เกณฑ์การประกวดแขงขัน...

18
เกณฑ์การประกวดแข่งขัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มหกรรมวันวิชาการสังฆมณฑลนครราชสีมา ครั้งทีปีการศึกษา 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมารีย์อุปถัมภ์ จ.ชัยภูมิ

Upload: others

Post on 25-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

เกณฑ์การประกวดแข่งขัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

มหกรรมวันวิชาการสังฆมณฑลนครราชสีมา ครั้งที่ ๓ ปีการศึกษา 2556

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมารีย์อุปถัมภ์ จ.ชัยภูมิ

Page 2: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

กิจกรรมที่แข่งขัน

รายการกิจกรรมการประกวด/แข่งขัน ระดับชั้น

ประเภท หมายเหตุ ป.๑-๓ ป.๔-๖ ม.๑-๓

๑. อ่านออกเสียงและจับใจความส าคัญ เดี่ยว ประเภททีมเป็นนักเรียนโรงเรียนเดียวกัน

๒. อ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) เดี่ยว ๓. เขียนเรียงความและคัดลายมือ เดี่ยว ๔. ท่องอาขยานท านองเสนาะ เดี่ยว ๕. สุนทรพจน์ เดี่ยว ๖. แต่งบทร้อยกรอง ๖.๑ กลอนสี่ (๔ บท) ๖.๒ กาพย์ยานี ๑๑ (๘ บท)

- -

-

-

ทีม ๒ คน

๗. หนังสือเล่มเล็ก ๘. ค าคม

รวม ๓ ๖ ๗ ๑๖ เบอร์โทรศัพท์ผู้ประสานงาน คุณครูบุญศรี นุฤทธิ์มนตรี (085-6118221)

Page 3: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

การแข่งขันทักษะภาษาไทย ๑. คณะกรรมการตัดสิน คุณสมบัติของคณะกรรมการ

๑) ผู้ทรงคุณวุฒิ ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านภาษาไทย หรือ ๒) ศึกษานิเทศก์ท่ีรับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย หรือ ๓) ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ข้อควรค านึง ๑) กรรมการที่เป็นครูต้องไม่ตัดสิน ในกรณีที่มีนักเรียนในสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน และกรรมการที่เป็นศึกษานิเทศก์ต้องไม่ตัดสินในกรณีท่ีมีนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดเขตของตนเข้าแข่งขัน ๒) กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแต่งตั้งให้ตัดสินในระดับชั้นที่ทาการสอน ๓) กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาต่างๆ หลายเขตในภาคเดียวกัน ๔) กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมแก่นักเรียนที่ชนะในลาดับที่ ๑ – ๓

๒. เกณฑ์การตัดสิน ร้อยละ ๘๐ – ๑๐๐ ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ ๗๐ – ๗๙ ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ ๖๐ – ๖๙ ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง คะแนนต่ ากว่าร้อยละ ๖๐ ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่กรรมการมีความเห็นเป็นอย่างอ่ืน การตัดสินของคณะกรรมการทุกประเภทถือเป็นที่สุด ๓. การเข้าแข่งขัน ในกรณีที่มีผู้ชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากันมากกว่า ๓ คน/ทีม ให้พิจารณาลาดับตามลาดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น บุคคลหรือทีมที่ได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากัน ให้ใช้คะแนน ข้อที่ ๒ หากได้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือว่าเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ ๒ เท่ากัน ให้ใช้คะแนนข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อ ให้ใช้วิธีจับฉลาก

