วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย excel ·...

20
ตัวอย่าง

Upload: others

Post on 19-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

ตวัอย่าง

Page 2: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

ตวัอย่าง

Page 3: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

ตวัอย่าง

Page 4: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

Microsoft Excel เป็นเคร่ืองหมายการค้าของบริษทั Microsoft

Corporation และเคร่ืองหมายการค้าอ่ืนๆ ท่ีอ้างถึงเป็นของบริษทั

นัน้ๆ

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยบริษัท

ไอดีซี พรีเมียร์ จ�ากัด ห้ามลอกเลียนไม่ว่าส่วนใดส่วนหนึ่งของ

หนังสือเล่มนี้ ไม่ว่าในรูปแบบใดๆ นอกจากจะได้รับอนุญาตเป็น

ลายลักษณ์อักษรจากผู้จัดพิมพ์เท่านั้น

บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จ�ากัด จัดตั้งขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ที่มี

คุณภาพสู่ผู้อ่านชาวไทย เรายินดีรับงานเขียนของนักวิชาการ

และนักเขียนทุกท่าน ท่านผู้สนใจกรุณาติดต่อผ่านทางอีเมลที่

[email protected] หรือทางโทรศัพท์หมายเลข

0-2962-1081 (อัตโนมัติ 10 คู่สาย) โทรสาร 0-2962-1084

พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2558

ข้อมูลทางบรรณานุกรม

ชนาภา หันจางสิทธิ์

วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ

นนทบุรี : ไอดีซีฯ, 2558

200 หน้า

1. ไมโครซอฟท์ เอ็กเซล (โปรแกรมคอมพิวเตอร์)

2. การวางแผน และบริหารการเงิน

I ชื่อเรื่อง

055.3684

ISBN E-Book 978-616-200-595-4

ราคา E-Book 165 บาท

Author ชนาภา หันจางสิทธิ์

[email protected]

Editorial พิษณุ ปุระศิริ

[email protected]

Production

Graphic Designers ยุทธนา เกิดประดิษฐ์

จตุรงค์ ศรีวิลาศ

Page Layout จิตราภรณ์ เหมะจันทร

Proofreaders สุนทรี บรรลือศักดิ์

มนฤดี ศรีอุทโยภาส

E-Book Production สุรีย์รัตน์ จิอู๋

จิราภรณ์ โสภา

Created By อินโฟเพรส (Infopress)

Published By

บริษัท ไอดีซี พรีเมียร์ จ�ำกัด

200 หมู่ 4 ชั้น 19 ห้อง 1901

อาคารจัสมินอินเตอร์เนชั่นแนลทาวเวอร์

ถ.แจ้งวัฒนะ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

โทรศัพท์ 0-2962-1081 (อัตโนมัติ 10 คู่สาย)

โทรสาร 0-2962-1084

สมำชิกสัมพันธ์

โทรศัพท์ 0-2962-1081-3 ต่อ 121

โทรสาร 0-2962-1084

ส�ำหรับร้ำนค้ำและตัวแทนจ�ำหนำ่ย

โทรศัพท์ 0-2962-1081-3 ต่อ 112-114

โทรสาร 0-2962-1084

วางแผน และบริหารการเงิน

ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ

ตวัอย่าง

Page 5: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

การวเิคราะห์ธรุกจิหรอืการวเิคราะห์กจิการ (Business Analysis) ถอืเป็นงานทีม่ส่ีวนส�าคญั

อย่างย่ิงท่ีจะท�าให้ธุรกิจก้าวหน้าหรือถดถอยลงได้ ผู้ที่ท�างานในส่วนนี้จึงต้องอาศัยทั้งความรู้และ

ประสบการณ์ในการท�างาน ผนวกกับแนวคิดเชิงวิเคราะห์ท้ังปัจจัยภายในและภายนอกองค์กร

อุปสงค์และอุปทานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์และเกิดประโยชน์สูงสุดในการท�าก�าไร

แก่กิจการนั้นๆ ซึ่งนอกจากการวิเคราะห์งบการเงินที่ผู ้เขียนได้อธิบายไว้ ในหนังสือสร้างและ

วิเคราะห์ งบการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ ซึ่งเป็นเล่มที่ 1 ว่าด้วยการวิเคราะห์งบการเงิน

ด้วย Excel โดยมุง่เน้นให้ผูอ่้านได้เข้าใจถงึการประยกุต์ใช้สตูร ฟังก์ชนั การใช้เครือ่งมอืและเทคนคิ

