วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ ครั้ง ...¸าร... ·...

45
วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ ครั้งที่ 7/2557 นางสาวอรอุมา จ่าเมือง นางสาวปัทมาภรณ์ ด้วงบุญมา ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

Upload: others

Post on 20-Oct-2020

7 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจ ครั้งที่ 7/2557

    นางสาวอรอุมา จ่าเมือง นางสาวปัทมาภรณ์ ด้วงบุญมา

    ศูนย์ดัชนีและพยากรณเ์ศรษฐกิจการค้า

  • 2

    ภาพรวมเศรษฐกิจภายในประเทศ ดัชนีวัฏจักรธุรกิจ เดือนพฤษภาคม 2557

    ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • เศรษฐกิจไทยด้านอุปสงค ์

    การบริโภคภาคเอกชน

    การลงทุนภาคเอกชน

    การใช้จ่ายภาครัฐ

    การน าเข้า

    การส่งออก

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • 4

    การบริโภคภาคเอกชน ดัชนีราคาผู้บริโภค เดือนมิถุนายน 2557

    ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • 5

    การบริโภคภาคเอกชน ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค เดือนมิถุนายน 2557

    ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การลงทุนภาคเอกชน ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้าง เดือนมิถุนายน 2557

    6

    ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    การเปลี่ยนแปลงของดัชนรีาคาวัสดุก่อสร้างเดือนมิถุนายน 2557 (MOM) เมื่อเทียบกับ เดือนพฤษภาคม 2557 สูงขึ้นร้อยละ 0.1

    ดัชนีราคาวัสดุก่อสร้างเดือนมิถุนายน 2557 เท่ากับ 127.1

    และเมื่อเทียบกับ เดือนมิถุนายน 2556 (YOY) สูงขึ้นร้อยละ 1.8

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การลงทุนภาคเอกชน เดือนพฤษภาคม 2557

    7 ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การลงทุนภาคเอกชน เดือนพฤษภาคม 2557

    8 ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การใช้จ่ายของรัฐ เดือนพฤษภาคม 2557

    9

    ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การส่งออก - น าเข้า ดัชนีราคาส่งออก-น าเข้าเดือนพฤษภาคม 2557

    10 ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การส่งออก - น าเข้า อัตราการค้าของไทย (Term of Trade) เดือนพฤษภาคม 2557

    11 ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การส่งออก - น าเข้า มูลค่าการค้าต่างประเทศและดุลการค้า เดือนพฤษภาคม 2557

    12 ที่มา: กรมการค้าต่างประเทศ

    หน่วย : ส่งออก น าเข้า ดุลการค้า

    ล้านบาท มูลค่า Growth มูลค่า Growth มูลค่า Growth

    (ล้านบาท) (%YOY) (ล้านบาท) (%YOY) (ล้านบาท) (%YOY)

    มูลค่ารวม 621,197.2 9.8 654,688.9 1.6 -33,491.7 -57.4

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • การส่งออก - น าเข้า ดัชนีคาดการณ์ภาวะธรุกิจส่งออก เดือนมิถุนายน 2557

    ดัชนีมูลค่าการส่งออก และดัชนคี าสั่งซ้ือใหม่ มีค่า 60.5 และ 60.5 ตามล าดับ แสดงว่าภาวะการส่งออกอยู่ในช่วงขยายตัว

    ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • เศรษฐกิจไทยด้านอุปทาน

    อุตสาหกรรม

    เกษตรกรรม

    บริการท่องเที่ยว

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีราคาผู้ผลิต เดือนมิถุนายน 2557

    15 ที่มา: ศูนย์ดัชนีและพยากรณ์เศรษฐกิจการค้า

    มิ.ย. = -1.1

    มิ.ย. = 141.2

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • ภาคอุตสาหกรรม ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม เดือนพฤษภาคม 2557

    16 ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • ภาคเกษตรกรรม รายได้เกษตรกร ดัชนีผลผลิตเกษตรกรรม และดัชนีราคาสินค้าเกษตรกรรม เดือนพฤษภาคม 2557