Page 4: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

รายละเอียดการแข่งขันแต่ละประเภท ๑. อ่านออกเสียงและจับใจความส าคัญ ๑.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๑.๑.๑ ชั้น ป. ๑ -๓ ๑.๑.๒ ชั้น ป. ๔ -๖ ๑.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๑.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒) ชั้น ป. ๔ - ๖ จานวน ๑ คน ๑.๓ ทักษะที่ใช้ในการแข่งขัน ๑.๓.๑ การอ่านออกเสียง ๑.๓.๒ ความเข้าใจการอ่าน ๑.๔. วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ผู้เข้าแข่งขันแต่ละคนในชั้นนั้น ต้องเข้าแข่งขันทั้งสองทักษะ โดยเริ่มจากอ่านออกเสียงจากข้อความที่ก าหนดให้ และตอบคาถามจากเนื้อเรื่องที่อ่าน ๑.๔.๑ การอ่านออกเสียง เนื้อหาที่จะให้ผู้เข้าแข่งขันอ่าน คณะกรรมการเป็นผู้เตรียม โดยกรรมการเรียกนักเรียนอ่านทีละคน การอ่านออกเสียงทุกชั้น ด าเนินการดังนี้ ๑) นักเรียนจับฉลากล าดับที่เข้ารับการแข่งขันการอ่านทีละคน ๒) เก็บตัวนักเรียนไว้แยกจากห้องแข่งขันการอ่าน และไม่ให้ได้ยินเสียงการอ่าน ๓) กรรมการเรียกนักเรียนเข้าอ่านทีละคนตามลาดับที่จับฉลากได้ ๔) นักเรียนอ่านคนละไม่เกิน ๓ นาท ี๑ ครั้งเท่านั้น ๑.๔.๒ การจับใจความส าคัญ เนื้อหาที่จะให้ผู้เข้าแข่งขันพูดตอบค าถาม เป็นเรื่องเดียวกับที่นักเรียนใช้แข่งขันอ่าน โดย -เล่าเรื่องย่อได้ -บอกข้อคิด หรือประโยชน์จากเรื่องที่อ่าน -บอกความหมายของค าศัพท์ส าคัญจากเรื่องที่อ่าน อย่างน้อย ๕ ค า ๑.๕ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น ๑.๕.๑ การอ่านออกเสียง (อ่านผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน ไม่คิดค าซ้ า) คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน ๑) อักขรวิธี ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียง ๑๕ คะแนน ๒) ออกเสียง ร ล และคาควบกล้า ชัดเจน ๑๐ คะแนน ๓) อ่านไม่เกินค า อ่านไม่ขาดค า และอ่านไม่ตู่ค า ๑๐ คะแนน ๔) การเว้นวรรคตอน จังหวะ และน้าหนักค า ๑๕ คะแนน

Page 5: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๑.๕.๒ การจับใจความส าคัญ คะแนนเต็ม ๕๐ คะแนน ๑) เล่าเรื่องย่อได้ ๒๐ คะแนน ๒) บอกข้อคิดและประโยชน์ที่ได้จากเรื่องที่อ่าน ๒๐ คะแนน ๓) บอกความหมายของค า/ประโยค ที่อ่าน ๑๐ คะแนน กรรมการทุกท่านนาคะแนนจากการอ่านออกเสียงและการจับใจความส าคัญ หาค่าเฉลี่ย เป็นผลคะแนนตัดสินตามเกณฑ์ข้างต้น ๑.๖ คณะกรรมการการแข่งขัน ให้มีกรรมการชั้นปีละ ๓ –๕ คน ๑.๗ สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องท่ีมีโต๊ะ เก้าอ้ี ที่สามารถด าเนินการแข่งขันได้ และมีห้องเก็บตัวสาหรับผู้ที่รอการแข่งขัน

Page 6: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๒. อ่านเอาเรื่อง (อ่านในใจ) ๒.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๒.๑. ๑ ชั้น ม. ๑ -๓ ๒.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๒.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๒.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒.๓ ทักษะที่ใช้ในการแข่งขัน การอ่านถ้อยความ ๓ แบบ ได้แก่ แบบต่อเนื่อง แบบไม่ต่อเนื่อง และแบบผสม ๒.๔ วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๒.๔.๑ คณะกรรมการเตรียมบทอ่านและค าถาม ใช้เวลาในการท า ๑.๓๐ ชั่วโมง ๒.๔.๒ ลักษณะบทอ่านเป็นร้อยแก้วและร้อยกรอง เนื้อหาหลากหลาย ทั้งเนื้อหาเชิงวิชาการ บันเทิงคดี และสารคดี ๒.๕ วิธีการตอบครอบคลุมกลยุทธ์การอ่าน ทั้ง ๓ ด้าน ตามแนว PISA คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน ๑) กลยุทธ์การเข้าถึงและค้นคืนสาระ ๓๐ คะแนน ๒) กลยุทธ์การบูรณาการและตีความ ๓๕ คะแนน

๓) กลยุทธ์การสะท้อนและประเมิน ๓๕ คะแนน ๒.๖ รูปแบบของการตอบ มี ๔ รูปแบบ ได้แก่ ๒.๖.๑ แบบเลือกตอบจากหลายตัวเลือก ๒.๖.๒ แบบเลือกตอบเชิงซ้อน ๒.๖.๓ แบบเขียนคาตอบแบบสั้น หรือแบบปิด ๒.๖.๔ แบบเขียนคาตอบแบบอิสระ หรือแบบเปิด ๒.๗ ลักษณะของถ้อยความ ถ้อยความทีก่ าหนดให้อ่านมีมากกว่า ๑ ถ้อยความ แต่ละถ้อยความมีลักษณะดังนี้ ๒.๗.๑ รูปแบบของถ้อยความ อาจจะมีรูปแบบเดียวหรือหลายรูปแบบ ๒.๗.๒ วิธีการตอบจะใช้กลยุทธ์มากกว่า ๑ กลยุทธ์ ๒.๗.๓ รูปแบบการตอบ สามารถใช้รูปแบบการตอบได้มากกว่า ๑ รูปแบบ ๒.๘ คณะกรรมการการแข่งขัน ให้มีกรรมการชั้นปีละ ๓ –๕ คน ๒.๙ สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องท่ีมีโต๊ะ เก้าอ้ี สาหรับผู้เข้าแข่งขันนั่งตามเลขที่