การจัดการกับข้อมูลโดยโปรแกรม Microsoft Excel ท�าให้เข้าใจถึงภาพรวมและความสัมพันธ์ที่

เชือ่มโยงกนัระหว่างงบการเงนิ ไม่ว่าจะเป็นงบก�าไรขาดทนุ (Income Statement), งบดลุ (Balance

Sheet) หรอืงบการเงนิอืน่ๆ ทีเ่ป็นพืน้ฐานความรูข้องการท�าธรุกจิและการลงทุนในตลาดหลกัทรพัย์

ส�าหรับหนังสือที่ท่านถืออยู่นี้เป็นเล่มที่ 2 ในชุด Business Data Analysis ที่กล่าวถึงการ

วางแผนและการจดัการธรุกจิด้วย Microsoft Excel ทีย่งัคงมุง่เน้นให้ผูอ่้านได้เข้าใจถงึการประยกุต์

ใช้สตูร ฟังก์ชนั เคร่ืองมอืและเทคนคิการจดัการกบัข้อมลูโดยโปรแกรม Microsoft Excel เพือ่เป็น

แนวทางในการค้นหาค�าตอบหรือสร้างข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ให้ง่ายขึ้น โดยมีตัวอย่าง

และกรณศีกึษาประกอบในแต่ละบททีส่ามารถน�าไปประยกุต์ใช้ได้กบัทกุเวอร์ชนั เช่น การวางแผน

งบประมาณ การควบคุมทางการเงิน การประมาณการ การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ-เชิงปริมาณ

การวางแผนก�าไร การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ จุดคุ้มทุน ราคา ค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์ผลงาน

และอัตราก�าไร เป็นต้น

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้อ่านจะได้รับความรู้ เทคนิค วิธีการใช้เครื่องมือต่างๆ ใน

โปรแกรม Excel จนสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้กับงานของท่านไม่มากก็น้อย หากผู้อ่านมีข้อ

สงสัย ต้องการติชม แชร์ความรู้ เสนอแนะ หรือพบข้อผิดพลาดประการใด สามารถติดต่อผู้เขียน

ได้ โดยตรงหรือผ่านทางส�านักพิมพ์ ผู้เขียนยินดีรับค�าติชมและตอบข้อสงสัยต่างๆ ด้วยความ

ขอบคุณและยินดียิ่ง

ชนาภา หันจางสิทธิ์

E-mail : [email protected]

FB : https://www.facebook.com/OfficesTraining

P r e f a c e

ตวัอย่าง

Page 6: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

Thanks

ขอขอบพระคุณอัลเลาะห์ซุปฮัลอัลลาห์ ที่ทรงประทานพรอัน

ดีงามให้แก่ข้าพเจ้าและครอบครัว

ขอขอบคุณบิดา มารดา ที่ทุ่มเทก�าลังกาย ก�าลังใจให้การอบรมฅ

สั่งสอน และสนับสนุนให้ข้าพเจ้าได้มีการศึกษา เติบโตในครอบครัวที่ดี

เติบใหญ่และมีชีวิตที่สวยงามตลอดมา ขอขอบคุณพ่ีๆ น้องๆ ครูบา

อาจารย์ และกัลยาณมิตรทุกท่าน ที่เป็นก�าลังใจในการสู้ชีวิต ให้การ

ช่วยเหลือทั้งเป็นก�าลังกาย ก�าลังใจที่มีให้กันมาโดยตลอด จนท�าให้

ผู้เขียนสามารถกลั่นกรองความรู้และเขียนหนังสือชุดนี้ออกมาจนเป็นผล

ส�าเร็จ

ขอขอบคุณบรรณาธิการที่ให้ค�าปรึกษา และแก้ไขงานเขียนจนได้

ผลงานที่ดี และน�าความภาคภูมิใจมายังผู ้เขียนและครอบครัว ขอ

ขอบคณุทมีงานของส�านกัพมิพ์ทกุท่าน ทีม่ส่ีวนสร้างสรรค์ผลงานทีด่อีอก

สู่สังคมมาโดยตลอด ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านที่เปิดอ่านหนังสือเล่มนี้

และให้การสนับสนุนงานเขียนของส�านักพิมพ์

ขอพรอันประเสริฐจากสิ่งศักดิ์ทั้งหลายในสากลโลกนี้ ให้บังเกิด

แก่ทุกๆ ท่านทั้งที่ข้าพเจ้าได้กล่าวถึงและไม่ได้เอ่ยนามด้วยเทอญ

ตวัอย่าง

Page 7: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

I

PART I

การวางแผนและควบคมุทางการเงนิ

(Financial Planning and Control)