    17

    ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • ที่มา: กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา 18

    ภาคบริการ จ านวนนักท่องเที่ยวต่างประเทศ เดือนพฤษภาคม 2557

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • เสถียรภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน

    เสถียรภาพภายในประเทศ

    อัตราการว่างงานในเดือนพฤษภาคม 2557 อยู่ที่ร้อยละ 0.9 ของก าลังแรงงานรวม

    อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในเดือนมิถุนายน 2557 ขยายตัวที่ร้อยละ 2.35 (%YoY)

    สัดส่วนหนี้สาธารณะต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2557 อยู่ที่ร้อยละ 45.9

    ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง

    45.9

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • เสถียรภาพเศรษฐกิจในปัจจุบัน

    เสถียรภาพภายนอกประเทศยังอยู่ในระดับมั่นคง และสามารถรองรับความเสี่ยงจากความผันผวนของเศรษฐกิจโลกได้ สะท้อนได้จากทุนส ารองระหว่างประเทศ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2557 อยู่ในระดับสูงที่ 167.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ

    เสถียรภาพภายนอกประเทศ

    ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • Hot Issue : คสช. ได้ออกประกาศฉบับที่ 92 เรื่องการลดอัตราภาษีมูลค่าเพิ่ม

    ภาษีมูลค่าเพิ่ม 6.3% และรวมภาษีท้องถิ่นอีก 0.7% ดังนั้นภาษีมูลค่ารวม 7.0% ตามที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

    ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป ภาษีมูลค่าเพิ่มรวมจะปรับขึ้นอยู่ในอัตรา 10% โดย เป็นภาษีมูลค่าเพิ่ม 9% และภาษีท้องถิ่นอีก 1%

    เป็นการขยายเวลา พ.ร.บ.ที่ใช้บังคับมาตั้งแต่ปี 2535 เพราะพระราชกฤษฎีกาฉบับล่าสุด ปี 2555 ที่ให้คงอัตรา VAT ไว้ที่ 7% จะหมดอายุลงในวันที่ 30 ก.ย. 2557 นี้ โดยยกเว้นในช่วง 2 ปียุควิกฤติเศรษฐกิจปี 2540-2542 เท่านั้นที่ต้องเก็บ 10% ตามเงื่อนไขที่ IMF ก าหนดให้ปฏิบัต ิ

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • Hot Issue ภาษีมูลค่าเพิ่ม” หรือ VAT คือ ภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซ้ือสินค้าหรือรับบริการ โดยจัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนท่ีเพิ่มข้ึนในแต่ละขั้นตอนของการผลิต การจ าหน่ายหรือการให้บริการ ซึ่งเป็น “ภาษีฐานกว้าง” คือมีผลกระทบโดยกว้าง จัดเก็บทุกคนอย่างเท่าเทียมกันหากใครเป็นผู้ซ้ือ ผู้ใช้บริการ เมื่อส ารวจพบว่า ประเทศที่ครองแชมป์การเก็บภาษีมูลค่าเพ่ิม คือ - ประเทศในแถบ สแกนดิเนเวีย เช่น นอร์เวย์ สวีเดน เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มหรือ VAT 25% - กลุ่มประเทศพัฒนาแล้วหรือ จี20 ก็เก็บ VAT ในอัตราที่สูง เช่น เยอรมนี 19%, ฝรั่งเศส19.6% และสหราชอาณาจักร 20% - กลุ่มประเทศแถบอาเซียน ถือว่าเก็บ VAT ในอัตราที่ต่ า เช่น สิงคโปร์และมาเลเซียเก็บ VAT 5%

    เมื่อปรับอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มจากร้อยละ 7 เป็นร้อยละ 10 จะเกิดผลอย่างไรต่อระบบเศรษฐกิจ?