Page 7: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๓. เขียนเรียงความและคัดลายมือ ๓.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๓.๑.๑ ชั้น ป. ๑ -๓ ๓.๑.๒ ชั้น ป. ๔ - ๖ ๓.๑.๓ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๓.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๓.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๓.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๒) ชั้น ป. ๔ – ๖ จานวน ๑ คน ๓) ชั้น ม. ๑ – ๓ จานวน ๑ คน ๓.๓ วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน กรรมการเตรียมขอบเขตเนื้อหา ให้นักเรียนเขียน ๑ ประเด็น จาก ๓ ประเด็น ดังนี้ ๓.๓.๑ ให้ตัวแทนนักเรียนจับฉลากเพียง ๑ ประเด็นจากที่ก าหนดให้ ๓.๓.๒ ชี้แจงให้นักเรียนเขียนเรียงความ ตามประเด็นที่ตัวแทนนักเรียนจับฉลากได้ และตั้งชื่อเรื่องเอง ใช้เวลาในการเขียนเรียงความและคัดลายมือ ๑.๓๐ ชั่วโมง ๓.๓.๓ เขียนเรียงความตามข้อ ๓.๓.๒ ชั้น ป. ๑ – ๓ ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๐ แต่ไม่เกิน ๑๕ บรรทัด คัดลายมือเต็มบรรทัด ด้วยดินสอ โดยใช้ตัวอักษรอ่านง่าย ถูกต้องตามลักษณะวิธีเขียนอักษรไทย ชัน้ ป. ๔ – ๖ ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๕ แต่ไม่เกิน ๒๐ บรรทัด คัดลายมือครึ่งบรรทัด ด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรอ่านง่าย ถูกต้องตามลักษณะวิธีเขียนอักษรไทย ชั้น ม. ๑ – ๓ ความยาวไม่น้อยกว่า ๒๕ แต่ไม่เกิน ๓๐ บรรทัด คัดลายมือครึ่งบรรทัด ด้วยปากกา โดยใช้ตัวอักษรอ่านง่าย ถูกต้องตามลักษณะวิธีเขียนอักษรไทย ๓.๔ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น ๓.๔.๑ การเขียนเรียงความ คะแนนเต็ม ๗๕ คะแนน ๑) การตั้งชื่อเรื่อง สอดคล้องกับเรื่องที่เขียน ๑๐ คะแนน ๒) เนื้อเรื่อง ๔๐ คะแนน - ลาดับข้อความและความคิดต่อเนื่อง สอดคล้องกันตลอดเรื่อง ๑๕ คะแนน - แสดงเหตุและผลอย่างสมเหตุสมผล ๑๕ คะแนน - ยกตัวอย่าง อ้างอิงประกอบ มีสานวนโวหาร สุภาษิต ค าคม ตัวเลข สถิติ บุคคล ฯลฯ ได้อย่างเหมาะสม ๑๐ คะแนน ๓) รูปแบบ ประกอบด้วย ส่วนนา เนื้อเรื่อง และสรุป ๕ คะแนน ๔) เขียนถูกต้องตามอักขรวิธี ๑๕ คะแนน ( การสะกดค า เว้นวรรคตอน เครื่องหมายวรรคตอน) ๕) ความยาวของเรื่องตามก าหนด ๕ คะแนน ๓.๔.๒ การคัดลายมือ คะแนนเต็ม ๒๕ คะแนน

Page 8: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๑) ใช้ตัวอักษรอ่านง่าย ถูกต้องตามลักษณะ วิธีเขียนอักษรไทยและเป็นระเบียบ ๑๕ คะแนน ๒) สะอาดเรียบร้อย ๑๐ คะแนน ๓.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ให้มีกรรมการชั้นปีละ ๓ –๕ คน ๓.๖ สถานที่จัดแข่งขัน ควรใช้ห้องเรียนที่มีโต๊ะ เก้าอ้ี ที่สามารถด าเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน

Page 9: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๔. ท่องอาขยานท านองเสนาะ ๔.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๔.๑.๑ ชั้น ป. ๑ -๓ ๔.๑.๒ ชั้น ป. ๔ -๖ ๔.๑ .๓ ชั้น ม. ๑ -๓ ๔.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๔.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๔.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๑ -๓ จานวน ๑ คน . ๒) ชั้น ป. ๔ -๖ จานวน ๑ คน ๓) ชั้น ม. ๑ -๓ จานวน ๑ คน ๔.๓ วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๔.๓.๑ เนื้อหาบทอาขยานที่นามาใช้แข่งขันท่องอาขยานทานองเสนาะ ประกอบด้วยบทอาขยานบทหลักและบทอาขยานบทเลือกของแต่ละชั้นปี จากหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย บทอาขยานภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ และให้ผู้เข้าแข่งขันท่องอาขยานท านองเสนาะโดยไม่ดูบท ๔.๓.๒ คณะกรรมการเตรียมบทอาขยานบทหลักและบทอาขยานบทเลือกของแต่ละชั้นปี จ าแนกเป็นบทอาขยานบทหลัก ๕ บท และบทอาขยานบทเลือก ๕ บท และนามาจับฉลากก่อนการแข่งขันโดย ให้ตัวแทนกรรมการจับฉลากบทอาขยานบทหลักและบทเลือกของแต่ละชั้นปีขึ้นมาอย่างละ ๓ บท รวมเป็น ชั้นปีละ ๖ บท ต่อจากนั้นให้ผู้เข้าแข่งขันแต่ละชั้นปีจับฉลากเลือกบทอาขยานเพียง ๑ บท จากจ านวน ๖ บท น ามาใช้แข่งขัน โดยนักเรียนผู้เข้าแข่งขันไม่ต้องแนะนาตัวเองต่อคณะกรรมการ ๔.๓.๓ เวลาในการท่องบทอาขยานท านองเสนาะขึ้นอยู่กับเนื้อหาบทอาขยาน ๔.๔. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็ น ๑) ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทร้อยกรอง คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ๒) ถูกต้องตามอักขรวิธี เช่น การอ่านค า, การออกเสียงค าควบกล้ า ร, ล ฯลฯ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน (ออกเสียงผิด ๑ ครั้ง หัก ๒ คะแนน) ๓) น้าเสียง เช่น ความไพเราะ ความหนักเบาและความชัดเจน ฯลฯ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ๔) ให้อารมณ์ความรู้สึกที่สอดคล้องกับเนื้อหาของบทอาขยาน คะแนนเต็ม ๕ คะแนน ๕) มีบุคลิกภาพ ความสง่างาม และความมั่นใจ คะแนนเต็ม ๕ คะแนน ๔.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ให้มีกรรมการชั้นปีละ ๓ –๕ คน ๔.๖ สถานที่จัดแข่งขัน จัดเวทีการแข่งขันให้นักเรียนขึ้นท่องอาขยานท านองเสนาะต่อหน้าคณะกรรมการ และมีที่นั่งสาหรับผู้เข้าชมการแข่งขัน รวมทั้งมีห้องเก็บตัวสาหรับนักเรียนที่รอเวลาการแข่งขันซึ่งอยู่ไกลจากเวทีพอสมควร เพ่ือไม่ให้ได้ยินเสียงผู้เข้าแข่งขันที่กาลังด าเนินการแข่งขัน