CHAPTER 1

การจัดทำางบประมาณและวงจรการวางแผน

(Budgeting and Planning Cycle) 2

งบประมาณด�าเนินงาน (Operating Budget) ..... 3

Xงบประมาณขาย (Sales Budget) .........................4

Xงบประมาณการผลิต (Production Budget).......6

Xงบประมาณวัตถุดิบทางตรง (Direct Material

Budget) ....................................................................9

Xงบประมาณค่าแรงงานทางตรง (Direct Labor

Budget) ..................................................................12

Xงบประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing

Overhead Budget) ..............................................13

Xงบประมาณสินค้าคงเหลือปลายงวด (Ending

Inventory Budget) ...............................................15

Xงบประมาณต้นทุนขาย (Cost of Goods Sold

Budget) ..................................................................16

Xงบประมาณค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling

Expenses Budget) ..............................................18

Xงบประมาณค่าใช้จ่ายในการบริหาร

(Administrative Expenses Budget) ...............20

Xงบก�าไรขาดทุนโดยประมาณ (Budgeted Income

Statement) ............................................................22

งบประมาณการเงิน (Financial Budget) ..........23

Xงบประมาณเงนิลงทนุ (Capital Expenditure หรอื

Capital Budget) ...................................................23

Xงบประมาณเงินสด (Cash Budget) ...................24

Xงบประมาณงบดลุ (Budgeted Balance Sheet) 25

สรุปเกี่ยวกับงบประมาณ .....................................27

ตวัอย่าง

Page 8: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

IIII

CHAPTER 2

การคาดการณ์และผลการประมาณการ

(Forecasting and Projections) 30

เปิดใช้เครื่องมือ Analysis ToolPak ส�าหรับ

วิเคราะห์ข้อมูล ....................................................32

พยากรณ์ข้อมลูแบบ Simple Moving Average ....33

Xตัวอย่างการใช้สูตรค�านวณ ในการหาค่า Simple

Moving Average ..................................................36

พยากรณ์ข้อมูลแบบ Weighted Moving

Average ..............................................................37

Xตัวอย่างการใช้สูตรค�านวณ ในการหาค่า

Weighted Moving Average ............................38

พยากรณ์ข้อมลูแบบ Exponential Smoothing ..41

พยากรณ์ข้อมูลแบบ Trend Analysis (Causal

Method) .............................................................47

CHAPTER 3

การวิเคราะห์เชิงคุณภาพ (Qualitative Analysis)

และการวิเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative

Analysis) 58

การวิเคราะห์ธุรกิจเชิงคุณภาพ (Qualitative

Analysis) ............................................................59

Xขนาดของบริษัท (Size of the Firm) .................59

Xอัตราการขยายตัวในอดีต

(Past Rate of Growth) ......................................59

Xลักษณะของผลิตภัณฑ์

(Nature of the Products)..................................60

Xชื่อยี่ห้อผลิตภัณฑ์ (Brand Names) ...................60

Xโครงสร้างของเงนิทนุ (Capital Structure) ..........60

Xการกระจายของผลติภณัฑ์ (Diversification) .......60

Xผู้บริหารระดับสูง (Top Management) .............60

Xตัวอย่างการใช้ Excel ในการหาค่า Correlation

Coefficient .............................................................48

การวเิคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ..51

Xแนวคิดการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น ............52

Xความสามารถทางด้านการคิดค้นและเสนอ

ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ (Research & Product

Development Resources).................................60

Xพนักงาน (Human Resources) ..........................61

การวิเคราะห์ธุรกิจเชิงปริมาณ (Quantitative

Analysis) ............................................................61

Xการวิเคราะห์การเงิน (Financial Statement) ...........62

Xการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน (Ratios

Analysis) ...............................................................62

Xการประเมินมูลค่าหลักทรัพย ์................................62

ตวัอย่าง

Page 9: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

III

PART II

การตัดสนิใจเกีย่วกบัการลงทนุ

(Investment Decision)