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • Hot Issue งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาผลของภาษีมูลค่าเพิ่มต่อการสร้างความเป็นธรรมในการกระจายรายได้และเศรษฐกิจของประเทศไทย

    ผลการศึกษาสรุปได้ ดังนี ้ (1) ผลของภาษีมูลค่าเพิ่มต่อการกระจายรายได้ในประเทศไทย พบว่า ภายหลังจากการรับภาระภาษีมูลค่าเพิ่ม ท าใหม้ีการกระจายรายได้ที่ดีขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากค่าสัมประสิทธิ์จินี่มีค่าลดลงหลังจากการรับภาระภาษีมูลค่าเพ่ิม ประมาณร้อยละ 0.18996 อันเป็นผลจากสัดส่วนการใช้จ่ายของแต่ละครัวเรือนที่มีรายได้น้อยมีการใช้จ่ายน้อยจึงรับภาระภาษีน้อยกว่าครัวเรือนที่มีรายได้สูงท่ีมีการใช้จ่ายมากจึงรับภาระภาษีมากกว่า * ค่าสัมประสิทธิ์จินี่ วัดความไม่เท่าเทียมกัน (0< Gini coefficient

  • Hot Issue (2) ผลของภาษีมูลค่าเพิ่มต่อเศรษฐกิจ ทั้งในด้านระดับราคา การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และรายได้ให้แก่รัฐบาล พบว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มมีผลต่อระดับราคาในทิศทางเดียวกัน แต่การเปลี่ยนแปลงของภาษีมูลค่าเพิ่มที่มีต่อระดับราคาเป็นช่วงส้ันๆ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอัตราภาษี ส่วนการเปลี่ยนแปลงของภาษีมูลค่าเพิ่มต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มีทิศทางตรงข้าม ผ่านการเปลี่ยนแปลงของระดับราคาสินค้า ปริมาณการบริโภคและการน าเข้า แต่ในส่วนของการปรับเพิ่มหรือลดอัตราภาษีมูลค่าเพ่ิมมีผลท าใหร้ัฐบาลมีรายได้ที่เปล่ียนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีผลสรุปแสดงได้ ดังนี้

    ที่มา: ส านักงานเศรษฐกิจการคลัง

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • เศรษฐกิจต่างประเทศ

  • การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆ ในปี 2555 -2557

    2555 -0.6% 2556 -0.4% 2557

    2555 7.7% 2556 7.7% 2557

    2555 1.4% 2556 1.5% 2557

    2555 6.5% 2556 2.9% 2557

    2555 4.5% 2556 4.7% 2557

    2555 2.5% 2556 2.4 % 2557

    2555 0.9% 2556 2.3% 2557

    2555 2.8% 2556 1.9% 2557

    GLOBAL ECONOMIC PROSPECTS | June 2014 ;Wolrd Bank

    Fact Sheet_Oct2013_present_editing.pptx

  • Source: OECD

  • Source: OECD

  • Source: OECD

  • Source: OECD

  • USA

    29-30 July 2014

    • ประชุมคณะกรรมการธนาคารกลางสหรัฐพิจารณาปรับลดการซื้อพันธบัตรตาม QE3

    เศรษฐกิจหดตัว -2.9 % QoQ ขยายตัวร้อยละ 1.5 YoY จากการการส่งออกสุทธิและการลงทุนภาคเอกชนที่หดตัวลง จากสภาพอากาศที่หนาวเย็น ขณะที่การบริโภคภาคเอกชนและการจ้างงานยังปรับตัวดีขึ้น

    นโยบายทางด้านการเงินและการคลัง

    • ตรึงอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป้าหมายที่ร้อยละ 0 - 0.25

    • ธนาคารกลางสหรัฐฯ ลดระดับมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) โดยปรับลดลงเดือนละ 1 หมี่นล้านเหรียญ สรอ. ต่อเดือน ส่งผลให้วงเงินการซื้อพันธบัตรปรับลดอยู่ในระดับ 3.5 หมื่นล้านเหรียญสรอ. ต่อเดือน

    World Economy_Supp.ppt

  • EURO (18):

    มาตรการผ่อนคลายทางการเงินของ ECB

    เครื่องมือ/มาตรการทางเงิน

    ลด อัตราดอกเบี้ยนโยบาย จาก 0.25% มาที่ 0.15%

    ลด อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก จาก 0.00% มาที่ -0.10%