Page 10: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๕. กล่าวสุนทรพจน์ ๕.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๕.๑.๑ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๕.๒ ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๕.๒.๑ แข่งขันแบบเดี่ยว ๕.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ม. ๑ – ๓ จ านวน ๑ คน ๕.๓ วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๕.๓.๑ รอบเตรียมเนื้อหา (๑) กรรมการเตรียมประเด็น โดยก าหนดเป็นชื่อเรื่องการกล่าวสุนทรพจน์ ประกาศให้โรงเรียนในแต่ละโรงเรียนทราบล่วงหน้าอย่างน้อย ๕ วัน ก่อนการแข่งขัน (๒) ในวันแข่งขันให้นักเรียนที่เข้าแข่งขันจับฉลากเพ่ือจัดอันดับการกล่าวสุนทรพจน์ โดยสาเนาบทพูด จานวน ๓ -๕ ชุด ให้แก่คณะกรรมการในวันแข่งขันด้วย (๓) กรรมการให้ผู้เข้าแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ตามล าดับ โดยไม่มีการแนะน าตัว ส าหรับ ผู้ที่ยังไม่ได้แข่งขันให้อยู่ในห้องเก็บตัว (๔) ระยะเวลาในการกล่าวสุนทรพจน์ ไม่เกิน ๕ นาที (บวก/ลบ ๓๐ วินาที) ๕.๓.๒ รอบฉับพลัน (๑) กรรมการเตรียมประเด็น โดยก าหนดเป็นชื่อเรื่องการกล่าวสุนทรพจน์ ให้นักเรียน ล าดับที ่๑ ของรอบแรก เตรียมตัวก่อนขึ้นพูด ๕ นาท ี (๒) ระหว่างที่นักเรียนล าดับที่ ๑ กาลังกล่าวบนเวที นักเรียนล าดับที ่๒ แยกเก็บตัวอีกห้องหนึ่งเพ่ือเตรียมเนื้อหา ส่วนนักเรียนล าดับต่อไป แยกเก็บตัวในห้องเก็บตัวอีกห้องหนึ่ง (๓) เมื่อนักเรียนลาดับที่ ๑ กล่าวจบ ให้นักเรียนล าดับที่ ๒ ขึ้นเวที ส่วนล าดับที ่๓ แยกเก็บตัวเพ่ือเตรียมเนื้อหา นักเรียนล าดับต่อไปด าเนินการแบบเดียวกันจนครบทุกคน (๔) ระยะเวลาในการกล่าวสุนทรพจน์ ไม่เกิน ๓ นาที (บวก/ลบ ๓๐ วินาที) ๕.๔. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็ น ๕.๔.๑ เนื้อหา คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน ๑) ล าดับเนื้อหา ความต่อเนื่อง ๒๐ คะแนน ๒) ความถูกต้องของข้อมูล ความสอดคล้องกับหัวข้อ ๑๐ คะแนน ๓) คุณค่าของเนื้อหา (ประโยชน์ของเนื้อหาที่จะนาไปใช้) ๑๐ คะแนน ๕.๔.๒ การนาเสนอ คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ๑) อักขรวิธี ๑๐ คะแนน ๒) น้ าเสียง (การพูดแบบเป็นธรรมชาติ) ๑๐ คะแนน ๓) บุคลิกภาพ ๑๐ คะแนน ๕.๔.๓ การใช้ภาษา คะแนนเต็ม ๓๐ คะแนน ๑) ระดับภาษาเหมาะสมกับเนื้อหา ๑๐ คะแนน ๒) ความถูกต้อง (การเลือกใช้คา การผูกประโยค ไวยากรณ์) ๑๐ คะแนน

Page 11: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๓) สานวนโวหาร ๑๐ คะแนน ๕.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ให้มีกรรมการชั้นปีละ ๓ –๕ คน ๕.๖ สถานที่จัดแข่งขัน ๕.๖.๑ จัดเวทีให้นักเรียนขึ้นกล่าวสุนทรพจน์ต่อหน้าคณะกรรมการ และมีที่นั่งสาหรับผู้ชม ๕.๖.๒ ห้องเก็บตัวผู้ที่รอการแข่งขัน ๑ ห้อง

Page 12: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

๖ . แต่งบทร้อยกรอง ๖.๑ คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน ๖.๑.๑ ชั้น ป. ๔ -๖ ๖.๑.๒ ชั้น ม. ๑ - ๓ ๖.๒. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน ๖.๒.๑ แข่งขันประเภททีม ทีมละ ๒ คน ๖.๒.๒ จานวนผู้เข้าแข่งขัน ๑) ชั้น ป. ๔ - ๖ จ านวน ๑ ทีม ๒) ชั้น ม. ๑ - ๓ จ านวน ๑ ทีม ๖.๓ วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน ๖.๓.๑ กรรมการก าหนดหัวข้อที่จะใช้ในการแข่งขัน จ านวน ๓ หัวข้อ ๖.๓.๒ ให้นักเรียนเลือกผู้แทน ๑ คน จับฉลากหัวข้อ แล้วน าหัวข้อที่จับฉลากได้ไปแต่งบทร้อยกรอง ๑) ชั้น ป. ๔ - ๖ แต่งกลอนสี่ จานวน ๔ บท ๒) ชั้น ม. ๑ - ๓ แต่งกาพย์ยานี ๑๑ จานวน ๘ บท ๖.๓ .๔ใช้เวลาในการแต่งค าประพันธ์ ๑ ชั่วโมง ๖.๔ เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็น ๖.๔.๑ บทร้อยกรองที่ผิดฉันทลักษณ์ ต่อไปนี้ กรรมการจะไม่น าไปตรวจให้คะแนน ๑) ไม่มีสัมผัสระหว่างวรรค ๒) ไม่มีสัมผัสระหว่างบท ๓) ใช้สระเสียงสั้น สัมผัสกับสระเสียงยาวเป็นสัมผัสบังคับ ( เช่น ใช้ “ใจ” สัมผัส กับ “กาย”) ๔) กรณีแต่งฉันท์ วางค า ครุ ลหุ ไม่ถูกตาแหน่ง ๕) เขียนไม่ครบตามที่ก าหนด ๖.๔.๒ บทร้อยกรองที่ไม่ผิดฉันทลักษณ์ กรรมการจะน าไปตรวจให้คะแนนโดยมีหลักเกณฑ์ การให้คะแนน ดังนี้ ๑) ฉันทลักษณ์และอักขรวิธี คะแนนเต็ม ๒๐ คะแนน - เขียนตัวสะกดการันต์ผิด หักคาละ ๑ คะแนน -มีสัมผัสซ้า หักคะแนนต าแหน่งละ ๒ คะแนน -มีสัมผัสเลือน หักคะแนนต าแหน่งละ ๒ คะแนน ๒) ความคิดและเนื้อหา คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน -ตรงประเด็น หมายความว่า นักเรียนจะต้องใช้หัวข้อที่ก าหนดให้เป็นแกนเรื่อง -เสนอแนวคิดสร้างสรรค์ หมายความว่า เนื้อหาที่นักเรียนเสนอนั้นให้แง่คิดท่ี เป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน เช่น แง่คิดในการดารงชีวิต การเข้าใจสังคม การ ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม

Page 13: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

-เสนอแนวคิดแปลกใหม่ หมายถึง แนวความคิดที่เสนอในเนื้อหาไม่ค่อยมีใคร กล่าวถึง เป็นแนวความคิดที่มีเหตุผลและอยู่ในขอบเขตของหัวข้อ ๓) กวีโวหาร คะแนนเต็ม ๔๐ คะแนน -เลือกใช้ค าเหมาะแก่เนื้อหาและบริบท -เล่นสัมผัสอักษร เล่นคา ไพเราะ สละสลวยและราบรื่น ช่วยให้ค าประพันธ์ ไพเราะยิ่งขึ้น -ใช้โวหารต่างๆ ส่งเสริมเนื้อหาให้มีความหมายลึกซ้ึงกินใจ เช่น กล่าว เปรียบเทียบ ใช้บุคลาธิษฐาน เป็นต้น ๖.๕ คณะกรรมการการแข่งขัน ให้มีกรรมการชั้นปีละ ๓ –๕ คน ๖.๖ สถานที่จัดแข่งขัน ควรเป็นห้องท่ีมีโต๊ะ เก้าอ้ี ที่สามารถด าเนินการแข่งขันได้

Page 14: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

7. การประกวดหนังสือเล่มเล็ก 7.1. คุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน 7.1.1 นักเรียนระดับชั้น ป. 4-6 7.1.2 นักเรียนระดับชั้น ม.1-3 7.2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขัน 7.2.1 แข่งขันเป็นทีม ๆ ละ 3 คน 7.2.2 จานวนผู้เข้าแข่งขัน 1. ระดับชั้น ป. 4-6 จานวน 1 ทีม 2. ระดับชั้น ม. 1-3 จานวน 1 ทีม 7.3 วิธีด าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน 7.3.1 กรอบเรื่องเป็นหนังสือบันเทิงคดีที่ คณะกรรมการจะแจ้งกรอบเรื่องให้ทราบในวันแข่งขันโดยกรอบเรื่องต้องค านึงถึงความเป็นธรรมแก่ทุกฝุาย 7.3.2 รูปแบบของหนังสือเล่มเล็ก 1) นักเรียนระดับชั้น ป.4 -6 - ใช้กระดาษ 100 ปอนด ์ขนาด A4 พับครึ่ง - รูปเล่มประกอบด้วยหน้าปก ปกใน ปกหลัง ส่วนที่บอกถึงที่มาของเรื่องหรือ แรงบันดาลใจและวัตถุประสงค์ของหนังสือ มีเนื้อเรื่อง 6 หน้า และให้ก าหนดเลขหน้าให้ชัดเจน - เรื่องท่ีแต่งขึ้นเองหรือดัดแปลงมาจากเรื่องที่มีอยู่เดิมก็ได้ เป็นร้อยแก้ว คาคล้องจอง หรือกลอนเปล่า อย่างใดอย่างหนึ่งตลอดเนื้อเรื่อง - ขนาดและรูปแบบของตัวอักษรมีขนาดโตพอสมควรเหมาะแก่วัย - มีภาพประกอบระบายสีด้วยสีไม้ 2) นักเรียนระดับชั้น ม .1 -3 - ใช้กระดาษ 100 ปอนด ์ขนาด A4 พับครึ่ง - รูปเล่มประกอบด้วยหน้าปก ปกใน ปกหลัง ส่วนที่บอกถึงที่มาของเรื่องหรือ แรงบันดาลใจและวัตถุประสงค์ของหนังสือ มีเนื้อเรื่อง 10 หน้า และให้ก าหนดเลขหน้าให้ชัดเจน - เป็นเรื่องที่แต่งขึ้นเอง หรือดัดแปลงมาจากเรื่องที่มีอยู่เดิมก็ได้ แต่งเป็นบทร้อยแก้วหรือร้อยกรอง -เนื้อหาภาพประกอบและรูปแบบตัวอักษรเหมาะสาหรับเด็กชั้น ม. 1 -3 - มีภาพประกอบระบายสีด้วยสีไม้ระบายด้วยน้า 7.3.3 ผลงานที่ส่งเข้าประกวดจะไม่ส่งคืน 7.3.4 ก าหนดเวลา 6 ชั่วโมง 7.3.5 อุปกรณ์ในการจัดทาให้ผู้เข้าแข่งขันจัดเตรียมมาเอง 7. 4. เกณฑ์การให้คะแนน 100คะแนน 7.4.1 เนื้อหาสาระ 20 คะแนน 7.4.2 ภาพประกอบ 15 คะแนน