CHAPTER 4

วิธีสร้างการวิเคราะห์ความไว กรณีศึกษาทาง

ธุรกิจ (Creating a Sensitivity Analysis

for a Business Case) 66

ใช้เครื่องมือ Data Table ในการวิเคราะห์ข้อมูล

(Using the Data Table Tool) .........................67

Xตัวอย่างที่ 1 ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลความไว

ของกิจการที่ด�าเนินการอยู่ ....................................68

Xตัวอย่างที่ 2 แสดงการค�านวณและวิเคราะห์

ความไวของก�าไร ในอัตราร้อยละที่เปลี่ยนแปลง

ไปตามการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของต้นทุนคงที่

ตั้งแต่ -15% ถึง 10% ..........................................72

Xตัวอย่างที่ 3 แสดงการวิเคราะห์ความไวของก�าไร

กบัปรมิาณการขายทีเ่ปลีย่นและต้นทนุผนัแปร ....75

ใช้เครื่องมือ Goal Seek ในการวิเคราะห์ข้อมูล

(Using the Goal Seek Tool) ..........................77

Xตัวอย่างที่ 4 ใช้ Goal Seek ค้นหาก�าไรที ่

ต้องการ ...................................................................77

ใช้เครื่องมือ Scenario ในการวิเคราะห์ข้อมูล

(Using the Scenario Tool) .............................79

Xตัวอย่างที่ 5 ใช้ Scenario ค้นหาผลก�าไรขาดทุนขั้นต้น .................................................... 79

CHAPTER 5

การวางแผนทำากำาไร (Planning Profits) 86

การวเิคราะห์หาจดุคุม้ทนุ (Break-Even Point) ....87

Xตัวอย่างที่ 1 ต้องการหาจุดคุ้มทุนว่าต้องขาย

กี่หน่วยจึงจะถือว่าคุ้มทุน .......................................87

Xตัวอย่างที่ 2 แสดงงบก�าไรขาดทุน (วิธีต้นทุน

ผันแปร) ณ จุดคุ้มทุน ............................................89

ตวัอย่าง

Page 10: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

IVIV

Xตัวอย่างที่ 3 แสดงการค�านวณหาจุดคุ้มทุนด้วย

เครือ่งมอื What-If Analysis แบบ Data Table ....92

Xตัวอย่างที่ 4 สร้างแผนภูมิเพื่อแสดงจุดคุ้มทุน

(Break-Even Point) .............................................93

สร้างสมมติฐานในการวิเคราะห์การมีส่วนร่วม

(Contribution Analysis) ...................................99

ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Linear Relationships) ......99

Xตัวอย่างที่ 5 สร้างแผนภูมิเส้น เพื่อแสดงแนวโน้ม

ของข้อมูลซึ่งมีผลต่อต้นทุนผันแปร .................. 100

Xตัวอย่างที่ 6 สร้างแผนภูมิแบบเส้น เพื่อด ู

แนวโน้มของข้อมูล และเป็นแนวทางในการ

วิเคราะห์ข้อมูลจัดซื้อต่อไป ................................ 107

PART III

การตลาดและการขาย

(Sales and Marketing)

CHAPTER 6

การนำาเข้าข้อมูลธุรกิจสู่โปรแกรม Excel

(Importing Business Data into Excel) 116

วิธีการน�าข้อมูลเข้าสู่โปรแกรม Excel ....................117

น�าเข้าข้อมลูไปยงั PivotTable และ PivotChart .....119

น�าเข้าข้อมูลจากเว็บ (Using Parameterized Web

Queries) ....................................................................123

วเิคราะห์หุน้ไทยด้วยตนเองในโปรแกรม Excel ......125ตวัอย่าง

Page 11: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

V

CHAPTER 7

วิเคราะห์ผลงานและอัตรากำาไรขั้นต้น

(Analyzing Contributions and Margins) 130

ตัวอย่างวิเคราะห์ก�าไรต่อส่วนของเจ้าของ หรือผล

ตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ ............................132