    ลด อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ จาก 0.75% มาที่ 0.40%

    โครงการเงินกู้ระยะยาวดอกเบี้ยต่ า หรือ TLTROs

    ยกเลิกดูดสภาพคล่องจากโครงการ SMP

    GDP เติบโตอย่างช้าๆ

    ตัวเลขเงินเฟ้อต่ า

    อัตราการว่างงานที่สูง

    World Economy_Supp.pptfile:///C:/Documents and Settings/user/Local Settings/Temporary Internet Files/Content.Outlook/56COO3ZY/3504-p.doc

  • JAPAN

    เศรษฐกิจญี่ปุ่น ไตรมาส1 สูงขึ้นร้อยละ 1.6 (QoQ) และขยายตัวร้อยละ 3.0เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า(YoY)

    World Economy_Supp.ppt

  • CHINA

    มาตรการ

    ปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจให้พึง่พิงการบริโภคในประเทศ

    ลดอัตราส่วนส ารองสินทรัพย์สภาพคล่อง

    เศรษฐกิจจีน Q1 ขยายตัวร้อยละ 7.4 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้า ขณะที่ Q2 ขยายตัว 7.5 เม่ือเทียบกับปีก่อนหน้า

    World Economy_Supp.ppt

  • ดัชนีความสามารถด้านโลจิสติกส ์ (Logistics Performance Index :LPI)

  • LPI

    Source: World Bank

  • 0

    1

    2

    3

    4

    5

    4 3.59 3.43

    3.15 3.08 3 2.74

    2.39 2.25

    LPI

    (5th) (25th) (35th) (48th) (53rd) (57th) (83th) (131st) (145th)

    การประเมิน LPI:2014 ของไทยเทียบกับประเทศอาเซียน

    Source: World Bank

  • รายการ Singapore Malaysia Thailand ดัชนีความสามารถด้านโลจิสติกส์ 4.00 3.59 3.43

    อันดับ 5 25 35 1) พิธีการศุลกากร 4.01 3.37 3.21 2) โครงสร้างพื้นฐาน 4.28 3.56 3.40 3) การเตรียมการขนส่งระหว่างประเทศ 3.70 3.64 3.30 4) สมรรถนะผู้ให้บริการโลจิสติกส์ท้ังภาครัฐและธุรกิจ 3.97 3.47 3.29 5) ระบบการติดตามและตรวจสอบสินค้า 3.90 3.58 3.45 6) ความตรงต่อเวลาของบริการ 4.25 3.92 3.96

    การดัชนีความสามารถด้านโลจิสติกส ์(LPI) ปี 2014 LPI

    Source: World Bank

  • Thanks!

  • LPI 2014: Ranks 2007 2010 2012 2014

    Singapore 1 2 1 5 Malaysia 27 29 29 25 Thailand 31 35 38 35 Vietnam 53 53 53 48

    Indonesia 43 75 59 53 Philippines 65 44 52 57 Cambodia 81 129 101 83 Lao PDR 117 118 109 131 Myanmar 147 133 129 145

    160 155 155 150

  • LPI 2014: Scores

    2007 2010 2012 2014 Singapore 4.19 4.09 4.13 4.00 Malaysia 3.48 3.44 3.49 3.59 Thailand 3.31 3.29 3.18 3.43 Vietnam 2.89 2.96 3.00 3.15

    Indonesia 3.01 2.76 2.94 3.08 Philippines 2.69 3.14 3.02 3.00 Cambodia 2.50 2.37 2.56 2.74 Lao PDR 2.25 2.46 3.00 2.39 Myanmar 1.86 2.33 2.37 2.25

  • เสถียรภาพในประเทศ: อุปสงค์

  • 0

    1

    2

    3

    44

    3.59 3.43 3.15 3.08 3

    2.74 2.39 2.25

    LPI

    (5th) (25th) (35th) (48th) (53rd) (57th) (83th) (131st) (145th)

    การประเมิน LPI:2014 ของไทยเทียบกับประเทศอาเซียน