Page 15: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

7.4.3 ภาษา และฉันทลักษณ์ 15 คะแนน 7.4.4 ความคิดสร้างสรรค์ 15 คะแนน 7.4.5 ชื่อเรื่อง 5 คะแนน 7.4.6 ขนาดและรูปแบบตัวอักษร 10 คะแนน 7.4.7 ความสวยงามของรูปเล่ม 15 คะแนน 7.4.8 การวางแผนท าโครงร่างงานเขียนได้เหมาะสมเป็นระบบ 5 คะแนน 7.5. เกณฑ์การตัดสิน ร้อยละ 80 – 100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ได้คะแนนต่ ากว่าร้อยละ 60 ได้รับเกียรติบัตร เว้นแต่คณะกรรมการมีความเห็นเป็นอย่างอ่ืน หมายเหตุ 1) ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นที่สิ้นสุด 2) เกินเวลาตัดคะแนนนาทีละ 1 คะแนน สถานที่ท าการแข่งขัน -ห้องท่ีใช้แข่งขันต้องจัดโต๊ะ –เก้าอ้ีให้พร้อมสาหรับทางานกลุ่ม ที่สามารถด าเนินการแข่งขันพร้อมกัน หมายเหตุ 1) ห้ามผู้เข้าแข่งขันนาเครื่องมือสื่อสารทุกชนิดเข้าห้องแข่งขัน 2) ก่อนเวลาการแข่งขันให้กรรมการจัดการแข่งขันตรวจสอบอุปกรณ์และเครื่องมือแข่งขันของทุกทีม เพ่ือความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน 3) การขออนุญาตเข้าห้องน้าต้องขออนุญาตและภายใต้การกากับดูแลของกรรมการด าเนินการแข่งขันอย่างใกล้ชิด (เพศเดียวกับผู้เข้าร่วมการแข่งขัน) 4) การส่ง-มอบอาหาร/น้า หรืออุปกรณ์การแข่งขันอ่ืนใดต้องส่ง-มอบผ่านกรรมการจัดการแข่งขัน

Page 16: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน
Page 17: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