สูตรการวิเคราะห์ก�าไรขั้นต้น ............................133

ตัวอย่างการค�านวณหาอัตราก�าไรขั้นต้น ...........133

Xตัวอย่างที่ 1 ค�านวณหาอัตราก�าไรขั้นต้นของ

ราคาขาย และอัตราก�าไรขั้นต้นของราคาทุนของ

ร้านแพนด้า .......................................................... 134

Xตัวอย่างที่ 2 ค�านวณหายอดอัตราก�าไรขั้นต้น

และยอดซื้อสินค้าทั้งสิ้นมีอยู่เท่าไร ของบริษัท

พวงแสด สาขา 1 จ�ากัด .................................... 138

Xตัวอย่างที่ 3 ค�านวณหาอัตราก�าไรขั้นต้น และ

ยอดขายของร้าน หวานเย็นว่าเป็นเท่าไร ......... 142

Xตัวอย่างที่ 4 ค�านวณหาอัตราก�าไรขั้นต้นที่ได้รับ

ของร้าน เสือดาว ............................................... 148

การวิเคราะห์อัตราก�าไรขั้นต้น ...........................151

Xตัวอย่างที่ 5 ค�านวณหาอัตราก�าไรขั้นต้นจาก

สินค้าคงคลัง, จากพื้นที่ และจากค่าแรงงานของ

บริษัท ABC .......................................................... 151

CHAPTER 8

กำาหนดราคาและค่าใช้จ่าย

(Pricing and Costing) 156

ตัวอย่างกรณีศึกษา AIM Global CABLE

MODEMS Ltd. ...............................................157

Xค�านวณหาต้นทุนของสนิค้าทีข่ายได้ (COGS) ...158

Xค�านวณหาก�าไรขั้นต้น (Gross Profit) ............. 159

Xค�านวณหาค่าใช้จ่ายในการขาย

(Sales Expenses) ............................................. 159

Xค�านวณหารายได้จากการด�าเนินงาน (Income

From Operations) ............................................ 160

Xค�านวณหามูลค่าสินค้าคงเหลือปลายงวด

(Ending Inventory) ........................................... 161

เตรียมประมาณการงบก�าไรขาดทุน (Income

Statement) .......................................................163

Xค�านวณหาต้นทนุขาย (COGS) ในไตรมาสที ่2 ....163

Xค�านวณหามูลค่าสินค้าในไตรมาสที่ 2 .............. 166

Xค�านวณหารายได้จากการด�าเนินงาน (Income

From Operations) ............................................ 167

Xค�านวณหาต้นทุนการผลิตต่อหน่วย

(Unit Production Cost) .................................. 167

Xค�านวณหามูลค่าสินค้าคงเหลือปลายงวด

ไตรมาส 2 ........................................................... 168

การตัดสินใจในการก�าหนดราคา .......................170

Xค้นหาจุดคุ้มทุน (Finding to Break-Even

Point) ................................................................... 171

Xการวิเคราะห์ก�าไรส่วนเกิน

(Contribution Margin) .....................................174

CHAPTER 9

คำาศัพท์ที่นักวิเคราะห์ธุรกิจหรือนักลงทุนควร

ทราบ 178

บรรณานุกรม .....................................................184

ตวัอย่าง

Page 12: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

ตวัอย่าง

Page 13: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ1

การวางแผนและควบคุมทางการเงิน

(Financial Planning and Control)

PARTI

การจัดท�างบประมาณ เป็นเครื่องมือของ

ฝ่ายบริหารที่มุ่งใช้ ในการวางแผน การประสาน

งาน และการควบคุมทางการเงิน เพื่อให้สามารถ

บรรลุผลถึงเป้าหมายที่กิจการต้องการ โดย

สามารถแสดงผลงานออกมาเป็นตัวเลข เพื่อการ

ทดสอบแผนงานกับวัตถุประสงค์หลักท่ีต้องการ

และทดสอบว่าแผนงานนั้นสามารถด�าเนินการได้

หรือไม่ อีกทั้งเป็นแนวทางในการด�าเนินกิจการ

และใช้เป็นเคร่ืองมือวัดผลการด�าเนินงานจริง

โดยจะกล่าวถึงงบประมาณด�าเนินงาน และงบ

ประมาณการเงินต่างๆ โดยใช้ Microsoft Excel

เป็นเครื่องมือในการจัดการตวัอย่าง

Page 14: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

Chapter 1 การจัดทำางบประมาณและวงจรการวางแผน (Budgeting and Planning Cycle) 2

PART I

Chapter 1การจัดทำางบประมาณและวงจรการวางแผน

(Budgeting and Planning Cycle)

ตวัอย่าง

Page 15: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ3

งบประมาณ (Budgeting) เป็นแผนงานโดยละเอียดในรูปของตัวเลขท้ังจ�านวนหน่วยและ

จ�านวนเงิน ตามแผนการด�าเนินงานของกิจกรรมส�าหรับระยะเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต การวางแผน

ก�าไรมีผลต่อการท�าก�าไรได้สูงสุด เพื่อให้หน่วยงานสามารถด�าเนินงานได้ผลส�าเร็จตามเป้าหมาย

ในการพิจารณาโครงการ ฝ่ายจัดการจะต้องคาดคะเนรายได้ท่ีได้รับแต่ละโครงการ และก�าหนดงบ

ประมาณต้นทุนที่ต้องใช้จ่าย เพ่ือน�ามาใช้ ในการตัดสินใจลงทุนในโครงการท่ีเหมาะสม นอกจากนั้น

