CPPPP n )...( 321

สมเหตุสมผล (valid) ถ้า ไมเ่ป็นสัจนิรันดร์ ก็กล่าวได้

ว่าการอ้างเหตุผลนี้ ไม่สมเหตุสมผล (invalid)

ดังนั้น ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล จึงใช้วิธีเดียวกับการตรวจสอบสัจนิรันดร์

CPPPP n )...( 321

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 18: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

ตวัอยา่ง จงพิจารณาว่าการอ้างเหตุผลต่อไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม่

เหตุ 1. ถ้าฝนตกแล้วถนนลื่น

2. ฝนไมต่ก

ผล ถนนไม่ลื่น

วธิีท า ให้ p แทน ฝนตก และ q แทน ถนนลื่น

qp

จะได้ qpqp ~]~)[(

p~

q~

ตรวจสอบรูปแบบของประพจน์ว่าเป็นสัจนิรันดรห์รือไม่qpqp ~]~)[(

F

T F ( T )

T T ( F)

F T จากแผนภาพ รูปแบบของประพจน์ไม่เป็นสัจนิรันดร์ ดงันั้น การอ้างเหตุผล ไม่สมเหตุสมผล

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 19: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

8. ประโยคเปดิ (open sentence)บทนิยาม ประโยคเปิด คือ ประโยคบอกเล่าหรือประโยคปฏิเสธที่มีตัวแปร และ

เมื่อแทนค่า ตัวแปรดว้ยสมาชิกในเอกภพสัมพัทธ์แล้วจะได้ประพจน์

เช่น เขาเป็นนักร้อง เมื่อแทนเขาด้วย ภราดร จะได้ประโยคเป็นเท็จ

2x + 1 = 15 เมื่อแทน x ด้วย 7 จะได้ประโยคเป็นจริง

ประโยคเปิดที่มี x เป็นตัวแปร เขียนแทนด้วย P(x) , Q(x) , R(x) , … และ

การเชื่อมประโยคเปิด ดว้ยตัวเชื่อมท าได้เช่นเดียวกับประพจน์

ตวัอย่าง 1. )3()512( xx

2.)(~)](~)([ xPxQxP

)33(92 xxx

3.

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 20: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

9. ตัวบง่ปริมาณ (quantifier)

สัญลักษณ์ แทนส าหรับ x ทุกตัวx

x สัญลักษณ์ แทนส าหรับ x บางตัว

ตวัอยา่ง 1) ส าหรับ x ทุกตัว x+2 = 2+x เขียนแทนด้วย

[x+2 = 2+x]x

2) มีจ านวนเต็มบางจ านวนน้อยกว่า 1 เขียนแทนด้วย

]1[ xIxx

3) ส าหรับจ านวนจริง x และ y ทุกตัว x+3y = y+3x เขียนแทนด้วย

[x+3y = y+3x]yx

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 21: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

ประโยค มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ แทน x ใน P(x) ด้วยสมาชิกทุกตัว

ของ U แล้วได้ประพจน์ที่เป็นจริงทั้งหมด

)]([ xPx

ประโยค มีค่าความจริงเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทน x ใน P(x) ด้วยสมาชิกอย่างน้อย

หน่ึงตัวของ U แล้วได้ประพจน์ที่เป็นเท็จ

)]([ xPx

ประโยค มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ แทน x ใน P(x) ด้วยสมาชิกอย่างน้อย

หน่ึงตัวของ U แล้วได้ประพจน์ที่เป็นจริง

)]([ xPx

ประโยค มีค่าความจริงเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทน x ใน P(x) ด้วยสมาชิกทุกตัว

ของ U แล้วได้ประพจน์ที่เป็นเท็จทั้งหมด

)]([ xPx

10. คา่ความจรงิของประโยคทีม่ีตวับง่ปริมาณตวัเดยีว

บทนิยาม

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 22: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

ตวัอยา่ง จงพิจารณาว่าประโยคต่อไปนี้เป็นจริงหรือเท็จ.

1) NUxx ],32[

2) IUxxx ],22[

3) }4,3,2,1,0{],42[ 2 Uxxx

4) }6,5,4,3{],4[]2[ 2 Uxxxx

5) }2,1,0,1,2{],0[][ UxxIxx

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 23: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

11. สมมูลและนิเสธของประโยคทีม่ีตวับง่ปริมาณ

รปูแบบที่ 1 )]([~ xPx สมมูลกับ

)]([~ xPx

)]([~ xPx

หรือ นิเสธของ คือ)]([ xPx

รปูแบบที่ 2 )]([~ xPx สมมูลกับ )]([~ xPx

หรือ นิเสธของ คอื)]([ xPx )]([~ xPx

ตวัอยา่ง จงหานิเสธของข้อความต่อไปนี้

1) ]33[ xxx นิเสธคือ ]33[ xxx

2) ]01[ 2 xx นิเสธคือ ]01[ 2 xx

3) จ านวนคี่ทุกจ านวนเป็นจ านวนเต็ม นิเสธคือ จ านวนคี่บางจ านวนไม่ใช่จ านวนเต็ม

4) )]0()0[( 2 xxx นิเสธคือ )]0()0[( 2 xxx

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 24: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

12. คา่ความจริงของประโยคทีม่ีตวับง่ปริมาณสองตวั

บทนิยาม

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ แทน x และ y ด้วย

สมาชิกทุกตัวใน U แล้วท าให้ P(x,y) เป็นจริงเสมอ

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทน x และ y ดว้ย

สมาชิกบางตัวใน U แล้วท าให้ P(x,y) เป็นเท็จ

ตวัอยา่ง จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้

1) NUxyyxyx ],[

2) }3,2,1,0{],0[ Uyxyx

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 25: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

บทนิยาม

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ แทน x และ y ดว้ยสมาชิกบางตัว

ใน U แล้วท าให้ P(x,y) เป็นจริง

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นเท็จ ก็ต่อเมื่อ แทน x และ y ด้วยสมาชิกทุกตัว

ใน U แล้วท าให้ P(x,y) เป็นเท็จเสมอ

ตวัอยา่ง จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้

1)

2)

NUyxyx ],0[

}3,2,1,0{],2[ Uyyxyx

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 26: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

บทนิยาม

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ แทน x ด้วยสมาชิกทุกตัว

ใน U แล้วท าให้ เป็นจริง)],([ yaPy

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นเท็จก็ต่อเมื่อ แทน x ด้วยสมาชิกบางตัว

ใน U แล้วท าให้ เป็นเท็จ)],([ yaPy

ตัวอยา่ง จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้

1) }2,1,0,1,2{],2[ Uyxyx

2) IUyxyx ],2[

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 27: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

บทนยิาม

ประโยค )],([ yxPyx มีค่าความจริงเป็นจริง ก็ต่อเมื่อ แทน x ด้วยสมาชิกบางตัว

ใน U แล้วท าให้ เป็นจริง)],([ yaPy

ประโยค )],([ yxPyx มคี่าความจริงเป็นเท็จก็ต่อเมื่อ แทน x ด้วยสมาชิกทุกตัว

ใน U แล้วท าให้ เป็นเท็จ)],([ yaPy

ตวัอย่าง จงหาค่าความจริงของประโยคต่อไปนี้

1) }2,1,0,1,2{],2[ Uyxyx

2) IUxyxyx ],2[

ตรรกศาสตร์เบ้ืองต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว โรงเรียนพลับพลาชัยพิทยาคม

Page 28: ตรรกศาสตร์เบื้องต้น · ตรรกศาสตร์เบื้องต้น โดย ครูศราวุธ เสาเกลียว

สวัสดี