8. การแข่งขัน ค าคม 8.1.ประเภทและคุณสมบัติผู้เข้าแข่งขัน : 8.1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ประเภททีม ๆ ละ 2 คน 8.1.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ประเภททีม ๆ ละ 2 คน 8.3. เกณฑ์การตัดสิน ร้อยละ 80-100 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง ร้อยละ 70-79 ได้รับรางวัลระดับเหรียญเงิน ร้อยละ 60-69 ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง ต่ ากว่าร้อยละ 60 ได้เกียรติบัตร เว้นแต่คณะกรรมการจะเห็นเป็นอย่างอ่ืน 8.4. ระบบและกติกาการแข่งขัน ใช้กฎกติกาและระบบการแข่งขันแบบมาตรฐานสากล ระดับประเทศและนานาชาติ โดยสมาคมครอสเวิร์ดเกม เอแม็ท ค าคม และซูโดกุ แห่งประเทศไทย โดยครอสเวิร์ดเกม เอแม็ท และค าคม แข่งขันแต่ละกระดานๆ ละ 2 ฝุ่าย และ ซูโดกุ จะแข่งขันรวมเพ่ือการคัดเลือก การแข่งขันจะแบ่งออกเป็นรอบคัดเลือก และรอบชิงชนะเลิศ ดังนี้ 4.1 รอบคัดเลือก ครอสเวิร์ดเกม เอแม็ท และ ค าคม จะแข่งขันตามจานวนเกมที่ก าหนดไว้ โดยใช้วิธีประกบคู่แบบ Swiss Pairing ให้ ผู้เข้าแข่งขันท่ีผลการแข่งขันระดับเดียวกันพบกัน จนกระท่ังเกมคัดเลือกสุดท้าย ใช้วิธ ีKing of the Hill เรียงลาดับ และให้อันดับ 1 พบ 2 , 3 พบ 4 เป็นต้น ส่วนซูโดก ุจะแข่งขันรวมด้วยปริศนาที่ก าหนดให้แบบเดียวกัน โดยผู้ที่ทาถูกจะได้คะแนนถูกต้อง และ คะแนนโบนัสความเร็วเสร็จก่อนเวลา หากทาผิดจะไม่ได้คะแนน 4.2 รอบชิงชนะเลิศ ผู้แข่งขันครอสเวิร์ดเกม เอแม็ท และค าคม ที่มีผลการแข่งขันดีที่สุดสองอันดับแรก จะได้เข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ ส่วนซูโดก ุจะคัดเลือกผู้แข่งขันได้คะแนนสูงที่สุด 5 อันดับแรก เข้าสู่รอบชิงชนะเลิศ (โรงเรียนสามารถสอบถามรายละเอียด และขอคาปรึกษาเพ่ิมเติมได้ที่สมาคมฯ 02-295-0861-5) กติกาเพิ่มเติม 1. แต้มต่างต่อเกม Maximum Difference - ค าคม รุ่น ประถมศึกษา แต้มต่างไม่เกิน 150 แต้ม ถ้าเกินกว่านั้นให้ปัดลงเหลือ 150 แต้ม เกมสุดท้าย แต้มต่างไม่เกิน 120 แต้ม ถ้าเกินกว่านั้นให้ปัดลงเหลือ 120 แต้ม - ค าคม รุ่น มัธยมศึกษาตอนต้น แต้มต่างไม่เกิน 250 แต้ม ถ้าเกินกว่านั้นให้ปัดลง เหลือ 250 แต้ม เกมสุดท้าย แต้มต่างไม่เกิน 200 แต้ม ถ้าเกินกว่านั้นให้ปัดลงเหลือ 200 แต้ม -รอบชิงชนะเลิศไม่มี Maximum Difference 2.ชนะบาย (Bye) - ค าคม ทุกรุ่น ชนะบายได้ 100 แต้ม ยกเว้น ครอสเวิร์ดเกม รุ่น ประถมศึกษา ชนะบาย 50 แต้ม 3.วิธีการนับคะแนน

Page 18: เกณฑ์การประกวดแขงขัน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยedu.ms.ac.th/etest/thai.pdf · เกณฑ์การประกวดแขงขัน

3.1 คะแนนประจาปริศนา หากผู้แข่งขันสามารถแก้โจทย์ปริศนาซูโดกุได้ภายในเวลาที่ก าหนดและถูกต้อง ท่านจะได้รับคะแนนประจาปริศนาตามที่ระบุไว้ในแต่ละข้อ 3.2 คะแนนโบนัสเวลา ในแต่ละรอบจะมีการก าหนดเวลาในการแก้โจทย์ปริศนาไว้ หากผู้แข่งขันสามารถแก้โจทย์ปริศนาทั้งหมดได้ถูกต้องภายในเวลาที่ก าหนด ท่านจะได้รับคะแนนโบนัสเวลาเพ่ิมข้ึนอีก นาทีละ 3 คะแนน โดยค านวณจากเวลาที่เหลืออยู่เป็นนาที (เศษของนาทีปัดทิ้ง) คูณด้วย 3 (ถ้าแก้โจทย์ปริศนาไม่ถูกต้อง จะไม่ได้รับคะแนนโบนัสนี้) เช่น เวลาในรอบก าหนดให้ 30 นาที แต่นาย Z ทาเสร็จและถูกต้องภายในเวลา 20 นาท ี40 วินาที นาย Z จะได้คะแนนโบนัสเวลาในรอบนี้ เท่ากับ 9 นาที (เวลาเหลือ 9 นาที 20 วินาที แต่เศษของนาทีปัดทิ้ง เหลือ 9 นาที) x 3 คะแนนต่อนาที = คะแนนโบนัสเวลา 27 คะแนน