งบประมาณยังเป็นตัวก�าหนดงบการเงินของกิจการไว้ล่วงหน้า การวางแผนก�าไรของกิจการเป็นส่วน

ประกอบหนึ่งในการจัดท�างบประมาณด�าเนินงาน และงบประมาณเงินสด

งบประมาณดำาเนนิงาน (Operating Budget)งบประมาณด�าเนินงาน เป็นการแสดงถึงการด�าเนินงานของกิจการในงวดต่อไป แนวคิดใน

การจัดท�างบประมาณด�าเนินงานนั้น ได้มาจากการจัดท�างบก�าไรขาดทุน ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่างบ

ประมาณด�าเนินงานคือ งบก�าไรขาดทุนโดยประมาณ ต่างกันเพียงแต่งบด�าเนินงานนั้นใช้ข้อมูลท่ี

คาดไว้ล่วงหน้า ส่วนงบก�าไรขาดทุนน้ันใช้ข้อมูลในอดีตที่กิจการได้บันทึกเอาไว้แล้ว การจัดท�างบ

ประมาณด�าเนินงาน หรืองบก�าไรขาดทุนโดยประมาณส�าหรับการผลิตสินค้า ประกอบด้วยการจัดท�า

งบประมาณขาย งบประมาณการผลิต งบประมาณวัตถุดิบทางตรง งบประมาณค่าแรงทางตรง งบ

ประมาณค่าใช้จ่ายในการผลิต งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขาย งบประมาณค่าใช้จ่ายในการบริหาร

งบประมาณต้นทุนขาย และงบประมาณงบก�าไรขาดทุน ส่วนงบประมาณของกิจการการขายสินค้า

หรือบริการ การจัดท�างบประมาณด�าเนินงานไม่ต้องจัดท�างบประมาณท่ีเกี่ยวข้องกับการผลิต ซึ่งใน

การจัดท�างบประมาณหลักเหล่านี้ จะมีขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกันตามล�าดับ งบประมาณท่ีท�าขึ้นล�าดับ

หลังจะต้องน�าผลจากการจัดท�างบประมาณในขั้นตอนก่อนมาค�านวณ ดังนั้น หากค�านวณและคาด

คะเนผิดพลาดจะต้องจัดท�างบประมาณใหม่ทั้งหมด ดังภาพประกอบด้านล่างนี้ตวัอย่าง

Page 16: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

Chapter 1 การจัดทำางบประมาณและวงจรการวางแผน (Budgeting and Planning Cycle) 4

PART I

งบประมาณขาย (Sales Budget)

งบประมาณขาย เป็นงบประมาณแรกที่จะต้องท�าก่อนงบประมาณอื่นๆ เพราะการจัดท�างบ

ประมาณหลักทุกงบขึ้นอยู ่กับการคาดคะเนการขาย ซึ่งจะประกอบไปด้วยการคาดคะเนการขาย

แยกเป็นหน่วยขาย ราคาขาย และการจัดอัตราการขายผสมในช่วงระยะเวลาตามงบประมาณนั้น

งบประมาณขายอาจจัดท�าได้หลายรูปแบบตามความเหมาะสมของกิจการ เช่น ตามอาณาเขตการขาย

ตามประเภทของสินค้าที่ขาย ตามกลุ่มของลูกค้า ตามความสามารถของพนักงานขาย หรือตาม

อาณาเขตการขายและประเภทของสินค้าประกอบกัน จากนั้นจึงก�าหนดราคาขายท่ีเหมาะสม โดย

การศึกษาวิธีการตั้งราคา ควรขายหน่วยละเท่าไร จึงจะท�าให้ลูกค้าพอใจ และท�าให้หน่วยเป็นไปตาม

ที่ประมาณการไว้ ซ่ึงควรเป็นราคาขายที่ท�าให้ได้ก�าไรเบื้องต้นสูงท่ีสุด เมื่อทราบราคาขายต่อหน่วย

และจ�านวนหน่วยที่จะขายแล้ว จึงสามารถทราบค่าขายตามงบประมาณได้

ตัวอย่างที่ 1 บริษัท เอบีซี ตัวอย่าง จ�ากัด ผลิตและจ�าหน่ายสินค้า 2 ชนิดคือ สินค้ากลุ่ม

A และสินค้ากลุ่ม B ข้อมูลที่น�ามาคาดคะเนการขายปี 2560 ประกอบด้วยข้อมูลจากการส�ารวจ

ตลาดโดยพนักงานขาย ซ่ึงเป็นข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆ ในอดีตที่มีผลต่อการขาย เงื่อนไขทางด้าน

เศรษฐกิจโดยทั่วไป และเป้าหมายในการขายที่คาดหวังของฝ่ายบริหาร โดยน�าสถิติการขายในอดีต

มาวิเคราะห์แนวโน้มในปี 2560 ข้อมูลการขายที่ได้มีดังนี้

ประมาณการการขาย สินค้ากลุ่ม A สินค้ากลุ่ม B

ราคาขายต่อหน่วย (บาท) 80 65

ยอดขายไตรมาสที่ 1 (หน่วย) 5,500 8,000

ยอดขายไตรมาสที่ 2 (หน่วย) 6,000 9,000

ยอดขายไตรมาสที่ 3 (หน่วย) 6,500 10,000

ยอดขายไตรมาสที่ 4 (หน่วย) 8,000 15,000

การจัดท�างบประมาณการขาย เป็นดังนี้ตวัอย่าง

Page 17: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ5

ใช้สูตรค�านวณต่างๆ ดังนี้

ตัวอย่างที่ 2 บริษัท เอบีซีอุตสาหกรรม จ�ากัด ผลิตและขายสินค้าชนิดหนึ่งมีข้อมูลต่างๆ ดังนี้

1) มียอดลูกหนี้ต้นงวดยกมา 50,000 บาท

2) ยอดขายในแต่ละไตรมาสขายเป็นเงินสดเก็บเงินได้ 80% ขายเชื่อ 20% สามารถเก็บเงิน

ได้โดยรับในไตรมาสถัดไป 15% ที่เหลืออีก 5% ถือเป็นหนี้สูญที่ไม่สามารถเก็บเงินได้

3) บริษัทก�าหนดราคาขายหน่วยละ 20 บาท และได้พยากรณ์ยอดขายไว้ดังนี้

ไตรมาสที่ 1 ขาย 27,000 หน่วย

ไตรมาสที่ 2 ขาย 30,000 หน่วย

ไตรมาสที่ 3 ขาย 25,000 หน่วย

ไตรมาสที่ 4 ขาย 27,000 หน่วย

รวมยอดขายทั้งสิ้น 109,000 หน่วย

จากข้อมูลดังกล่าว

ข้างต้น เราสามารถจัดท�างบ

ประมาณการขายได้ดังนี้ ตวัอย่าง

Page 18: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

Chapter 1 การจัดทำางบประมาณและวงจรการวางแผน (Budgeting and Planning Cycle) 6

PART I

สูตรค�านวณที่ใช้มีดังนี้

งบประมาณการผลิต (Production Budget)

งบประมาณการผลิต จัดท�าขึ้นเพ่ือประมาณการยอดการผลิตให้เพียงพอต่อการขาย การ

ค�านวณจ�านวนสินค้าที่ต้องการผลิต และการก�าหนดตารางการผลิต จะต้องก�าหนดสินค้าส�าเร็จรูป

คงเหลือปลายงวดก่อน เพราะจะต้องรักษาระดับสินค้าปลายงวดให้เพียงพอกับการขยายตัวของยอด

ขายในอนาคต จ�านวนสินค้าคงเหลือปลายงวดเป็นปัจจัยท่ีส�าคัญในการวัดสมรรถภาพในการสร้าง

ก�าไร เพราะถ้าเก็บสินค้าไว้มากต้องเสียต้นทุนในการเก็บรักษา ค่าประกันภัย และเกิดต้นทุนค่าเสีย

โอกาสที่เงินลงทุนจมในสินค้า ไม่ได้ ใช้เงินทุนไปลงทุนในโครงการลงทุนอื่นท่ีสร้างก�าไรได้มากกว่า

แต่ถ้าเก็บสินค้าส�าเร็จรูปไว้น้อย ในขณะที่ภาวะตลาดมีความต้องการสินค้านั้นสูงกว่าท่ีคาดคะเนไว้

เกิดสินค้าขาดตลาด ไม่เพียงพอต่อการขาย ไม่สามารถส่งมอบสินค้าแก่ลูกค้าได้ตามเวลาที่ก�าหนด

ลูกค้าย่อมไม่พอใจ และหากเร่งการผลิต ก็จะมีผลต่อตารางการผลิต ดังนั้น การก�าหนดปริมาณสินค้า

คงเหลือในระดับท่ีเหมาะสม เป็นสิ่งที่ต้องจัดท�าก่อนการจัดท�างบประมาณการผลิต สมการค�านวณ

จ�านวนสินค้าที่ต้องผลิตมีดังนี้

จ�านวนสินค้าที่ต้องผลิต = จ�านวนหน่วยขาย + จ�านวนหน่วยสินค้าส�าเร็จรูปปลายงวดที่ต้องการ –

จ�านวนหน่วยสินค้าส�าเร็จรูปต้นงวด

ตวัอย่าง

Page 19: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel ฉบับมืออาชีพ7

ตัวอย่างที่ 3 บริษัทแห่งหน่ึง ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 มีสินค้ากลุ่ม A จ�านวน 1,650

หน่วย สินค้ากลุ่ม B จ�านวน 2,500 หน่วย บริษัทแห่งนี้ต้องการก�าหนดจ�านวนสินค้าส�าเร็จรูป

คงเหลือในแต่ละไตรมาสไม่น้อยกว่า หรือเท่ากับปริมาณการขายในเดือนแรกของไตรมาสถัดไปดังนี้

เดือน สินค้ากลุ่ม A สินค้ากลุ่ม B

เมษายน 2560 3,800 3,000

กรกฎาคม 2560 2,850 3,800

ตุลาคม 2560 2,000 3,200

มกราคม 2561 1,980 2,980

การจัดท�างบประมาณการผลิต เป็นดังนี้

ใช้สูตรค�านวณต่างๆ ดังนี้

หรือใช้สูตรค�านวณหาปริมาณการผลิตดังนี้

ปริมาณหน่วยผลิต = ปริมาณหน่วยขาย + สินค้าคงเหลือปลายงวด - สินค้าคงเหลือต้นงวด

กรณีที่ 1 ไม่มีสินค้าระหว่างผลิต

กรณีที่ 2 มีสินค้าระหว่างผลิต

การค�านวณหาปริมาณหน่วยผลิต ทั้งกรณีที่ไม่มีสินค้าระหว่างผลิตและมีสินค้าระหว่างผลิต

สามารถน�ามาค�านวณได้ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ตวัอย่าง

Page 20: วางแผน และบริหารการเงิน ด้วย Excel · 2015-07-15 · การวิเคราะห์ธุรกิจหรือการวิเคราะห์กิจการ

Chapter 1 การจัดทำางบประมาณและวงจรการวางแผน (Budgeting and Planning Cycle) 8

PART I

ตัวอย่างที่ 4 บริษัท เหลือเฟือ จ�ากัด มีปริมาณหน่วยขายส�าหรับปีหน้า 50,000 หน่วย

มีสินค้าคงเหลือต้นงวด 4,000 หน่วย บริษัทมีนโยบายส�ารองสินค้าคงเหลือปลายงวด 10% ของ

ปริมาณขายในไตรมาสที่ 1 สมมติว่าปริมาณหน่วยขายในไตรมาสที่ 1 ของปีเท่ากับ 4,500 หน่วย

เราสามารถค�านวณหาปริมาณการผลิตได้ดังนี้

ปริมาณหน่วยขาย 50,000 หน่วย

บวก สินค้าคงเหลือปลายงวด 4,000 หน่วย

ปริมาณสินค้าที่มีอยู่ 54,000 หน่วย

หัก สินค้าคงเหลือต้นงวด 10% (4,500) 450 หน่วย

ปริมาณหน่วยผลิต 43,550 หน่วย

ตัวอย่างที่ 5 จากตัวอย่าง บริษัท เหลือเฟือ จ�ากัด สมมติว่ากิจการมีสินค้าระหว่างผลิต

ต้นงวด 3,000 หน่วย คาดว่าจะผลิตเสร็จ 80% สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด 1,950 หน่วย เรา

สามารถค�านวณหาปริมาณการผลิตได้ดังนี้

ปริมาณหน่วยขาย 50,000 หน่วย

บวก สินค้าคงเหลือปลายงวด 4,000 หน่วย

ปริมาณสินค้าที่มีอยู่ 54,000 หน่วย

หัก สินค้าคงเหลือต้นงวด 10% (4,500) 450 หน่วย

คงเหลือ 53,550 หน่วย

บวก สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด (3,000 * 80%) 2,400 หน่วย

รวม 55,950 หน่วย

หัก สินค้าระหว่างผลิตต้นงวด 1,950 หน่วย

ปริมาณหน่วยผลิต 54,000 หน่วย

ปริมาณหน่วยผลิต = ปริมาณหน่วยขาย + สินค้าคงเหลือปลายงวด - สินค้าคงเหลือต้นงวด

+ สินค้าระหว่างผลิตปลายงวด - สินค้าระหว่างผลิตต้นงวด

ตวัอย่าง